YOU ARE DOWNLOADING DOCUMENT

Please tick the box to continue:

Transcript
Page 1: EngKPS News v.1-2556

Engineering KPS News 1

เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2556 ณ หอประชุมชูชาติ กําภู สถาบันพัฒนาการชลประทาน กรมชลประทาน ปากเกร็ด ไดมีพิธีลงนามขอตกลงวาดวยความรวมมือ “ในการพัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถในการวิจัยและพัฒนาบุคลากร” ระหวางกรมชลประทานและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร โดยประธานในการลงนามฝายกรมชลประทานคอื นายเลศิวโิรจน โกวฒันะ อธบิดกีรมชลประทาน และฝายมหาวทิยาลัยเกษตรศาสตรคือ รองศาสตราจารยวุฒิชัย กปลกาญจน อธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ผู แทนสักขีพยานจากทั้งสองฝายประกอบดวยจากกรมชลประทานไดแก นายชัชวาล ปญญาวาทีนันท รองอธิบดีกรมชลประทานฝายวิชาการ นายศุภชัย รุงศรี ผูอํานวยการสํานักวิจัยและพัฒนาจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรไดแก รองศาสตราจารย ดร.เจษฎา แกวกัลยา ผูทรงคุณวุฒิพิเศษ รองศาสตราจารยธัญญะ เกียรติวัฒน คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร บางเขน และ รองศาสตราจารย ดร.บัญชา ขวัญยืน คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร กําแพงแสน ....>>> อานตอหนา 2

ผลงานวิจัยเร่ือง “สูตรอาหารขนสําหรับโคนมที่มีกากใบมันสําปะหลังเปนสวนผสม” ของ รศ.ประภาศรี สิงหรัตน และคณะ ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร คณะวิศวกรรมศาสตร กําแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน ไดรับความคุมครอง อนุสิทธิบัตร จากกรมทรัพยสินทางปญญา เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2555 ....>>> อานตอหนา 3

โครงการ TPm Champion ถูกจัดขึ้นทุกป เปนการแขงขันการนําเสนอผลงานที่ใชในการปรับปรุงงานจากสวนงานตางๆ ของบริษัทในเครือเบทาโกร การปรับปรุง อาจเปนการเพิ่มผลผลิต หรือการปรับปรุงอื่น ที่ผลักดันใหงานนั้นๆ เกิดประสิทธิผลสูงสุด และผลตอบแทนทีไ่ดอาจแสดงในแงคาใชจายโรงงาน คณุภาพชวีติพนกังาน หรือสิ่งแวดลอม เปนตน

ในการแขงขันปลาสุด TPm Champion 2012คุณทรงยศ เหลืองวิชชเจริญศิษยเกาภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร รุ น FE 15 ปจจุบันทํางานอยูที่ บริษัท B. Food Product Internat ionalในเครือเบทาโกร ไดตั้งทีมชื่อ ‘D.I.Y’ กับเพื่อนรวมงาน สงผลงานสรางสรรคชื่อ ‘D.I.Y.Automation by LBDE’เขาแขงขนั ซ่ึงเปนการออกแบบ

และสรางเครือ่งจกัรเพือ่ปรบัปรงุกระบวนการผลติ เปนการทดแทนการใชแรงงาน และเพิม่ผลผลติใหกบัแผนกผลติของโรงงาน โดยเครือ่งจักรนี้เปนนวัตกรรมที่มีต นทุนตํ่า บริษัทสามารถผลิตไดเอง และมีประสิทธิภาพสูง จากผูเขาแขงขันทั้งหมด 89 ทีม ทีม D.Y.I. ไดควารางวลัชนะเลศิอนัดบั 1 ในการแขงขนัรอบสดุทาย ณ โรงละครอกัษรา คิงพาวเวอร เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ 2556

พิธีลงนามขอตกลงวาดวยความรวมมือ ในการพัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถในการวิจัยและพัฒนาบุคลากร

ระหวางกรมชลประทานและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

ศิษยเกาภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร รุน FE 15ควารางวลัชนะเลิศอนัดบั 1 ในการแขงขนัผลงาน

ในโครงการ TPm Champion 2012

พิธีลงนามขอตกลงวาดวยความรวมมือ ในการพัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถในการวิจัยและพัฒนาบุคลากร

ปที่ 6 ฉบับที่ 24 ประจําเดือน มกราคม - กุมภาพันธ 2556

นิสิตบัณฑิตศึกษา ภาควิชาวิศวกรรมการอาหารควารางวัลการนําเสนอภาคบรรยายดีเดน

ในการประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแหงชาติ ครั้งที่ 10

นางสาวสุรีพร ณรงควงศวัฒนา พรอมดวย ผศ.ดร. รณฤทธิ์ ฤทธิรณ จากหองปฏิบัติการ Near Infrared ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร ไดรับรางวัลการนําเสนอภาคบรรยายดีเดน ในบทความวิจัยเรื่อง “การสรางเครื่อง Diode Array NIR spectrometer สําหรับวิเคราะห

ปริมาณนํ้ามัน และความชื้นในผลปาลม” ในการประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเกบ็เกีย่วแหงชาติ ครัง้ที ่10 เมือ่วนัที ่22-23 สงิหาคม 2555 ซึง่จดัข้ึนโดยศูนยนวตักรรมหลังการเก็บเกี่ยว หนวยงานรวมมหาวิทยาลัยขอนแกน รวมกับศูนยเครื่องจักรกลเกษตร และวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวมหาวิทยาลัยขอนแกน ณ โรงแรมเซ็นทาราคอนเวนชันเซ็นเตอร ขอนแกน การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแหงชาติ คร้ังที่ 10 น้ีแบงการประชุมออกเปนงานวิจัยและนวัตกรรมดาน postharvest machinery,biology, logistics และ safety มีผูเขารวมนําเสนอผลงานอยางมากมายโดยแบงเปนภาคบรรยายจํานวนทั้งสิ้น 91 บทความและภาคนิทัศนจํานวน 113 บทความจากสถาบันการศึกษาและวิจัยจากภาครัฐ 26 แหงท้ังในประเทศและตางประเทศ นอกจากนี้ยังมีผูประกอบการจากภาคเอกชนสนใจนําเขารวมนําเสนอผลงานดวย

รศ.ประภาศรี สิงหรัตนไดรับอนุสทิธบิัตรสูตรอาหารขนสําหรับโคนมฯ

Page 2: EngKPS News v.1-2556

2 ปที่ 6 ฉบับที่ 24 เดือน มกราคม - กุมภาพันธ 2556

ผศ.ดร.เชาว อินทรประสิทธิ์ รองคณบดีฝายวิจัย และ อ.ธิติพงศ โพธิสุทธิ์ อาจารยประจําภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร คณะวิศวกรรมศาสตร กําแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน รวมรับเสด็จสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ณ โครงการศูนยวิจัยและพัฒนาชานํ้ามันและพืชนํ้ามัน จ.เชียงราย

เม่ือวันท่ี 5 กุมภาพันธ 2556 เวลา 16.00 น. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสดจ็พระราชดาํเนนิไปยงัศนูยวจิยัและพฒันานํา้มนัและพชืนํา้มนั ต.เวยีงพางคาํ อ.แมสาย จ.เชยีงราย ซึง่ในการนี้ เสด็จพระราชดําเนินเพื่อทรงติดตามการดําเนินงานของโครงการฯ

ซึ่งทางศูนยฯ ประกอบดวยโรงงานผลิตน้ํามันจากเมล็ดชา จัดตั้งขึ้นตามพระราชดําริ เพื่อศึกษาและทดลองปลูกตนชานํ้ามันสายพันธุคามิเลีย โอเลอิเฟรา (Camellia Oleifera) ซึ่งสถาบันพฤกษศาสตรมณฑลยนูนาน สาธารณรฐัประชาชนจนีมอบเมล็ดพนัธุใหแกมลูนธิชิยัพฒันา นาํมาทดลองปลูก และขยายพนัธุในเขตพืน้ที่โครงการพัฒนาดอยตุง อันเนื่องมาจากพระราชดําริ รวมถึงพื้นที่ใน

ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปจจุบันทางศูนยฯ รับเมล็ดชานํ้ามันจากแหลงปลูกปูนะบานบางปะหนั และศนูยหญาแฝกเพือ่นาํมาผลตินํา้มนัเมลด็ชา พบวามคีวามชืน้ตํา่ สกดันํา้มนัไดปรมิาณมากกวาเมล็ดชาที่นําเขาประเทศจีน นอกจากน้ี ยังผลิตนํ้ามันจากเมล็ดไนเจอร หรือทานตะวันหนูจากแปลงปลกูในอาํเภอเชยีงดาว จงัหวดัเชยีงใหม และสกดันํา้มนัมะรมุ ซึง่รบัซือ้จากแหลงปลกูทัว่ประเทศ เพื่อสกัดนํ้ามันจําหนาย และศึกษาคุณสมบัติของนํ้ามัน โรงงานผลิตนํ้ามันจากเมล็ดชาแหงนี้ เปนโรงหีบน้ํามันชาแหงแรกและสมบูรณที่สุดในประเทศไทย เครือ่งจกัรทีใ่ชไดรบัการออกแบบและผลติภายในประเทศ จากการตอยอดเทคโนโลยทีีพ่ฒันามาจากโรงงานสกดัและแปรรปูนํา้มนัปาลมเปนไบโอดเีซลในโครงการของมลูนธิชิยัพฒันา ภายใตการดแูลของ รองศาสตราจารยสัณหชัย กลิ่นพิกุล ผูเชี่ยวชาญดานพลังงานทดแทนของมูลนิธิชัยพัฒนา ซึ่งไดรับความรวมมืออยางดีจากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล และมหาวทิยาลยัเกษตรศาสตร วทิยาเขตกาํแพงแสน สามารถผลตินํา้มนัเมลด็ชา และนํา้มนัจากพชืชนดิอืน่ๆ สําหรับการบริโภคไดเฉลี่ยตอเดือนๆ ละ 5 พันลิตร มีหองเก็บวัตถุดิบและหองปฏิบัติการที่ทันสมัยเพื่อควบคุมคุณภาพนํ้ามันและเปดใหผูสนใจเขาศึกษากระบวนการผลิตนํ้ามันไดทุกขั้นตอน โอกาสนี้ทรงทอดพระเนตรไซโล และเครื่องอบแหงและเก็บเมล็ดชานํ้ามัน เพื่อรักษาสภาพของเมล็ดพืชนํ้ามันกอนจะนําไปหีบนํ้ามัน ซึ่งเครื่องอบแหงฯ นี้ เปนผลงานของ ผศ.ดร.เชาว อินทรประสิทธิ์ และคณะ

ผศ.ดร.เชาว อนิทรประสทิธิ ์รวมรบัเสดจ็สมเดจ็พระเทพรตันราชสดุาฯ สยามบรมราชกมุารีณ โครงการศนูยวจิยัและพฒันาชานํา้มนัและพชืนํา้มนั จ.เชยีงราย

พิธีลงนามขอตกลงวาดวยความรวมมือ ในการพัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถในการวิจัยและพัฒนาบุคลากร ระหวางกรมชลประทานและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

>>> ตอจากหนา 1... สาระของขอตกลงเปนเรือ่งความรวมมอืในการสรางแนวคดิ สงเสรมิ และสนบัสนนุใหขาราชการกรมชลประทานจดัทาํโครงการศกึษา

วจิยัและพฒันารวมกบัมหาวทิยาลยัเกษตรศาสตร ภายใตกรอบการศกึษาวจิยัและพฒันาตามประเดน็ยทุธศาสตรของกรมชลประทาน และมหาวทิยาลยั

เกษตรศาสตรจะใหความรวมมอืในการจดัหาบคุลากรดานการศกึษาทีม่คีวามเชีย่วชาญดานวศิวกรรมโยธา วศิวกรรมชลประทาน วศิวกรรมทรพัยากรนํา้ และ

วิศวกรรมเครื่องกล เพื่อเปนอาจารยท่ีปรึกษาในการดําเนินโครงการ

ศกึษาวจิยัและพัฒนาแกขาราชการกรมชลประทานผูทีม่คีวามประสงค

ที่จะศึกษาตอในระดับมหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิตตามหลักสูตรของ

มหาวทิยาลยัเกษตรศาสตร สาํหรบัการทาํขอตกลงครัง้นีม้ขีึน้ตอหนาที่

ประชมุขาราชการกรมชลประทานจาํนวน 250 คนทีม่าเขารวมประชมุ

เสวนาทางวชิาการเร่ือง “ทศิทางงานวจิยัและการพฒันาองคความรู

สําหรับวิศวกรภายในกรมชลประทาน” จัดโดยสมาคมศิษยเกา

วิศวกรรมชลประทาน ในพระบรมราชูปถัมถ ซึ่งมีคณาจารยจาก

ภาควิชาวิศวกรรมชลประทานนําโดย รองศาสตราจารย ดร.วราวุธ

วฒิุวณิชย ผูชวยศาสตราจารย ดร.เอกสทิธิ ์โฆสติสกุลชัย เขารวมบรรยาย

ใหขอมลูเกีย่วกบัหลกัสตูรบณัฑติศกึษาเพือ่รองรบัการดาํเนนิการวจิยั

ภายใตขอตกลงดงักลาวนีด้วย

Page 3: EngKPS News v.1-2556

Engineering KPS News 3

คณะวิศวกรรมศาสตร กําแพงแสน รวมกับ สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ พรอมดวยศูนยความเปนเลิศทางวิชาการดานโลจิสติกส มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร และการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) จัดสัมมนาวิชาการ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาของประเทศไทยภายใตบริบท AEC+BIMSTEC-EC (ASEAN EconomicCommunication + Bay of Bengal Initiative for Multi-sectoral Technical and Economic Cooperation) เมือ่วนัที ่11 - 12 กมุภาพนัธ 2556 ณ หองคอนเวนชัน่ อาคารศูนยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน การสัมมนาวิชาการไดรับเกียรติเปดการสัมมนาโดย รศ.ดร. สมบัติ ชิณะวงศ รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน กลาวรายงานตอนรับโดย รศ.ดร.บัญชา ขวัญยืน คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร กําแพงแสน การสัมมนาวันแรกเริ่มดวย การปฐกถาพเิศษ เร่ือง ทศิทางการพฒันาของคณะวศิวกรรมศาสตร กาํแพงแสน ภายใตบรบิท AEC+BIMSTEC-EC โดย รศ.ดร.บญัชา ขวญัยนื คณบดคีณะวศิวกรรมศาสตร กาํแพงแสน ตอดวยเรื่อง ทิศทางการพัฒนาของประเทศไทยภายใตบริบท AEC+BIMSTEC-EC โดย ดร.ณรงค ปอมหลักทอง จากสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย ปดทายชวงเชาดวย กลยุทธและทิศทางการบริหารพลังงานไฟฟาของการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย โดย คุณสมิตร อนุวัตรเกษม คุณวฤต รัตนชื่น และคุณปาริชาติ สุทธิประสิทธิ์ จากการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (แมเมาะ) เริ่มชวงบายดวยการอภิปรายในประเด็น บทบาท/ทิศทาง/ความทาทาย/โอกาสของการจัดการโซอุปทานและโลจิสติกส ภายใตบริบท AEC+BIMSTEC-EC เรื่อง โลจิสติกสสินคาเกษตร โดย รศ.ดร.สมยศ เชิญอักษร ผูทรงคุณวุฒิพิเศษ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เรื่อง การพัฒนาระบบโลจิสติกส โครงการทาเรือทวาย ภายใตบริบท AEC + BIMSTEC - EC โดย ดร.บุญทรัพย พานิชการ ผอ.วิทยาลัยโลจิสติกสและโซอุปทาน มหาวิทยาลัยนเรศวร และ ดําเนินรายการโดย อ.ดร.ปนัดดา กสิกิจวิวัฒน ผอ.ศูนยความเปนเลิศทางวิชาการดานโลจิสติกส มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร สําหรับวันที่สอง เปนการแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวาง การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (แมเมาะ) โดย คุณสมิตร อนุวัตรเกษม และคณะทํางาน และคณะวิศวกรรมศาสตร กําแพงแสน นําโดย อ.ดร.สมชาย ประยงคพันธ รองคณบดีฝายบริหาร และคณาจารยในคณะ เรื่อง บทบาท/ทิศทางงานวิจัยรวมกันระหวาง รฟ.แมเมาะ กับ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร หลังจากนี้เปนการเยี่ยมชมศูนยปฏิบัติการวิศวกรรมพลังงานและสิ่งแวดลอม และโครงการผลิตกระแสไฟฟาจากกาซขยะตามแนวพระราชดําริ

ตามที่นิสิตของคณะวิศวกรรมศาสตร กําแพงแสน ไดรับการยอมรับจากบรษิทัเอกชนตางๆ ในการทาํงาน ทกุปจงึมบีรษิทัเอกชนเขามารบัสมคัรงานอยางตอเน่ือง ปน้ีก็เชนเดียวกัน มีบริษัทเอกชนช้ันนําเขามาแนะนําบริษัทและรับสมัครงานเพื่อบรรจุเปนวิศวกรของบริษัท อทิเชน บริษัทในกลุมเครือเจริญโภคภัณฑ (CP) ตาง คือ บริษัท ซี. พี. คาปลีกและการตลาด จํากัด (CPRAM) และ บริษัท เจริญโภคภัณฑอาหาร จํากัด (มหาชน) (CPF) บริษัทในกลุมอุตสาหกรรมขนาดใหญ บริษัท เอสทีพี แอนด ไอ จํากัด (มหาชน) (STP&I Public Company Ltd.) บรษิทัดานวศิวกรรมโยธา บรษิทั N.S.L. Construction Co., Ltd.) และ บรษิทั International Engineering Consultants Co., Ltd. (IEC)

>>> ตอจากหนา 1... รศ.ประภาศรี สิงหรัตน กลาวถึงวัตถุประสงคของงานวิจัยนี้วา “การนํากากใบมันสําปะหลังที่แหง ที่ยังคงคุณสมบัติการเปนแหลงโปรตนีทีด่ ีปลอดภยัจากสารไซยาไนดและสารแทนนนิ มาใชเปนสวนผสมในสารอาหารสูตรขนสําหรับโคนม ที่ชวยใหแมโคในระยะรดีนมไดรบัปรมิาณสารอาหารทีจ่าํเปนตอการสงัเคราะหนํา้นมและสามารถผลิตนํ้านมไดตามศักยภาพทางพันธุกรรม” สตูรอาหารขนสาํหรบัโคนมทีม่กีากใบมนัสาํปะหลงัเปนสวนผสม ประกอบดวย กากใบมันสาํปะหลัง รอยละ 22-25 โดยนํ้าหนัก มนัเสน รอยละ 22-25 โดยนํา้หนกั กากนํา้ตาล รอยละ 2-5 โดยนํา้หนกัรําสกัดนํ้ามัน ร อยละ 13-15 โดยนํ้าหนัก กากปาล มเนื้อในรอยละ 12-14 โดยนํ้าหนัก กากถั่วเหลือง รอยละ 3-5 โดยนํ้าหนัก กากเบียร แหง ร อยละ 8-10 โดยน้ําหนัก เกลือ ร อยละ 0.1-0.3โดยนํ้าหนัก ไดแคลเซียมฟอสเฟต รอยละ 0.1-0.2 โดยนํ้าหนัก และแรธาตุ รอยละ 0.3-0.5 โดยนํ้าหนัก นําสวนประกอบทั้งหมดคลุกเคลากันแลวนําไปใชเปนอาหารขนสําหรับโคนม โดยคํานวณปริมาณการใหอาหารแก แม โคระยะรีดนมตามปริมาณการให ผลผลิตนํ้ านมดวยอัตราสวน 1:2 ดังนี้ อาหารขน 1 กิโลกรัมตอปริมารการใหนํ้านม 2 กิโลกรัม คณะวิจัย ประกอบดวย รศ.ประภาศรี สิงหรัตน นายวุฒิชัย พูลลาภวิวัฒน นายยงยุทธ พลับจะโปะ ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร คณะวศิวกรรมศาสตร กาํแพงแสน มหาวทิยาลยัเกษตรศาสตร วทิยาเขตกําแพงแสน และนางสาวศิริรัตน บัวผัน ศูนยวิจัยและพัฒนาการผลิตนม สถาบันสุวรรณวาจกกสิกิจเพื่อการคนควาและพัฒนาปศุสัตวและผลิตภัณฑสัตว มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน

การสัมมนาวิชาการ ทิศทางการพัฒนาของประเทศไทยภายใตบริบท AEC+BIMSTEC-EC

รศ.ประภาศรี สิงหรัตนไดรับอนุสทิธบิัตรสูตรอาหารขนสําหรับโคนมฯ

บริษัทเอกชนชั้นนําเขารับสมัครวิศวกร

Page 4: EngKPS News v.1-2556

งานวิเทศสัมพันธและประชาสัมพันธ คณะวิศวกรรมศาสตร กําแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสนโทร.034-351897, 034-281074-5 ตอ 7017 โทรสาร.034-281075 http://www.eng.kps.ku.ac.th

ผศ.ดร.รณฤทธิ์ ฤทธิรณ หัวหนาหองปฏิบัติการ Near Infrared (NIR) ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร คณะวิศวกรรมศาสตร กําแพงแสน และประธานคณะทํางานจัดตั้งศูนยความเปนเลิศทางวิชาการดานการตรวจสอบคุณภาพโดยวิธีไมทําลาย ไดรับทุนสนับสนุนการวิจัยจากสํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สวทช.) สรางเครื่องวิเคราะหปริมาณนํ้ามัน และความชื้นในทลายปาลมไดอยางรวดเร็วไมแตกตางจากคาจริงที่วิเคราะหดวยวิธีดั้งเดิมที่ระดับความเชื่อมั่น 95% เครื่องที่สรางนี้ถือเปนเครื่องวิเคราะหคุณภาพปาลมนํ้ามันดวยเทคนิค NIR เครื่องแรกของโลกและประเทศไทยที่มีราคาถูก ซึ่งในปจจุบันกําลังไดรับการสนับสนุนใหขยายผลการนําไปใชประโยชนในอุตสาหกรรมปาลมจากสํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องคกรมหาชน)

ในปจจบุนัการรบัซือ้ปาลมนํา้มนัจะถกูกาํหนดราคาโดยอาศยัสายตาและการสัมผัสจากเจาหนาที่ของโรงงานในการประเมินจากปริมาณนํ้ามันในผลปาลมซึ่งอาจเกิดความผิดพลาดจากปจจัยสภาพแวดลอมและความรูสึกสวนตัว เปนเหตุใหเกษตรกรอาจรูสึกไมไดรับความเปนธรรมหรือโรงงานอาจไดวัตถุดิบที่มีคุณภาพตํ่า ทําใหตนทุนการผลิตสูงขึ้นเนื่องจากหากวิเคราะหปริมาณนํ้ามันดวยวิธีทางเคมีจะเสียเวลามากไมทันกับปริมาณผลผลิตที่ซื้อ-ขายในแตละวัน เครื่องวิเคราะหนี้สามารถลดความผิดพลาดในการประเมินราคารับซื้อซึ่งทําใหเกิดการสูญเสียผลประโยชนตอเกษตรกรหรือผูประกอบการเองมากกวา 5 พันลานบาทตอป

นิสิตระดับปริญญาตรี ชั้นปที่ 4 ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร กําแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ควาเหรียญทองแดง จากการแขงขันแกปญหาทางวิศวกรรมปฐพี ซึ่งจัดโดยคณะอนกุรรมการสาขาวศิวกรรมปฐพ ีในคณะกรรมการสาขาวศิวกรรมโยธา วศิวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ (วสท.) รวมกับมูลนิธิศาสตราจารย ดร.ชัย มุกตพันธุ เมื่อวันที่2 กุมภาพันธ 2556 โดยการแขงขันครั้งน้ี มีนิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรีสาขาวิศวกรรมโยธา ชั้นปที่ 4 จากสถาบันการศึกษาชั้นนําของประเทศไทยสงทีมเขารวมแขงขันทั้งสิ้น 10 ทีม วัตถุประสงคหลักในการจดัการแขงขันเพือ่ใหนสิิตนกัศกึษาระดบัปรญิญาตรไีดแสดงความคดิและความรูทางดานวชิาวศิวกรรมปฐพี และไดพบปะแลกเปลีย่นความรูอนัจะนาํไปสูความรวมมอืทางวชิาการระหวางสถาบนัตอไป การแขงขันเปนลกัษณะการแกปญหาทางดานวศิวกรรมปฐพโีดยทาํ PowerPoint นาํเสนอถึงวิธีการแกปญหาตอคณะกรรมการ จากการแขงขันผลปรากฏวา ทีมจากคณะวิศวกรรมศาสตร กาํแพงแสน ทาํคะแนนจนสามารถควาเหรยีญทองแดงมาครองไดสําเร็จ ทีมมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร กําแพงแสน ประกอบดวย อ.ดร.สมชาย ประยงคพันธ และ อ.ดร.สริญัญา ทองชาติ อาจารยที่ปรึกษาประจําทีม นายสุรนนท เยื้อยงค นิสิตชั้นปที่ 4 นายกฤษณ จารุสาร นิสิตชั้นปที่ 4 นายกิตตินนท ปติพร นิสิตชั้นปที่ 4 และ นายเอกชัย วิภากูล เจาหนาที่ควบคุมทีม

หวัหนาหองปฏบิตักิาร Near Infrared (NIR)สรางเครือ่งวเิคราะหคณุภาพปาลมนํา้มนัอยางรวดเรว็

เพือ่การคาในเชงิพาณชิยดวยเทคนคิสเปคโตรสโคปยานใกลอนิฟราเรด

เหรียญทองแดงการแขงขันแกปญหาทางวิศวกรรมปฐพี

ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร เขารวมนําเสนอผลงานในการประชุมวิชาการโครงงานวิศวกรรมเกษตรแหงชาติ ครั้งที่ 19 ในวันศุกรที่ 8 กุมภาพันธ 2556 ณ สถาบันเทคโนโลยพีระจอมเกลาเจาคณุทหารลาดกระบงั วทิยาเขตชุมพร จังหวัดชุมพร รวมกับสมาคมวิศวกรรมเกษตรแหงประเทศไทย ซึ่งในการประชุมวิชาการครั้งนี้ บทความเรื่อง เครื่องเปลี่ยนถุงนํ้าเกลืออัตโนมัติสําหรับสัตวใหญ(An automatic saline bag replacement machine for farm animal) ของนายสราวุธ ไตรพรหม นายสาธิต เอี่ยมชื่น นายภดล ยิ่งสังข อาจารยที่ปรึกษา ผศ.ภรตกุญชร ณ อยุธยา สามารถควารางวัลโครงงานดานความคดิสรางสรรค รองชนะเลศิอนัดบั 2 ภาคโปสเตอร มาครองไดสําเร็จ

นิสิตวิศวกรรมเกษตรควารางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2

การประชุมวิชาการโครงงานวิศวกรรมเกษตรแหงชาติ ครั้งที่ 19