Top Banner
Engineering KPS News 1 เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2556 ณ หอประชุมชูชาติ กําภู สถาบันพัฒนาการชลประทาน กรมชลประทาน ปากเกร็ด ไดมีพิธีลงนามขอตกลงวาดวยความรวมมือ “ในการพัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถใน การวิจัยและพัฒนาบุคลากร” ระหวางกรมชลประทานและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร โดยประธานใน การลงนามฝายกรมชลประทานคือ นายเลิศวิโรจน โกวัฒนะ อธิบดีกรมชลประทาน และฝายมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตรคือ รองศาสตราจารยวุฒิชัย กปลกาญจน อธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ผูแทนสักขีพยานจากทั้งสองฝายประกอบดวย จากกรมชลประทานไดแก นายชัชวาล ปญญาวาทีนันท รองอธิบดีกรมชลประทานฝายวิชาการ นายศุภชัย รุงศรี ผูอํานวยการสํานักวิจัยและพัฒนา จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรไดแก รองศาสตราจารย ดร.เจษฎา แกวกัลยา ผูทรงคุณวุฒิพิเศษ รองศาสตราจารยธัญญะ เกียรติวัฒน คณบดีคณะ วิศวกรรมศาสตร บางเขน และ รองศาสตราจารย ดร.บัญชา ขวัญยืน คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร กําแพงแสน ....>>> อานตอหนา 2 ผลงานวิจัยเรื่อง “สูตรอาหารขนสําหรับโคนมที่มีกากใบ มันสําปะหลังเปนสวนผสม” ของ รศ.ประภาศรี สิงหรัตน และ คณะ ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร คณะวิศวกรรมศาสตร กําแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน ได รับความคุมครอง อนุสิทธิบัตร จากกรมทรัพยสินทางปญญา เมื่อ วันที่ 13 พฤศจิกายน 2555 ....>>> อานตอหนา 3 โครงการ TPm Champion ถูกจัดขึ้นทุกป เปนการแขงขัน การนําเสนอผลงานที่ใชในการปรับปรุงงานจากสวนงานตางๆ ของ บริษัทในเครือเบทาโกร การปรับปรุง อาจเปนการเพิ่มผลผลิต หรือ การปรับปรุงอื่น ที่ผลักดันใหงานนั้นๆ เกิดประสิทธิผลสูงสุด และ ผลตอบแทนที่ไดอาจแสดงในแงคาใชจายโรงงาน คุณภาพชีวิตพนักงาน หรือสิ่งแวดลอม เปนตน ในการแขงขันปลาสุด TPm Champion 2012 คุณทรงยศ เหลืองวิชชเจริญ ศิษยเกาภาควิชาวิศวกรรมการ อาหาร รุน FE 15 ปจจุบัน ทํางานอยูที่ บริษัท B. Food Product International ในเครือเบทาโกร ไดตั้งทีมชื่อ ‘D.I.Y’ กับเพื่อนรวมงาน สง ผลงานสรางสรรคชื่อ ‘D.I.Y. Automation by LBDE’ เขาแขงขัน ซึ่งเปนการออกแบบ และสรางเครื่องจักรเพื่อปรับปรุงกระบวนการผลิต เปนการทดแทนการ ใชแรงงาน และเพิ่มผลผลิตใหกับแผนกผลิตของโรงงาน โดยเครื่องจักร นี้เปนนวัตกรรมที่มีตนทุนตํ่า บริษัทสามารถผลิตไดเอง และมี ประสิทธิภาพสูง จากผูเขาแขงขันทั้งหมด 89 ทีม ทีม D.Y.I. ไดควา รางวัลชนะเลิศอันดับ 1 ในการแขงขันรอบสุดทาย ณ โรงละครอักษรา คิงพาวเวอร เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ 2556 พิธีลงนามขอตกลงวาดวยความรวมมือ ในการพัฒนา ศักยภาพและขีดความสามารถในการวิจัยและพัฒนาบุคลากร ระหวางกรมชลประทานและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ศิษยเกาภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร รุน FE 15 ควารางวัลชนะเลิศอันดับ 1 ในการแขงขันผลงาน ในโครงการ TPm Champion 2012 ปที่ 6 ฉบับที่ 24 ประจําเดือน มกราคม - กุมภาพันธ 2556 นิสิตบัณฑิตศึกษา ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร ควารางวัลการนําเสนอภาคบรรยายดีเดน ในการประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแหงชาติ ครั้งที่ 10 นางสาวสุรีพร ณรงควงศวัฒนา พรอมดวย ผศ.ดร. รณฤทธิ์ ฤทธิรณ จากหองปฏิบัติการ Near Infrared ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร ไดรับรางวัลการนําเสนอภาคบรรยายดีเดน ใน บทความวิจัยเรื่อง “การสรางเครื่อง Diode Array NIR spectrometer สําหรับวิเคราะห ปริมาณนํ้ามัน และความชื้นในผลปาลม” ในการประชุมวิชาการวิทยาการหลังการ เก็บเกี่ยวแหงชาติ ครั้งที่ 10 เมื่อวันที่ 22-23 สิงหาคม 2555 ซึ่งจัดขึ้นโดยศูนยนวัตกรรม หลังการเก็บเกี่ยว หนวยงานรวมมหาวิทยาลัยขอนแกน รวมกับศูนยเครื่องจักรกล เกษตร และวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวมหาวิทยาลัยขอนแกน ณ โรงแรมเซ็นทารา คอนเวนชันเซ็นเตอร ขอนแกน การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแหงชาติ ครั้งที่ 10 นีแบงการประชุมออกเปนงานวิจัยและนวัตกรรมดาน postharvest machinery, biology, logistics และ safety มีผูเขารวมนําเสนอผลงานอยางมากมายโดยแบง เปนภาคบรรยายจํานวนทั้งสิ้น 91 บทความและภาคนิทัศนจํานวน 113 บทความ จากสถาบันการศึกษาและวิจัยจากภาครัฐ 26 แหงทั้งในประเทศและตางประเทศ นอกจากนี้ยังมีผูประกอบการจากภาคเอกชนสนใจนําเขารวมนําเสนอผลงานดวย รศ.ประภาศรี สิงหรัตน ไดรับอนุส ทธ บัตรสูตรอาหารขนสําหรับโคนมฯ
4

EngKPS News v.1-2556

Mar 02, 2016

Download

Documents

EngKPS

kasetsart university engineering kamphaeng saen News Letter
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: EngKPS News v.1-2556

Engineering KPS News 1

เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2556 ณ หอประชุมชูชาติ กําภู สถาบันพัฒนาการชลประทาน กรมชลประทาน ปากเกร็ด ไดมีพิธีลงนามขอตกลงวาดวยความรวมมือ “ในการพัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถในการวิจัยและพัฒนาบุคลากร” ระหวางกรมชลประทานและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร โดยประธานในการลงนามฝายกรมชลประทานคอื นายเลศิวโิรจน โกวฒันะ อธบิดกีรมชลประทาน และฝายมหาวทิยาลัยเกษตรศาสตรคือ รองศาสตราจารยวุฒิชัย กปลกาญจน อธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ผู แทนสักขีพยานจากทั้งสองฝายประกอบดวยจากกรมชลประทานไดแก นายชัชวาล ปญญาวาทีนันท รองอธิบดีกรมชลประทานฝายวิชาการ นายศุภชัย รุงศรี ผูอํานวยการสํานักวิจัยและพัฒนาจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรไดแก รองศาสตราจารย ดร.เจษฎา แกวกัลยา ผูทรงคุณวุฒิพิเศษ รองศาสตราจารยธัญญะ เกียรติวัฒน คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร บางเขน และ รองศาสตราจารย ดร.บัญชา ขวัญยืน คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร กําแพงแสน ....>>> อานตอหนา 2

ผลงานวิจัยเร่ือง “สูตรอาหารขนสําหรับโคนมที่มีกากใบมันสําปะหลังเปนสวนผสม” ของ รศ.ประภาศรี สิงหรัตน และคณะ ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร คณะวิศวกรรมศาสตร กําแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน ไดรับความคุมครอง อนุสิทธิบัตร จากกรมทรัพยสินทางปญญา เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2555 ....>>> อานตอหนา 3

โครงการ TPm Champion ถูกจัดขึ้นทุกป เปนการแขงขันการนําเสนอผลงานที่ใชในการปรับปรุงงานจากสวนงานตางๆ ของบริษัทในเครือเบทาโกร การปรับปรุง อาจเปนการเพิ่มผลผลิต หรือการปรับปรุงอื่น ที่ผลักดันใหงานนั้นๆ เกิดประสิทธิผลสูงสุด และผลตอบแทนทีไ่ดอาจแสดงในแงคาใชจายโรงงาน คณุภาพชวีติพนกังาน หรือสิ่งแวดลอม เปนตน

ในการแขงขันปลาสุด TPm Champion 2012คุณทรงยศ เหลืองวิชชเจริญศิษยเกาภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร รุ น FE 15 ปจจุบันทํางานอยูที่ บริษัท B. Food Product Internat ionalในเครือเบทาโกร ไดตั้งทีมชื่อ ‘D.I.Y’ กับเพื่อนรวมงาน สงผลงานสรางสรรคชื่อ ‘D.I.Y.Automation by LBDE’เขาแขงขนั ซ่ึงเปนการออกแบบ

และสรางเครือ่งจกัรเพือ่ปรบัปรงุกระบวนการผลติ เปนการทดแทนการใชแรงงาน และเพิม่ผลผลติใหกบัแผนกผลติของโรงงาน โดยเครือ่งจักรนี้เปนนวัตกรรมที่มีต นทุนตํ่า บริษัทสามารถผลิตไดเอง และมีประสิทธิภาพสูง จากผูเขาแขงขันทั้งหมด 89 ทีม ทีม D.Y.I. ไดควารางวลัชนะเลศิอนัดบั 1 ในการแขงขนัรอบสดุทาย ณ โรงละครอกัษรา คิงพาวเวอร เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ 2556

พิธีลงนามขอตกลงวาดวยความรวมมือ ในการพัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถในการวิจัยและพัฒนาบุคลากร

ระหวางกรมชลประทานและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

ศิษยเกาภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร รุน FE 15ควารางวลัชนะเลิศอนัดบั 1 ในการแขงขนัผลงาน

ในโครงการ TPm Champion 2012

พิธีลงนามขอตกลงวาดวยความรวมมือ ในการพัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถในการวิจัยและพัฒนาบุคลากร

ปที่ 6 ฉบับที่ 24 ประจําเดือน มกราคม - กุมภาพันธ 2556

นิสิตบัณฑิตศึกษา ภาควิชาวิศวกรรมการอาหารควารางวัลการนําเสนอภาคบรรยายดีเดน

ในการประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแหงชาติ ครั้งที่ 10

นางสาวสุรีพร ณรงควงศวัฒนา พรอมดวย ผศ.ดร. รณฤทธิ์ ฤทธิรณ จากหองปฏิบัติการ Near Infrared ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร ไดรับรางวัลการนําเสนอภาคบรรยายดีเดน ในบทความวิจัยเรื่อง “การสรางเครื่อง Diode Array NIR spectrometer สําหรับวิเคราะห

ปริมาณนํ้ามัน และความชื้นในผลปาลม” ในการประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเกบ็เกีย่วแหงชาติ ครัง้ที ่10 เมือ่วนัที ่22-23 สงิหาคม 2555 ซึง่จดัข้ึนโดยศูนยนวตักรรมหลังการเก็บเกี่ยว หนวยงานรวมมหาวิทยาลัยขอนแกน รวมกับศูนยเครื่องจักรกลเกษตร และวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวมหาวิทยาลัยขอนแกน ณ โรงแรมเซ็นทาราคอนเวนชันเซ็นเตอร ขอนแกน การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแหงชาติ คร้ังที่ 10 น้ีแบงการประชุมออกเปนงานวิจัยและนวัตกรรมดาน postharvest machinery,biology, logistics และ safety มีผูเขารวมนําเสนอผลงานอยางมากมายโดยแบงเปนภาคบรรยายจํานวนทั้งสิ้น 91 บทความและภาคนิทัศนจํานวน 113 บทความจากสถาบันการศึกษาและวิจัยจากภาครัฐ 26 แหงท้ังในประเทศและตางประเทศ นอกจากนี้ยังมีผูประกอบการจากภาคเอกชนสนใจนําเขารวมนําเสนอผลงานดวย

รศ.ประภาศรี สิงหรัตนไดรับอนุสทิธบิัตรสูตรอาหารขนสําหรับโคนมฯ

Page 2: EngKPS News v.1-2556

2 ปที่ 6 ฉบับที่ 24 เดือน มกราคม - กุมภาพันธ 2556

ผศ.ดร.เชาว อินทรประสิทธิ์ รองคณบดีฝายวิจัย และ อ.ธิติพงศ โพธิสุทธิ์ อาจารยประจําภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร คณะวิศวกรรมศาสตร กําแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน รวมรับเสด็จสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ณ โครงการศูนยวิจัยและพัฒนาชานํ้ามันและพืชนํ้ามัน จ.เชียงราย

เม่ือวันท่ี 5 กุมภาพันธ 2556 เวลา 16.00 น. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสดจ็พระราชดาํเนนิไปยงัศนูยวจิยัและพฒันานํา้มนัและพชืนํา้มนั ต.เวยีงพางคาํ อ.แมสาย จ.เชยีงราย ซึง่ในการนี้ เสด็จพระราชดําเนินเพื่อทรงติดตามการดําเนินงานของโครงการฯ

ซึ่งทางศูนยฯ ประกอบดวยโรงงานผลิตน้ํามันจากเมล็ดชา จัดตั้งขึ้นตามพระราชดําริ เพื่อศึกษาและทดลองปลูกตนชานํ้ามันสายพันธุคามิเลีย โอเลอิเฟรา (Camellia Oleifera) ซึ่งสถาบันพฤกษศาสตรมณฑลยนูนาน สาธารณรฐัประชาชนจนีมอบเมล็ดพนัธุใหแกมลูนธิชิยัพฒันา นาํมาทดลองปลูก และขยายพนัธุในเขตพืน้ที่โครงการพัฒนาดอยตุง อันเนื่องมาจากพระราชดําริ รวมถึงพื้นที่ใน

ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปจจุบันทางศูนยฯ รับเมล็ดชานํ้ามันจากแหลงปลูกปูนะบานบางปะหนั และศนูยหญาแฝกเพือ่นาํมาผลตินํา้มนัเมลด็ชา พบวามคีวามชืน้ตํา่ สกดันํา้มนัไดปรมิาณมากกวาเมล็ดชาที่นําเขาประเทศจีน นอกจากน้ี ยังผลิตนํ้ามันจากเมล็ดไนเจอร หรือทานตะวันหนูจากแปลงปลกูในอาํเภอเชยีงดาว จงัหวดัเชยีงใหม และสกดันํา้มนัมะรมุ ซึง่รบัซือ้จากแหลงปลกูทัว่ประเทศ เพื่อสกัดนํ้ามันจําหนาย และศึกษาคุณสมบัติของนํ้ามัน โรงงานผลิตนํ้ามันจากเมล็ดชาแหงนี้ เปนโรงหีบน้ํามันชาแหงแรกและสมบูรณที่สุดในประเทศไทย เครือ่งจกัรทีใ่ชไดรบัการออกแบบและผลติภายในประเทศ จากการตอยอดเทคโนโลยทีีพ่ฒันามาจากโรงงานสกดัและแปรรปูนํา้มนัปาลมเปนไบโอดเีซลในโครงการของมลูนธิชิยัพฒันา ภายใตการดแูลของ รองศาสตราจารยสัณหชัย กลิ่นพิกุล ผูเชี่ยวชาญดานพลังงานทดแทนของมูลนิธิชัยพัฒนา ซึ่งไดรับความรวมมืออยางดีจากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล และมหาวทิยาลยัเกษตรศาสตร วทิยาเขตกาํแพงแสน สามารถผลตินํา้มนัเมลด็ชา และนํา้มนัจากพชืชนดิอืน่ๆ สําหรับการบริโภคไดเฉลี่ยตอเดือนๆ ละ 5 พันลิตร มีหองเก็บวัตถุดิบและหองปฏิบัติการที่ทันสมัยเพื่อควบคุมคุณภาพนํ้ามันและเปดใหผูสนใจเขาศึกษากระบวนการผลิตนํ้ามันไดทุกขั้นตอน โอกาสนี้ทรงทอดพระเนตรไซโล และเครื่องอบแหงและเก็บเมล็ดชานํ้ามัน เพื่อรักษาสภาพของเมล็ดพืชนํ้ามันกอนจะนําไปหีบนํ้ามัน ซึ่งเครื่องอบแหงฯ นี้ เปนผลงานของ ผศ.ดร.เชาว อินทรประสิทธิ์ และคณะ

ผศ.ดร.เชาว อนิทรประสทิธิ ์รวมรบัเสดจ็สมเดจ็พระเทพรตันราชสดุาฯ สยามบรมราชกมุารีณ โครงการศนูยวจิยัและพฒันาชานํา้มนัและพชืนํา้มนั จ.เชยีงราย

พิธีลงนามขอตกลงวาดวยความรวมมือ ในการพัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถในการวิจัยและพัฒนาบุคลากร ระหวางกรมชลประทานและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

>>> ตอจากหนา 1... สาระของขอตกลงเปนเรือ่งความรวมมอืในการสรางแนวคดิ สงเสรมิ และสนบัสนนุใหขาราชการกรมชลประทานจดัทาํโครงการศกึษา

วจิยัและพฒันารวมกบัมหาวทิยาลยัเกษตรศาสตร ภายใตกรอบการศกึษาวจิยัและพฒันาตามประเดน็ยทุธศาสตรของกรมชลประทาน และมหาวทิยาลยั

เกษตรศาสตรจะใหความรวมมอืในการจดัหาบคุลากรดานการศกึษาทีม่คีวามเชีย่วชาญดานวศิวกรรมโยธา วศิวกรรมชลประทาน วศิวกรรมทรพัยากรนํา้ และ

วิศวกรรมเครื่องกล เพื่อเปนอาจารยท่ีปรึกษาในการดําเนินโครงการ

ศกึษาวจิยัและพัฒนาแกขาราชการกรมชลประทานผูทีม่คีวามประสงค

ที่จะศึกษาตอในระดับมหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิตตามหลักสูตรของ

มหาวทิยาลยัเกษตรศาสตร สาํหรบัการทาํขอตกลงครัง้นีม้ขีึน้ตอหนาที่

ประชมุขาราชการกรมชลประทานจาํนวน 250 คนทีม่าเขารวมประชมุ

เสวนาทางวชิาการเร่ือง “ทศิทางงานวจิยัและการพฒันาองคความรู

สําหรับวิศวกรภายในกรมชลประทาน” จัดโดยสมาคมศิษยเกา

วิศวกรรมชลประทาน ในพระบรมราชูปถัมถ ซึ่งมีคณาจารยจาก

ภาควิชาวิศวกรรมชลประทานนําโดย รองศาสตราจารย ดร.วราวุธ

วฒิุวณิชย ผูชวยศาสตราจารย ดร.เอกสทิธิ ์โฆสติสกุลชัย เขารวมบรรยาย

ใหขอมลูเกีย่วกบัหลกัสตูรบณัฑติศกึษาเพือ่รองรบัการดาํเนนิการวจิยั

ภายใตขอตกลงดงักลาวนีด้วย

Page 3: EngKPS News v.1-2556

Engineering KPS News 3

คณะวิศวกรรมศาสตร กําแพงแสน รวมกับ สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ พรอมดวยศูนยความเปนเลิศทางวิชาการดานโลจิสติกส มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร และการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) จัดสัมมนาวิชาการ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาของประเทศไทยภายใตบริบท AEC+BIMSTEC-EC (ASEAN EconomicCommunication + Bay of Bengal Initiative for Multi-sectoral Technical and Economic Cooperation) เมือ่วนัที ่11 - 12 กมุภาพนัธ 2556 ณ หองคอนเวนชัน่ อาคารศูนยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน การสัมมนาวิชาการไดรับเกียรติเปดการสัมมนาโดย รศ.ดร. สมบัติ ชิณะวงศ รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน กลาวรายงานตอนรับโดย รศ.ดร.บัญชา ขวัญยืน คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร กําแพงแสน การสัมมนาวันแรกเริ่มดวย การปฐกถาพเิศษ เร่ือง ทศิทางการพฒันาของคณะวศิวกรรมศาสตร กาํแพงแสน ภายใตบรบิท AEC+BIMSTEC-EC โดย รศ.ดร.บญัชา ขวญัยนื คณบดคีณะวศิวกรรมศาสตร กาํแพงแสน ตอดวยเรื่อง ทิศทางการพัฒนาของประเทศไทยภายใตบริบท AEC+BIMSTEC-EC โดย ดร.ณรงค ปอมหลักทอง จากสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย ปดทายชวงเชาดวย กลยุทธและทิศทางการบริหารพลังงานไฟฟาของการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย โดย คุณสมิตร อนุวัตรเกษม คุณวฤต รัตนชื่น และคุณปาริชาติ สุทธิประสิทธิ์ จากการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (แมเมาะ) เริ่มชวงบายดวยการอภิปรายในประเด็น บทบาท/ทิศทาง/ความทาทาย/โอกาสของการจัดการโซอุปทานและโลจิสติกส ภายใตบริบท AEC+BIMSTEC-EC เรื่อง โลจิสติกสสินคาเกษตร โดย รศ.ดร.สมยศ เชิญอักษร ผูทรงคุณวุฒิพิเศษ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เรื่อง การพัฒนาระบบโลจิสติกส โครงการทาเรือทวาย ภายใตบริบท AEC + BIMSTEC - EC โดย ดร.บุญทรัพย พานิชการ ผอ.วิทยาลัยโลจิสติกสและโซอุปทาน มหาวิทยาลัยนเรศวร และ ดําเนินรายการโดย อ.ดร.ปนัดดา กสิกิจวิวัฒน ผอ.ศูนยความเปนเลิศทางวิชาการดานโลจิสติกส มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร สําหรับวันที่สอง เปนการแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวาง การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (แมเมาะ) โดย คุณสมิตร อนุวัตรเกษม และคณะทํางาน และคณะวิศวกรรมศาสตร กําแพงแสน นําโดย อ.ดร.สมชาย ประยงคพันธ รองคณบดีฝายบริหาร และคณาจารยในคณะ เรื่อง บทบาท/ทิศทางงานวิจัยรวมกันระหวาง รฟ.แมเมาะ กับ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร หลังจากนี้เปนการเยี่ยมชมศูนยปฏิบัติการวิศวกรรมพลังงานและสิ่งแวดลอม และโครงการผลิตกระแสไฟฟาจากกาซขยะตามแนวพระราชดําริ

ตามที่นิสิตของคณะวิศวกรรมศาสตร กําแพงแสน ไดรับการยอมรับจากบรษิทัเอกชนตางๆ ในการทาํงาน ทกุปจงึมบีรษิทัเอกชนเขามารบัสมคัรงานอยางตอเน่ือง ปน้ีก็เชนเดียวกัน มีบริษัทเอกชนช้ันนําเขามาแนะนําบริษัทและรับสมัครงานเพื่อบรรจุเปนวิศวกรของบริษัท อทิเชน บริษัทในกลุมเครือเจริญโภคภัณฑ (CP) ตาง คือ บริษัท ซี. พี. คาปลีกและการตลาด จํากัด (CPRAM) และ บริษัท เจริญโภคภัณฑอาหาร จํากัด (มหาชน) (CPF) บริษัทในกลุมอุตสาหกรรมขนาดใหญ บริษัท เอสทีพี แอนด ไอ จํากัด (มหาชน) (STP&I Public Company Ltd.) บรษิทัดานวศิวกรรมโยธา บรษิทั N.S.L. Construction Co., Ltd.) และ บรษิทั International Engineering Consultants Co., Ltd. (IEC)

>>> ตอจากหนา 1... รศ.ประภาศรี สิงหรัตน กลาวถึงวัตถุประสงคของงานวิจัยนี้วา “การนํากากใบมันสําปะหลังที่แหง ที่ยังคงคุณสมบัติการเปนแหลงโปรตนีทีด่ ีปลอดภยัจากสารไซยาไนดและสารแทนนนิ มาใชเปนสวนผสมในสารอาหารสูตรขนสําหรับโคนม ที่ชวยใหแมโคในระยะรดีนมไดรบัปรมิาณสารอาหารทีจ่าํเปนตอการสงัเคราะหนํา้นมและสามารถผลิตนํ้านมไดตามศักยภาพทางพันธุกรรม” สตูรอาหารขนสาํหรบัโคนมทีม่กีากใบมนัสาํปะหลงัเปนสวนผสม ประกอบดวย กากใบมันสาํปะหลัง รอยละ 22-25 โดยนํ้าหนัก มนัเสน รอยละ 22-25 โดยนํา้หนกั กากนํา้ตาล รอยละ 2-5 โดยนํา้หนกัรําสกัดนํ้ามัน ร อยละ 13-15 โดยนํ้าหนัก กากปาล มเนื้อในรอยละ 12-14 โดยนํ้าหนัก กากถั่วเหลือง รอยละ 3-5 โดยนํ้าหนัก กากเบียร แหง ร อยละ 8-10 โดยน้ําหนัก เกลือ ร อยละ 0.1-0.3โดยนํ้าหนัก ไดแคลเซียมฟอสเฟต รอยละ 0.1-0.2 โดยนํ้าหนัก และแรธาตุ รอยละ 0.3-0.5 โดยนํ้าหนัก นําสวนประกอบทั้งหมดคลุกเคลากันแลวนําไปใชเปนอาหารขนสําหรับโคนม โดยคํานวณปริมาณการใหอาหารแก แม โคระยะรีดนมตามปริมาณการให ผลผลิตนํ้ านมดวยอัตราสวน 1:2 ดังนี้ อาหารขน 1 กิโลกรัมตอปริมารการใหนํ้านม 2 กิโลกรัม คณะวิจัย ประกอบดวย รศ.ประภาศรี สิงหรัตน นายวุฒิชัย พูลลาภวิวัฒน นายยงยุทธ พลับจะโปะ ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร คณะวศิวกรรมศาสตร กาํแพงแสน มหาวทิยาลยัเกษตรศาสตร วทิยาเขตกําแพงแสน และนางสาวศิริรัตน บัวผัน ศูนยวิจัยและพัฒนาการผลิตนม สถาบันสุวรรณวาจกกสิกิจเพื่อการคนควาและพัฒนาปศุสัตวและผลิตภัณฑสัตว มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน

การสัมมนาวิชาการ ทิศทางการพัฒนาของประเทศไทยภายใตบริบท AEC+BIMSTEC-EC

รศ.ประภาศรี สิงหรัตนไดรับอนุสทิธบิัตรสูตรอาหารขนสําหรับโคนมฯ

บริษัทเอกชนชั้นนําเขารับสมัครวิศวกร

Page 4: EngKPS News v.1-2556

งานวิเทศสัมพันธและประชาสัมพันธ คณะวิศวกรรมศาสตร กําแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสนโทร.034-351897, 034-281074-5 ตอ 7017 โทรสาร.034-281075 http://www.eng.kps.ku.ac.th

ผศ.ดร.รณฤทธิ์ ฤทธิรณ หัวหนาหองปฏิบัติการ Near Infrared (NIR) ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร คณะวิศวกรรมศาสตร กําแพงแสน และประธานคณะทํางานจัดตั้งศูนยความเปนเลิศทางวิชาการดานการตรวจสอบคุณภาพโดยวิธีไมทําลาย ไดรับทุนสนับสนุนการวิจัยจากสํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สวทช.) สรางเครื่องวิเคราะหปริมาณนํ้ามัน และความชื้นในทลายปาลมไดอยางรวดเร็วไมแตกตางจากคาจริงที่วิเคราะหดวยวิธีดั้งเดิมที่ระดับความเชื่อมั่น 95% เครื่องที่สรางนี้ถือเปนเครื่องวิเคราะหคุณภาพปาลมนํ้ามันดวยเทคนิค NIR เครื่องแรกของโลกและประเทศไทยที่มีราคาถูก ซึ่งในปจจุบันกําลังไดรับการสนับสนุนใหขยายผลการนําไปใชประโยชนในอุตสาหกรรมปาลมจากสํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องคกรมหาชน)

ในปจจบุนัการรบัซือ้ปาลมนํา้มนัจะถกูกาํหนดราคาโดยอาศยัสายตาและการสัมผัสจากเจาหนาที่ของโรงงานในการประเมินจากปริมาณนํ้ามันในผลปาลมซึ่งอาจเกิดความผิดพลาดจากปจจัยสภาพแวดลอมและความรูสึกสวนตัว เปนเหตุใหเกษตรกรอาจรูสึกไมไดรับความเปนธรรมหรือโรงงานอาจไดวัตถุดิบที่มีคุณภาพตํ่า ทําใหตนทุนการผลิตสูงขึ้นเนื่องจากหากวิเคราะหปริมาณนํ้ามันดวยวิธีทางเคมีจะเสียเวลามากไมทันกับปริมาณผลผลิตที่ซื้อ-ขายในแตละวัน เครื่องวิเคราะหนี้สามารถลดความผิดพลาดในการประเมินราคารับซื้อซึ่งทําใหเกิดการสูญเสียผลประโยชนตอเกษตรกรหรือผูประกอบการเองมากกวา 5 พันลานบาทตอป

นิสิตระดับปริญญาตรี ชั้นปที่ 4 ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร กําแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ควาเหรียญทองแดง จากการแขงขันแกปญหาทางวิศวกรรมปฐพี ซึ่งจัดโดยคณะอนกุรรมการสาขาวศิวกรรมปฐพ ีในคณะกรรมการสาขาวศิวกรรมโยธา วศิวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ (วสท.) รวมกับมูลนิธิศาสตราจารย ดร.ชัย มุกตพันธุ เมื่อวันที่2 กุมภาพันธ 2556 โดยการแขงขันครั้งน้ี มีนิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรีสาขาวิศวกรรมโยธา ชั้นปที่ 4 จากสถาบันการศึกษาชั้นนําของประเทศไทยสงทีมเขารวมแขงขันทั้งสิ้น 10 ทีม วัตถุประสงคหลักในการจดัการแขงขันเพือ่ใหนสิิตนกัศกึษาระดบัปรญิญาตรไีดแสดงความคดิและความรูทางดานวชิาวศิวกรรมปฐพี และไดพบปะแลกเปลีย่นความรูอนัจะนาํไปสูความรวมมอืทางวชิาการระหวางสถาบนัตอไป การแขงขันเปนลกัษณะการแกปญหาทางดานวศิวกรรมปฐพโีดยทาํ PowerPoint นาํเสนอถึงวิธีการแกปญหาตอคณะกรรมการ จากการแขงขันผลปรากฏวา ทีมจากคณะวิศวกรรมศาสตร กาํแพงแสน ทาํคะแนนจนสามารถควาเหรยีญทองแดงมาครองไดสําเร็จ ทีมมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร กําแพงแสน ประกอบดวย อ.ดร.สมชาย ประยงคพันธ และ อ.ดร.สริญัญา ทองชาติ อาจารยที่ปรึกษาประจําทีม นายสุรนนท เยื้อยงค นิสิตชั้นปที่ 4 นายกฤษณ จารุสาร นิสิตชั้นปที่ 4 นายกิตตินนท ปติพร นิสิตชั้นปที่ 4 และ นายเอกชัย วิภากูล เจาหนาที่ควบคุมทีม

หวัหนาหองปฏบิตักิาร Near Infrared (NIR)สรางเครือ่งวเิคราะหคณุภาพปาลมนํา้มนัอยางรวดเรว็

เพือ่การคาในเชงิพาณชิยดวยเทคนคิสเปคโตรสโคปยานใกลอนิฟราเรด

เหรียญทองแดงการแขงขันแกปญหาทางวิศวกรรมปฐพี

ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร เขารวมนําเสนอผลงานในการประชุมวิชาการโครงงานวิศวกรรมเกษตรแหงชาติ ครั้งที่ 19 ในวันศุกรที่ 8 กุมภาพันธ 2556 ณ สถาบันเทคโนโลยพีระจอมเกลาเจาคณุทหารลาดกระบงั วทิยาเขตชุมพร จังหวัดชุมพร รวมกับสมาคมวิศวกรรมเกษตรแหงประเทศไทย ซึ่งในการประชุมวิชาการครั้งนี้ บทความเรื่อง เครื่องเปลี่ยนถุงนํ้าเกลืออัตโนมัติสําหรับสัตวใหญ(An automatic saline bag replacement machine for farm animal) ของนายสราวุธ ไตรพรหม นายสาธิต เอี่ยมชื่น นายภดล ยิ่งสังข อาจารยที่ปรึกษา ผศ.ภรตกุญชร ณ อยุธยา สามารถควารางวัลโครงงานดานความคดิสรางสรรค รองชนะเลศิอนัดบั 2 ภาคโปสเตอร มาครองไดสําเร็จ

นิสิตวิศวกรรมเกษตรควารางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2

การประชุมวิชาการโครงงานวิศวกรรมเกษตรแหงชาติ ครั้งที่ 19