Top Banner
60 เวชบันทึกศิริราช บทความทั่วไป ธนรัตน์ พรศิริรัตน์*, สุรัตน์ ทองอยู ่** *งานการพยาบาลอายุรศาสตร์และจิตเวชศาสตร์, ฝ่ายการพยาบาล, **ภาควิชาอายุรศาสตร์, คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล, มหาวิทยาลัยมหิดล, กรุงเทพมหานคร 10700. การพยาบาลผู้ป่วยผู้ใหญ่ที่มีภาวะ พร่องออกซิเจนและได้รับการรักษา ด้วย High Flow Nasal Cannula บทคัดย่อ การใช้ High-Flow Nasal Cannula (HFNC) เป็นทางเลือกหนึ่งในการรักษาผู้ป่วยภาวะหายใจล้มเหลว หรือมีภาวะพร่อง ออกซิเจน ช่วยหายใจด้วยอัตราการไหลของอากาศสูงถึง 60 ลิตรต่อนาที พร้อมกับให้ความชื้น และอุณหภูมิที ่เหมาะสมผ่านทางสาย เข้าจมูก ให้ความเข้มข้นของออกซิเจนคงที่ช่วยก�าจัดคาร์บอนไดออกไซด์ที่ค้างในโพรงหลังจมูก (nasopharynx) เพิ่มประสิทธิภาพ ในการระบายเสมหะ เพิ่มปริมาณออกซิเจนในร่างกาย ช่วยให้สุขสบายและยอมรับการใช้งาน เครื่อง High Flow Nasal Cannula ใช้งานง่าย แต่หากเกิดความล้มเหลวในการใช้งาน และผู้ป่วยได้รับการใส่ท่อช่วยหายใจล่าช้า ส่งผลให้มีผลลัพธ์ทางคลินิกไม่ดี มีอัตราตายสูง ทีมผู ้ดูแลผู ้ป่วยที ่มีภาวะหายใจล้มเหลวหรือมีภาวะพร่องออกซิเจน ต้องมีทักษะในการติดตามและเฝ้าระวังอาการ เปลี่ยนแปลงของผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด พยาบาลไอซียูผู้ดูแล ต้องมีความสามารถในการตัดสินทางคลินิกเกี่ยวกับการเลือกวิธีบ�าบัด ด้วยออกซิเจนที่มีประสิทธิภาพส�าหรับผู้ป่วยวิกฤต ค�าส�าคัญ : ภาวะหายใจล้มเหลวชนิดพร่องออกซิเจน; High-Flow Nasal Cannula (HFNC); บทบาทพยาบาล Title : Nursing care for adult patients with acute hypoxic respiratory failure receiving high flow nasal cannula Thonnarat Pornsirirat*, Surat Tongyoo** *Department of Medical Nursing, **Department of Medicine, Faculty of Medicine Siriraj Hospital, Mahidol University, Bangkok 10700, Thailand. Siriraj Med Bull 2020;13(1):60-68 Abstract High-Flow Nasal Cannula (HFNC) is an alternative treatment for patients with acute hypoxemic respiratory failure. It delivers gas flow rate up to 60 L/min, humidified and heated up to 37 °C via cannula, constant fraction of inspired oxygen (FiO 2 ), associated with improvements in washout of nasopharyngeal dead space, lung mucociliary clearance. It improve oxygen delivery and increases the tolerance for the patient. Initiating HFNC is relatively simple, but failure of HFNC may cause delayed intubation worse clinical outcomes and increased mortality. A skilled team and an appropriate close monitoring are required to manage patients who have acute hypoxemic respiratory failure with HFNC oxygen therapy. Critical care nurse should be able to make clinical judgments concerning the most effective oxygen therapy for patients in the acute setting.
9

การพยาบาลผู้ป่วยผู้ใหญ่ที่มีภาวะ พร่องออกซิ - ThaiJo

Mar 08, 2023

Download

Documents

Khang Minh
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: การพยาบาลผู้ป่วยผู้ใหญ่ที่มีภาวะ พร่องออกซิ - ThaiJo

60

เวชบันทึกศิริราช บทความทั่วไป

ธนรัตน์ พรศริิรัตน์*, สุรัตน์ ทองอยู*่*

*งานการพยาบาลอายุรศาสตร์และจิตเวชศาสตร์, ฝ่ายการพยาบาล, **ภาควิชาอายุรศาสตร์, คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล, มหาวิทยาลัยมหิดล, กรุงเทพมหานคร 10700.

การพยาบาลผู้ป่วยผู้ใหญ่ที่มีภาวะ

พร่องออกซิเจนและได้รับการรักษา

ด้วย High Flow Nasal Cannula

บทคัดย่อ

การใช้ High-FlowNasalCannula (HFNC) เป็นทางเลือกหนึ่งในการรักษาผู้ป่วยภาวะหายใจล้มเหลวหรือมีภาวะพร่องออกซเิจนช่วยหายใจด้วยอัตราการไหลของอากาศสงูถงึ60ลติรต่อนาทีพร้อมกบัให้ความชืน้และอุณหภูมิทีเ่หมาะสมผ่านทางสายเข้าจมูกให้ความเข้มข้นของออกซิเจนคงที่ช่วยก�าจัดคาร์บอนไดออกไซด์ทีค้่างในโพรงหลงัจมูก(nasopharynx)เพ่ิมประสทิธภิาพในการระบายเสมหะเพ่ิมปรมิาณออกซเิจนในร่างกายช่วยให้สขุสบายและยอมรบัการใช้งานเครือ่งHighFlowNasalCannulaใช้งานง่าย แต่หากเกิดความล้มเหลวในการใช้งาน และผู้ป่วยได้รับการใส่ท่อช่วยหายใจล่าช้า ส่งผลให้มีผลลัพธ์ทางคลินิกไม่ดี มีอัตราตายสงูทมีผูดู้แลผูป่้วยทีมี่ภาวะหายใจล้มเหลวหรอืมีภาวะพร่องออกซิเจนต้องมีทกัษะในการตดิตามและเฝ้าระวงัอาการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วยอย่างใกล้ชิดพยาบาลไอซียูผู้ดูแลต้องมีความสามารถในการตัดสินทางคลินิกเกี่ยวกับการเลือกวิธีบ�าบัดด้วยออกซิเจนที่มีประสิทธิภาพส�าหรับผู้ป่วยวิกฤต

ค�าส�าคัญ :ภาวะหายใจล้มเหลวชนิดพร่องออกซิเจน;High-FlowNasalCannula(HFNC);บทบาทพยาบาล

Title : Nursing care for adult patients with acute hypoxic respiratory failure receiving high flow nasal cannula Thonnarat Pornsirirat*, Surat Tongyoo** *DepartmentofMedicalNursing,**DepartmentofMedicine,FacultyofMedicineSirirajHospital, MahidolUniversity,Bangkok10700,Thailand. Siriraj Med Bull2020;13(1):60-68

Abstract

High-FlowNasalCannula(HFNC) isanalternativetreatmentforpatientswithacutehypoxemicrespiratory failure. Itdeliversgasflowrateupto60L/min,humidifiedandheatedupto37°Cviacannula,constant fractionofinspiredoxygen(FiO2),associatedwithimprovementsinwashoutofnasopharyngealdeadspace,lungmucociliaryclearance.Itimproveoxygendeliveryandincreasesthetoleranceforthepatient.InitiatingHFNCisrelativelysimple,butfailureofHFNCmaycausedelayedintubationworseclinicaloutcomesandincreasedmortality.AskilledteamandanappropriateclosemonitoringarerequiredtomanagepatientswhohaveacutehypoxemicrespiratoryfailurewithHFNCoxygentherapy.Criticalcarenurseshouldbeabletomakeclinicaljudgmentsconcerningthemosteffectiveoxygentherapyforpatientsintheacutesetting.

Page 2: การพยาบาลผู้ป่วยผู้ใหญ่ที่มีภาวะ พร่องออกซิ - ThaiJo

61

ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 ม.ค. — มี.ค. 2563

Keywords :Acutehypoxicrespiratoryfailure;High-FlowNasalCannula(HFNC);nurserole

Correspondence to: ThonnaratPornsiriratE-mail: [email protected] 22February2019Revised28February2019Accepted1March2019http://dx.doi.org/10.331.92/Simedbull.2020.08

บทน�า

การรักษาด้วยออกซิเจนในผู้ป่วยที่มีภาวะพร่องออกซิเจนถูกน�ามาใช้ตั้งแต่ปี ค.ศ. 19381 โดยใช้ nasalcannulaชนดิLowFlowOxygenตัง้แต่0.5-6 LPM ในผู้ป่วยผู้ใหญ่ ให้อัตราการไหลต�่ากว่าความต้องการอัตราการไหลของอากาศเข้าสู่ปอด(demandinspire flow) ท�าให้ต้องดึงอากาศจากภายนอกที่มีความเข้มข้นของออกซิเจน0.21เข้ามาผสมส่งผลให้ความเข้มข้นของออกซิเจน (FiO2) ที่ได้รับไม่คงที่ ขึ้นกับลักษณะการหายใจของผู้ป่วย ไม่เหมาะใช้ในผู้ป่วยที่มีระดับความรุนแรงของภาวะพร่องออกซิเจนปานกลางถึงสูง ต่างจากการรักษาด้วย High-FlowNasalCannula (HFNC)ที่ให้อัตราการไหลสูงกว่าความต้องการของผู้ป่วย ให้ระดับความเข้มข้นของออกซิเจน (FiO2) คงที่ สามารถตั้งอุณหภูมิเครื่องท�าความชื้นที่เหมาะสม(อุณหภูมิ31,34,37๐C)ช่วยเพิ่มแรงดันบวกในทางเดินหายใจ2-9ใช้งานง่ายท�าให้ได้รบัความนยิมเพ่ิมขึน้ทัง้ในหออภิบาลหอผูป่้วยทัว่ไปรวมถงึในห้องฉกุเฉนิพยาบาลควรมีความรูแ้ละความเข้าใจเกีย่วกบักลไกการท�างานของHighFlowNasalCannulaและอุปกรณ์ที่ใช้วิธีการปรับตั้งเครื่องและการประเมินการตอบสนองของผูป่้วยเพ่ือให้เกดิความม่ันใจในการดูแลและสามารถให้การดูแลผูป่้วยอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด

กลไกการท�างานของ High Flow Nasal Cannula และอุปกรณ์ที่ใช้

High Flow Nasal Cannula เป็นเครื่องให้ออกซเิจนอัตราการไหลสงูถงึ60LPMปรบัอุณหภูมิของออกซิเจนให้ใกล้เคียงกบัอุณหภูมิร่างกาย(31-37๐C) และมีความชื้นสัมพัทธ์100%ปรับFiO2ให้คงที่ช่วย

แก้ไขภาวะพร่องออกซิเจนได้ดีอุปกรณ์ในระบบHFNCประกอบด้วยส่วนส�าคัญ 4 ส่วน10, 11ดังนี้ ระบบจ่ายอากาศ และออกซิเจนความดันสูง (gas generator) เครือ่งผสมอากาศและออกซิเจน(Air/oxygenblender) เครื่องท�าความชื้นและอุณหภูมิ(Heatedhumidifier)และNasalcannulaดังแสดงในรูปที่1

(A)รูปแสดงด้านหน้าของเครื่อง

(B)รูปแสดงด้านหลังของเครื่อง

เครื่อง HFNC (AIRVO2) ตัวเครื่องและอุปกรณ์ที่ใช้

(A)

หน้าจอส�าหรับปรับตั้งค่า

ส�าหรับต่อท่อส่งอากาศเข้าสู่ผู้ป่วย

ท่อส�าหรับต่อกับออกซิเจนpipelineเพื่อปรับระดับFiO2

ส�าหรับต่อกับwaterChamberปรับอุณหภูมิ

Page 3: การพยาบาลผู้ป่วยผู้ใหญ่ที่มีภาวะ พร่องออกซิ - ThaiJo

62

เวชบันทึกศิริราช บทความทั่วไป

(D)รูปแสดงO2Flowmeterขนาด70LPM

รูปที่ 1.แสดงอุปกรณ์ที่ใช้และภาพเครื่องที่ประกอบพร้อมใช้งานส�าหรับAIRVO2ที่มา: หอผู้ป่วยวิกฤต 72 ปี ชั้น 5 ตะวันตก คณะแพทยศาตร์ศิริราชพยาบาล ถ่ายภาพเม่ือวันที่ 22ตุลาคม2560

การเตรียมอุปกรณ์ก่อนใช้งานกับผู้ป่วย

1.ท�าการฆ่าเชือ้เครือ่งด้วยความร้อนสงูอุณหภูมิ87OC (189F)เป็นเวลา55นาทีก่อนน�ามาใช้งานกับผู้ป่วย2. ประกอบอุปกรณ์เข้ากับเครื่องด้วยหลัก steriletechniqueเลือกcannulaให้เหมาะกับผู้ป่วย(low,medium, large) คนไทยนิยมใช้ medium size ต่อเข้ากับset3.ต่อSWI1,000mlเข้ากับwaterchamberเพื่อปรับอุณหภูมิและความชื้น4.ต่อO2 flowmeter เข้ากับเครื่อง เพื่อปรับระดับออกซิเจน5. เสียบปลั๊กไฟ เปิดเครื่อง ตรวจสอบสถานะความพร้อมส�าหรบัการใช้งานปรบัตัง้ค่าตามค�าสัง่การรกัษา

(C)รูปแสดงCircuit&cannula

การให้ออกซิเจนแบบ High-Flow Nasal Cannula มผีลต่อสภาพร่างกายหลายด้าน ท�าให้เกดิประโยชน์ ดังนี้

การใช้ High-Flow Nasal Cannula โดยใช้สายcannulaส�าหรับให้ออกซิเจนทางจมูกส่งเสริมให้สามารถพูดคุยกินอาหารทางปากได้ไม่ต้องหยุดการใช้เครือ่งผูป่้วยมีความสขุสบายสามารถยอมรบัการใช้งานHFNC2-9,13 อีกทั้งยังสามารถปรับอุณหภูมิของออกซิเจนให้ใกล้เคียงกับอุณหภูมิร่างกาย (31-37๐C)และมีความชืน้สมัพัทธ์100%ช่วยลดการบวมของเยือ่บจุมูกและทางเดินหายใจลดแรงเสยีดทานของทางเดินหายใจลดความเหนียวของเสมหะท�าให้การระบายเสมหะดีขึ้นหายใจสบายลดอาการหอบเหนื่อย2-9

Page 4: การพยาบาลผู้ป่วยผู้ใหญ่ที่มีภาวะ พร่องออกซิ - ThaiJo

63

ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 ม.ค. — มี.ค. 2563

ในภาวะพร ่องออกซิเจน ร ่างกายต้องการ inspire flow ประมาณ 30-40 LPM และสูงถึง60-120 LPM2 ในภาวะหายใจล้มเหลวรุนแรง การปรับตั้งอัตราไหลของก๊าซออกซิเจนความเร็วสูง20-60LPMตลอดการหายใจช่วยไล่อากาศและก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ค้างอยู่ในระบบทางเดินหายใจส่วนบนที่ไม่มีการแลกเปลี่ยนก๊าซ(anatomicaldeadspace) ท�าให้ไม่มีการดึงอากาศจากภายนอกเข้ามาผสม ลดการยุบตัว (collapse) ของทางเดินหายใจทั้งส่วนบริเวณคอหอย(pharynx)และหลอดลมขนาดเล็กลดการเกิดauto-PEEPเพิ่มปริมาตรและความจุคงค้างของปอด ลดภาวะปอดแฟบ ลดงานที่ใช้ในการหายใจ(workofbreathing)3การไหลของก๊าซออกซเิจนความเรว็สงูก่อให้เกดิแรงดันบวกในทางเดินหายใจ แรงดันบวกที่เกิดขึ้นสัมพันธ์กับอัตราการไหลของอากาศที่ตั้ง(totalflow)ขนาดของnasalprongทีเ่หมาะสมและผูป่้วยไม่หายใจทางปากการตัง้totalflowทกุ10LPMในผูป่้วยทีปิ่ดปากสนทิสามารถเพ่ิมแรงดันบวกในทางเดินหายใจส่วนบนได้1เซนติเมตรน�้าและให้แรงดันบวกสูงถึง2-6เซนติเมตรน�้าแต่หากผู้ป่วยอ้าปากหายใจ แรงดันบวกจะเหลือเพียง 3เซนตเิมตรน�า้แม้จะตัง้Totalflowสงูถงึ60LPM5,6

การปรับความเข้มข้นของออกซิเจน (FiO2)ที่ ได ้รับให ้คงที่ 2-9 เหมาะกับการใช ้ในผู ้ป ่วยที่หายใจ ไม่สม�่าเสมอ หรือต้องการ FiO2 คงที่

11 ลดอัตราการใส่ท่อช่วยหายใจ การศึกษาแบบ meta- analysis ที่รวบรวมการศึกษาทั้งหมด 8 การศึกษา ในผู้ป่วยที่มีภาวะพร่องออกซิเจน และได้รับการรักษาด้วยการให้ออกซิเจนในรูปแบบ HighFlow Nasal Cannula, Noninvasive PositivePressure Ventilation (NIPPV), Conventional OxygenTherapy (COT)รวมจ�านวนผู้ป่วยทั้งหมด1,084รายพบว่ากลุม่ทีใ่ช้HighFlowNasalCannula มีอัตราการใส่ท่อช่วยหายใจต�่ากว่ากลุ่มที่ได้รับการรักษาด้วยออกซิเจนชนิดมาตรฐานและกลุ่มที่ได้รับการรักษาด้วยNIPPVอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ(OR0.62,95%CI0.38–0.99,P=0.05;OR0.48,95%CI0.31–0.73,P=0.0006)มีอัตราตายต�่ากว่าอย่าง

มีนัยส�าคัญทางสถิติ(OR0.47,95%CI0.24–0.93,P= 0.03; OR 0.36, 95% CI 0.20–0.63, P=0.0004)12

ข้อบ่งชี้ในการใช้ High-Flow Nasal Cannula

การใช้ High-Flow Nasal Cannula เพ่ือแก้ไขภาวะพร่องออกซิเจนในผู ้ป่วย นิยมใช้ในผู ้ป ่วยที่ มีภาวะพร ่องออกซิเจนน้อยถึงปานกลางโดยมี Arterial oxygen tension / Inspiratory fractionofoxygen(PaO2/FiO2)P/Fratioเท่ากับ101-3003,5,7,8,10หรือใช้หลังถอดท่อช่วยหายใจเพื่อลดอัตราการล้มเหลวหลังถอดท่อ3, 7, 10 หรือในขณะท�าการส่องกล้อง(fiberopticbronchoscopy)หรือก่อนใส่ท่อช่วยหายใจและก่อนการขนย้ายผู้ป่วยเพื่อลดการขาดออกซิเจน7,10

ข้อห้ามใช้ High-Flow Nasal Cannula

ไม่มีข้อห้ามอย่างเด็ดขาดในการใช้ High FlowNasal Cannula แต่ไม่นิยมใช้ในผู้ป่วยที่มีภาวะช่องจมูกอุดตัน (Choanal Atresia) ผู้ป่วยที่หยุดหายใจบ่อย(RecurrentApnea)มีแผลจากการบาดเจ็บหรอืมีการผ่าตดับรเิวณโพรงหลงัจมูกมีภาวะairleakเช่นaxหรอืกะโหลกศรีษะแตกบรเิวณbaseofskull5หรอืในผู้ป่วยภาวะหายใจล้มเหลวที่มีอาการรุนแรง5,8

การปรับตั้งค่า High-Flow Nasal Cannula

วธิกีารปรบัตัง้ค่าHighFlowNasalCannulaในผูป่้วยผูใ้หญ่ปรบัtotalflowrateเริม่ที่30ลติรต่อนาทีปรบัเพ่ิมขึน้ทลีะ5-10LPMสงูสดุ60LPMปรบัFiO2 เริ่มจากค่าต�่าสุดรักษาระดับSpO2>95%

3,5,7,9,11

หากผู ้ป ่วยมี SpO 2 < 95% ให ้ เ พ่ิม total flowrateก่อนจนถึงเกณฑ์สูงสุดที่60LPMจึงปรับเพ่ิมFiO2ปรบัเครือ่งท�าความชืน้ทีอุ่ณหภูมิ34-37

OC5

สามารถสรปุแนวทางการปรบัตัง้ค่าHighFlowNasalCannulaและการประเมินผูป่้วย11ดังแสดงในตารางที่1 บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู ้ป ่ วย

Page 5: การพยาบาลผู้ป่วยผู้ใหญ่ที่มีภาวะ พร่องออกซิ - ThaiJo

64

เวชบันทึกศิริราช บทความทั่วไป

ตารางที่ 1. แสดงแนวทางการปรับตั้งค่า HFNC และการประเมินผู้ป่วย11

Prongs

Totalflowrate

Temperature

FiO2

Positiveresponse&weaning

Ineffectiveresponse

สายcannulaส�าหรับผู้ใหญ่คนไทยนิยมใช้mediumsize

เริ่มต้นที่30LPMเพิ่มได้ถึง60LPMตามอาการของผู้ป่วย

เริ่มที่34๐Cเพิ่มได้ถึง37๐Cหากมีเสมหะเหนียว

ตั้งค่าต�่าสุดเพื่อรักษาระดับSpO2>95%หากปรับเพิ่มTotalflowrateค่าFiO2จะลดลงต้องปรับflowoxygenที่pipelineเพิ่มขึ้นเพื่อให้ได้ค่าFiO2ตามแผนการรักษา

สัญญาณชีพคงที่หรือดีขึ้น อาการหอบเหนื่อยทุเลาลง มีอัตราการหายใจลดลงมากกว่าร้อยละ 20ของค่าเริ่มต้นภายในเวลา120นาทีหลังใช้งานการหย่าเครื่อง:ลดFiO2จนเหลือ0.4,ลดtotalflowrateครั้งละ5LPMจนถึง25LPMประเมินVitalsignsซ�้าหลังปรับ1-2hr

อาการไม่ดีขึน้หลังใช้เครือ่ง60-120นาทีเช่นหอบเหนือ่ยใช้accessorymuscleช่วยSpO2 <95% มีsecretionมากมีHemodynamicunstableผลABGแย่ลง

ที่ ได้รับการรักษาด้วย High-Flow Nasal Cannula

การใช้HFNCตอ้งคดัเลอืกผูป่้วยทีเ่หมาะสมให้ความร่วมมือในการรกัษาบทบาททีส่�าคัญของพยาบาลในการช่วยให้การใช้งานประสบผลส�าเร็จ ต้องอธิบายความส�าคัญและความจ�าเป็นในการใช้งาน เพ่ือให้ผู้ป่วยเข้าใจวัตถุประสงค์ของการใช้งาน ยอมรับและให้ความร่วมมือ5มีการคัดเลือกผู้ป่วยที่เหมาะสม3,5,7,8 มีการจดบันทึกค่าสัญญาณชีพของผู้ป่วยไว้เป็นค่า พ้ืนฐานเพ่ือประเมินการตอบสนองต่อการรกัษาเลอืกใช้อุปกรณ์ให้เหมาะสมเช่นเลือกnasalcannulaที่มีขนาดระยะห่างระหว่างnasalprong2ข้างพอดีกับรูจมูกและมีขนาดของท่อnasalprongประมาณครึ่งหนึ่งของรูจมูก เพ่ือให้สะดวกในการระบายก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และความดันบวกที่สูงเกินออกสู่ภายนอก5,10

พยาบาลสามารถปรับตั้งเครื่อง High Flow Nasal Cannula ตามแผนการรักษาของแพทย์ได้แก่ total flow,FiO2,Temperatureจัดต�าแหน่งของ cannula ให้อยู่บริเวณกึ่งกลาง ใส่สายให้สุดรูจมูก ให้ออกซิเจนที่มีความร้อนผ่านเข้าสู่ทางเดิน

หายใจได้สะดวก ความร้อนไม่สะสมบริเวณโพรงจมูก ไม่เกิดการควบแน่นของน�้า ผู ้ป่วยบางรายที่ไม่สามารถทนกับความร้อนได้ ปรับเครื่องท�าความชื้นที่อุณหภูมิ 34 OC เม่ือผู ้ป่วยยอมรับได้ ปรับเพ่ิม เป็น 37OC เพ่ือให้สามารถปรับตัว และไม่ดึงอุปกรณ์ออก อธิบายให้ผู้ป่วยปิดปากให้สนิท เพ่ือให้เกิดประสิทธิผลในการเพ่ิม PEEP10 หรือในกรณีที่ผู้ป่วยไม่สามารถปิดปากได้ พิจารณาใช้สายรัดคางช่วย เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยระบายความรู้สึก สัมผัสให้ก�าลังใจ อยู่เป็นเพ่ือนในระยะแรกให้เกิดความม่ันใจการตรวจเช็คค่า parameter ต่างๆให้ถูกต้องตาม แผนการรักษาในกรณีที่ใช้totalflowสูง50-60LPM และต้องการ FiO2 สูง ต้องเลือกใช้ flow meter ขนาด 70 LPM และต้องมีการเฝ ้าระวังความ ล้มเหลวจากการใช้HighFlowNasalCannulaเตรยีมอุปกรณ์ใส่ท่อช่วยหายใจและเครือ่งช่วยหายใจให้พร้อมผู้ป่วยที่ใช้HighFlowNasalCannulaมีโอกาสเกิดภาวะหายใจล้มเหลวรุนแรง เนื่องจาก High FlowNasal Cannula เป็นอุปกรณ์ noninvasive ต้องมีการประเมินและตดิตามอย่างใกล้ชดิส่งเสรมิให้ผูป่้วยและญาติช่วยติดตามอาการแสดงที่บ่งชี้ถึงภาวะพร่องออกซิเจน เช่น หายใจเหนื่อยหอบ อัตราการหายใจ>35BPMความดันโลหิตเฉลี่ยต�่า(MeanArterial

Page 6: การพยาบาลผู้ป่วยผู้ใหญ่ที่มีภาวะ พร่องออกซิ - ThaiJo

65

ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 ม.ค. — มี.ค. 2563

pressure: MAP) < 65 mmHg หรือมีค่า SpO2 <90%15ให้แจ้งบคุลากรผูดู้แลผูป่้วยทนัทีประเมินหาสาเหตขุองภาวะพร่องออกซิเจนทีเ่กดิขึน้เช่นภาวะของโรครนุแรงขึน้มีภาวะปอดแฟบเสมหะเหนยีวข้นมีการอุดกัน้ทางเดินหายใจให้แก้ไขตามสาเหตทุีพ่บเตรยีม NIPPVหรือInvasiveMechanicalVentilation10,11

ให้พร้อมใช้

การศึกษาเพ่ือท�านายการเกิดความล้มเหลวหลังใช้ HFNC ในผู้ป่วยปอดอักเสบ โดยใช้ค่า ROX index คือ ค่าอัตราส่วนของ SpO2 /FiO2 ต่ออัตราการหายใจ (RR) พบว่าภายหลังการใช้ HighFlow Nasal Cannula 12 ชั่วโมง หากมีค่า ROX index>4.88สามารถลดอัตราความล้มเหลวจากการใช้HighFlowNasalCannulaได้อย่างมีนยัส�าคัญทางสถติิ(hazardratio,0.273;95%confidenceinterval, 0.121-0.618;P= .002)16 พยาบาลสามารถใช้ค่าROX index ซ่ึงค�านวณได้ง่ายข้างเตียง คาดการณ์การเกิดความล้มเหลวในการใช้ HFNC เพื่อวางแผนการพยาบาลได้อย่างมีประสิทธิภาพ

มีการประเมินการตอบสนองต่อการรักษาเป็น ระยะๆได้แก่อัตราการหายใจชพีจรการใช้แรงในการหายใจ ระดับความรู้สึกตัว ลักษณะเสมหะ ควรดีขึ้นหลงัใช้เครือ่งHighFlowNasalCannula1-2ชัว่โมงการศกึษาของChoและคณะในปีค.ศ.201514พบว่าPaO2ที่เพิ่มขึ้นภายใน1ชั่วโมงแรกหลังการใช้High Flow Nasal Cannula สามารถท�านายความส�าเร็จในการใช้HighFlowNasalCannulaได้5.59เท่าอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติส�าหรับในกลุ่มที่มีความล้มเหลวจากการใช้งานHighFlowNasalCannulaพบว่าค่าPaO2ที่ไม่เพิม่ขึ้นภายใน1ชั่วโมงแรกสามารถท�านายอัตราตายในหอผูป่้วยวกิฤตได้3.379เท่าอย่างมีนยัส�าคัญทางสถติิดังนัน้พยาบาลต้องมีการตดิตามระดับออกซิเจนของผูป่้วยอย่างต่อเนือ่งและต้องมีการ

ตัง้ค่าการร้องเตอืนทีเ่หมาะสมในผูป่้วยทีมี่โอกาสเกดิความล้มเหลวจากการรักษาด้วยHigh FlowNasalCannula

ในขณะใช้งาน High-Flow Nasal Cannula ต้องดูแลมิให้มีการขัดขวางการไหลของอากาศเข้าสู่ผู้ป่วย จากการกลั่นตัวเป็นหยดน�้า (Condense) จากความแตกต่างของอุณหภูมิในสาย circuitและอุณหภูมิห้อง ควรยกสาย circuit ให้สูงให้ไอน�้าเข้าสู ่ chamber รวมถึงมีการตรวจสอบและป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการใช ้งานเช่น แผลกดทับในจมูก อาการท้องอืด ผู ้ป ่วย ที่ใส่สายให้อาหาร ให้ดูดลมออกจากสายให้อาหาร ทกุ2-4ชัว่โมงหรอืก่อนให้อาหารทกุครัง้17ในผูป่้วยที่มีค่าSpO2ลดลงอย่างรวดเรว็มีอาการเหนือ่ยมากขึน้ทนัทีควรรายงานแพทย์ทนัทีเพ่ือพิจารณาตรวจchestX-rayประเมินภาวะลมรั่วของเยื่อหุ้มปอด17

ส�าหรับการหย่าการใช้ High Flow Nasal Cannulaเมื่อผู้ป่วยมีสัญญาณชีพที่ตอบสนองต่อการรักษาได้แก่อัตราการเต้นของหัวใจอัตราการหายใจลดลงร้อยละ20ของค่าเริม่ต้นหรอืมีค่าSpO2>95% ให้พิจารณาปรับลดFiO2จนถึง0.4คงการใช้HighFlowNasal Cannula ไว้ 12-24 ชั่วโมง หรือตามภาวะโรค เม่ือประเมินว่าผู้ป่วยอาการดีขึ้นให้ปรับลดtotalflowrateทุก1-4ชั่วโมงจนเหลือtotalflowrate < 25 ลิตรต่อนาที11 แล้วจึงเปล่ียนไปใช้ lowflownasalcannulaหรือหยุดใช้HighFlowNasalCannulaเมื่อหมดข้อบ่งชี7้

การใช้ High FlowNasal Cannula ในผู้ป่วยผูใ้หญ่ทีมี่ภาวะพร่องออกซิเจนการจัดท่าการmonitorดังแสดงในรูปที่2

Page 7: การพยาบาลผู้ป่วยผู้ใหญ่ที่มีภาวะ พร่องออกซิ - ThaiJo

66

เวชบันทึกศิริราช บทความทั่วไป

รูปที่ 2.แสดงการใช้HighFlowNasalCannulaในผู้ป่วยผู้ใหญ่ที่มีภาวะพร่องออกซิเจนการจัดท่าและการmonitorที่มา:หอผูป่้วยวกิฤต72ปีชัน้5ตะวนัตกคณะแพทยศาสตร์ศริริาชพยาบาลถ่ายภาพเม่ือวนัที่22ตลุาคม2560

ภาวะแทรกซ ้อนจากการใช ้ High-Flow Nasal Cannula 8, 11, 17

ภาวะแทรกซ้อนจากการใช้ High Flow NasalCannula ส่วนใหญ่ที่พบเป็นภาวะที่ไม่รุนแรง เช่นเสียงดังรบกวน จากอัตราการไหลของออกซิเจนสูงอาจมีเสยีงดังถงึ80เดซเิบลอาจมีออกซิเจนบางส่วนรัว่เข้าไปในทางเดินอาหารท�าให้เกดิอาการท้องอืดการใส่ต�าแหน่งcannulaทีช่ดิจมูกมากเกนิท�าให้เกดิแผลกดทบับรเิวณจมูกและภาวะแทรกซ้อนอ่ืนๆพบได้น้อยเช่น การเกิด pneumothorax อาจสัมพันธ์กับขนาดของnasal prongที่ใหญ่เกินไปจนอุดรูจมูกทั้งหมดท�าให้ความดันบวกระบายออกสู่ภายนอกไม่ได้

กรณีศึกษา

ผูป่้วยชายไทยอายุ59ปีunderlyingHT,BPH,Asthmaมารบัการรกัษาด้วยAspirationPneumonia

ได้รับการใส่ท่อช่วยหายใจ ใช้เครื่องช่วยหายใจและรักษาด้วยยาปฏิชีวนะ3วันต่อมาอาการดีขึ้นรู้ตัวมีเสมหะมากบ่นเจบ็คออยากถอดท่อช่วยหายใจแพทย์ประเมินอาการ CXR: alveolar infiltration ลดลง ให้ถอดท่อช่วยหายใจใช้HighFlowNasalCannula ตั้ง total flow 30 LPM Temp 34OC FiO2 0.4 (OxygenFlow4LPM)จัดpositionศรษีะสงู30–45O หลัง on High FlowNasal Cannula 10 นาที ผู้ป่วยไอมีเสียงเสมหะ ขับออกเองไม่ได้ ช่วย suctionได้secretionเหนียวข้นฟังlungมีเสียงsecretionsoundbothlungปรับเพิ่มTemp37OCผู้ป่วยยังหายใจเร็ว forceRR ~ 28-32BPMปีกจมูกบาน อ้าปากหายใจSpO2~92-93%รายงานแพทย์ทราบปรับเพิ่มTotal flowทุก10นาที จนถึง60LPMตามล�าดับอธบิายให้ปิดปากให้สนทิใช้สายรดัคางช่วย อยู่เป็นเพ่ือนให้เกิดความม่ันใจในการใช้งาน ดูแลให้พักผ่อน เปิดเพลงที่ชอบให้ฟัง เพ่ือเบี่ยงเบนความสนใจหลังจากปรับเครื่องประมาณ30นาที หายใจ

Page 8: การพยาบาลผู้ป่วยผู้ใหญ่ที่มีภาวะ พร่องออกซิ - ThaiJo

67

ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 ม.ค. — มี.ค. 2563

ช้าลงRR~24-26BPMSpO2 ~ 94-95% เพิ่มFiO2เป็น0.5หายใจsmoothSpO2~97-99%ให้onHighFlowNasalCannulaตลอดทั้งคืนจนครบ 24hrV/Sstableแพทย์เริม่หย่าเครือ่งHighFlowNasalCannulaโดยปรบัลดFiO20.3ลดtotalflowลงครัง้ละ 10LPMจนเหลือtotalflow20LPMรวมใช้HighFlowNasalCannula4วันไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนจากการใช้HFNCเปลี่ยนเป็นO2cannula5LPMหายใจsmoothRR16-20BPMSpO2~97-99%

การพยาบาลท่ีให้ส�าหรับกรณีศึกษา

การประเมินความพร้อมของผู้ป่วยก่อนการใช้งานHigh FlowNasal Cannula จากสัญญาณชีพ ลักษณะการหายใจ จัดท่าศีรษะสูง 30 – 45O

กระตุน้ให้ไอและช่วยดูดเสมหะเพ่ือใหท้างเดินหายใจโล่ง ปอดขยายตัวดี อธิบายถึงความจ�าเป็นในการใช้งาน เลือกขนาดของCannula ให้เหมาะสมปรับตั้งค่าตามแผนการรักษา ให้ผู้ป่วยลองสัมผัสลมจากเครื่อง High Flow Nasal Cannula เพ่ือเตรียมความพร้อมด้านร่างกายและจิตใจ อยู่เป็นเพ่ือนในระยะ 30 นาทีแรก เพ่ือให้เกิดความม่ันใจว่าจะมี เจ้าหน้าทีช่่วยเหลอืได้ตลอดเวลาหากมีอาการผดิปกต ิติดตามสัญญาณชีพทุก 15 นาทีใน 1 ชั่วโมงแรกและ ทุก 30 นาทีในชั่วโมงถัดมา และทุก 1 ชั่วโมง วัดSpO2ตลอดเวลาดูแลปรับalarmmonitoringให้เหมาะสม เฝ้าระวังความล้มเหลวจากการใช้งานโดยสงัเกตการตอบสนองจากอาการแสดงการฟังเสยีงปอดรายงานแพทย์ทนัทีเ่ม่ือมีอาการหอบSpO2ต�า่กว่า ระดับที่ก�าหนด เพ่ือปรับการตั้งค่าของเครื่อง พร้อมทั้งจดบันทึกการปรับตั้งค่า ค่า ROX index ภายใน12ชั่วโมงแรกหลังปรับตั้งค่า~7.4-7.6แสดงถึงมีโอกาสเกิดความล้มเหลวในการใช้HighFlowNasalCannula ต�่า ส่งเสริมให้ผู้ป่วยพักผ่อนเพ่ือลดการใช้ออกซิเจน เบี่ยงเบนความสนใจ โดยการฟังเพลงเพ่ือช่วยให้ผ่อนคลาย ลดการใช้ออกซิเจน เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน จากการใช้งาน ติดตามผลเลือด ผลเอกซเรย์ปอดตามความเหมาะสม หย่าการใช้งานตามแผนการรักษา พร้อมทั้งประเมินความล้มเหลวจากการหย่าการใช้งานเพื่อให้การใช้งานHighFlowNasalCannulaมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด

บทสรุป

High-Flow Nasal Cannula เป็นการรักษาด้วยออกซิเจนอัตราการไหลสูงและสามารถปรับให้มีความชื้นที่เหมาะสมส�าหรับการหายใจ ช่วยให้การหายใจและการแลกเปลี่ยนก๊าซของผู้ป่วยดีขึ้น ลดอัตราการใส่เครื่องช่วยหายใจ ระยะเวลาในการรักษาตัว สามารถน�าไปใช้รักษาโรคระบบทางเดินหายใจในผูป่้วยภาวะวกิฤตโดยเกดิภาวะแทรกซ้อนต�า่ พบมีข ้อจ�ากัดการใช ้งานในผู ้ป ่วยที่ภาวะพร ่องออกซิเจนรุนแรงหรือมีภาวะอวัยวะล้มเหลวหลายระบบ ดังนั้นการใช้งานต้องคัดเลือกผู้ป่วยที่มีความเหมาะสม มีการเฝ้าระวังการเกิดความล้มเหลวจากการใช้งานอย่างใกล้ชิดหย่าเครื่องตามแผนการรักษาเพื่อประโยชน์สูงสุดในการใช้งาน

เอกสารอ้างอิง

1. Jones ES. Oxygen Therapy. Essential Intensive Care. Dordrecht:SpringerNetherlands;1978.p.71-85.2. FratJP,CoudroyR,MarjanovicN,ThilleAW.High-flownasal oxygentherapyandnoninvasiveventilationinthemanagement of acute hypoxemic respiratory failure. Ann Transl Med 2017;5:297.3. Ito J, Nagata K, Sato S, Shiraki A, Nishimura N, Izumi S, et al. Theclinical practiceof high-flownasal cannula oxygen therapy in adults: A Japanese cross-sectional multicenter survey. Respiratory Investigation 2018;56(3): 249-57.4. NishimuraM.High-flownasalcannulaoxygen therapy in adults.JIntensiveCare2015;3:15.5. Parke RL. High-Flow Nasal Cannula Oxygen in Acute RespiratoryFailureAfterExtubation:KeyPracticalTopicsand Clinical Implications. In: Esquinas AM, ed. Noninvasive MechanicalVentilationandDifficultWeaninginCriticalCare: Key Topics and Practical Approaches. Cham: Springer InternationalPublishing;2016.p.139-46.6. ParkeRL,BlochA,McGuinnessSP.Effectofvery-high- flownasaltherapyonairwaypressureandend-expiratory lung impedance in healthy volunteers. Res Care 2015;60:1397-403.7. PorhomayonJ,El-SolhAA,PourafkariL,JaoudeP,Nader ND.Applicationsofnasalhigh-flowoxygentherapyincritically illadultpatients.Lung2016;194:705-14.8. VanLooM,SottiauxT."HighFlowNasalCannulaoxygenation foradultpatientsintheICU:Aliteraturereview".ActaAnaesth Belg2016;67:63-72.

Page 9: การพยาบาลผู้ป่วยผู้ใหญ่ที่มีภาวะ พร่องออกซิ - ThaiJo

68

เวชบันทึกศิริราช บทความทั่วไป

9. HernandezG,RocaO,ColinasL.High-FlowNasalCannula SupportTherapy:NewInsightsandImprovingPerformance. In:VincentJ-L,editor.AnnualUpdateinIntensiveCareand EmergencyMedicine 2017. Cham: Springer International Publishing;2017.p.237-53.10. GoteraC,DíazLobatoS,PintoT,WinckJC.Clinicalevidence onhigh flowoxygen therapyandactivehumidification in adults.RevPortdePneumo.2013;19:217-27.11. Renda T, Corrado A, Iskandar G, Pelaia G, Abdalla K,NavalesiP.High-flownasaloxygentherapyinintensive careandanaesthesia.BrJAnaesth2017;120:18-27.12. NiY-N,LuoJ,YuH,LiuD,LiangB-M,LiangZA.Theeffect of high-flownasal cannula in reducing themortality and therateofendotrachealintubationwhenusedbeforemechanical ventilationcomparedwithconventionaloxygentherapyand noninvasivepositivepressureventilation.Asystematicreview andmeta-analysis.AmJEmergMed2018;36:226-33.13. Rittayamai N, Tscheikuna J, Rujiwit P. High-flow nasal cannulaversusconventionaloxygentherapyafterendotracheal

extubation: a randomized crossover physiologic study. ResCare2014;59:485-90.14. ChoWH, Yeo HJ, Yoon SH, Lee S, SooJeon D, Kim YS,etal.High-flownasalcannulatherapyforacutehypoxemic respiratoryfailureinadults:aretrospectiveanalysis.Intern Med2015;54:2307-13.15. KangBJ,KohY,LimC-M,HuhJW,BaekS,HanM,etal. Failureofhigh-flownasalcannulatherapymaydelayintubation andincreasemortality.IntensiveCareMed2015;41:623-32.16. RocaO,MessikaJ,CaraltB,García-de-AciluM,Sztrymf B,RicardJD,etal.Predictingsuccessofhigh-flownasal cannulainpneumoniapatientswithhypoxemicrespiratory failure:TheutilityoftheROXindex.JCritCare2016;35: 200-5.17. รฐัพลอุปลา.High-FlowNasalCannula.ใน:สทุศัน์รุง่เรอืงหริญัญา, เพชร วัชรสินธ์, ภัทริน ภิรมย์พานิช, รุจิภัตต์ ส�าราญส�ารวจกิจ, สุณีรัตน์ คงเสรีพงศ์, กวีศักด์ิ จิตตวัฒนรัตน์, บรรณาธิการ. MechanicalVentilation:TheEssentials.พิมพ์ครั้งที่3.บียอนด์ เอ็นเทอร์ไพรซ์;2560.หน้า.173-89.