YOU ARE DOWNLOADING DOCUMENT

Please tick the box to continue:

Transcript
Page 1: Brochure 2007 thai

หลักสูตรสารสนเทศทางชีวมณฑล สาขาวิชาสารสนเทศทางสงัคม คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเกยีวโตhttp://bre.soc.i.kyoto-u.ac.jp/

โทรมาตรทางชีวภาพ (Biotelemetry) * การบันทึกขอมูลทางชีวภาพ (Bio-logging)การตรวจวัดขอมูลทางชีวภาพระยะไกลโดยใชเครื่องสงสัญญาณและเครื่องบันทึกขอมูล

การวิเคราะหและรวบรวมขอมูลทางนเิวศนวทิยาเพื่อการอยูรวมกันระหวางมนุษยและสิ่งมีชีวิตที่เสี่ยงตอการสูญพันธุ

มนษุยนัน้มคีวามจําเปนอยางยิ่งในการนําทรัพยากรสิ่งมีชีวิตมาใชเปนแหลงอาหารอยางยั่งยนืโดยไมทาํลายระบบนเิวศน แตความรูเกี่ยวกับระบบนิเวศนทางน้าํ โดยเฉพาะอยางยิง่ ทะเล แมน้าํ ทะเลสาบ นั้นยังมีสวนที่ยงัมไิดทาํการศึกษาอยางกระจางชดัอยูมาก ในขณะเดียวกนัก็ยังคงมคีวามสามารถที่จะเปนแหลงอาหารที่จาํเปนแกมนษุยเราอยางยั้งยนืและหมนุเวยีน ขณะเดยีวกันในปจจุบันสิ่งมีชีวติในระบบนเิวศนน้าํจาํนวนมากกลับมีแนวโนมจะสูญพันธุดวยสาเหตตุางๆมากมาย นอกจากนั้นสิ่งมีชีวิตที่มไิดถูกนํามาใชในฐานะเปนทรัพยากรโดยตรงก็ยังคงมคีวามเสี่ยงตอการสูญพันธุอีกดวย ซึง่สามารถกลาวไดวาการแกไขปญหาดังกลาวเพื่อการดํารงอยูรวมกันระหวางการอนุรักษสิ่งมชีวีิตตางๆเหลานัน้กับสังคมโลกนั้นเปนปญหาที่สาํคัญในระดบัโลก

แหลงทรัพยากรของสิ่งมีชีวิตและนิเวศนวิทยาทางน้าํซึง่ยังไมไดทําการศึกษา

ฮิโรมิชิ มิตามูระ (PD. Ph.D Kyoto)นักวิจัย JSPSหัวขอวิจัยงานวิจัยเก่ียวกับพฤติกรรมทางนิเวศนวิทยาของปลา ( Rockfish และ ปลาบึก) ( ศึกษาตอท่ีประเทศนอรเวย)

โทยะ ยาสุดะ (PD, Ph.D. Kyoto)นักวิจัย JSPSหัวขอวิจัยวงจรและรูปแบบการสืบพันธุของเตาทะเลตัวเต็มวัย

จุนนิชิ โอกุยามา (นักวิจัย. Ph.D. Kyoto)

หัวขอวิจัยการอนุรักษเชิงชีววิทยาและพฤติกรรมทางนิเวศนวิทยาของเตาทะเล

โคทาโร อิชิกาวา (D3)นักวิจัย JSPSหัวขอวิจัยการวิจัยเก่ียวกับเสียงทางระบบนิเวศนของพะยูนโดยใชเคร่ืองมือบันทึกเสียงอัตโนมัติ

ยูกิ คาวาบาตะ (M2)หัวขอวิจัยการศึกษานิเวศนวิทยาของBlackspot tuskfishและการสรางเทคโนโลยีการปลอยคืนสูธรรมชาติ

โนบุอากิ อาไร (รองศาสตราจารย Ph.D. Kyoto)หัวขอวิจัยการวิเคราะหขอมูลเก่ียวกับทรัพยากรสิ่งมีชีวิตทางน้ําโดยใชโทรมาตรชีวภาพและการบันทึกขอมูลทางชีวภาพ

ทากาชิ โยโกตะ (D2)นักวิจัย JSPSหัวขอวิจัยการศึกษานิเวศนวิทยาของ tilefish และการสรางเทคโนโลยีการปลอยคืนสูธรรมชาติ

นักวิจัย:

พะยูน เตากระ

ปลาบึก

เคนโกะ คาตาโกะ (M2)หัวขอวิจัยการศึกษาพฤติกรรมการดํารงชีวิตและวงจรการดําเนินชีวิตของเตากระ

โคกิ นากามูระ (M2)หัวขอวิจัยการติดตามพฤติกรรมของปลากะรังดอกแดงในอาวปาชายเลน

นานาโกะ อะมาโมโต(M1)หัวขอวิจัยการศึกษาพฤติกรรมการหาอาหารของพะยูนโดยใชเสียงรอง

ซาโตโกะ คิมูระ (M1)หัวขอวิจัยการวิเคราะหพฤติกรรมการเคลื่อนท่ีของโลมาหัวบาตรดวยวิธีการสํารวจโดยเสียง

โคซุเอะ ชิโอมิ (M1)หัวขอวิจัยการวิเคราะหพฤติกรรมแบบ 3 มิติของเพนกวิน

ฮิเดอากิ นิชิซาวา (M1)หัวขอวิจัยการศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมการวายน้ําของตัวออนเตาทะเล

(ณ ปจจุบัน เดือนพฤษภาคม ป 2007 )

ริกะ ชิรากิ (M1)หัวขอวิจัยการวิเคราะหเสียงรองของพะยูน

โชอิจิ มาชิโนะ(B4)หัวขอวิจัยพฤติกรรมและมลพิษที่เกิดกับสัตวเลี้ยงลกูดวยนมในทะเล

ทะกูจิ โนดะ(B4)หัวขอวิจัยการพัฒนาเคร่ืองบันทึกเพื่อทําการศึกษาพฤติกรรมการดํารงชีวิตของปลาทะเลลกึ

นกเพนกวินพันธุ Adélie

หลักสูตรสารสนเทศทางชีวมณฑลนั้นคือวธิีการสงัเกตการณแบบใหมโดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศ ไดแก โทรมาตรทางชีวภาพและการบันทึกขอมูลทางชีวภาพในการศึกษาขอมูลทางนิเวศนวิทยาของสิง่มีชีวติในน้าํซึ่งไมสามารถติดตามศึกษาไดดวยตา โทรมาตรทางชีวภาพและการบันทึกขอมูลนั้นจะทาํการฝงเครื่องสงสัญญาณและเครื่องบันทึกสัญญาณขนาดเล็กลงบนตัวสตัวเพื่อที่จะเกบ็ขอมลูทางดานพฤติกรรมและสิ่งแวดลอมที่เปนอยูในน้าํ ถือวาเปนวิธีการที่สามารถสังเกตการณสิง่ทีไ่มสามารถมองเห็นได ผลการวิจัยที่ไดรับมากหมายหลายชิ้นเปนประโยชนอยางยิ่งเกี่ยวกับสิง่แวดลอมและทรัพยากรสิ่งมีชีวิตทางน้ําซึ่งเปนเขตแดนสุดทายทีย่ังคงเหลืออยูบนพื้นโลก

Page 2: Brochure 2007 thai

0

システムメンテナンス

0 18:00 – 6:00

0

システムメンテナンス

0 18:00 – 6:00 18:00 – 6:00 18:00-06:00

機器調整

18:00 – 06:00

2/2500:00

2/2600:00

3/100:00

3/200:00

0

60

120

5分間

の鳴

音数

0

システムメンテナンス

0 18:00 – 6:00

0

システムメンテナンス

0 18:00 – 6:00 18:00 – 6:00 18:00-06:00

0

システムメンテナンス

0 18:00 – 6:00

0

システムメンテナンス

0 18:00 – 6:00 18:00 – 6:00 18:00-06:00

機器調整

18:00 – 06:0018:00 – 06:00

2/2500:00

2/2600:00

3/100:00

3/200:00

0

60

120

5分間

の鳴

音数

พะยูน (รูปที่ 1) นั้นเปนสัตวในอันดับ (Order) Cetacea ครอบครัว(family) Dugongidae และสกุล (Genus) Dugongซ่ึงเปนสัตวทะเลเลี้ยงลูกดวยนมชนดิกินพชืและสามารถสงเสยีง ดํารงชวิีตอยูในบรเิวณชายฝงตัง้แตในเขตรอนชื้นจนถึงเขตกึ่งรอนชื้น และมีปริมาณลดลงตามแหลงที่อยูอาศัย จนตัง้แตป 2000 เปนตนมา สหภาพสากลวาดวยการอนุรักษ (IUCN) ไดจัดใหพะยูนอยูในบัญชีแดง (Red list)ประเภทที่มีแนวโนมใกลสูญพันธ (VU)

การวางแผนเพื่อการใชทรัพยากรสิ่งมีชีวิตทางทะเลอยางยั่งยืนโดยที่ยังสามารถอนุรักษสัตวเล้ียงลูกดวยนมในทะเลที่หายากไปพรอมกันกับการดําเนนิกิจกรรมตางๆบริเวณริมฝงทะเลของมนุษยยังคงเปนประเด็นปญหาที่ตองการการแกไขอยางยิ่ง และเพ่ือเปนการลดผลกระทบตอทั้งประชาชนในพืน้ที่และสัตวเล้ียงลูกดวยนมจึงจาํเปนตองศึกษาขอมูลทางพฤติกรรมในวงจรชีวิตของสัตวเหลานั้น ซึ่งทางหลักสูตรสารสนเทศทางชีวมณฑล กําลังดําเนินการศึกษาขอมูลดังกลาวของพะยูนและโลมาหัวบาตร

โลมาหัวบากNeophocaena phocaenoides(รูปท่ี 2)เปนสัตวในอันดับ (Order) Cetacea , อันดับยอย (Suborder)

Odontoceti ครอบครัว (Family) Phocoenidae และสกุล Neophocaena จัดเปนประเภทวาฬขนาดเล็กท่ีมีความยาวไมถึง 2 เมตร ซึ่งจากการที่โลมาหัวบากกําลังมีปริมาณลดลงจึงไดถูกระบุในเอกสารแนบที่ 1 ของการประชุม Washington Convention และไดถูกจัดใหอยูในบัญชีแดง (Red list)ของ IUCN ในรูปท่ี 2 นั้นเปนภาพของโลมาหัวบาตรแมลูกชนิดChinese River Dolphin ท่ีพบในแมน้ําแยงซีเกียง ประเทศจีน

ในปจจุบัน เกิดการปนเปอนมลพิษในทะเลอยางตอเนื่อง ซ่ึงทําใหเกิดการสะสมในรางกายของสัตวทะเลอยางตอเนื่อง ซ่ึงสําหรับสัตวทะเลเลี้ยงลูกดวยนมที่อยูในระดับสูงของหวงโซอาหารนั้นเปนการสะสมของสารเคมีอันตรายจํานวนมาก จากการศึกษานักวจัิยสามารถทราบขอมูลทั้งทางดานการสะสมของสารเคมีอันตรายและพฤติกรรมการดํารงชวิีตของสัตวทะเลเลี้ยงลูกดวยนมไดในขณะเดียวกัน ซ่ึงเปนประโยชนอยางยิง่ในการดําเนินการอนุรักษไดอยางครอบคลุมตอไป (นักวิจัย : มาชโิน)

ในงานวจัิยนี้สามารถใชขอมูลที่ไดรับเพื่อการสรางมาตรการที่ดใีนการแกปญหาความขัดแยงและรบกวนกันที่เกิดข้ึนระหวางมนุษยและสัตวบรเิวณริมชายฝงโดยประยุกตใชขอมูลสารสนเทศทางดานพฤติกรรมของสัตวทีเ่ปนเปาหมาย สําหรับในหลักสูตรสารสนเทศทางชวีภาพนั้นมีความสัมพันธเกี่ยวเนื่องอยางใกลชดิกับปญหาระหวางการทําประมงและสังคมมนุษยซ่ึงตองการองคความรูแบบบรูณการทั้งทางดาน การประมง เทคโนโลยีสารสนเทศ และทางชีววิทยาในการแกปญหาเหลานั้น

รูปที ่2 : โลมาหัวบาตรแมลูกในสถานเพาะเลี้ยงรูปที ่1 พะยูนกําลังหาอาหาร ณ บรเิวณทะเลน้าํตื้น

เสียงที่พะยูนและโลมาหัวบาตรสงออกมาใตน้าํสามารถที่จะทาํการบันทึกและใชวิเคราะหโดยหลักการทางเสียงเพื่อที่จะคนหาตาํแหนงเฉพาะตัวของตนกาํเนดิเสียงได (รูปที่ 3 , 4 ) กลาวคือสามารถทาํการหาตาํแหนงของตนกาํเนดิเสียงไดจากจดุตดัของเสียงทีเ่ดนิทางมาถึง โดยใชเครื่องบันทึกเสียงสเตอริโอหลายๆเครื่อง และเนื่องจากการศึกษาทางเสียงแบบรับสัญญาณนั้นเปนการบันทึกเสยีงใตน้าํเทานัน้ จึงมีผลกระทบตอพฤติกรรม และการดํารงชีวติของพะยูนและโลมาหัวบาตรนอยมาก

การศึกษาทางเสียงแบบรับสัญญาคือ

AUSOMS-D

รูปที่ 3. การศึกษาทางเสียงแบบรบัสัญญาณของพะยูน

รูปที่ 4. ประตตูรวจจบัสัญญาณเสียงแบบรบัสัญญาณของโลมาหัวบาตร

W20-ASII

รูปท่ี 5 : แผนภาพโซนาแกรมของเสียงพะยูน เสียงรองมีลักษณะแหลมเล็กวา “ปโย ปโย”

รูปท่ี 6 : กิจกรรมของพะยูนซึ่งพบวาพะยูนทํากิจกรรมตางๆในเวลากลางคืน โดยเฉพาะในชวงเชา 3:00 –6:00 จะสามารถบันทึกเสียงรองไดมาก (ผูวิจัย : อิชกิาวา)

ตนน้ํา

ทายน้ํา

4/2815:58:45 15:58:50 15:58:55 15:59:00

60

0รูปท่ี 7 : ความดันคลื่นเสียง (Pa) ของเสียงโซนาของโลมาหัวบาตร(สวนบน) และการเปลี่ยนแปลงทางเวลาของทิศทางการมาของเสียง (สวนลาง)จากภาพสามารถแสดงไดวาโลมาหัวบาตร 1 ตัววายน้ําจากตนน้ําไปยังทายน้ํา(ผูวิจัย : คิมุระ)

รูปท่ี 8 : เสียงการกินอาหาร (ในรูป F)สามารถบันทึกเสียงการกินหญาทะเลของพะยูนซึ่งพบวามีจังหวะเวลาในการกัดคงที่

พบวาพะยูนรวมตัวกันเพือ่หาอาหารที่บริเวณน้ําขึ้นทวมถึง ซึ่งอยูระหวางการศึกษาหาเหตุผลในการหาอาหารในบริเวณน้าํขึ้นทวมถึงท่ีเต็มไปดวยอันตรายของพะยูน (ผูวิจัย : อามาโมโตะ) รูปท่ี 9 : เคร่ืองบันทึกเสียงสําหรับพะยูน

耐圧容器 ICレコーダー

130mm

φ=

30 m

m

吸盤

ハイドロホン

耐圧容器 ICレコーダー

130mm

φ=

30 m

m

吸盤

ハイドロホンการพัฒนาอุปกรณบันทึกเสียงเสยีงรองทีต่ิดเขากับพะยูนโดยตรง (รูปที่ 9 )

ซ่ึงเปนประโยชนอยางยิง่โดยเฉพาะในการศึกษาเกี่ยวกับการสื่อสารระหวางแมลูก (ผูวิจัย : ชริากิ)

บริเวณทะเลที่ทําการศึกษา

2s 経過時間

20

10

0

kHz

周波

จํานวน

เสียงรอ

งในชว

งเวลา

5 นาที

ปรับเคร่ืองมือ

ความถี่ค

ลื่น

ไฮโดรไฟน

ภาชนะทนความดัน

ตัวดูด

เคร่ืองบันทึก IC

เวลาที่ผานไป

การศึกษาทางเสียงแบบรับสัญญาณของสัตวเล้ียงลูกดวยนมที่หายาก

Page 3: Brochure 2007 thai

รูปแบบการวายน้ําและการกระจายตัวในมหาสมุทรของลูกเตาทะเล

ลักษณะเฉพาะของการใชแหลงท่ีอยูอาศัยของลูกเตาทะเลการสืบพันธุของตัวเต็มวัย

รูปซาย : เตาตนุท่ีข้ึนฝงมาวางไขรูปลาง : (a) อาวไทย และ (b) ผลการติดตามเสนทางการเคลื่อนท่ีของเตาตนุในทะเลอันดามัน

เตาทะเลเมื่อโตเต็มวัยจะวายน้ําไปมาระหวางแหลงหาอาหารกับชายหาดที่เปนสถานที่วางไขซึ่งใชชวงระยะเวลาตอวงจรประมาณ 3 ป ระยะทางอาจมีไดนับพันกิโลเมตรเมื่อตัวเมียเขาสูฤดูวางไข จะทําการวางไขซ้ําๆกันเปนระยะเวลาถึง 2 สัปดาห ซึ่งอาจมากถึง 10 คร้ัง ซึ่งการวางไขโดยท่ัวไปจะเกิดขึ้นในฤดุท่ีมอุีณหภูมิสูงสุด

สําหรับการปลอยเตาทะเลออกสูธรรมชาตินั้นปญหาที่สําคัญอยางมากไดแก เตาทะเลทีถู่กเพาะเลี้ยงขึ้นจะสามารถวายน้ําในมหาสมุทรไดหรือไม และจะสามารถปรับตัวเขากับสภาพแวดลอมของมหาสมุทรไดหรือไม ดังนั้นจึงจําเปนตองศึกษาขอมูลขอมลูของเตาทะเลในแตละระดับขั้นตอนการเจริญเติบโต เชน ความเร็วและวงจรการเคลื่อนท่ี รวมถึงความถี่ในการกระพือครีบ เพือ่ใชในการประเมินประสิทธิภาพในการวายน้ํา ซึ่งจากขอมลูดังกลาว สามารถทําการศึกษาวิธีท่ีเหมาะสมที่สุดในการปลอยเตาทะเลออกสูธรรมชาติอยางปลอดภัย (ผูวิจัย : นิชิซาวา)

วันที่ 1 หลักจากฟกออกจากไข

วันท่ี 28-56 หลักจากฟกออกจากไข

体重(g)10 100 1000

10

1

羽ば

たき

頻度

(Hz)

0.1

ทดลองในธรรมชาติ

ทดลองในบอเลี้ยง

前後

軸方

向の

加速

度(m

/s2 )

1回の羽ばたき

3

-3

0

13:39:18 13:39:202006/10/25

รูปซายบน : ขอมูลรูปคลื่นอัตราเรงของการกระพือครีบท่ีไดจากเครื่องบันทึกขอมูลความเรงรูปกลางบน : การเปลี่ยนแปลงความถี่ในการกระพือครีบตามการเติบโตรูปขวา : วงจรการเคลื่อนท่ีของลูกเตาทะเลหลังจากถกูปลอยออกสูธรรมชาติในแตละขัน้การเติบโต

วันท่ี 28วันท่ี 7

วันที่ 1 หลังจากฟกตัว

วันท่ี 99

เกาะยะเอยามะโชโท จังหวัดโอกินาวาเปนแหลงท่ีอยูอาศัยของลูกเตากระซึ่งชาวญี่ปุนคุนเคยเปนอยางดีโดยเฉพาะกระดอง คณะผูวิจัยมีวัตถุประสงคท่ีจะทําการศึกษาวงจรชีวิตของเตากระโดยการติดเครื่องบันทึกขอมูลเก่ียวกับอุณหภูมิและความลึกของน้ําท่ีบริเวณดานหลังของลูกเตา ซึ่งอุปกรณเหลานี้จะสามารถตั้งเวลาใหสามารถหลุดออกไดอยางอัตโนมัติ และลอยขึ้นสูผิวน้ําได ซึ่งในอดตีการนําอุปกรณบันทึกขอมูลกลับคืนมาจากสัตวน้ําท่ีวายน้ําไดอยางอิสระยังคงเปนปญหาใหญ แตในปจจุบันนั้นสามารถทําการแกไขปญหาดังกลาวไดสําเร็จ ( ผูวิจัย : คาตาโอกะ)

รูปซาย : เตากระท่ีถูกติดเคร่ืองบันทึกขอมูลท่ีสามารถหลุดออกได

รูปลาง : ขอมูลการดําน้าํของเตากระท่ีวัดไดจากเคร่ืองบันทึกขอความ

深度(m)

15:00 16:00 17:00

15

30

เตาทะเลวงจรชวิีตของสัตวจําพวกเตาทะเลนั้นตั้งแตเกิดจนถึงระยะสืบพันธุนัน้มีการดํารงชวิีตอยูในทุกสถานที่ไมวาจะเปน ชายหาด มหาสมุทร บรเิวณริมฝง โดยในหลักสูตรสารสนเทศทางชวีมณฑลไดทําการสํารวจเพื่อที่จะทําความเขาใจในวงจรชวิีตภาพรวมของเตาทะเลตัง้แตเริ่มออกจากไขไปจนถึงตัวเต็มวัยซ่ึงเริ่มสืบพันธุ โดยเฉพาะอยางยิ่งรูปแบบพฤติกรรมตามการเติบโต และการเปลีย่นแปลงตามลําดับข้ันการดําเนินชวิีต รวมถึงการเปลี่ยนแปลงแหลงที่อยูอาศัย จากขอมูลเชงิอเิล็กโทรนิกทางดานสภาวะแวดลอมรอบขางและพฤติกรรม ซ่ึงไดดําเนินการศึกษา ณ เกาะยะเอยามะโชโท จังหวัดโอกินาวาซึง่เปนบรเิวณเขตกึ่งเขตรอน และที่บริเวณเขตรอนทางทะเลภาคใตของประเทศไทย ซ่ึงทําการศึกษาเตากระ Eretmochelys imbricata และเตาตนุ เปนหลัก

ชายหาด

ใชชวิีตลองลอย

แหลงหาอาหาร

บรเิวณชายฝงมหาสมุทร

ในหลักสูตรสารสนเทศชีวมณฑล ไดทําการบันทึกขอมูลการเคลื่อนท่ีและวายน้ําของเตาทะเลโดยการใชแผนปายอิเล็กโทนิก ซึ่งอยูในระหวางการดําเนินการตรวจสอบความสัมพันธระหวางระยะทางของวงจรการเคลื่อนท่ีและพฤติกรรมการวายน้ํากับชวงฤดูการวางไขและจํานวนการวางไข (ผูวิจัย : ยาสุดะ, โอกุยามา)

สถานที่สืบพันธุ

กระพือครีบ 1 คร้ัง

อัตราเ

รงอยูใน

แนวแกน

(m/s2 )

ความถี่ในก

ารกระพือ

ครีบ (

Hz)

น้ําหนัก (g)

ความลึก

Page 4: Brochure 2007 thai

Japanese tilefish นั้นเปนวัตถุดิบราคาแพงของอาหารญี่ปุนชั้นสูงทีเ่รยีกวา “งจิุ” แตในปจจุบัน ปริมาณตามธรรมชาติกําลังลดลงอยางตอเนื่อง จึงทําให Japanese tilefish ไดกลายเปนปลาเปาหมายทีจํ่าเปนตองทําการเพาะเลี้ยง แตอยางไรก็ตามการดํารงชวิีตตามดินโคลนชายฝงของปลาประเภทนี้ยังไมเปนที่เขาใจกระจางชดั ตั้งแตป 2002 เปนตนมา ไดทําการศึกษาตดิตาม ทั้ง Japanese tilefish ตามธรรมชาติและแบบเพาะเลี้ยงโดยใชโทรมาตรชวีภาพอัลตาโซนิก ในชวงเวลากลางวันนั้นสามารถบันทึกสัญญาณเฉพาะตวจํานวนมากไดอยางเปนกลุม แตในเวลากลางคืนแทบจะไมสามารถบันทึกไดเลย (รูปซาย a) จึงสามารถสันนิษฐานไดวาปลาชนิดนี้จะทําการขุดสรางรงัทีพ่ื้นโคลนใตน้ํา และมีวงจรชวิีตโดยทีใ่นเวลากลางวันจะใชชวิีตนอกรงัและจะกลับเขารงัในเวลากลางคืน แตสําหรับปลาที่ถูกเพาะเลีย้งจะมีลักษณะวงจรชวิีตระหวางวันทีต่รงกันขามกัน (รูปขวา b) (ผูวิจัย : โยโกตะ)

100

80

60

40

20

04 5 6 7 8 9 10

21 22 23 24 25 26 27

100

80

60

40

20

0

2003年3月

2003年10月

(a)

(b)

一時

間あ

たり

の受

信回

11

28

รูปบน : Japanese tilefish หลังจากปลอยรูปลาง : ผลการคํานวณความถี่ที่รับสัญญาณตอ 1

ชั่วโมง (a)ตามธรรมชาติ(b)เพาะเลี้ยง

ซ่ือ Blackspot Rockfish อาจไมเปนที่คุนเคยมากนัก (ชื่อทองถิ่น : มะกุบู) แตปลาชนดินี้เปนหนึง่ในปลาราคาแพงทั้ง 3 ชนดิของจังหวัดโอกินาวาซึง่มีราคาสูงมากตามทองตลาด แตในปจจุบนัเนื่องจากปริมาณที่จับไดมีปริมาณลดลง ทําใหจําเปนตองมีการเพิ่มปริมาณในธรรมชาตโิดยการปลอยพันธุปลาที่ทําการเพาะพันธุข้ึน ซ่ึงในหลักสูตรสารสนเทศทางชวีมณฑลนั้น ไดดําเนินการศึกษาหาขอมูลหลงัจากที่ปลอยพันธุปลาลงสูทองทะเลตามธรรมชาตวิา “ทําอะไร” “ที่ไหน” และ “เมื่อไร” โดยใชวิธีโทรมาตรอัลตาโซนกิ จากการศึกษาพบวาปลา Blackspot tuskfish ที่ปลอยลงสูธรรมชาตินั้น จํานวนครึง่หนึ่งจะดํารงชวิีตอยูในบรเิวณที่ทําการปลอยนานกวาครึ่งปข้ึนไป และตอจากนั้นจึงคอยๆขยายขอบเขตการดํารงชวิีตกวางขึ้น นอกจากนั้นยังสามารถแสดงรูปแบบการดํารงชวิีตระหวางวนัไดชัดเจนโดยพบวาในชวงเวลากลางคืนปลา Blackspot Rockfish จะดํารงชวิีตอยูบรเิวณกนทะเล และในเวลากลางวันจะเคลื่อนที่ข้ึนลงไปมาระหวางความลึก 20 เมตรถงึ 10 เมตร (ผูวิจัย : คาวาบาตะ)

2006/10/17 2006/10/15

鉛直移動

水平移動

受信

機ID

滞在

水深

(m

1

3

5

20

10

0

รูปบน : ปลา Blackspot Rockfish เพศเมียตัวเต็มวัยรูปซาย : ปลา Blackspot Rockfish ท่ีปลอยลงสูธรรมชาติเมื่อ เดือนกันยายน ป 2006 ซึ่งมีการเคลื่อนท่ีระหวางวันท้ังขึ้นลงและแนวระดับอยางเปนอุดมคติ บริเวณสีเทาแสดงถึงเวลากลางคืน

船による追跡

設置(待ち受け)型受信機双曲線位置決定用の

設置型受信

データロガー回収システム

船による追跡

設置(待ち受け)型受信機双曲線位置決定用の

設置型受信

データロガー回収システム

ปลาบึก (Pangasianodon gigas) เปนปลาน้ําจดืขนาดใหญที่สุดในโลกมีถิ่นอาศัยอยูในพืน้ที่ลุมแมน้ําโขง ซ่ึงขนาดใหญอาจมีความยาวถึง 3 เมตร และมีน้ําหนักถึง 300 กก. ภายใตคําขอจากรัฐบาลไทยเมื่อป พ.ศ. 2544 คณะผูวิจัยไดริเริ่มโครงการเฝาตดิตามปลาบึกเพื่อทําการศึกษาพฤติกรรมในการดํารงชวิีตโดยการใช เทคโนโลยีโทรมาตรทางชวีภาพ (Biotelemetry) ซ่ึงไดถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อใชทัง้ในแมน้ําโขงและอางเก็บน้ํา (แมปม) ในประเทศไทย ซ่ึงพบวาในชวงเวลากลางวันปลาบกึมีการเคลื่อนที่ข้ึนลงซ้ําๆ แตในเวลากลางคืนไมพบการเคลื่อนที่ข้ึนลง (นักวิจัย :มิตะมูระ)

การศึกษาพฤติกรรมของปลาที่มีความสําคัญทางการประมงโดยใชโทรมาตรชวีภาพอัลตาโซนิก ซ่ึงสามารถทําการเก็บขอมูลเกี่ยวกับพฤตกิรรมโดยวธีิการตางๆ เชนติดตามการเคลื่อนที่ของปลาโดยใชเรือหรือใชวิธีการติดตัง้เครื่องรับสัญญาณใตน้าํเพื่อรับสัญญาณจากตัวปลา เปนตน ซ่ึงในปจจุบันไดมีการพัฒนาวิธีการนําเครื่องบันทึกขอมูลกลับมา ทําใหเปนประโยชนตอการพัฒนาตอไปในอนาคต

สัตวน้ําที่ไดทําการติดเครื่องสงสัญญาณ:ปลาบึก、Japanese tilefish、Blackspot tuskfish、Blackspot rockfish 、ปลาสิงโต、Japaneseseaperch 、ปลากะพงแดง 、Black seabream、Moon jelly 、ปลาเยลโลเทล 、Bluefin tuna 、ปลาไหลทะเล 、Atlantic cod 、Lumpsucker 、Coalfish、ปลาไหลยูโรเปยน เปนตน

เคร่ืองสงสัญญาณอัลตาโซนิก(V16、V8、บริษัทVemco)

เคร่ืองสงสัญญาณชนิดติดตั้ง(VR2、บริษัทVemco)

การติดตามพฤติกรรมของสตัวจําพวกปลา- เพื่อการใชทรัพยากรทางการประมงทีส่ําคญัอยางยั้งยืน-

ปลาบึก

รูปขวา:ปลาบึกรูปบน:การเคลื่อนท่ีขึ้นลงระหวางวันของปลาบึก

Japanese tilefish

Blackspot tuskfish

0

6 June 8 June 2003

369

12

Dep

th (m

) 0

6 June 8 June 2003

369

12

Dep

th (m

)

ติดตามโดยเรือ

ระบบนําเคร่ืองบันทึกขอมูลกลับ

เคร่ืองรับสัญญาณประเภทติดต้ัง (รอรับสัญญาณ)

เคร่ืองรับสัญญาณแบบติดต้ังสําหรับกําหนดตําแหนงพาราโบลิก

ความลึก

(เมตร

)

6 มิถุนายน 8 มิถุนายน 2003

จํานวน

ครั้งที่

รับสัญ

ญาณต

อ 1 ชัว่

โมง

มีนาคม ป 2003

ตุลาคม ป 2003

เคลื่อนท่ีขึ้นลง

ความลึก

ที่พบ (

เมตร)

เคลื่อนท่ีในแนวระดับ

เครื่องรับ

สัญญา

ณID


Related Documents