Top Banner
น�้ำตกตำดชะแนน เดิมชื่อว่า น�้าตกตาดสะแนน ซึ่งค�าว่า ตาดหมายถึง ที่มีน�้าไหล ส่วนค�าว่า สะแนน หมายถึง สูงสุดยอด ความ สวยงามของน�้าตกตาดชะแนนเกิด จากล�าห้วยสะแนนไหลลดหลั่นลงมา ทั้งยังมีขนาดกว้างใหญ่ มีน�้าเฉพาะ ฤดูฝน ระหว่างทางจะผ่านขัวหิน หรือสะพานหิน ซึ่งเป็นปรากฏการณ์ ธรรมชาติ ที่น�้าลอดหายไปใต้สะพาน ความสวยงามของธรรมชาติในบ้าน ภูเงินแห่งนีบ้ำนภูเงิน มาเที่ยวบ้านภูเงิน ต้องมาสัมผัสธรรมชาติที่สวยงามของน�้าตกที่ล้อมรอบพื้นที่ของหมู่บ้าน สามารถพัก โฮมสเตย์ ทานอาหารพื้นบ้าน สัมผัสวิถีชีวิตผู้คนท้องถิ่น ร่วมกิจกรรมของหมู่บ้าน แล้วออกเดินทางไป กราบพระขอพรวัดผาน�้าหยาด และชมธรรมชาติภูวัว มำเยือนถิ่นนี้ กินไรดี เมนูแบบฉบับชาวอีสาน แต่ได้รสชาติ แบบคนบ้านภูเงิน มีทั้งแกงหน่อไม้ อ่อมหวำย ซุป 7 เสี่ยว ปลำร้ำทรงเครื่อง ก้อยหอย กล้วยบวชชี เผือกมัน กรอย กล้วยฉำบ กล้วยทอด และ น�้ำสมุนไพรบ�ารุงร่างกาย อาหารพื้นบ้านรสชาติอร่อย จนอยากให้มาลอง บ้านภูเงิน หมู่ที่ 10 ต�าบลบ้านต้อง อ�าเภอเซกา จังหวัดบึงกาฬ มาบ้านภูเงินเที่ยวไหนดี ของดีมีอะไรบ้างที่บ้านภูเงิน มนต์เสน่ห์ท่องเที่ยววิถีชุมชน ท�าความรู้จัก “บ้านภูเงิน” บ้านภูเงิน บ้ำนภูเงินหมู่ที่ 10 ต�ำบลบ้ำนต้อง อ�ำเภอเซกำ จังหวัดบึงกำฬ บุญเบิกบ้ำน บุญเบิกบ้าน หรือ บุญซ�าฮะ เป็นการปัดรังควาน และขับไล่เสนียดจัญไร เหล่าภูตผีปีศาจหรือสิ่ง ชั่วร้ายให้ออกไปจากหมู่บ้าน ซึ่งค�าว่า “ซ�าฮะ” คือ “ช�าระ” นิยมท�ากันในเดือน 7 โดยสิ่งทีต้องการช�าระให้สะอาดนั้นมี 2 อย่าง คือ ความสกปรกภายนอก ได้แก่ ร่างกาย เสื้อผ้า อาหารการกิน ที่อยู่อาศัย และความสกปรก ภายในจิตใจ ได้แก่ ความโลภ โกรธ หลง จากนั้น จึงท�าพิธีบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมือง เพื่อให้เกิด ความเป็นสิริมงคลแก่หมู่บ้าน บุญสงกรำนต์ เทศกาลวันสงกรานต์ของชาวบ้านภูเงิน มีการจัด พิธีที่สวยงาม โดยในทุกวันที่ 14 เมษายน จะจัด พิธีแห่พระใหญ่ รอบหมู่บ้าน เพื่อให้ชาวบ้าน ร่วมกันสรงน�้าพระ และจะมีงานรดน�้าด�าหัว ขอพรผู้สูงอายุในวันที่ 10 เมษายนของทุกปี เพื่อแสดงความกตัญญูต่อผู้เฒ่าผู้แก่ของหมู่บ้าน รวมทั้งงานท�าบุญตามประเพณีอีกมากมาย สืบสานวัฒนธรรมพื้นบ้านให้คงอยู่นานเท่านาน ประเพณีท้องถิ่น 06-07 มิถุนายน-กรกฎาคม เมษายน 04 ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้าน บ้านภูเงินก่อตั้งในปี พ.ศ. 2518 โดยมี นายถ่าย พรมพุฒ นายสมชาย ภูแช่มโชติ นายสวัสดิ พรมราช นายทอน ขันคุ้ม นายสี เคนค�าพัน และนายโพธิ์ แสนเสน ซึ่งตอนนั้นยังเป็นหมู่บ้านฝากของบ้าน ทุ่งทรายจก หมู่ที่ 4 ต�าบลบ้านต้อง อ�าเภอเซกา จังหวัดหนองคาย โดยมีนายเขื่อน พรมพุฒ เป็นผู้ใหญ่บ้าน จากนั้นจึงเริ่มมีประชากรย้ายมาอยู่เพิ่มมากขึ้น ท�าให้มีความเห็นที่ต่างกัน โดยบางส่วนมีความเห็นว่า อยากขึ้นกับอ�าเภอบึงกาฬ และมีบางส่วนเห็นว่าอ�าเภอบึงกาฬนั้นอยู่ห่างไกล บางส่วนก็ย้ายไปอยู่ทีบ้านค�าภู ต�าบลชัยพร อ�าเภอบึงกาฬ จังหวัดหนองคาย โดยมี นายสมชาย ภูแช่มโชติ เป็นผู้ช่วยผู้ใหญ่ บ้านแห่งบ้านค�าภู และส่วนหนึ่งก็ยังขึ้นอยู่กับบ้านทุ่งทรายจก จนกระทั่งในปีต่อมา เจ้าหน้าที่จากอ�าเภอเซกามาตรวจสอบว่า บ้านภูเงินนั้นเป็นพื้นที่ของอ�าเภอเซกา หรือไม่ เมื่อได้ตรวจสอบแล้วพบว่าเป็นพื้นที่ของอ�าเภอเซกา จึงได้จัดการเลือกตั้งผู้ใหญ่บ้านขึ้นมาใหม่ เมื่อปี พ.ศ. 2532 โดยมี นายวิชัย มิตะสีดา เป็นผู้ใหญ่บ้านคนแรก และในปี พ.ศ. 2550 นายวิชัย มิตะสีดา ได้ลาออกจากต�าแหน่ง จึงมีการเลือกตั้งอีกครั้ง โดยนายสิริวัฒน์ เคนค�าพัน ได้รับเลือก เป็นผู้ใหญ่บ้านคนที่ 2 ของบ้านภูเงิน ตั้งแต่วันที่ 7 มิถุนายน 2550 จนถึงปัจจุบันนีอาชีพ อำชีพหลัก ท�าสวนยางพารา ท�านา รับจ้างทั่วไป อำชีพเสริม ทอผ้า จักสาน แปรรูปอาหาร พื้นที่และอาณาเขต ทิศเหนือ ติดกับ น�้าตกตาดนกเขียน ทิศใต้ ติดกับ ล�าห้วยบังบาตร ทิศตะวันออก ติดกับ บ้านทุ่งทรายจก ทิศตะวันตก ติดกับ ล�าห้วยบังบาตร น�้ำตกเจ็ดสี อาณาเขตของบ้านภูเงินติดกับพื้นทีของน�้าตกเจ็ดสี จึงกลายเป็นอีกหนึ่ง สถานที่ท่องเที่ยวของหมู่บ้าน ชวนให้ นักท่องเที่ยวได้มาสัมผัสความสวยงาม ของน�้าตกที่เกิดจากธารน�้าของห้วย กะอาม ไหลมาตามหน้าผา หินทราย ที่มีความสูงและแผ่กว้างเป็นทางยาว เมื่อละอองน�้ากระทบกับแสงแดดจะ ท�าให้มองเห็นเป็นสีรุ้ง เป็นที่มาของ ชื่อน�้าตกเจ็ดสี น�้ำตกตำดนกเขียน ตั้งอยู่ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูวัว เป็นน�้าตกขนาดเล็กที่มี 3 ชั้น มีจุดลงเล่นน�้าได้ ท่องเที่ยวได้ใน ช่วงฤดูฝน หากเป็นฤดูอื่นอาจไม่ได้เห็นความสวยงามของสายน�้า มาเที่ยวบ้านภูเงิน สามารถเที่ยว น�้าตกตาดนกเขียน น�้าตกตาดชะแนน และน�้าตกเจ็ดสีได้ในทริปเดียวกัน ชาวบ้านภูเงินมีการทอผ้ามัดหมี่ที่มีสีสัน สวยงาม แล้วยังมีเสื่อลายพื้นบ้าน ที่มีชื่อ เรียกต่างๆ กันไป เช่น ลายดอกเอี้ยง ลายมะไรทอง ลายยิ่งลักษ์ ลายคู่ใจ ลายปักหงส์ ลายไตรยะวงศ์ ลายทักษิณ และเสื่อทอลายผ้าขาวม้า รวมทั้งยังมี ผลิตภัณฑ์อีกมากมาย ที่ล้วนเป็นงานฝีมือ ที่ต้องอาศัยเวลาและความคิดสร้างสรรค์ จนกลายเป็นของดีของเด็ดแห่งบ้านภูเงิน ส�านักงานพัฒนาชุมชน จังหวัดบึงกาฬ กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย สุดแคว้นแดนเซกำ ปู่ตำศำลศักดิ์สิทธิเนรมิตน�้ำตกเป็นสง่ำ สินค้ำโอทอปล�้ำค่ำ ยำงพำรำเป็นเลิศ ประเสริฐล�้ำน�้ำใจไทภูเงิน
2

น ้ำตกตำดนกเขียน 04 06-07...น ำตกตำดชะแนน เด มช อว า น าตกตาดสะแนน ซ งค าว า

Jun 17, 2020

Download

Documents

dariahiddleston
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: น ้ำตกตำดนกเขียน 04 06-07...น ำตกตำดชะแนน เด มช อว า น าตกตาดสะแนน ซ งค าว า

น�้ำตกตำดชะแนนเดิมชื่อว่า น�้าตกตาดสะแนน ซึ่งค�าว่า

ตาดหมายถึง ที่มีน�้าไหล ส่วนค�าว่า

สะแนน หมายถึง สูงสุดยอด ความ

สวยงามของน�้าตกตาดชะแนนเกิด

จากล�าห้วยสะแนนไหลลดหลั่นลงมา

ทั้งยังมีขนาดกว้างใหญ่ มีน�้าเฉพาะ

ฤดูฝน ระหว่างทางจะผ่านขัวหิน

หรือสะพานหิน ซึ่งเป็นปรากฏการณ์

ธรรมชาติ ที่น�้าลอดหายไปใต้สะพาน

ความสวยงามของธรรมชาติในบ้าน

ภูเงินแห่งนี้

บ้ำนภูเงินมาเที่ยวบ้านภูเงิน ต้องมาสัมผัสธรรมชาติที่สวยงามของน�้าตกที่ล้อมรอบพื้นที่ของหมู่บ้าน สามารถพัก

โฮมสเตย์ ทานอาหารพื้นบ้าน สัมผัสวิถีชีวิตผู้คนท้องถิ่น ร่วมกิจกรรมของหมู่บ้าน แล้วออกเดินทางไป

กราบพระขอพรวัดผาน�้าหยาด และชมธรรมชาติภูวัว

มำเยือนถิ่นนี้ กินไรดีเมนูแบบฉบับชาวอีสาน แต่ได้รสชาติแบบคนบ้านภูเงิน มีทั้งแกงหน่อไม้ อ่อมหวำย ซุป 7 เสี่ยว ปลำร้ำทรงเครื่อง ก้อยหอย กล้วยบวชชี เผือกมัน กรอย กล้วยฉำบ กล้วยทอด และ น�้ำสมุนไพรบ�ารุงร่างกาย อาหารพื้นบ้านรสชาติอร่อย จนอยากให้มาลอง

บ้านภูเงินหมู่ที่ 10 ต�าบลบ้านต้อง อ�าเภอเซกา จังหวัดบึงกาฬ

มาบ้านภูเงินเที่ยวไหนดี ของดีมีอะไรบ้างที่บ้านภูเงิน

มนต์เสน่ห์ท่องเที่ยววิถีชุมชน ท�าความรู้จัก “บ้านภูเงิน”

บ้านภูเงิน

บ้ำนภูเงินหมู่ที่ 10 ต�ำบลบ้ำนต้อง อ�ำเภอเซกำ จังหวัดบึงกำฬ

บุญเบิกบ้ำนบุญเบิกบ้าน หรือ บุญซ�าฮะ เป็นการปัดรังควาน

และขับไล่เสนียดจัญไร เหล่าภูตผีปีศาจหรือสิ่ง

ชั่วร้ายให้ออกไปจากหมู่บ้าน ซึ่งค�าว่า “ซ�าฮะ”

คือ “ช�าระ” นิยมท�ากันในเดือน 7 โดยสิ่งที่

ต้องการช�าระให้สะอาดนั้นมี 2 อย่าง คือ

ความสกปรกภายนอก ได้แก่ ร่างกาย เสื้อผ้า

อาหารการกิน ที่อยู่อาศัย และความสกปรก

ภายในจิตใจ ได้แก่ ความโลภ โกรธ หลง จากนั้น

จึงท�าพิธีบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมือง เพื่อให้เกิด

ความเป็นสิริมงคลแก่หมู่บ้าน

บุญสงกรำนต์เทศกาลวันสงกรานต์ของชาวบ้านภูเงิน มีการจัด

พิธีที่สวยงาม โดยในทุกวันที่ 14 เมษายน จะจัด

พิธีแห่พระใหญ่ รอบหมู่บ้าน เพื่อให้ชาวบ้าน

ร่วมกันสรงน�้าพระ และจะมีงานรดน�้าด�าหัว

ขอพรผู้สูงอายุในวันที่ 10 เมษายนของทุกปี

เพื่อแสดงความกตัญญูต่อผู้เฒ่าผู้แก่ของหมู่บ้าน

รวมทั้งงานท�าบุญตามประเพณีอีกมากมาย

สืบสานวัฒนธรรมพื้นบ้านให้คงอยู่นานเท่านาน

ประเพณีท้องถิ่น

06-07มิถุนายน-กรกฎาคมเมษายน

04

ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านบ้านภูเงินก่อตั้งในปี พ.ศ. 2518 โดยมี นายถ่าย พรมพุฒ นายสมชาย ภูแช่มโชติ นายสวัสดิ พรมราช

นายทอน ขันคุ้ม นายสี เคนค�าพัน และนายโพธิ์ แสนเสน ซึ่งตอนนั้นยังเป็นหมู่บ้านฝากของบ้าน

ทุ่งทรายจก หมู่ที่ 4 ต�าบลบ้านต้อง อ�าเภอเซกา จังหวัดหนองคาย โดยมีนายเขื่อน พรมพุฒ

เป็นผู้ใหญ่บ้าน

จากนั้นจึงเริ่มมีประชากรย้ายมาอยู่เพิ่มมากขึ้น ท�าให้มีความเห็นที่ต่างกัน โดยบางส่วนมีความเห็นว่า

อยากขึ้นกับอ�าเภอบึงกาฬ และมีบางส่วนเห็นว่าอ�าเภอบึงกาฬนั้นอยู่ห่างไกล บางส่วนก็ย้ายไปอยู่ที่

บ้านค�าภู ต�าบลชัยพร อ�าเภอบึงกาฬ จังหวัดหนองคาย โดยมี นายสมชาย ภูแช่มโชติ เป็นผู้ช่วยผู้ใหญ่

บ้านแห่งบ้านค�าภู และส่วนหนึ่งก็ยังขึ้นอยู่กับบ้านทุ่งทรายจก

จนกระทั่งในปีต่อมา เจ้าหน้าที่จากอ�าเภอเซกามาตรวจสอบว่า บ้านภูเงินนั้นเป็นพื้นที่ของอ�าเภอเซกา

หรือไม่ เมื่อได้ตรวจสอบแล้วพบว่าเป็นพื้นที่ของอ�าเภอเซกา จึงได้จัดการเลือกตั้งผู้ใหญ่บ้านขึ้นมาใหม่

เมื่อปี พ.ศ. 2532 โดยมี นายวิชัย มิตะสีดา เป็นผู้ใหญ่บ้านคนแรก และในปี พ.ศ. 2550 นายวิชัย

มิตะสีดา ได้ลาออกจากต�าแหน่ง จึงมีการเลือกตั้งอีกครั้ง โดยนายสิริวัฒน์ เคนค�าพัน ได้รับเลือก

เป็นผู้ใหญ่บ้านคนที่ 2 ของบ้านภูเงิน ตั้งแต่วันที่ 7 มิถุนายน 2550 จนถึงปัจจุบันนี้

อาชีพ อำชีพหลัก

ท�าสวนยางพารา ท�านา รับจ้างทั่วไป

อำชีพเสริม

ทอผ้า จักสาน แปรรูปอาหาร

พื้นที่และอาณาเขต ทิศเหนือ ติดกับ น�้าตกตาดนกเขียน

ทิศใต้ ติดกับ ล�าห้วยบังบาตร

ทิศตะวันออก ติดกับ บ้านทุ่งทรายจก

ทิศตะวันตก ติดกับ ล�าห้วยบังบาตร

น�้ำตกเจ็ดสีอาณาเขตของบ้านภูเงินติดกับพื้นที่

ของน�้าตกเจ็ดสี จึงกลายเป็นอีกหนึ่ง

สถานที่ท่องเที่ยวของหมู่บ้าน ชวนให้

นักท่องเที่ยวได้มาสัมผัสความสวยงาม

ของน�้าตกที่เกิดจากธารน�้าของห้วย

กะอาม ไหลมาตามหน้าผา หินทราย

ที่มีความสูงและแผ่กว้างเป็นทางยาว

เมื่อละอองน�้ากระทบกับแสงแดดจะ

ท�าให้มองเห็นเป็นสีรุ้ง เป็นที่มาของ

ชื่อน�้าตกเจ็ดสี

น�้ำตกตำดนกเขียนตั้งอยู่ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูวัว เป็นน�้าตกขนาดเล็กที่มี 3 ชั้น มีจุดลงเล่นน�้าได้ ท่องเที่ยวได้ใน

ช่วงฤดูฝน หากเป็นฤดูอื่นอาจไม่ได้เห็นความสวยงามของสายน�้า มาเที่ยวบ้านภูเงิน สามารถเที่ยว

น�้าตกตาดนกเขียน น�้าตกตาดชะแนน และน�้าตกเจ็ดสีได้ในทริปเดียวกัน

ชาวบ้านภูเงินมีการทอผ้ามัดหมี่ที่มีสีสันสวยงาม แล้วยังมีเสื่อลายพื้นบ้าน ที่มีชื่อเรียกต่างๆ กันไป เช่น ลายดอกเอี้ยง ลายมะไรทอง ลายยิ่งลักษ์ ลายคู่ใจ ลายปักหงส์ ลายไตรยะวงศ์ ลายทักษิณ และเสื่อทอลายผ้าขาวม้า รวมทั้งยังมีผลิตภัณฑ์อีกมากมาย ที่ล้วนเป็นงานฝีมือที่ต้องอาศัยเวลาและความคิดสร้างสรรค์ จนกลายเป็นของดีของเด็ดแห่งบ้านภูเงิน

ส�านักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดบึงกาฬ

กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทยสุดแคว้นแดนเซกำ ปู่ตำศำลศักดิ์สิทธิ์

เนรมิตน�้ำตกเป็นสง่ำ สินค้ำโอทอปล�้ำค่ำ

ยำงพำรำเป็นเลิศ ประเสริฐล�้ำน�้ำใจไทภูเงิน

Page 2: น ้ำตกตำดนกเขียน 04 06-07...น ำตกตำดชะแนน เด มช อว า น าตกตาดสะแนน ซ งค าว า

งำนทอผ้ำ ทอเสื่อ ท�ำไม้กวำด ไปจนถึงงำนประดิษฐ์ต่ำงๆ ล้วนต้องอำศัยแรงกำยและเวลำ อีกทั้งกำรออกแบบเพื่อสร้ำงเอกลักษณ์ของผลิตภัณฑ์

ที่สะท้อนถึงวัฒนธรรมท้องถิ่น กลำยเป็นของดี OTOP มำกมำยที่ชำวบ้ำนภูเงินน�ำมำให้เลือกสรร

One Day Trip / 2 Days Trip

พักไหนดีที่บ้านภูเงิน

“เยือนถิ่นบ้านภูเงิน เที่ยวน้�าตก ชมวิถีพื้นบ้าน ทานอาหารถิ่น”

ของดี OTOP แห่งบ้านภูเงิน

ผ้ามัดหมี่/สไบกลุ่มทอผ้ำมัดหมี่พื้นเมือง โทร. 087-073-3359

ผ้าขาวม้า/กระเป๋าผ้าขาวม้ากลุ่มทอผ้ำขำวม้ำ โทร. 093-541-3068

ไม้กวาดดอกหญ้า/ก้านมะพร้าวกลุ่มไม้กวำด โทร. 091-284-6502

ไม้กวาดทางมะพร้าวกลุ่มไม้กวำด โทร. 091-284-6502

กระติบข้าวกลุ่มจักสำน โทร. 062-195-2467

น�้ามันนวดสมุนไพรกลุ่มสมุนไพร โทร. 089-937-4404

เสื้อมัดหมี่ย้อมครามกลุ่มทอผ้ำมัดหมี่พื้นเมือง โทร. 087-073-3359

พวงกุญแจจากผ้ากลุ่มทอผ้ำขำวม้ำ โทร. 093-541-3068

แหกลุ่มสำนแห โทร. 062-125-3241

เสื่อพื้นบ้านกลุ่มทอเสื่อผืนบ้ำน โทร. 086-073-1951

ข้องไซมงคลกลุ่มจักสำน โทร.062-195-2467

ยาดม ยาหม่องสมุนไพรกลุ่มสมุนไพร โทร.089-937-4404

บ้านคุณทรัพย์ทวีนอกจำกจะมีบริกำร 1 ห้องนอน 1

ห้องน�้ำแล้ว ยังมีเครื่องทอผ้ำตั้งอยู่

ภำยในบ้ำน ให้ผู้มำเยือนได้เรียนรู้

วิถีชีวิตของชำวบ้ำนภูเงินอย่ำง

ใกล้ชิด

โทร. 093-541-3068

โทร. 086-073-1951

บ้านคุณประคองโฮมสเตย์ 1 ห้องนอน 1 ห้องน�้ำ

และห้องโถงส�ำหรับรองรับจ�ำนวน

ผู้เข้ำพักแบบหมู่คณะ พร้อม

สิ่งอ�ำนวยควำมสะดวกครบครัน

วันแรก- ต้อนรับผู้มาเยือน พร้อมรับประทานอาหารว่าง

และเครื่องดื่ม

- โฆษกกล่าวต้อนรับ /สรพัญญะ

- รับประทานอาหารเที่ยง

- ร่วมกิจกรรมฟ้อนร�า ณ ศาลาประชาคม

- รับประทานอาหารเย็น

- ชมการแสดง ร�าบายศรีสู่ขวัญ ร�าออนซอนอีสาน

ร�าบึงกาฬบ้านอ้าย ร�าวงย้อนยุค ร�าวงคองก้า

- เข้าที่พักโฮมสเตย์

วันที่สอง- รุ่งเช้าตักบาตรพระ

- รับประทานอาหารเช้า

- ดูงานตามจุดต่างๆ 1. กลุ่มสมุนไพร

2. กลุ่มทอผ้าขาวม้า 3. กลุ่มทอเสื่อ

4. กลุ่มทอผ้ามัดหมี่

- รับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม

(ณ วัดผาน�้าหยาด)

- กราบพระขอพรที่วัดผาน�้าหยาด ชมความ

สวยงามของธรรมชาติน�้าตกตาดนกเขียน

- รับประทานอาหารเที่ยง

- รับฟังการบรรยายสรุป ก่อนเดินทางกลับ

ส�ำรองแพคเกจล่วงหน้ำ หรือสอบถำมเพิ่มเติม

นำยสิริวัฒน์ เคนค�ำพัน ผู้ใหญ่บ้ำน โทร. 062-195-2467

โดยรถประจ�ำทำงบริษัท ขนส่ง จ�ากัด มีรถโดยสารประจ�าทาง ทั้งรถโดยสารธรรมดาและรถปรับอากาศ สอบถามรายละเอียดได้ที่ สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพฯ (จตุจักร) ถนนก�าแพงเพชร 2 โทร. 02 936 285 266 หรือ www.transport.co.thรถทัวร์แอร์อุดร และ สวัสดีอีสาน เส้นทาง กรุงเทพ – บึงกาฬโดยจุดขึ้นรถทัวร์ สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพฯ หมอชิต 2 และจุดขึ้นรถ บึงกาฬ ที่สถานีขนส่งจังหวัดบึงกาฬ ติดต่อ www.จองตั๋วแอร์อุดร.com

โดยรถไฟการรถไฟแห่งประเทศไทย มีขบวนรถไฟจากกรุงเทพฯ-หนองคาย ทุกวันจากนั้นเดินทางโดยรถประจ�าทางเข้าจังหวัดบึงกาฬ ติดต่อสอบถามรายละเอียดได้ที่หน่วยบริการเดินทาง โทร. 1690, 02 220 4334, 02 220 4261 หรือ www.railway.co.th

โดยรถยนต์จากกรุงเทพมหานคร ใช้ทางหลวงหมายเลข 1 ผ่านสระบุรี และเข้าทางหลวงหมายเลข 2 ผ่านนครราชสีมา ขอนแก่น อุดรธานี หนองคาย บึงกาฬ รวมระยะทาง 763.7 กิโลเมตร

โดยเครื่องบินนักท่องเที่ยวที่เดินทางโดยเครื่องบิน จะต้องไปลงที่สนามบินจังหวัดอุดรธานี จากนั้นต่อรถเข้าจังหวัดบึงกาฬ โดยรถตู้ สอบถามรายละเอียดเกี่ยวกับตารางการบินได้ที่ บริษัท การบินไทย จ�ากัด (มหาชน) โทร. 02 356 1111 หนองคาย โทร. 042 411 530 หรือ www.thaiairways.com

การเดินทางสู่...จังหวัดบึงกาฬ รถจากอุดรไปบึงกาฬ มี 2 สาย คือ สาย 225 อุดรฯ พังโคน วานรฯ บึงกาฬ จอดที่ บขส.เก่า (ใกล้เซนทรัลอุดรธานี)

รถตู้สาย 224 อุดรฯ หนองคาย บึงกาฬ บ้านแพง รถจอดหน้าเซนทรัลอุดรธานี

กำรเดินทำงภำยใน บึงกำฬระยะทางจากอ�าเภอเมืองไปยังอ�าเภอต่าง ๆ

ศรีวิไล 28 กิโลเมตร / บุ่งคล้า 39 กิโลเมตร

พรเจริญ 45 กิโลเมตร / ปากคาด 47 กิโลเมตร

โซ่พิสัย 55 กิโลเมตร / เซกา 87 กิโลเมตร

บึงโขงหลง 88 กิโลเมตร

การเดินทางภายในเมือง นิยมใช้รถสามล้อเครื่อง (สกายแล็ป) จอดอยู่ตามจุดต่างๆ รอบเมืองบึงกาฬ เช่น บขส. และในตลาด สามารถต่อรองราคาเหมาไปเที่ยวตามอ�าเภอใกล้ๆ หรือสถานที่ใกล้เคียงได้

OTOP นวัตวิถีบ้านภูเงิน