Top Banner
5.1 เเเเเเเเเเ 5.2 เเเเเเเเเเเเเเ 5.3 เเเเเเเเเเเเเ 5.4 เเเเเเเเเเเเ เเเเเ 5 เเเเเเเเ (Epistemology)
15

5.1 เหตุผลนิยม 5.2 ประสบการณ์นิยม 5.3 สัญชาตญาณนิยม 5.4 พระพุทธศาสนา

Mar 15, 2016

Download

Documents

rashad-herring

บทที่ 5 ญาณวิทยา ( Epistemology ). 5.1 เหตุผลนิยม 5.2 ประสบการณ์นิยม 5.3 สัญชาตญาณนิยม 5.4 พระพุทธศาสนา. ประมวลญาณวิทยา วิธีการสอบสวนความรู้ในการแสวงหาความจริง มีทั้งหมด 5 วิธี ดังต่อไปนี้. 1. ผัสสะ ( sensation ) รู้โดยประสาทสัมผัส ( senses ) - PowerPoint PPT Presentation
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: 5.1 เหตุผลนิยม 5.2 ประสบการณ์นิยม 5.3 สัญชาตญาณนิยม 5.4 พระพุทธศาสนา

51. เหตผุลนิยม 52 ประสบการณ์นิยม

53สญัชาตญาณนิยม

54 พระพุทธศาสนา

บทท่ี 5ญาณวทิยา (Epistemology)

Page 2: 5.1 เหตุผลนิยม 5.2 ประสบการณ์นิยม 5.3 สัญชาตญาณนิยม 5.4 พระพุทธศาสนา

1. ผัสสะ (sensation ) รูโ้ดยประสาทสมัผัส (senses) 2 . ความเขา้ใจ (understanding )

รูโ้ดยการอนุมาน (inference) 3 . อัชฌตัติกญาณ (intuition ) รู้

โดยสามญัสำานึก (common sense ) เป็นญาณวเิศษท่ียงัมกิีเลสอยู่ 4 . ตรสัรู ้(enlightenment ) รูโ้ดยญาณวเิศษแบบหมดกิเลส

(transcendental intuition) 5 . ววิรณ์ (revelation) รูโ้ดยการ

เปิดเผยจากสิง่ท่ีอยูห่นือ ธรรมชาติ (supernatural manifestation)

ประมวลญาณวทิยา วธิกีารสอบสวนความรูใ้นการแสวงหาความจรงิ

มท้ัีงหมด 5 วธิ ีดังต่อไปนี้

Page 3: 5.1 เหตุผลนิยม 5.2 ประสบการณ์นิยม 5.3 สัญชาตญาณนิยม 5.4 พระพุทธศาสนา

1 .เรอเน เดการต์ส ์(Rene Decartes : 1596 – 1650)

2. บารุค สปิโนซา (Baruch Spinoza : 1632 – 1677)

3. คอทฟรดิ วนิเฮล์ม ฟอน ไลบน์ิช (Cottfried Wilhelm Von Leibniz : 1646 – 1716)

นักปรชัญาในกลุ่มเหตผุลนิยม

1 2

Page 4: 5.1 เหตุผลนิยม 5.2 ประสบการณ์นิยม 5.3 สัญชาตญาณนิยม 5.4 พระพุทธศาสนา

1 .ฟรานซสิ เบคอน (Francis Bacon : 1561 – 1626)

2 .โทมสั ฮอบส ์(Thomas Hobbes : 1588 – 1679)

3 .จอห์น ล็อค (John Locke : 1632 – 1704)

4. เดวดิ ฮิวม ์(David Hume : 1711 – 1776)

นักปรชัญาในกลุ่มประสบการณ์นิยม

1 2 3 4

Page 5: 5.1 เหตุผลนิยม 5.2 ประสบการณ์นิยม 5.3 สัญชาตญาณนิยม 5.4 พระพุทธศาสนา

ฟรานซสิ เบคอน พูดถึงเทวรูปคืออคติในใจมนุษย์

วา่มอียู ่ 4 ประการ

1 .เทวรูปแห่งเผ่าพนัธุ ์(Idol of the Tribe ) หมายถึง กรรมพนัธุท่ี์ได้รบัจากการอบรมสัง่สอน

2 .เทวรูปแห่งถำ้า (Idol of the Cave ) หมายถึง ประสบการณ์สว่นตัวของมนุษยใ์นแต่ละคน

3 .เทวรูปแห่งตลาดนัด (Idol of the Market place ) หมายถึง ความสบัสนในการใชภ้าษาเป็นสิง่ท่ีน่ากลัวและอันตรายท่ีสดุ

4 .เทวรูปแห่งโรงละคร (Idol of the Theater ) หมายถึง ระเบยีบประเพณี ปรชัญา ศาสนา

Page 6: 5.1 เหตุผลนิยม 5.2 ประสบการณ์นิยม 5.3 สัญชาตญาณนิยม 5.4 พระพุทธศาสนา

ฟรานซสิ เบคอน พูดถึงเทวรูปคืออคติในใจมนุษย์

วา่มอียู ่ 4 ประการเบคอนเห็นวา่ เทวรูปท้ัง 4 ท่ีมอียูใ่นใจมนุษยน์ัน้จะต้องใชปั้ญญาในการทำาหน้าท่ีกวาดล้างเทวรูปเหล่านี้ออกจากใจ เมื่อทำาได้ มนุษยจ์ะเขา้ถึง

สจัธรรมอันถกูต้อง

Page 7: 5.1 เหตุผลนิยม 5.2 ประสบการณ์นิยม 5.3 สัญชาตญาณนิยม 5.4 พระพุทธศาสนา

เรอเน เดการต์ส ์(Rene Decartes : 1596 – 1650)บดิาของปรชัญา

สมยัใหม ่ผู้ถือวา่ มนุษยม์ี“ความรูติ้ดตัวมาตั้งแต่

เกิด ” (Innate Idea )ความรูใ้นใจของ

มนุษยน์ัน้ก็เหมอืนกับนำ้าท่ีมอียูใ่นแผ่นดิน ถ้ารูจ้กัวธิี

การขุดก็จะทำาให้สามารถค้นพบนำ้าคือความรูใ้นจติของ

มนุษยไ์ด้อยา่งไมย่าก

Page 8: 5.1 เหตุผลนิยม 5.2 ประสบการณ์นิยม 5.3 สัญชาตญาณนิยม 5.4 พระพุทธศาสนา

จอห์น ล็อค (John Locke : 1632 – 1704)

จอห์น ล็อค เขาเห็นวา่ ความรูท้กุอยา่งล้วนแต่เริม่

ต้นจากประสบการณ์ท้ัง

นัน้ (All knowledge comes from experience )นัน่คือ คนเราเกิดมามจีติวา่งเปล่าเหมอืนกระดาษขาวท่ียงัไมม่ตัีวอักษรอะไรเขยีน

ลงไปเลย

Page 9: 5.1 เหตุผลนิยม 5.2 ประสบการณ์นิยม 5.3 สัญชาตญาณนิยม 5.4 พระพุทธศาสนา

จอห์น ล็อค (John Locke : 1632 – 1704)เขาใชค้ำาในภาษาละตินวา่ “

Tabula rasa ” ( Blank Tablet ) ซึง่เป็นกระดาษฉาบขีผ้ึ้ง

เตรยีมพรอ้มท่ีจะเขยีนหนังสอืลงไปได้ตามความนิยมของชาวโรมนัชัน้สงูสมยั

โรมนัเรอืงอำานาจ จากแนวคิดนี้เองจงึทำาให้ล็อค

ได้ชื่อวา่เป็นผู้ก่อตั้งลัทธิประสบการณ์นิยมของสมยัใหม่

Page 10: 5.1 เหตุผลนิยม 5.2 ประสบการณ์นิยม 5.3 สัญชาตญาณนิยม 5.4 พระพุทธศาสนา

เจา้ของแนวคิด กังขานิยมท่ีผลักดันแนวความคิดแบบประสบการณ์นิยมจนถึง

จุดสงูสดุ เขาไมเ่ชื่อทกุสิง่ทกุอยา่งจนกวา่จะได้พสิจูน์ด้วยตัวเองในแต่ละครัง้

เดวดิ ฮิวม ์(David Hume : 1711 – 1776)

Page 11: 5.1 เหตุผลนิยม 5.2 ประสบการณ์นิยม 5.3 สัญชาตญาณนิยม 5.4 พระพุทธศาสนา

เอ็มมานูเอล ค้านท์ (Immanuel Kant :

1724 – 1804)ค้านท์ สรุปแนว

ความคิดวา่เป็นความเขา้ใจผิดของฝ่าย

ประสบการณ์นิยมซึง่ถือวา่ จติไมใ่ชตั่วทำางานในกระบวนการความรู้ของมนุษย ์และก็เป็น

ความเขา้ใจผิดของฝ่ายเหตผุลนิยมท่ีไมใ่ห้ความ

สำาคัญกับความรูท้างผัสสะ

นักปรชัญาท่ีวพิากษ์และสรุปแนวคิดของ 2 กลุ่มท่ีผ่านมา

Page 12: 5.1 เหตุผลนิยม 5.2 ประสบการณ์นิยม 5.3 สัญชาตญาณนิยม 5.4 พระพุทธศาสนา

เขากล่าววา่ มโนภาพหาก“ปราศจากการรบัรูท้างผัสสะแล้วก็เป็นสิง่

วา่งเปล่า สว่นการรบัรูท้างผัสสะหากปราศจาก มโนภาพก็กลายเป็นความ

มดืบอด ”“ Conception without

perception is empty : Perception without

conception is blind ”สำาหรบัค้านท์ ความรู ้จะต้องมาจาก

สิง่ 2 ประเภทคือ 1. ความรูท่ี้มบีอ่เกิดมาจาก

ประสบการณ์ 2. ความรูท่ี้มาจากความคิดของ

มนุษย์

นักปรชัญาท่ีวพิากษ์และสรุปแนวคิดของ 2 กลุ่มท่ีผ่านมา

Page 13: 5.1 เหตุผลนิยม 5.2 ประสบการณ์นิยม 5.3 สัญชาตญาณนิยม 5.4 พระพุทธศาสนา

1 .สตุมยปัญญา ปัญญาเกิดจากการฟงั การอ่าน

2. จนิตามยปัญญา ปัญญาเกิดจากการพจิารณา

3. ภาวนามยปัญญา ปัญญาเกิดมาจากการฝึกฝนอบรมจติ

ภาวนามยปัญญา แบง่ออกเป็น 2 ประการ คือ

31. สมถภาวนา ปัญญาท่ีเกิดมาจากการฝึกจติให้เกิดความสงบจนทำาให้เกิด ญาณ ความรูต่้าง ๆ เชน่ ตาทิพย ์หทิูพย ์รูใ้จคนอ่ืน เป็นต้น

32. วปัิสสนาภาวนา ปัญญาท่ีเกิดมาจากการเจรญิปัญญาจนทำาลายกิเลสได้หมดสิน้

ญาณวทิยาในพระพุทธศาสนา

Page 14: 5.1 เหตุผลนิยม 5.2 ประสบการณ์นิยม 5.3 สัญชาตญาณนิยม 5.4 พระพุทธศาสนา

สตุมยปัญญา = ประสบการณ์นิยมจนิตามยปัญญา = เหตผุลนิยมภาวนามยปัญญา = อัชฌตัติกญาณ คือ สมถภาวนา ได้แก่ ความรู ้ แจง้อยา่งฉับพลัน แต่ยงัมกิีเลสอยูไ่มไ่ด้ถึงขัน้ตรสัรูคื้อการทำาลายกิเลสแบบพระพุทธเจา้และพระอรหันต์ท้ังหลาย

เปรยีบเทียบญาณวทิยาของพุทธศาสนากับญาณวทิยาในตะวนัตก

Page 15: 5.1 เหตุผลนิยม 5.2 ประสบการณ์นิยม 5.3 สัญชาตญาณนิยม 5.4 พระพุทธศาสนา