Top Banner
ศาสนาพุทธ
21

ส อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธ

Jul 23, 2015

Download

Documents

Orraya Swager
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: ส  อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธ

ศาสนาพุทธ

Page 2: ส  อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธ

ศาสนาพุทธเป็นศาสนาประเภท อเทวนิยม และเป็นศาสนาที่มีผู้นับถือมากศาสนาหนึง่ของโลก รองจากศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม และศาสนาฮินดู

Page 3: ส  อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธ

ประวัติความเป็นมา

เริ่มตั้งแต่สมัยพุทธกาล ผู้ประกาศศาสนาและเป็นศาสดาของศาสนาพุทธ คือพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงตรัสรู้เมื่อวันขึ้น 15 ค่่า เดือนวิสาขะหรือเดือน 6 ณ ใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์ ต่าบลอุรุเวลาเสนานิคม แคว้นมคธ ประเทศอินเดีย 45 ปี ก่อนพุทธศักราช ปัจจุบันสถานที่นี้ เรียกว่า พุทธคยา อยู่ห่างจากเมอืงคยาประมาณ 11 กิโลเมตร ประวัติความเป็นมาของพุทธศาสนาหลังจากการประกาศศาสนา เริ่มจากการแพร่หลายไปทั่วอินเดีย หลังพุทธปรินิพพาน 100 ปี จึงแตกเป็นนิกายย่อย โดยนิกายที่ส่าคัญคือเถรวาทและมหายาน

Page 4: ส  อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธ

พระสัมมาสัมพุทธเจ้า หรือ พระพุทธเจ้าเป็นพระสมัญญานามที่ใช้เรยีกพระบรมศาสดาของศาสนาพุทธ พระพุทธศาสนาทั้งฝ่ายเถรวาทและมหายานต่างนับถือพระพุทธเจ้าว่าเป็นศาสดาของตนเหมือนกันแต่รายละเอียดปลีกย่อยต่างกันฝ่ายเถรวาทให้ความส่าคัญกับพระพุทธเจ้าพระองค์ปัจจุบันคือ "พระโคตมพุทธเจ้า"

ซึ่งเชื่อว่าเป็นพระองค์ที่ 4 ในภัททกัปนี้ และมีกล่าวถึงพระพุทธเจ้าในอดีตกับในอนาคตบ้างแต่ไม่ให้ความส่าคัญเท่า ฝ่ายมหายานนับถือพระพุทธเจ้าของฝ่ายเถรวาททั้งหมดและเชื่อว่านอกจากพระพุทธเจ้า 28 พระองค์ ที่ระบุในพุทธวงศ์ของพระไตรปิฎกภาษาบาลีแล้ว ยังมีพระพทุธเจ้าอีกมากมายเพิ่มเติมขึ้นมาจากต่านานของเถรวาท

Page 5: ส  อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธ

เป้าหมายสูงสุด

เป้าหมายสูงสุดของพระพทุธศาสนา คือ ความหลุดพ้นจากทุกข์ทั้งปวงโดยสิ้นเชิง ดับภพชาติ หยุดการเวียนว่ายตายเกิดเพราะเมื่อไม่เกิดอีกเราก็ไม่ต้องแก่ ไม่ต้องเจ็บ ไม่ต้องตายและไม่ต้องทุกข์กายทุกขใ์จอีกต่อไป เปรียบเหมือนกับมนุษย์เป็นสัตว์ที่ไม่มีหาง จึงไม่รู้สึกเจ็บปวดเพราะหางเป็นเหตุอีกต่อไป

Page 6: ส  อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธ

คัมภีร์ศาสนาพุทธ

พระไตรปิฎกศาสนาทุกศาสนา ย่อมมีคมัภีร์หรือต่าราทางศาสนาเป็นหลักในการสั่ง

สอนพระไตรปฎิก หรือที่เรียกในภาษาบาลีว่า ติปิฎกหรือเตปิฎกนั้น เป็นคัมภีร์หรือต่าราทางพระพทุธศาสนาเช่นเดียวกับไตรเวท

ซึ่งเป็นคัมภีร์ของศาสนาพราหมณ์ ไบเบิ้ลของศาสนาคริสต์ อัลกุรอานของ ศาสนาอิสลาม พระพทุธเจ้าประทานพระพุทธโอวาทไว้มากหลายต่างกาลเวลา ต่างสถานที่กัน พระสงฆ์สาวกซึ่งท่องจ่าไว้ได้ ได้จัดระเบียบเป็นหมวดหมู่เป็นปิฎกต่างๆ หลังจากพระศาสดานิพพานแล้วเพ่ือเป็นหลักพระพุทธศาสนา ดังที่พระพุทธเจ้าตรัสกับพระอานนท์ว่า “ธรรมและวินัยที่เราแสดงแล้ว บัญญัติแล้วแก่ท่านทั้งหลาย ธรรมและวินัยนั้นจะเป็นศาสดาของท่านทั้งหลาย เมื่อเราล่วงลับไป”

Page 7: ส  อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธ

มีหลักฐานก่าหนดลงได้ว่าในสมัยพระพทุธเจ้ายังไมม่ีค่าว่า “พระไตรปิฎก” มแีต่ค่าว่า “ธรรมวินัย” ค่าว่า พระไตรปิฎก หรือ ติปิฎก ในภาษาบาลีนั้นเกิดขึ้นมาภายหลังที่ทา่สังคายนาแล้ว ค่าว่า พระไตรปิฎก กล่าวโดยรูปศัพท์ แปลว่า ๓ คมัภีร์ เมื่อแยกเป็นค่าๆ ว่า พระ+ไตร+ ปิฎก ค่าว่า “พระ” เป็นค่าแสดงความเคารพหรอืยกย่อง ค่าว่า “ไตร” แปลว่า ๓ ค่าว่า “ปิฎก” แปลได้ ๒ อย่างคือ แปลว่าคัมภีร์หรือต่านานอย่างหนึ่ง แปลว่ากระจาดหรือตะกร้าอยา่งหนึ่ง ที่ แปลว่ากระจาดหรือตะกร้า หมายความว่าเป็นที่รวบรวมค่าสั่งสอนของพระพทุธเจ้าไว้เป็นหมวด หมู ่ไม่ให้กระจัดกระจาย คล้ายกระจาดหรือตะกร้าอันเป็นภาชนะใส่ของ ฉะนั้น เมื่อทราบแล้วว่า ค่าว่าพระไตรปิฎกแปลว่า ๓ คมัภีร์ หรือ ๓ ปิฎก จึงควรทราบต่อไปว่า ๓ ปิฎกนั้นแบ่งออกดังนี้(๑) วินัยปิฎก - ว่าด้วยวินัยหรือศีลของภิกษุ ภิกษุณี(๒) สุตตันตปิฎก - ว่าด้วยพระธรรม เทศนาทั่วๆ ไป(๓) อภิธัมมปฎิก - ว่าด้วยธรรมะล้วนๆ หรือธรรมะที่ส่าคัญ.

Page 8: ส  อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธ

ความเป็นมาของพระไตรปิฎก

พระสาวก ๔ รูป ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับประวัติความเป็นมาแห่งพระไตรปิฎก คือ

๑. พระอานนท์ เป็นโอรสของเจ้าชายสุกโกทนศากยะ ผู้เป็นพระอนุชาของพระเจ้าสุทโธทนะพระพุทธบิดา ท่านออกบวชแล้วได้เป็นผู้ที่สงฆ์เลือกให้ท่าหน้าที่เป็นพุทธอุปฐาก คือ ผู้รับใช้ใกล้ชิดพระพทุธเจ้า พระอานนท์ทรงจ่าพระพุทธวจนะได้มาก ท่านจึงมีส่วนส่าคัญในการรวบรวมค่าสั่งสอนของพระพุทธเจ้า แล้วจัดเป็นหมวดหมู่ต่างๆ สืบมาจนทุกวันนี้

Page 9: ส  อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธ

๒. พระอุบาลี เคยเป็นพนักงานรักษาภูษามาลาอยู่ในราชส่านักแห่งกรุงกบิลพัสด์ุ ท่านออกบวช พร้อมกับพระอานนท์และราชกุมารอ่ืนๆ โดยได้รับเลือกจากเจ้าชายเหล่านั้นให้อุบาลีบวชก่อน พวกตนจะได้กราบไหว้อุบาลีตามพรรษาอายุเป็นการแก้ทิฐมิานะต้ังแต่เริ่มแรกในการออกบวช ท่านมีความสนใจก่าหนดจดจ่าทางพระวินัยเป็นพิเศษ จนแม้พระพุทธเจ้าก็ทรงสรรเสริญท่านด้วย ท่านจึงได้รับมอบหมายให้เป็นผู้ตอบค่าถามเกี่ยวกับวินัยปิฎก จึงนับว่าท่านเป็นผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง โดยตรงในการช่วยรวบรวมข้อพระวินัยต่างๆ ให้เป็นหมวดหมู่เป็นหลักฐานมาจนทุกวันนี้

Page 10: ส  อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธ

๓. พระโสณกุฏิกัณณะ ไม่ได้เกี่ยวข้องโดยตรงกับพระไตรปิฎก แต่ประวัติของท่านมีส่วนเป็น หลักฐานในการท่องจ่าพระไตรปิฎก เรือ่งของท่านมีปรากฏในพระสุตตันตปิฎกความว่า เดิมท่านเป็น อุบาสกคอยรับใช้พระมหากัจจานเถระ แล้วบรรพชาเป็นสามเณรอยู ่๓ ปี จึงได้อุปสมบทเป็นภิกษุ ต่อมา ท่านได้เดินทางไปเฝ้าพระผู้มพีระภาค ณ เชตวนาราม พระพุทธเจ้าตรัสเชิญใหพ้ระโสณะกล่าวธรรม ซึ่งท่านได้กล่าวสูตรถึง ๑๖ สูตร อันปรากฏในอัฏฐกวัคคจ์นจบ เมื่อจบแล้วพระพุทธเจ้าทรงอนุโมทนาสรรเสริญความทรงจ่า และท่วงท่านองในการกล่าว เรื่องนี้เป็นตัวอย่างอันดีในเรื่องความเป็นมาแห่งพระไตรปิฎกว่าได้มีการท่องจ่ากันตั้งแต่ ครั้งพระพุทธเจ้ายังทรงมีพระชนม์อยู่

Page 11: ส  อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธ

๔. พระมหากสัสปะ เป็นผู้บวชเมื่ออายุสูง แม้ท่านไมใ่คร่สั่งสอนใคร แต่ก็สั่งสอนคนในทางปฏิบัติ คือท่าตัวเป็นแบบอย่าง เมื่อพระศาสดาปรินิพพานแล้ว ท่านได้เป็นหัวหน้าชักชวนพระสงฆ์ให้ท่าสังคายนาคือ ร้อยกรอง หรือจดัระเบียบพระวินัย นับว่าท่านเป็นผู้มีส่วนส่าคัญยิ่งในการท่าให้เกิดพระไตรปิฎก

Page 12: ส  อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธ

ธรรมส่าหรับการครองเรือนในชีวิตของบุคคลทั่วไปสาระชีวิต หัวใจพระพุทธศาสนา1. ไม่ท่าความชั่วทั้งปวง2. ท่าความดีให้ถึงพร้อม3. ท่าจิตใจให้บริสุทธิ์ผ่องใส

หลักธรรมค าสอน

Page 13: ส  อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธ

สาระชีวิต : ฆราวาสธรรม ๔

คือ ธรรมส่าหรับการครองเรือนในชีวิตของบุคคลทั่วไปได้แก่1. สัจจะ คือ พูดจริงท่าจริงและซื่อตรง

2. ทมะ คอื ฝึกหัดแก้ไขปรับปรุง3. ขันติ คือ อดทนต้ังใจและขยัน4. จาคะ คือ เสียสละ

สาระชีวิต : อิทธิบาท 4 หรือธรรมที่ช่วยใหส้ าเร็จในสิ่งที่ประสงค์

1. ฉันทะ คือ ความพอใจรักใคร่2. วิริยะ คือ ความเพียร3. จิตตะ คือ เอาใจฝักใฝ่ ไม่วางธุระ4. วิมังสา คือ หมั่นตริตรอง พิจารณาเหตุผล

Page 14: ส  อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธ

สาระชีวิต : ธรรมคุ้มครองโลก1. หิร ิคือ ความละอายใจในการท่าบาป2. โอตตัปปะ คือ ความเกรงกลัวผลของการท่าชั่วสาระชีวติ : มรรคอนัมีองค์ 8 นี้เปน็ข้อปฏิบัติแบบสายกลาง

(มัชฌิมาปฏิปทา)1. สัมมาทิฐิ คือ มีปัญญาอันเห็นชอบได้แก่การเห็นในอริยสัจ ๔ คือ

� - ทุกข์� - เหตุที่ท่าให้เกิดทุกข์ (สมุทยั)� - ความดับทุกข์ (นิโรธ)� - ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์ (มรรค)

Page 15: ส  อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธ

2. สัมมาสังกัปปะ คือด่าริชอบ ได้แก่�- ด่าริที่จะออกจากกาม (เนกขัมมะ)�- ด่าริในการไม่พยาบาทปองร้ายผู้อื่น�- ด่าริในการไม่เบียดเบียนผู้อื่น

สาระชีวิต : มรรคอันมีองค์ 8 นี้เปน็ข้อปฏิบัติแบบสายกลาง (มัชฌมิาปฏิปทา) ได้แก่

3. สัมมาวาจา คือ เจรจาชอบ ได้แก่การเว้นจากวจีทุจริต 4 คือ ไม่ประพฤตชิั่วทางวาจาอันได้แก่

�- ไม่พูดเท็จ�- ไม่พูดส่อเสียด ยุยงให้แตกร้าวกัน�- ไม่พูดค่าหยาบคาย�- ไม่พูดเพ้อเจ้อ เหลวไหลไร้สาระ

Page 16: ส  อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธ

4. สัมมากัมมันตะ คือท่าการงานชอบโดยประกอบการงานที่ไม่ผิดประเพณี ไม่ผิดกฎหมาย ไม่ผิด ศีลธรรม และเว้นจากการทุจริต 3 อย่าง ได้แก่

�- การเบียดเบียนฆ่าสัตว์ตัดชีวิต�- การลักขโมย และการฉ้อฉลคดโกง แกล้งท่าลายผู้อื่น�- การประพฤติผิดในกาม

สาระชีวิต : มรรคอันมีองค์ 8 นี้เป็นข้อปฏิบัติแบบสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา) ได้แก่

5. สัมมาอาชีวะ คือเลี้ยงชีวิตชอบได้แก่ การเว้นจากการเลี้ยงชีพในทางที่ผิด การประกอบสัมมาอาชีพคือ

�- เว้นจากการค้าขายเครื่องประหารมนุษย์และสัตว์�- เว้นจากการค้าขายมนุษย์ไปเป็นทาส�- เว้นจากการค้าสัตว์ส่าหรับฆ่าเป็นอาหาร�- เว้นจากการค้าขายน้่าเมา�- เว้นจากการค้าขายยาพิษ

Page 17: ส  อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธ

6. สัมมาวายามะ คือมีความเพียรชอบ 4 ประการได้แก่�- เพียรระวังมิให้บาปหรือความชั่วเกิดขึ้น�- เพียรละบาปหรือความชั่วที่เกิดขึ้นแล้ว�- เพียรท่ากุศลหรือความดีให้เกิดขึ้น�- เพียรรักษากุศลหรือความดีที่เกิดข้ึนแล้วให้คงอยู่

สาระชีวิต : มรรคอันมีองค์ 8 นี้เป็นข้อปฏิบัติแบบสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา) ได้แก่7. สัมมาสติ คือระลึกชอบได้แก่ การระลึกวิปัฏฐานได้แก่ การ ระลึกในกาย เวทนา จิตและธรรม 4 ประการคือ

- พิจารณากาย ระลึกได้เมื่อรู้สึกสบายหรือไม่สบาย พิจารณาลมหายใจเข้าออก�- พิจารณาเวทนา ระลึกได้เมื่อรู้สึกสุขหรือทุกข์ หรือเฉย ๆ มีราคะ โทสะ โมหะ

หรือไม่- พิจารณาจิต ระลึกได้ว่าจิตก่าลังเศร้าหมองหรือผ่องแผ้ว รู้เท่าทนัความนึกคิด- พิจารณาธรรมให้เกิดปัญญา ระลึกได้ว่าอารมณ์อะไร ก่าลังผ่านเข้ามาในใจ

Page 18: ส  อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธ

พุทธศาสนสถาน แปลโดยตรงได้ความว่า สถานที่ หรือสิ่งก่อสร้าง ซึ่งสร้างขึ้นเพื่อใช้ในกิจการ หรือเกี่ยวข้องกบั พระพทุธศาสนา ได้แก่ส่านักสงฆ์ วัดวาอาราม โบสถ์ วิหาร เจดีย ์และสถูป เป็นต้น เป็นสถานที่ซึ่งใช้ประกอบพิธีทางศาสนา เป็นที่พ่านักของพระภิกษุ เและเป็นอนุสรณ์ให้ระลึกถึงคุณพระรัตนตรัย ซึ่งพุทธศาสนิกชนนิยมไปกราบไหว้บูชา และร่วมกิจกรรมต่างๆวัดวิหารอุโบสถเจดีย์

Page 19: ส  อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธ

ศาสนพิธี

หมายถึง ระเบียบแบบแผนหรือแบบอย่างที่ถือปฎิบัตใินศาสนาเมื่อน่ามาใช้ในพระพุทธศาสนา จึงหมายถึงระเบียบแบบแผนหรือแบบอย่างที่พึงปฎิบัตใินพระพุทธศาสนา ศาสนพิธีต่างๆช่วยท่าให้ความศรัทธาต่อพระพุทธศาสนิกชนมีความแน่นแฟ้นยิ่งขึ้นเป็นสิ่งตอกย้่าใจให้ระลึกถึงคุณของพระรัตนตรัยได้อย่างดีเยี่ยม จึงเป็นระเบียบแบบแผนอันดีงามที่ควรรักษาไว้คู่กับพระพทุธศาสนาตลอดไป

Page 20: ส  อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธ

ศาสนพิธี เป็นพิธีกรรมทางศาสนาซึ่งถือปฏิบัติเป็นแบบอย่าง เป็นธรรมเนียมสืบต่อกันมา เพื่อความเป็นระเบียบเรียบร้อยสวยงามเป็นแบบเดียวกัน เหตุให้เกิดศาสนพิธีน้ีคือความนิยมท่าบุญของพุทธศาสนิกชนซึ่งไม่ว่าจะปรารภเหตุอะไรท่ากัน ก็มักจะให้ตรงและครบตามหลักวิธีท่าบุญในทางพระพุทธศาสนา ซึ่งพระสัมมาสัมพทุธเจ้าทรงแนะแนวไว้ 3 หลัก คือ

1. ทาน การบริจาควัตถุสิ่งของของตนเพื่อประโยชน์แก่ผู้อื่น2. ศีล การรักษากายวาจาให้สงบเรียบร้อย3. ภาวนา การยกระดับจิตให้สูงขึ้นด้วยการอบรมให้สงบนิ่งและ

ให้เกิดปัญญา

Page 21: ส  อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธ

สมาชิกกลุ่ม

1. นางสาวอรญา รชตะโสฬส เลขที่ 18

2. นางสาวกัญจณ์ชญา สมหวัง เลขที่ 27

3. นางสาวกัญญาภัค โพธิยา เลขที่ 28

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/13