YOU ARE DOWNLOADING DOCUMENT

Please tick the box to continue:

Transcript
Page 1: มาตรฐาน มอก. 2691 เล ม 7-2599 วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับสุขภาพ ... · SAFETY LIFE1 นาโนเทคโนโลยี

1SAFET Y LIFE

นาโนเทคโนโลยี (Nanotechnology)หมายถงึ การประยุกตใชความรูทางวิทยาศาสตรในการจดัการและควบคุมสสารระดับนาโนสเกลเพ่ือใชประโยชนจากสมบัติหรอืปรากฏการณที่ขึน้กับขนาดหรอืโครงสรางของสสาร โดยสมบัติหรอืปรากฏการณดังกลาวแตกตางทีพ่บในอะตอมหรอืโมเลกุล หรือวัสดุขนาดใหญ ซ่ึงการจัดการและควบคุมสารนัน้รวมถงึการสงัเคราะหวัสดุดวย

ทัง้นี ้นาโนสเกล (Nanoscale) ทีก่ลาวถงึคือมิติของวัสดุในชวง 1 -100 นาโนเมตร โดยประมาณ (1 นาโนเมตร = 1/1,000,000,000เมตร หรือมีขนาดเล็กกวาเสนผมมนุษยแปดหม่ืนถึงหนึ่งแสนเทา)

โดยวัสดุนาโนที่นํามาใชในกระบวนการนาโนเทคโนโลยีเปนวัสดุที่อยูนาโนสเกลซ่ึงมีอยูดวยกัน 2 กลุม ไดแก

1. วัสดุนาโนจากธรรมชาติ และ2. วัสดุนาโนจากการผลิตวัสดุนาโนจากธรรมชาติเปนวัสดุนาโน

ที่เกิดขึ้นจากระบวนธรรมชาติ กระบวนการใหความรอนและกระบวนการอื่นๆ ซ่ึงกอใหเกิดวัสดุนาโนได

วัสดุนาโนจากการผลติเปนวัสดุนาโนท่ีผลติขึ้นสําหรับใชในวัตถุประสงคทางการคาเพ่ือใหมีสมบัติและองคประกอบที่จําเพาะ แบงออกเปน 2 กลุมยอยไดแก

วัตถุนาโน (Nano-object) คือวัสดุทีมี่มิติภายนอก 1 มิติ 2 มิติ หรอื3 มิติอยูในระดับนาโนสเกล

วัสดุโครงสรางนาโน (NanostructuredMaterial) คือวัสดุที่มีโครงสรางภายในอยูในระดับนาโนสเกล หรือมีโครงสรางพ้ืนผิวอยูใน

ระดับนาโนสเกล ตัวอยางวัสดุโครงสรางนาโนเชน นาโนคอมโพสิต (Nano-composite) ซ่ึงเปนวัสดุที่มีวัตถุนาโนฝงอยูในเมทริกซที่เปนของแข็ง หรือเปนวัตถุนาโนที่ยึดเกาะกันดวยการขจดัเรยีงตัวแบบสุมงายๆ ในรปูของอนภุาคกอนเกาะแนนและอนภุาคกอนเกาะหลวม หรอืจดัเรยีงตัวอยางเปนระเบียบในรปูแบบของผลึกเชน กลุมผลึกของฟูเลอรีนส หรือกลุมของ CNT

นอกจากนี้ยังจัดจําแนกวัสดุนาโนออกเปนกลุมไดจากการพิจารณาจํานวนมิติและองคประกอบพ้ืนฐานทางเคมีตามกระบวนการผลิตวัสดุนาโน

การกําหนดลักษณะเฉพาะของวสัดนุาโนลักษณะเฉพาะของผลิตภัณฑ โดยทั่วไป

ตองระบุถึงชื่อทางการคา ระดับคุณภาพของผลิตภัณฑ ขอมูลเก่ียวกับผลิตภณัฑ ขอมูลความปลอดภัยของผลิตภัณฑ วันที่ผลิต คําเตือนหนังสือรับรอง และขอความโฆษณา

ลักษณะจําเพาะของผลิตภัณฑสําหรับผูทํา ผูจดัจําหนาย หรือผูสงมอบ แสดงใหเห็นถึงขีดความสามารถของกระบวนการผลิตสินคาและเปนการสรางความแตกตางของผลิตภัณฑที่มีระดับคุณภาพแตกตางกัน

ลักษณะจาํเพาะของผลิตภณัฑสาํหรบัผูใชหรอืผูรบัมอบ แสดงใหเหน็ถงึความแตกตางของผูจัดจําหนายแตละราย หรือผลิตภัณฑแตละรายการ

ลักษณะจาํเพาะของผลิตภณัฑสาํหรบัผูทาํผูจดัจาํหนาย และผูใช เปนตัวชีวั้ดระดับองคกรในดานทีเ่ก่ียวกับระบบคุณภาพเพ่ือใหแนใจวามีการผลิตสอดคลองกับคุณภาพของผลิตภณัฑซ่ึงเปนพ้ืนฐานที่สําคัญในการจัดกิจกรรมเชิงพาณิชย

เชน การแกปญหาขอรองเรียน การเรียกคืนผลิตภัณฑ การรับประกันคุณภาพผลิตภัณฑ

ทั้งนี้ พบวาวัสดุนาโนที่ผลิตขึ้นในแตละรอบการผลิตมีความไมสมํ่าเสมอเกิดขึน้บอยครัง้ซ่ึงยอมสงผลตอความสมํ่าเสมอของกระบวนการผลิตขัน้ตอไปทีมี่การนาํวัสดุนาโนทีผ่ลิตขึน้นัน้ๆไปใชงาน และ/หรอืมีผลตอความสมํ่าเสมอของประสทิธิภาพการใชงานในผลิตภัณฑสุดทายที่ไดจากการใชวัสดุนาโนทีผ่ลิตขึน้นัน้ๆ โดยความไมสมํ่าเสมอดังกลาวเกิดขึน้จากสาเหตุทีอ่ธบิายไมไดอยางครบถวนทัง้ในสวนของผูสงมอบและผูรบัมอบ ดังนัน้สิง่สาํคัญทีน่าํไปสูการแกไขปญหาในความไมสมํ่าเสมอดังกลาวนี้ คือ การที่ทั้งผูสงมอบและผูรบัมอบตองมีมาตรฐานเดียวกันในการพัฒนาขอกําหนดเฉพาะของวัสดุนาโนจากการผลิตที่เกิดจากการตกลงรวมกันและยอมรับกันไดทั้งสองฝาย โดยทีแ่นวทางในการจดัเตรยีมขอกําหนดลักษณะเฉพาะของวัสดุนาโนที่ระบุในมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมนี้มีความสอดคลองและเปนไปในทิศทางเดียวกันกับขอปฏิบัติตามมาตรฐานอุตสาหกรรมของกลุมผูทําและจัดจําหนายผลิตภัณฑตางๆ ซ่ึงแนวทางดังกลาวนี้นําไปใชในการจัดเตรียมขอกําหนดลักษณะเฉพาะของวัสดุนาโนสาํหรบัการใชงานในทุกรปูแบบโดยเฉพาะการระบุเอกลกัษณของผลิตภัณฑ รูปรางและขนาด หรือการที่ผลิตภณัฑนัน้มีขนาดในระดับนาโนสเกลหรอืไมโดยแนวทางการกําหนดลักษณะเฉพาะของวัสดุนาโนเหลานี้ใชไดกับวัสดุนาโนที่มีการสงแบบในลักษณะที่เปนผงแหง หรือมีการสงมอบในลักษณะที่ เปนสารแขวนลอย โดยมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมนีไ้ดมีการจําแนกวัสดุ

มาตรฐาน มอก. 2691 เลม 7-2599วิธปีฏิบตัเิก่ียวกับสุขภาพและความปลอดภัยสําหรับผูมีอาชีพเก่ียวของกับนาโนเทคโนโลยี

www. s a f e t y l i f e tha i l and . c om

Page 2: มาตรฐาน มอก. 2691 เล ม 7-2599 วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับสุขภาพ ... · SAFETY LIFE1 นาโนเทคโนโลยี

2SAFET Y LIFE

นาโนออกเปนกลุมตางๆ โดยการพิจารณาจาํนวนมิติภายนอกของวัสดุนาโนทีมี่ขนาดระดับนาโนสเกล ดังนี้

(1) วัสดุนาโนที่ มีมิติภายนอกอยู ในระดับนาโนสเกลทั้ง 3 มิติ ไดแก อนุภาคนาโน

(2) วัสดุนาโนที่ มีมิติภายนอกอยู ในระดับนาโนสเกลจาํนวน 2 มิติ ไดแก เสนใยนาโน

(3) วัสดุนาโนที่ มีมิติภายนอกอยู ในระดับนาโนสเกลจาํนวน 1 มิติ ไดแก แผนนาโน

กระบวนการผลิตวัสดนุาโนวัสดุนาโนมีความหลากหลายและผลิต

ไดโดยวิธีการที่แตกตางกัน วิธกีารทัว่ไปที่ใชในการผลิตวัสดุนาโน ไดแก การผลิตละอองลอย(Aerosol Generation) การสะสมดวยไอ (VaporDeposition) การสังเคราะหในเฟสของเหลว(Liquid Phase Method) การพอลิเมอรดวยไฟฟาและการสะสมสารดวยไฟฟา (Electro-polymerization and Electrodeposition) การปนเสนใยดวยไฟฟา (Electro-spinning) และกระบวนการทางกล (Mechanical Process)

อันตรายจากวัสดุนาโน อันตรายของวัสดนุาโนตอสขุภาพโดยทั่วไป แนวโนมของความเสี่ยงตอ

สขุภาพของสารมีความเก่ียวของกับปรมิาณและระยะเวลาของการรบัสารนัน้ การคงอยูของสารในรางกาย ความเปนพิษของสาร ความไวตอการรับสัมผัสหรือสภาวะรางกายของผูที่ รับสัมผัส สําหรับผลกระทบตอสุขภาพของวัสดุนาโนนั้นยังไมเปนที่ทราบแนชัด เนื่องจากนาโนเทคโนโลยีเปนสาขาความรูใหม ทาํใหเกิดขอจํากัดในแงของความรูทีเ่ก่ียวของกับปจจัยที่จาํเปนสาํหรบัการประเมินความเสีย่งตอสขุภาพเชน ชองทางการรับสัมผัส การเคล่ือนที่ของวัสดุนาโนเม่ือเขาสูรางกาย และปฏิกิริยาของสารกับระบบชีววิทยาของรางกาย

ผลการศึกษาการรบัสมัผสัและตอบสนองตออนุภาคในระดับนาโนสเกล หรืออนุภาคที่หายใจเขาไปได รวมถึงขอมูลพิษวิทยาที่มีอยูเก่ียวกับสารทดลองขนาดใหญในหลอดทดลองในสัตวทดลองและในมนุษย เปนการประเมิน

ผลกระทบเบ้ืองตนที่อาจเกิดขึน้ตอสุขภาพจากการรับสัมผัสกับวัสดุที่มีลักษณะเหมือนกันในระดับนาโนสเกล อยางไรก็ตามสิง่ทีค่วรระลึกไวเสมอคือความไมแนนอนและความแปรปรวนอยางมีนยัสาํคัญในการคาดการณผลกระทบทีอ่าจเกิดกับมนุษยจากผลการศึกษาในสัตวทดลองมักเกิดขึน้ไดเสมอ

ในปจจุบัน วิธีการทดสอบโดยการเล้ียงเซลลนั้นนิยมใชกันมากเพ่ือใชอธิบายกลไกความเปนพิษ โดยทั่วไปแลวขอมูลที่ไดจากการทดสอบในหลอดทดลองนัน้ไมสามารถใชประเมินกับมนษุยโดยไมมีขอมูลเพ่ิมเติม เชน ขอมูลจากการทดสอบในสัตวทดลอง การศึกษาในสัตวทดลองไดเหน็การตอบสนองทางชวีวิทยา (ไมวาดานบวกหรือดานลบ) ตออนุภาคนาโนนั้นมีมากกวาการตอบสนองตออานภุาคทีมี่ขนาดใหญกวาที่มีองคประกอบทางเคมีคลายกันและมวลเทากัน นอกเหนอืจากจาํนวนอนภุาคและพ้ืนที่ผวิรวมแลวนัน้ ลักษณะเฉพาะอืน่ๆ ของอนุภาคอาจมีอทิธพิลตอการตอบสนองทางชวีวิทยาดวยอยางเชน ความสามารถในการละลาย รูปรางประจุและเคมีพ้ืนผิว สมบัติเปนตัวเรงปฏิกิริยาการดูดซับมลพิษ (เชน โลหะหนกั หรอื เอนโด-ทอกซิน) รวมไปถึงระดับการเกาะกอนแบบหลวมของอนภุาค

มักมีการเคลือบพ้ืนทีผ่วิของวัสดุนาโนหรอืเพ่ิมหมูฟงกชั่นเพ่ือปองกันการจับตัวเปนกอนใหไดสมบัติตามตองการ เชน ใชประโยชนทางเภสชักรรม รวมถงึการปนเปอนของพ้ืนผวิอนภุาคดวยสิง่เจอืปน สามารถนําไปสูการเปล่ียนแปลงการตอบสนองทางชีววิทยาได ยังมีงานวิจัยจาํนวนมากทีอ่ยูระหวางการศึกษาถงึผลกระทบจากสมบัติของอนภุาคตอสิง่มีชวิีตตางๆ และผลกระทบเชิงลบที่อาจมีขึ้น

อันตรายทางกายภาพของวัสดนุาโนทีท่าํใหเกิดอัคคภียั

แมวาขอมูลทีมี่อยูในขณะนียั้งไมเพียงพอสาํหรบัใชคาดการณโอกาสของความเสีย่งในการเกิดอัคคีภัยและการระเบิดจากวัตถุนาโนในรูปของผง วัสดุนาโนมีความเสีย่งสงูตอการติดไฟได

งายกวาวัสดุชนิดเดียวกันแตมีขนาดใหญกวาเนื่องจากเม่ือวัสดุมีขนาดเล็กลงทําใหพลังงานตํ่าสุดที่ใชในการจุดติดไฟลดลงและอัตราการเผาไหมสงูขึน้ นอกจากนียั้งทาํใหวัสดุทีไ่มติดไฟหรือวัสดุเฉ่ือยมีโอกาสติดไฟ

เม่ือวัสดุนาโยทีติ่ดไฟไดกระจายตัวอยูในอากาศจะทาํใหเกิดความเสีย่งสงูกวาการระเบิดของฝุน เม่ือเทยีบกับวัสดุชนดิเดียวกันแตมีขนาดใหญกวา ทั้งนี้ปจจัยสาํคัญที่ใชในการวิเคราะหลักษณะเฉพาะความปลอดภัยทีเ่ก่ียวของกับฝุนคือ พลังงานและอุณหภูมิตํ่าสุดที่ใชในการจุดติดไฟ

เนื่องจากวัสดุนาโนที่มีสมบัติเปนตัวเรงปฏิกิริยาสามารถชวยเพ่ิมอัตราเร็วในการเกิดปฏิกิริยาเคมี หรือลดอุณหภูมิที่ใชในการเกิดปฏิกิรยิาใหตํ่าลง ทาํใหปฏิกิรยิาสามารถเกิดขึน้ไดในของเหลวหรอืแกส สงผลใหการระเบิดและการเกิดอัคคีภยัมีแนวโนมที่สูงขึน้ดวย โดยควรพิจารณาจากองคประกอบและโครงสรางของวัสดุนั้นดวย

วัสดุนาโนบางชนดิไดรบัการออกแบบใหสามารถสรางความรอนได โดยอาศัยการเกิดปฏิกิรยิาแบบกาวหนาในระดับนาโนสเกลซ่ึงเปนพ้ืนฐานความรูสาํหรบัการวิจยัทางดานพลังงานนาโน ทําใหวัสดุนาโนกลุมนี้ติดไฟไดเร็วกวาวัสดุทีมี่ขนาดใหญกวาไดหลายเทาตัว

ขอควรพจิารณาดานความปลอดภยัในการผลิตวัสดนุาโน

การผลิตวัสดุนาโนและวัสดุอื่นๆ ขึ้นมาใหมนั้นทําไดทั้งการผลิตระดับตนแบบซ่ึงเปนกิจกรรมในการวิจยัและพัฒนาไปจนถงึการผลิตในระดับอุตสาหกรรม ในปจจุบัน การผลิตวัสดุนาโนประกอบดวยกระบวนการทีใ่ชพลังงานสงูหลายชนิด เชน การแยกสลายดวยเปลวไฟ การแยกสลายดวยความรอนจากเลเซอร การทาํใหเปนไอดวยเลเซอร (Laser Vaporization) การสังเคราะหดวยพลาสมาความรอน (ThermalPlasma) ไมโครเวฟพลาสมา (MicrowavePlasma) กระบวนการสปตเตอรงิ (Sputtering)และการระเหดิดวยเลเซอร (Laser Ablation) ซ่ึง

Page 3: มาตรฐาน มอก. 2691 เล ม 7-2599 วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับสุขภาพ ... · SAFETY LIFE1 นาโนเทคโนโลยี

3SAFET Y LIFE

ตองมีประเด็นความปลอดภัยที่เฉพาะเจาะจงอันตรายที่มีผลกระทบตอความปลอดภัยจากกระบวนการเหลานี้ประกอบดวย การทํางานกับถังทรงกระบอกทีอ่ัดความดันสูง เครือ่งมือที่ใชความดันตํ่า แกสพิษ และแกสเฉ่ือย วัสดุที่มีอณุหภมิูสงู การทาํงานกับไฟฟาแรงสงู เครือ่งมือที่ปลดปลอยรังสีแมเหล็กไฟฟา เลเซอร และแหลงกําเนดิแสงทีมี่ความเขมขนของแสงสงู เชนรังสีอัลตราไวโอเลต รังสีอินฟราเรด และรังสีที่ตามองเหน็ การทาํงานในสภาวะทีเ่ปนอนัตรายเหลานี้ตองการการฝกปฏิบัติงานที่เหมาะสมและเปนไปตามแนวทางการทํางานที่ปลอดภัยในหองปฏิบัติการ

การประเมนิการรับสมัผัสกับวัสดนุาโน ชองทางการรับสมัผัสชองทางการรบัสมัผสักับวัสดุนาโนของผู

ปฏิบัติงานมี 3 ชองทางหลัก ไดแก ทางการหายใจทางปาก และทางผวิหนงั โดยมีรายละเอยีดดังนี้

การรับสัมผสัทางการหายใจการรบัสมัผสัทางการหายใจเปนเสนทาง

หลักทีวั่สดุนาโนเขาสูรางกาย เนือ่งจากอนุภาคสวนใหญในสถานทีป่ฏิบัติงานอยูในรปูแบบอสิระและลอยอยูในอากาศ อนภุาคนาโนทีเ่ขาสูรางกายผานทางการหายใจจะสะสมบรเิวณทางเดินหายใจซ่ึงขึ้นอยูกับขนาดของอนุภาค โดยทั่วไปแลวอนภุาคนาโนจะตกคางในทกุสวนของระบบทางเดินหายใจ โดยมีสดัสวนการสะสมในบรเิวณตางๆไดแก ชองจมูก (Nasopharyngeal) หลอดลม(Tracheobronchial) และถงุลม (Alveolar Region)ซ่ึงจากการใชแบบจาํลองทางคณติศาสตรในการคาดการณ (ตามคณะกรรมาธิการนานาชาติวาดวยการปองกันอันตรายจากรังสี (ICRP;International Commission on RadiologicalProtection) พบวา โอกาสทีอ่นภุาคขนาด 1 นาโนเมตร (nm) สะสมในชองจมูกมีมากถงึ 80% ในหลอดลม 20% และในถงุลมนอยกวา 1% สาํหรบัอนภุาคทีมี่ขนาด 20 นาโนเมตร พบวามีโอกาสสะสมในถุงลม 50% ในชองจมูกและหลอดลมในสัดสวนที่เทากันคือ 25%

การรับสัมผัสทางปากในสถานที่ปฏิบัติงาน วัสดุนาโนในรูป

อนภุาคสามารถเขาสูรางกายทางปากจากการกลนืเมือก (หรือน้ํามูก) ที่สะสมอยูในระบบหายใจจากการบรโิภคอาหารหรอืน้าํทีป่นเปอนอนภุาคนาโน หรือจากการไดรับเขาทางปากผานมือหรอืผวิหนงัทีป่นเปอน ทัง้นี ้การศึกษาเรือ่งการตกคางของอนภุาคนาโนในระบบทางเดินอาหารยังมีจํานวนนอยมาก

การรับสัมผัสทางผวิหนังในสถานที่ปฏิบัติงาน ผูปฏิบัติงานอาจ

เกิดการรบัสมัผสัวัสดุนาโนทางผวิหนงัในระหวางกระบวนการผลิตหรือใชงาน หรือโดยการรับสมัผสัพ้ืนผวิทีป่นเปอนวัสดุนาโน อยางไรก็ดี ในปจจบัุนยังเปนทีถ่กเถยีงวาอนภุาคนาโนสามารถทะลุผานเขาทางผวิหนงัปกติและทาํใหเกิดผลรายหรือไม และปริมาณเทาใดที่จะทําเกิดลักษณะนั้น งานวิจัยสวนใหญศึกษาการรับสัมผัสทางผิวหนังในสภาวะปกติกับวัสดุนาโนเฉพาะชนิดเชน TiO2 และ ZnO แตยังไมพบวามีการศึกษาถงึผลกระทบตอผิวหนังในรูปแบบอื่น เชน การทะลุผานผิวหนังที่ไดรับบาดเจ็บ รวมถึงการศึกษาถึงบทบาทของตัวทําละลายในการดูดซึมอนภุาคนาโนผานทางผวิหนงัในขณะทีป่ฏิบัติงานสวนการรบัสมัผสัผานทางการฉีดเขาสูสวนตางๆทีเ่กิดขึน้ในสถานปฏิบัติงาน สวนใหญเนือ่งจากอุบัติเหตุ

การประเมนิความเสีย่งดานอาชีวอนามยัสวนนี้กลาวถึงสถานะปจจุบัน เปนการ

ประเมินความเสีย่งในการผลิตและกระบวนการแปรรปูวัสดุนาโน ซ่ึงเนนเฉพาะปจจยัทีเ่ก่ียวของดานอาชวีอนามัน เชน โรงงานผลิต หองทดลองหรือหองปฏิบัติการ แตไมไดพิจารณารวมถึงความปลอดภยัของผูบรโิภคหรอืความปลอดภยัตอสิ่งแวดลอม

วัสดุนาโนที่มีลักษณะเปนอนุภาคอิสระที่เกาะเปนกลุม ลวนเก่ียวของกับอาชีวอนามัยและความปลอดภัย วัสดุที่ มีโครงสรางนาโนสเกล ชัน้นาโน หรอืของแขง็ทีมี่อนภุาคนาโนฝงตัวอยู เชน สารประกอบพอลิเมอร สารเคลือบหรือสารตกแตง กอใหเกิดการรับสัมผัสไดและมีผลกระทบเม่ือมีการรับสัมผัส จากการศึกษาภาคสนามพบวา กระบวนการแปรรูวัสดุดวยวิธกีารทาํลายของสารประกอบพอลิเมอรทีมี่วัสดุนาโนฝงอยูจะทําใหเกิดละอองลอยของเสนใยนาโนที่ เปนชนิดกอนเกาะแนน แตไมปลอยอนภุาคนาโนชนดิกอนเกาะหลวมซ่ึงละอองลอย

นี้อาจเปนสวนผสมของอนุภาคลอยของเสนใยนาโนที่เกิดขึ้นโดยไมต้ังใจและอนุภาคนาโนที่สรางขึ้น ดังนั้น จงึจําเปนตองวิเคราะหลักษณะสมบัติของละอองลอยอยางถกูตองและเหมาะสม

ในขณะทีอ่นัตรายทางกายภาพซ่ึงมาจากการแปรรปูดวยวิธเีฉพาะ เชน การใหความรอนสงู การใหแรงดันไฟฟาสงูใชในงานทีเ่ก่ียวของกับวัสดุนาโน เนือ้หาในสวนนีมุ้งเนนอนัตรายทีเ่กิดจากความเปนพิษมากกวาอันตรายจากอคัคีภยัและการระเบิด โดยทัว่ไปแลว หลีกเล่ียงผลกระทบแบบเฉียบพลันไดโดยใชหลักการพ้ืนฐานและขอกําหนดขั้นตนของอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในกรณีมขีอมลูพิษวิทยาของวัสดุนาโนนัน้อยางไรก็ตามความเสี่ยงตอสุขภาพเนื่องจากการรบัสมัผสัวัสดุนาโนในปรมิาณตํ่าแบบสะสมประเมนิไดยากและทาทายตอการกําหนดแนวทางการปฏิบัติ การประเมินความเสี่ยงดําเนินการโดยผูเชี่ยวชาญรวมกับผูมีอํานาจตัดสินใจในการจัดทําขอกําหนดในการจัดการความเสี่ยงและจําเปนตองใชขอมูลอยางละเอียดทั้งของผลิตภัณฑและกระบวนการแปรรูป

การประเมนิความเสีย่งสําหรับวสัดนุาโน(Risk Assessment for Nanomaterial)

การประเมินความเสีย่งเปนการวิเคราะหผลกระทบเชิงลบตอสุขภาพที่อาจเกิดขึ้นทั้งในปจจบัุนอนัเกิดจากสารเคมีอนัตรายโดยปราศจากการกระทําใดๆ ที่จะควบคุมหรือลดการรับสัมผัสสารเคมีนั้น

การประเมินความเสี่ยงในการประกอบอาชพี ประกอบดวย การระบุความเปนอนัตราย

Page 4: มาตรฐาน มอก. 2691 เล ม 7-2599 วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับสุขภาพ ... · SAFETY LIFE1 นาโนเทคโนโลยี

4SAFET Y LIFE

การประเมินอนัตราย การประเมินการรบัและการจําแนกความเสี่ยง เปาหมายของการประเมินความเสี่ยง ตองประเมินวา ความเสีย่งทีมี่อยูในสภาพแวดลอมของสถานที่ทาํงานอยูเกินระดับการยอมรับ เพ่ือเปนขอมูลใหกับผู มีอํานาจตัดสินใจเพ่ิมความเขมงวดในการจัดการความเสี่ยงตอไป

กระบวนการประเมินความเส่ียง ประกอบดวย(1) ระบุชนิดสารที่ เปนอันตรายเม่ือ

ไดรับและมีความเสี่ยง(2) ประเมินการตอบสนองเม่ือไดรับ

สัมผัสอันตราย เปนการระบุผลกระทบเชิงลบตอสุขภาพที่อาจเกิดขึ้นจากสารอันตรายในสถานที่ปฏิบัติงานที่ไดมีการระบุไว

(3) ประเมินการรับสัมผัสสารอันตรายเปนการประเมินวิธทีีบุ่คคลมีโอกาสรบัสมัผสักับสารอันตรายที่มีอยูในสถานที่ปฏิบัติงาน

(4) วิเคราะหความเสี่ยงรวมกับขอมูลที่ไดกลาวมาแลวจากขอ “วัตถนุาโนและการผลิต”จนถงึขอ “การประเมินการรบัสมัผสัวัสดุนาโน”ขางตนมาพิจารณารวมกันเพ่ือประเมินความเสีย่งในแตละสถานที่ปฏิบัติงาน

การประเมินความเสีย่งในสถานทีป่ฏิบัติงาน เริ่มจากการรวบรวมขอมูลเก่ียวกับการประเมินอนัตรายจากนัน้จงึใชกระบวนการตรรกะในการประเมินปรมิาณการรบัสมัผสัและการเขาถึงสารอันตราย ดังนั้น การประเมินความเสี่ยงจึงเปนการสังเคราะหขอมูลของอันตรายและการรับสัมผัส

วิธกีารประเมินความเสีย่งของวัสดุนาโนใหเปนไปตาม มอก.2691 เลม 6

การประเมนิความเสีย่งเชิงปริมาณการประเมินความเสีย่งเชงิปรมิาณขึน้อยู

กับขอมูลการรับสัมผัสเชิงปริมาณซ่ึงแสดงถึงโอกาสและระดับการรบัสมัผัส และขดีจาํกัดของปรมิาณการรบัสมัผสั ขดีจาํกัดของการรบัสมัผสัพัฒนามาจากความสมัพันธระหวางปรมิาณการ

รับสัมผัส การตอบสนอง และระดับของการรับสมัผสัทีมี่ความเสีย่งเชงิลบตอสขุภาพ แมวามีคาตํ่ากวาระดับทีย่อมรบัไดก็ตาม สวนประกอบอืน่ของการประเมินความเสี่ยงเชิงปริมาณ ไดแกการวัดการประมาณคาการรับสัมผัสที่แทจริงหรือโอกาสการรับสัมผัสในสถานทีป่ฏิบัติงาน

การประเมนิความเสีย่งเชิงสขุภาพในกรณไีมมีขอมูลสาํหรบัใชในการประเมิน

ความเสีย่งเชงิปรมิาณ ขอมูลทีข่าดไปนีท้ดแทนไดโดยการใชความเหน็จากบุคคล คณะบุคคล หรอืหนวยงานทีมี่ความเชีย่วชาญดานนาโนเทคโนโลยีการประเมินความเสี่ยงอาชีวอนามัยและความปลอดภัย รวมกับการประมาณการจากขอมูลที่มีอยูของวัสดุที่คลายกัน

การประเมินความเสี่ยงเชิงคุณภาพดวยวิธีนีน้าํมาใชจดักลุมชวยใหเกิดการพัฒนาเทคนคิการควบคุมเพ่ือประเมินความเสีย่งและแนะนําเทคนคิในการจดัการความเสีย่งอยางเหมาะสม

สวนประกอบที่ สําคัญอื่ นๆ ของการประเมินความเสี่ ยงเชิงคุณภาพ ไดแก การประเมินขอมูลอันตรายและการรบัสัมผสัทีมี่อยูอยางสมํ่าเสมอ

การระบุลักษณะอันตราย (HazardIdentification)

การระบุลักษณะอันตรายเพ่ือระบุและติดตามอนัตรายของสารท่ีอาจสงผลกระทบรนุแรงตอการรบัสมัผสัและความเสีย่ง ในกรณนีีมุ้งเนนการจัดทํารายการของอันตรายที่เกิดจากการเปนพิษ (สารเคมีหรอืวัสดุนาโน) และอันตรายทางกายภาพ (เชน สนามแมเหล็กไฟฟา แหลงกําเนิดแสงที่มีความเขมแสงสูง เสียงที่มีความเขมสูง วัสดุติดไฟและวัตถุระเบิด ความดันสูงหรอืสญุญากาศ) แมวาจะมีกระบวนการควบคุมทางวิศวกรรม โอกาสการไดรับสารในระดับตํ่าหรอืการไดรบัสารทีมี่อนัตรายในระดับตํ่าจาํเปนตองทําการระบุลักษณะอันตรายทั้ งหมดที่เก่ียวของกับการไดรบัสมัผสัจากการปฏิบัติงาน

ขอมูลทีใ่ชสาํหรบัการระบุอนัตรายไดจากบทความวิชาการ เอกสารความปลอดภยั (SDS)เอกสารความปลอดภัยสารเคมี (ICSC) ขอมูลจากผูผลิต ประกาศ กฎกระทรวง และขอมูลผลการทดสอบ ขอมูลในเอกสารตางๆ สวนใหญไมระบุขอมูลเฉพาะของวัสดุนาโนหรอืเกณฑปรมิาณสารทีไ่ดรบั ดังนัน้ ขอมูลจากเอกสารขางตนอาจไมเพียงพอตอการวิเคราะหอันตรายของวัสดุนาโน ในกรณีนี้ทดสอบเพ่ือใชเปนขอมูลได

ขั้นตอไปนี้ประกอบดวยการวิเคราะหปรมิาณวัสดุหรอืสารเคมีทีเ่ปนอนัตราย ปรมิาณวัสดุหรอืสารเคมีทีใ่ชหรอืมีอยูในสถานทีป่ฏิบัติงานเปนปจจัยสําคัญที่สงผลกระทบตอโอกาสในการรบัสมัผสั สถานทีป่ฏิบัติงานซ่ึงมีปริมาณของวัสดุเพียงเล็กนอยทาํใหมีโอกาสการรบัสมัผสัตํ่ากวาเม่ือเปรียบเทียบกันสถานที่ปฏิบัติงานที่ มีการใชวัสดุในปริมาณมาก การวิเคราะหสถานที่ปฏิบัติงานชวยในการประเมินโอกาสการรับสัมผัสของผูปฏิบัติงานในหนาที่หรือในสถานที่ ดังกลาวได ซ่ึ งนําไปสู การระบุกลุ มประชากรที่เปนเปาหมาย

การระบุอนัตรายประกอบดวยการสาํรวจสถานที่ปฏิบัติงาน ข้ันตอนการทํางาน กระบวนการผลิตและการวัดความปลอดภยัในสถานทีป่ฏิบัติงาน รวมถึงการใชระบบควบคุมทางวิศวกรรมและ PPE เพ่ือใชในการอธิบายถึงการรับสัมผัสและการระบุโอกาสในการรับสัมผัสสารเคมีที่เปนอนัตรายของผูปฏิบัติงานทัง้ในหนาทีแ่ละในสถานที ่หากการสํารวจเบ้ืองตนระบุวามีโอกาสของการรับสัมผัสตองรวบรวมและวิเคราะหขอมูลเพ่ีอประเมินการรบัสมัผสัในสถานทีป่ฏิบัติงานดังกลาว ขอมูลที่นํามาใชในการวิเคราะหไดแก ความเขมขนโดยมวล จาํนวนอนภุาค การกระจายตัวของขนาดอนภุาค พ้ืนทีผ่วิ และขอมูลวิเคราะหสมบัติทางเคมี

การประเมินการตอบสนองตอการรับสัมผัส (Exposure-response Assessment)

อันตรายทางพษิวิทยาในการจัดการดานอาชีวอนามัยนั้น การ

ปองกันผลกระทบจากความเปนพิษทําไดโดยการลดปริมาณการรับสัมผัสสารที่เปนพิษใหตํ่ากวาคาปรมิาณทีร่ะดับปลอดภยัซ่ึงอยูในระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได ผลกระทบจากความเปนพิษจําแนกได 2 ชนิด คือ ชนิดมีจุดเปล่ียน(Threshold) และชนิดไมมีจุดเปล่ียน (Non-threshod) ชนิดมีจุดเปล่ียนระบุเกณฑการรับสมัผสัทีไ่มกอใหเกิดอนัตรายตอสขุภาพ สวนชนดิไมมีจุดเปล่ียนคือ ไมระบุเกณฑการรับสัมผัส

Page 5: มาตรฐาน มอก. 2691 เล ม 7-2599 วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับสุขภาพ ... · SAFETY LIFE1 นาโนเทคโนโลยี

5SAFET Y LIFE

ที่สงผลตอสุขภาพได ในการระบุเกณฑความปลอดภยัจาํเปนตองวิเคราะหในเชงิปรมิาณ ดังนี้

(1) หาคา NOAEL หรอื BMD โดยใชขอมูลตอบสนองตอการรับสัมผัสในสัตวหรือมนุษย

(2) ประมาณเกณฑสําหรับมนุษยจากเกณฑของสตัว (พิจารณาคาไมแนนอนประกอบ)โดยใชแบบจําลอง เชน แบบจําลองปอดมนุษยในการประมาณความเขมขนที่ไดรับตลอดอายุการทาํงาน

(3) คํานวณขีดจํากัดของการรับสัมผัสจากการปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความเปนไปไดทางเทคนคิ ความแปรปรวน และความไมแนนอนของแบบจําลอง การประมาณการ และระบบความเสี่ยงที่ยอมรับได

สมบัติความเปนพิษของวัสดุนาโนอาจเกิดจากองคประกอบเคมีที่อยูภายในของวัสดุไดแก สวนประกอบในสารต้ังตน ไดมีการศึกษาทางพิษวิทยาของวัสดุนาโน เชน CNT ซ่ึงมีลักษณะแตกตางจากคารบอนทีมี่ขนาดใหญ

นยิาม วิธีการ และมาตรฐานสาํหรบัการทดสอบพิษวิทยาของวัสดุนาโนอยูในระหวางการพัฒนา ควรตรวจสอบมาตรฐานระหวางประเทศทีอ่างองิได เชน มาตรฐานของ OECD เพ่ือใชเปนแนวทางการปฏิบัติ นิอกจากนี้ การวิเคราะหทางพิษวิทยาของวัสดุนาโนนัน้ จําเปนตองระบุการกระจายตัวของอนภุาคนาโน เนือ่งจากวัสดุนาโนที่มีความเขมขนสูงจะเกิดเปนกอนเกาะหลวมอยางรวดเรว็ อนัเปนผลจากการเคล่ือนที่แบบบราวนและแรงดึงดูดระหวางอนุภาคนาโนซ่ึงเกิดขึ้นไดในระหวางกระบวนการผลิตและกระบวนการบรรจุลงในบรรจุภัณฑ ดังนัน้ การรับสัมผัสจึงอาจเกิดขึ้นจากอนุภาคนาโนหรือเกิดจากอนุภาคกอนเกาะหลวม

หมายเหตุ การเคล่ือนที่แบบบราวน(Brownian Motion) หมายถึง อนุภาคนาโนที่แขวนลอยในของเหลวมีการเคล่ือนที่แบบสุมอยางสมํ่าเสมอ ซ่ึงเกิดจากปฏิสัมพันธระหวางอนุภาคกับโมเลกุลของเหลว

รายงานผลจากการศึกษาทางพิษวิทยาจํานวนหนึ่งพบวา บางครั้ง ความเปนพิษไดมาจากวัสดุทดสอบที่ไมทราบสมบัติอยางชัดเจนเนือ่งจากขอจํากัดทางเทคนคิ ดังนัน้ ในปจจบัุนจึงมีขอมูลอันตรายที่พิสูจนยืนยันจากผลการศึกษาพิษวิทยาสาํหรบัอาชวีอนามัยอยูอยางจาํกัดและเชื่อวาในอนาคตจะมีเกณฑการรับสัมผัสของวัสดุนาโนที่สรางขึ้นเพียงไมก่ีชนิดเทานั้นตัวอยางรายงานผลการวิเคราะหความเสีย่งของวัสดุนาโน เชน TiO2 คารบอนและอนุภาคที่

เกิดจากทอไอเสียเครื่องยนตดีเซลจากขอมูลทีมี่ไมมากนกัในปจจบัุนพบวา

ขอมูลความเปนอันตรายจากความเปนพิษของวัสดุนาโนนั้นไมไดมีการประเมินอยางสมบูรณทั้งนี้ สิง่ที่ควรพิจารณาในปจจุบันประกอบดวย

(1) พิษวิทยาของวัสดุนาโนนัน้คาดการณจากพิษวิทยาของสารนั้นๆ ที่มีขนาดใหญไมไดเสมอไป

(2) วัสดุนาโนบางชนดิ มวลไมใชปรมิาณที่เหมาะสมสําหรับหารวิเคราะหการรับสัมผัสและใหใชพ้ืนที่ผวิของวัสดุนาโนและจํานวนของอนุภาคนาโนในการวิเคราะหแทน

ดังนั้ นขีดจํากัดของการรับสัมผั สในสถานทีท่าํงาน (Occupational Exposure Limit)สําหรับวัตถุขนาดใหญที่มีลักษณะเปนฝุนผงอาจใชสําหรับวัสดุนาโนที่มีสวนประกอบทางเคมีเหมือนกันไมได

อันตรายทางฟสิกส (Physical Hazard)อันตรายจากอัคคีภัยและการระเบิดอัน

เนือ่งมาจากวัสดุนาโนนัน้มีรายงานนอยมาก หากอนภุาคนาโนกอใหเกิดเหตุอคัคีภยัและระเบิดไดความรนุแรงจะมีมากกวาอนภุาคขนาดใหญหรอืวัสดุขนาดใหญ ดังนัน้จงึตองมีการทดสอบเพ่ิมเติมเพ่ือประเมินสภาพลุกไหมได สภาพระเบิดไดและความไวปฏิกิริยาของวัสดุนาโน เกณฑวิธีการทดสอบอนัตรายเหลานีมี้อยูแลวสาํหรบัการทดสอบวัสดุขนาดใหญทีเ่ปนฝุนผงและนํามาใชกับวัสดุนาโนได เกณฑวิธดัีงกลาวประกอบดวยการวัดอัตราการ เผาไหม การวัดอุณหภูมิการจุดติดไฟ และการวัดสมบัติความเปนระเบิด

สภาพลุกไหมไดของวัสดุนาโนประเมินตาม ASTM E-918-83 สมบัติความเปนระเบิดวิเคราะหดวยวิธ ีFallhammer และ Koenen ดังนัน้เม่ือมีขอมูลอนัตรายจากลักษณะเฉพาะทางฟสกิสแลว การประเมินความเสี่ยงอันเกิดจากเหตุอัคคีภัยและการระเบิดได ใหใชเทคนิคที่มีอยู

เนือ่งจากขอมูลอนัตรายของวัสดุนาโนมีอยูอยางจํากัด การแบงกลุมความเปนอันตรายของวัสดุนาโนจึงอางอิงตามความเห็นของผูเชี่ยวชาญระบบการติดฉลากระบุระดับอนัตรายในสหภาพยุโรปประกอบดวยขอมูลดังนี้

(1) ระดับความรุนแรงของอันตรายไดแก ความเปนพิษมาก เปนพิษ อันตรายกัดกรอน และระคายเคือง

(2) ระดับความเสี่ยงเพ่ืออธิบายระดับความเปนอันตราย

ขอมูลเก่ี ยวกับการจําแนกความเปนอันตรายดูไดจากขอ “อันตรายของวัสดุนาโน”และ “ภาคผนวก ค. อันตรายของวัสดุนาโนตอสุขภาพ (รายละเอียดสัมผัส)”

การประเมินการรับสัมผัส (ExposureAssessment)

การรบัสมัผสัวัสดุนาโนเกิดขึน้ไดจากการรบัสมัผสัโดยตรง ในกรณขีองอนุภาคนาโนตองพิจารณาแนวโนมการปลดปลอยของอนุภาคนาโนดวยซ่ึงหาไดจากความสามารถของอนภุาคนาโนในแตละชนิดที่เกิดการรับสัมผัสโดยตรงกับผิวหนังของมนุษยหรืออวัยวะอื่นๆ ได เชนปอด ปจจยัทีต่องพิจารณาสาํหรบัการปลดปลอยอนุภาคนาโนในอากาศ ไดแก สมบัติทางเคมี-ฟสิกส และกระบวนการแปรรู ซ่ึงสมบัติเคมี-ฟสิกสประกอบดวยขนาด การเคลือบผิว ประจุการฟุงกระจาย การพิจารณาวิธกีารวิเคราะหควรตรวจสอบวาสถานะของวัสดุนั้นๆ ดวยวาอยูใน

Page 6: มาตรฐาน มอก. 2691 เล ม 7-2599 วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับสุขภาพ ... · SAFETY LIFE1 นาโนเทคโนโลยี

6SAFET Y LIFE

ตัวกลางทีเ่ปนของเหลวหรอืของแขง็ กระบวนการเชงิกล เชน การกวน การเจาะ การเล่ือย การบดการครดู และการตัด อาจทาํใหเกิดการปลดปลอยอนภุาคนาโนหรอืวัสดุทีท่าํใหเกิดโครงสรางนาโนสเกลได เชน การใชเลเซอรสําหรับเจาะ การเชือ่มดวยพลาสมา นอกจากนีก้ระบวนการทางวิศวกรรมทั้ งที่ อยูในระบบปดและระบบเปดลวนแลวแตมีโอกาสในการรับสัมผัสวัสดุนาโนทั้งสิ้น ความเสี่ยงของการรับสัมผัสเกิดจากปจจยัตางๆ เชน การใชงานทีไ่มถกูตอง เครือ่งมือทาํงานผดิปกติความรูเทาไมถงึการณของผูปฏิบัติงานและการขาดประสบการณของผูปฏิบัติงาน

ในการประเมินการรบัสัมผัสจําเปนตองเขาใจภาพรวมของการรับสัมผัสที่เกิดขึ้นจริงการสูดดม และการซึมผานผิวหนังเปนชองทางทั่วไปของการรับสัมผัสในสถานที่ปฏิบัติงานสวนการรับสัมผัสทางปากนั้นเกิดขึ้นนอยมาก(แมวาการบรโิภคเปนสวนหนึง่ของการรบัสมัผสัทางการหายใจจากการกลืนเสมหะและการกลืนอนภุาคนาโนจากการหายใจเขาไป) การรบัสมัผสัทางปากมักเกิดอยางไมต้ังใจจากมือที่สัมผัสวัสดุนาโน การรับสัมผัสจากอุบัติเหตุ เชน ทางเขม็ฉีดยา ผลการศึกษารายงานวาอนภุาคนาโนทะลุผานผิวหนังชั้นในของหมูไมได ในขณะที่งานวิจัยอื่นๆ ไดแสดงใหเห็นวาอนุภาคนาโนสามารถผานหนงักําพราชัน้สตราตัมคอรเนยีม(Stratum Corneum) และเขาสูชั้นผิวหนังและชั้นผิวหนังบนสุดของหมูและมนุษยได

การรบัสมัผสัทางการหายใจวิเคราะหไดดวยวิธีการวัด เชน การนับจํานวนอนุภาค การวัดขนาด ขณะทีก่ารรบัสมัผสัทางผวิหนงัสามารถวิเคราะหไดโดยใชตัวอยางของกระดาษเช็ดมือทําการทดสอบทางเคมีและกลองจุลทรรศนอิเล็กตรอน ซ่ึงวิธกีารเหลานี้มีความยุงยากจากการทวนสอบ การสอบเทียบ และการประมาณ

คาความไมแนนอน อยางไรก็ตาม ขนาดอนภุาคจํานวน และการกระจายตัวเปนปจจัยที่สาํคัญที่จาํเปน รวมถงึพ้ืนทีผ่ิวหรอืขอมูลสมบัติทางเคมี

ในกรณทีี่ขอมูลการรับสมัผัสไมเพียงพอใหนําเทคนิคเชิงคุณภาพมาใชประเมินได เชนใชสมบัติการฟุงกระจายในการกําหนดโอกาสในการรับสัมผัส คือ ตํ่า ปานกลาง และสูง

การประเมินการไดรับเขาสู ร างกายเก่ียวของกับการวิเคราะหตัวอยางจากภายในรางกาย เชน เนือ้เย่ือ ของเหลวจากรางกาย และอากาศที่หายใจเขาไป ในทางอาชีวอนามัยจึงกําหนดใหมีวิธีการที่งายขึ้นโดยใชตัวอยางจากผม ปสสาวะ และอากาศที่หายใจออกมาแทน

การระบุปรมิาณที่รับเขาสูรางกายทําไดโดยการวัดปริมาณวัสดุนาโนที่ สนใจ หรือเมแทบอไลตของวัสดุนาโน นอกจากนี ้ยังมีการใช “ตัวระบุทางชีวภาพ” (Biomarker) ซ่ึงเปนสารทีเ่กิดขึน้จากอนัตรกิรยิาระหวางสารพิษกับระบบในรางกายมนษุยเปนหลักฐานในการแสดงถึงการไดรับสัมผัสสารพิษของรางกาย หากตัวระบุนั้นๆ มีความสัมพันธอยางจําเพาะกับสารพิษที่ไดรับเขาสูรางกาย โดยการวัดปริมาณตัวระบุทางชีวภาพมีขอดีคือ สามารถใหขอมูลการรบัสมัผสัได ไมวาการรบัสมัผสันัน้จะเกิดขึน้ผานเสนทางใด การวัดปรมิาณตัวระบุยังสามารถนํามาใชสาํหรบัการตรวจคัดกรองและตรวจติดตาม

พนกังานทีท่าํงานกับวัสดุนาโนได อยางไรก็ตามขอมูลการศึกษาตัวระบุทางชวีภาพสาํหรบัการรบัสมัผสัวัสดุนาโนยังอยูในชวงเริม่ตน และมีความซับซอนอนัสบืเนือ่งมาจากความหลากหลายทางฟสิกสและเคมีของวัสดุนาโนซ่ึงสงผลใหการตรวจสอบทางชีวภาพมีความหลากหลายไปดวย จากการศึกษาการรับสัมผัสวัสดุนาโนที่มีความเปนพิษตํ่าและความสามารถในการละลายตํ่าผานทางการหายใจ พบวาเปนสาเหตุใหเกิดการอักเสบ ซ่ึงมีการเสนอใหไนทรกิออกไซดในลมหายใจออกของมนษุยเปนตัวระบุทางชวิีภาพของการเกิดกระบวนการอักเสบในรางกาย

ลักษณะเฉพาะของความเสี่ยง (RiskCharacterization)

ลกัษณะเฉพาะของความเสีย่งประกอบดวยการทบทวนและการรวมขอมูลทีไ่ดจากขัน้ตอนการระบุอนัตราย การประเมินการตอบสนองตอการรบัสมัผสั และการประเมินการรบัสมัผสั คาประมาณการความเสี่ยงเชิงปริมาณประเมินไดจากความไมแนนอนทางสถิติและทางชีวภาพการอธิบายลักษณะของความเสี่ยงใชในการประเมินอันตรายและการรับสัมผัส ณ สถานที่ใดๆ วามีความเสี่ยงเกินเกณฑทีย่อมรับได และมีประชากรกลุมเสี่ยงหรือไม การจัดการความเสี่ยงอาจนํามาใชเพ่ือลดระดับความเสี่ยงใหตํ่ากวาเกณฑที่ยอมรับได มาตรการในการลดความเสี่ยงอาจเปนการแนะนาํใหกําจัดอนภุาคนาโนที่ เปนอันตรายหรือใชสารอื่นทดแทนรวมถึงปรับปรุงกระบวนการผลิต และ/หรือการใชการควบคุมทางวิศวกรรม มาตรการระดับองคกร เชน คูมือความปลอดภัย PPEและ SOP

บทสรุปการประเมินความเสีย่งของการรบัสมัผสั

วัสดุนาโนในทีท่ํางานประกอบดวยการประเมินความเสี่ยงเชิงปริมาณและ/หรือเชิงคุณภาพในกรณีที่มีขอมูลวิชาการกําจัด หรือวัสดุนั้นมีลักษณะจาํเพาะ อาจประเมินดานคุณภาพเพียงอยางเดียว หากมีขอมูลการรับสัมผัสและการตอบสนอง (เชน พิษวิทยาและระบาดวิทยา) ใหทาํการประเมินดานปรมิาณได ในปจจบัุนขอมูลการรับสัมผัสและอันตรายดานปริมาณสําหรับวัสดุนาโนทีเพียงสวนนอยเทานั้น ดังนั้นการประเมินความเสี่ยงตอสุขภาพสําหรับสถานที่ปฏิบัติงานในปจจุบันจงึขึน้อยูกับความเห็นของผูเชี่ยวชาญในการระบุอันตราย โอกาสการรับสัมผัส และการนํามาตรการความปลอดภัยที่เหมาะสมไปใชงาน


Related Documents