Top Banner
TQF: Thai Qualifications Framework for Higher Education Faculty of Education, Khon Kean University .ดร.อนุชา โสมาบุตร .ดร.วิศปัตย์ ช ยช วย คณะศ กษาศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น [email protected]
82

TQF- Thai qualifications framework for higher education

Feb 23, 2017

Download

Education

Anucha Somabut
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: TQF- Thai qualifications framework for higher education

TQF: Thai Qualifications Framework for Higher Education

Faculty of Education, Khon Kean University

อ.ดร.อนชุา โสมาบตุร อ.ดร.วศิปตัย ์ชยัชว่ย คณะศกึษาศาสตรม์หาวทิยาลยัขอนแกน่

[email protected]

Page 2: TQF- Thai qualifications framework for higher education

ความเปนมา

2

NQF TQF

ป 2545 ป 2552

Page 3: TQF- Thai qualifications framework for higher education

3

Learning and Innovation skill

Technology skill

Thinking skill

ประเด็นยทุธศาสตรท์ี่สําคญัของ

แผนพฒันาเศรษฐกจิและสงัคมแหง่ชาต ิ

พฒันาคนในชาตใิหม้ปีญัญาหรอืความรอบรู ้โดยเชือ่มโยงฐานความรูจ้ากชวีติจรงิทีม่อียูใ่นสงัคมเขา้กบัฐานความรูใ้นหลกัวชิาอยา่งบรูณาการ กระตุน้ใหใ้ฝ่รู ้และสง่เสรมิใหเ้กดิการแลกเปลีย่นเรยีนรู ้เพือ่สรา้งสรรคน์วตักรรมและองคค์วามรูใ้หม่ๆ มาใชใ้นการพฒันาประเทศทีม่ ัน่คงและย ัง่ยนื

Page 4: TQF- Thai qualifications framework for higher education

4

พ.ร.บ.การศกึษาแหง่ชาต ิพ.ศ.

2542

หมวด 6 มาตรฐานและการประกนั

คณุภาพการศกึษา

มาตรา 47 กําหนดใหม้รีะบบ

การประกนัคณุภาพการศกึษา

เพือ่พฒันาคณุภาพและ

มาตรฐานการศกึษาทกุระดบั ประกอบดว้ยระบบ

การประกนัคณุภาพภายในและระบบการ

ประกนัคณุภาพภายนอก

กรอบมาตรฐานคณุวฒุิ

ระดบัอดุมศกึษาแหง่ชาตขิ ึน้

เ พื่ อ ใ ห้ เ ป็ น ไ ป ต า มมาตรฐานการอุดมศึกษา และเพื่อ เ ป็นการประกนัคุณภาพของบณัฑติในแต่ละระดบัคุณวุฒแิละสาขา/สาขาวิชา รวมท ัง้เพื่อใช้เ ป็ น ห ล ัก ใ น ก า ร จ ัด ทํ ามาตรฐานดา้นตา่งๆ เพือ่ให้ก า ร จ ัด ก า ร ศึก ษ า มุ่ ง สู่เป้าหมายเดียวกนัในการผ ลิต บ ัณ ฑิต ไ ด้อ ย่ า ง มีคณุภาพ

Page 5: TQF- Thai qualifications framework for higher education

หลักการสําคัญของ TQF เปนเครื่องมือในการนําแนวนโยบายการพัฒนาคุณภาพและ

มาตรฐานการจัดการศึกษาตามที่กําหนดใน พ.ร.บ การศึกษาแหงชาติฯ ในสวนที่เกี่ยวกับมาตรฐานการอุดมศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษาสูการปฏิบัติในสถาบันอุดมศึกษาอยางเปนรูปธรรม มุงเนนที่ Learning Outcomes ซึ่งเปนมาตรฐานขั้นต่ําเชิงคุณภาพ

เพื่อประกันคุณภาพบัณฑิต มุงประมวลกฎเกณฑและประกาศตางๆ ที่เกี่ยวกับเรื่องหลักสูตร

และการจัดการเรียนการสอนเขาไวดวยกันและเชื่อมโยงใหเปนเรื่องเดียวกัน

5

Page 6: TQF- Thai qualifications framework for higher education

เปนเครื่องมอืการสื่อสารที่มปีระสทิธิภาพในการสรางความเขาใจและความมั่นใจในกลุมผูที่เกี่ยวของ/ผูมสีวนไดสวนเสีย เชน นักศกึษา ผูปกครอง ผูประกอบการ ชุมชน สังคม และสถาบันอื่นๆ ทั้งในและตางประเทศเกี่ยวกับคุณลักษณะของบัณฑติที่คาดวาจะพงึมี

มุงใหคุณวุฒหิรอืปรญิญาของสถาบันใดๆ ของประเทศไทยเปนที่ยอมรับและเทยีบเคียงกันไดกับสถาบันอุดมศกึษาที่ดทีั้งในและตางประเทศ โดยเปดโอกาสใหสถาบันอุดมศกึษาสามารถจัดหลักสูตรตลอดจนกระบวนการเรยีนการสอนไดอยางหลากหลาย โดยมั่นใจถึงคุณภาพของบัณฑติ ซึ่งจะมมีาตรฐานผลการเรยีนรูตามที่มุงหวัง สามารถประกอบอาชพีไดอยางมคีวามสุขและภาคภูมใิจ เปนที่พงึพอใจของนายจาง

สงเสรมิการเรยีนรูตลอดชวีติ

6

หลักการสําคัญของ TQF

Page 7: TQF- Thai qualifications framework for higher education

วัตถุประสงค • เพื่อเปนกรอบมาตรฐานใหสถาบันอุดมศึกษาใชเปนแนวทางในการ

พัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน และพัฒนา

คุณภาพการจัดการศึกษา ใหสามารถผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ และเพื่อ

ประโยชนตอการรับรองมาตรฐานคุณวุฒิในระดับอดุมศึกษา

7

Page 8: TQF- Thai qualifications framework for higher education

ระดับคุณวุฒิ

ระดับที่ 1 อนุปริญญา (3 ป)

ระดับที่ 2 ปริญญาตรี

ระดับที่ 3 ประกาศนียบัตรบัณฑิต

ระดับที่ 4 ปริญญาโท

ระดับที่ 5 ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง

ระดับที่ 6 ปริญญาเอก

8

Page 9: TQF- Thai qualifications framework for higher education

มาตรฐานการศกึษาของชาติ

พ.ร.บ.การศกึษาแหงชาติ

มาตรฐานการอุดมศกึษา

ดานคุณภาพบัณฑติ ดานการบรหิารจัดการ การอุดมศกึษา

ดานการสรางและพัฒนา สังคมฐานความรูและ สังคมแหงการเรยีนรู

กรอบมาตรฐานคุณวุฒ ิ(TQF)

Page 10: TQF- Thai qualifications framework for higher education

มาตรฐานคุณวุฒิอุดมศึกษา

ใหมีการกํากับดูแลคุณภาพการผลิตบัณฑิตกันเองของ แตละสาขาวิชา มีคณะกรรมการผูเชี่ยวชาญในสาขา/สาขาวิชาท่ีไดรับมอบหมายจาก กกอ.

ตองเปนสากล และเปนท่ียอมรับของสถาบันอุดมศึกษา และ/หรือผูมีสวนไดสวนเสีย

เปนประกาศกระทรวงท่ีใหแนวทางในการดําเนินการแกสถาบันอุดมศึกษาท่ีเปดสอนสาขา/สาขาวิชาน้ันๆ

10

Page 11: TQF- Thai qualifications framework for higher education

มาตรฐานคุณวุฒิอุดมศึกษา

หมายถึงกรอบท่ีกําหนดมาตรฐานผลการเรียนรูของบัณฑิตในแตละคุณวุฒิของสาขา/สาขาวิชาหน่ึง เพื่อใหหลักประกันวา บัณฑิตท่ีสําเร็จการศึกษาจากสถาบันอุดมศึกษาตางๆ มีคุณภาพไมนอยกวาท่ีกําหนด

สถาบันอุดมศึกษาสามารถเพิ่มเติมไดอยางอิสระ ตามความตองการหรือเอกลักษณของสถาบัน

11

Page 12: TQF- Thai qualifications framework for higher education

แนวปฏิบัติตามกรอบ TQF

• ใหสถาบันอุดมศึกษาดําเนินการพัฒนา/ปรับปรุงรายละเอียดของหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2552 ได 2 วิธี

1) ใชประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชาของระดับคุณวุฒิน้ัน เปนแนวทางในการพัฒนา/ปรับปรุงรายละเอียดของหลักสูตร

2) ใชประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ เปนแนวทางในการพัฒนา/ปรับปรุงรายละเอียดของหลักสูตรกรณีที่กระทรวงศึกษาธิการยังมิไดประกาศมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชาของระดับคุณวุฒิน้ัน

12

Page 13: TQF- Thai qualifications framework for higher education

ข้ันตอนการปฏิบัติตามกรอบ TQF

13

มคอ.1 (มาตรฐานคุณวุฒสิาขาวชิา)

มคอ.2 (รายละเอยีดของหลักสูตร)

มคอ.3 (รายละเอยีดของรายวชิา)

มคอ.4 (รายละเอยีดของ

ประสบการณภาคสนาม)

มคอ.5 (รายงานผลการดําเนนิการ

ของรายวชิา)

มคอ.6 (รายงานผลการดําเนนิการ

ของประสบการณภาคสนาม)

มคอ.7 (รายงานผลการดําเนนิการ

ของหลักสูตร)

Page 14: TQF- Thai qualifications framework for higher education

มคอ.1 มาตรฐานคุณวุฒิสาขาวิชา

14

Page 15: TQF- Thai qualifications framework for higher education

มคอ. 1 (สาขาวิชา)

อุตสาหกรรมเกษตร

พยาบาล

เทคโนโลยีชีวภาพ

โลจิสติกส

การทองเที่ยวและการ

โรงแรม

15

ครุศาสตรและศึกษาศาสตร

เคมี

คอมพิวเตอร

วิศวกรรม

Page 16: TQF- Thai qualifications framework for higher education

กําหนดเนื้อหาสาระสําคัญของสาขา/สาขาวิชา

ประกอบดวยองคความรูที่ตองการในรายวิชาที่กําหนดใน

หลักสูตร

เนนใหรายวิชาที่กําหนดตองครอบคลุมและสอดคลองกับ

องคความรู 5 ดาน

16

Page 17: TQF- Thai qualifications framework for higher education

มคอ.2 รายละเอียดของหลักสูตร

(Program Specification)

17

Page 18: TQF- Thai qualifications framework for higher education

มคอ.2 รายละเอียดของหลักสูตร เปนคําอธิบายภาพรวมของการจดัหลักสูตร การจัดการเรียนการสอนที่

จะทําใหบัณฑิตบรรลุผลการเรียนรูของหลักสูตรน้ันๆ

ชวยอธิบายใหนักศึกษาทราบวาตนตองเรียนวิชาอะไรบาง เขาใจถึงวิธีการสอน วิธีการเรียนรู ตลอดจนวิธีการวัดและประเมินผล

ชวยใหนักศึกษาเลือกเรียนในหลักสูตรที่เหมาะกับรูปแบบการเรียนรูและความตองการของตนเองได

ผูใชบัณฑิตสามารถใชเปนขอมูลประกอบการพิจารณารับบัณฑิตเขาทํางาน

18

ใช มคอ. 2 แทนเอกสารหลักสูตร อนุมัตโิดยสภามหาวทิยาลัย

และเสนอ สกอ.รับทราบภายใน 30 วัน

Page 19: TQF- Thai qualifications framework for higher education

19

TQF

วัตถุประสงคของหลักสูตร

กลุมเน้ือหาสาระสําคัญ

ผลการเรียนรู

โครงสรางหลักสูตร

รายวชิา

วัตถุประสงคของหลักสูตร

กลุมเน้ือหาสาระสําคัญ

โครงสรางหลักสูตร รายวชิา

เดิม

มคอ.2 รายละเอียดของหลักสูตร

Page 20: TQF- Thai qualifications framework for higher education

ผลการเรียนรู (Learning Outcomes) คืออะไร

ผลการเรียนรู ตองวัดได และครอบคลุมถึงสาระความรู ความเขาใจในเน้ือหาวิชา ทักษะหรือความสามารถในการนําความรูไปใช พฤติกรรม ทัศนคติ แนวคิด ความเช่ือ อุปนิสัย

สกอ. กําหนดมาตรฐานผลการเรียนรูอยางนอย 5 ดาน

20

Page 21: TQF- Thai qualifications framework for higher education

มาตรฐานผลการเรียนรู (Domains of Learning)

21

ดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคล

และความรับผดิชอบ

ดานคุณธรรม จรยิธรรม

ดานทักษะทางปญญา

ดานความรู

ดานทักษะการวเิคราะหเชงิ

ตัวเลข การสื่อสาร และการ

ใชเทคโนโลยสีารสนเทศ

+ ดานทักษะพสิัย

Page 22: TQF- Thai qualifications framework for higher education

การถายทอดผลการเรียนรูจากกรอบมาตรฐานคุณวุฒิสูหลกัสูตร

22

กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ

มาตรฐานคุณวุฒิสาขาวิชา

หลักสูตร

Page 23: TQF- Thai qualifications framework for higher education

6) การพัฒนา คณาจารย

8 หมวด

7) การประกันคุณภาพ หลักสูตร

1) ขอมูลทั่วไป

5) หลักเกณฑในการประเมนิผลนักศกึษา

2) ขอมูลเฉพาะของหลักสูตร

3) ระบบการจัดการศกึษา การดําเนนิการ และโครงสรางของหลักสูตร

4) ผลการเรยีนรู กลยุทธการสอน และการประเมนิผล

8) การประเมนิและปรับปรุง การดําเนนิการของหลักสูตร

13

2

5

3

3

2

7

4

แบบฟอรม มคอ.2

Page 24: TQF- Thai qualifications framework for higher education

ตัวอยาง

Curriculum Mapping

Page 25: TQF- Thai qualifications framework for higher education

25

ตัวอยาง

คุณธรรม จริยธรรม

(1.1) ตระหนักในคุณคาและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย

สุจริต มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ

(1.2) มีวินัย ตรงตอเวลา และความรับผิดชอบตอตนเองและสังคม

เคารพกฎระเบียบและขอบังคับตาง ๆ ขององคกรและสังคม

(1.3) มีภาวะความเปนผูนําและผูตาม สามารถทํางานเปนทีมและ

สามารถแกไขขอขัดแยงและลําดับความสําคัญ

(1.4) เคารพสิทธิและรับฟงความคิดเห็นของผูอ่ืน รวมทั้งเคารพใน

คุณคาและศักด์ิศรีของความเปนมนุษย

ผลการเรียนรูในตารางมีความหมาย ดังนี้

Page 26: TQF- Thai qualifications framework for higher education

26

ตัวอยาง

ความรู

(2.1) มีความรูและความเขาใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สําคัญใน

เน้ือหาที่ศึกษา

(2.2) สามารถวิเคราะหปญหา รวมทั้งประยุกตความรูทักษะ และการ

ใชเครื่องมือที่เหมาะสมกับการแกไขปญหา

(2.3) สามารถติดตามความกาวหนาทางวิชาการ และมีความรูในแนว

กวางของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อใหเล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเขาใจ

ผลกระทบของเทคโนโลยีใหมๆ

(2.4) สามารถบูรณาการความรูในที่ศึกษากับความรูในศาสตรอ่ืนๆ ที่

เกี่ยวของ

ผลการเรียนรูในตารางมีความหมาย ดังนี้

Page 27: TQF- Thai qualifications framework for higher education

27

ตัวอยาง

ทักษะทางปญญา

(3.1) คิดอยางมีวิจารณญาณและอยางเปนระบบ

(3.2) สามารถสืบคน รวบรวม ศึกษา วิเคราะห และสรุปประเด็นปญหา

เพื่อใชในการแกไขปญหาอยางสรางสรรค

(3.3) สามารถประยุกตความรูและทักษะกับการแกไขปญหาไดอยาง

เหมาะสม

ผลการเรียนรูในตารางมีความหมาย ดังนี้

Page 28: TQF- Thai qualifications framework for higher education

28

ตัวอยาง

ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ

(4.1) มีมนุษยสัมพันธที่ดี สามารถสื่อสารกับกลุมคนหลากหลายทั้ง

ภาษาไทยและภาษาอังกฤษไดอยางมีประสิทธิภาพ

(4.2) สามารถใชความรูในศาสตรมาชี้นําสังคมในประเด็นที่เหมาะสม

และเปนผูริเริ่มแสดงประเด็นในการแกไขสถานการณทั้งสวนตัวและ

สวนรวม พรอมทั้งแสดงจุดยืนอยางพอเหมาะทั้งของตนเองและของ

กลุม

(4.3) มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรูทั้งของตนเองและทาง

วิชาชีพอยางตอเน่ือง

ผลการเรียนรูในตารางมีความหมาย ดังนี้

Page 29: TQF- Thai qualifications framework for higher education

29

ตัวอยาง

ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยี

สารสนเทศ

(5.1) มีทักษะในการใชเครื่องมือที่จําเปนที่มีอยูในปจจุบันตอการทํางาน

ที่เกี่ยวกับการใชสารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสารอยางเหมาะสม

(5.2) สามารถแกไขปญหาโดยใชสารสนเทศทางคณิตศาสตร หรือนํา

สถิติมาประยุกตใชในการแกปญหาที่เกี่ยวของอยางสรางสรรค

(5.3) สามารถสื่อสารอยางมีประสิทธิภาพทั้งปากเปลาและการเขียน

เลือกใชรูปแบบของสื่อการนําเสนออยางเหมาะสม

ผลการเรียนรูในตารางมีความหมาย ดังนี้

Page 30: TQF- Thai qualifications framework for higher education

มคอ.3 รายละเอียดของรายวิชา

(Course Specification)

30

Page 31: TQF- Thai qualifications framework for higher education

7 หมวด

7. การประเมนิและปรับปรุง

การดําเนนิการของรายวชิา 1. ขอมูลทั่วไป

6. ทรัพยากรประกอบ

การเรยีนการสอน

5. แผนการสอนและ

การประเมนิผล

2. จุดมุงหมายและ

วัตถุประสงค

3. ลักษณะและการ

ดําเนนิการ

4. การพัฒนาผลการเรยีนรู

ของนักศกึษา

9

2

3

3

2

3

5

แบบฟอรม มคอ.3

Page 32: TQF- Thai qualifications framework for higher education

หมวดท่ี 1 ขอมูลทั่วไป

1) รหัสและชื่อรายวิชา

2) จํานวนหนวยกิต

3) หลักสูตรและประเภทของรายวิชา

ระบุชื่อหลักสูตรที่ใชรายวิชาน้ี ยกเวนวิชาที่เปดเปนวิชาเลือก

ทั่วไป ใหใช “หลายหลักสูตร” และใหระบุวาเปนวิชาศึกษาทั่วไป

หรือวิชาเฉพาะ เชน วิชาแกน วิชาพื้นฐานวิชาชีพ วิชาเอก เปนตน

4) อาจารยผูรับผิดชอบรายวิชา และอาจารยผูสอน

5) ภาคการศึกษา/ชั้นปที่เรียน 32

Page 33: TQF- Thai qualifications framework for higher education

6) รายวิชาท่ีตองเรียนมากอน (Pre-requisite) (ถามี)

7) รายวิชาที่ตองเรียนพรอมกัน (Co-requisite) (ถามี)

8) สถานท่ีเรียน (ทั้งในและนอกที่ตั้ง)

9) วันที่จัดทํา หรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งลาสุด

33

หมวดที่ 1 ขอมูลทั่วไป

Page 34: TQF- Thai qualifications framework for higher education

หมวดท่ี 2 จุดมุงหมายและวัตถุประสงค

1) จุดมุงหมายของรายวิชา

2) วัตถุประสงคในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา

34

Page 35: TQF- Thai qualifications framework for higher education

หมวดท่ี 3 ลักษณะและการดําเนินการ

1) คําอธิบายรายวิชา (ตามที่ระบุไวในรายละเอียดหลักสูตร มคอ.2)

2) จํานวนช่ัวโมงที่ใชตอภาคการศึกษา

ระบุจํานวนช่ัวโมงบรรยาย สอนเสริม การฝกปฏิบัติงาน การศึกษาดวยตนเอง

3) จํานวนช่ัวโมงตอสัปดาหที่อาจารยใหคําปรึกษาและแนะนําทางวิชาการแกนักศึกษาเปนรายบุคคล

ระบุจํานวนช่ัวโมงตอสัปดาหทีจ่ะใหคําปรึกษาและแนะนําทางวิชาการแกนักศึกษานอกช้ันเรียน และวิธีการส่ือสารใหนักศึกษาไดทราบกําหนดเวลาลวงหนา

35

Page 36: TQF- Thai qualifications framework for higher education

หมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรียนรูของนักศึกษา

ตองสอดคลองกับที่ระบุไวใน Curriculum Mapping ตามที่กําหนด

ใน มคอ.2

36

ดานคุณธรรม จริยธรรม

ดานทักษะทางปญญา

ดานความรู

ดานทักษะการวเิคราะหเชิง

ตัวเลข การสื่อสาร และการใช

เทคโนโลยสีารสนเทศ

ดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคล

และความรับผดิชอบ

Page 37: TQF- Thai qualifications framework for higher education

มาตรฐานการเรียนรูแตละดาน ใหแสดงขอมูลดังน้ี

37

1) คุณธรรม จริยธรรม

1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่

ตองพัฒนา

1.2 วธิกีารสอน

1.3 วธิกีารประเมินผล

2) ความรู

2.1 ความรูที่ตองไดรับ

2.2 วธิกีารสอน

2.3 วธิกีารประเมินผล

3) ทักษะทางปญญา

3.1 ทักษะทางปญญาที่

ตองพัฒนา

3.2 วธิกีารสอน

3.3 วธิกีารประเมินผล

4) ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความ

รับผดิชอบ

4.1 ทักษะความสัมพันธระหวาง

บุคคลและความรับผดิชอบที่ตองพัฒนา

4.2 วธิกีารสอน

4.3 วธิกีารประเมินผล

5) ทักษะการวเิคราะหเชิงตัวเลข การ

สื่อสาร และการใชเทคโนโลยสีารสนเทศ

5.1 ทักษะการวเิคราะหเชิงตัวเลข

การสื่อสาร และการใชเทคโนโลย ี

สารสนเทศที่ตองพัฒนา

5.2 วธิกีารสอน

5.3 วธิกีารประเมินผล

Page 38: TQF- Thai qualifications framework for higher education

หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล

1) แผนการสอน

38

2) แผนการประเมินผลการเรียนรู (อธิบายวิธีประเมินผลการเรียนรูแตละหัวขอตามที่ปรากฏใน Curriculum Mapping) ตามที่กําหนดใน มคอ.2

Page 39: TQF- Thai qualifications framework for higher education

หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน

1) ตําราและเอกสารหลัก

2) เอกสารและขอมูลสําคัญ

ระบุหนังสือ วารสาร รายงาน สื่ออิเล็กทรอนิกส เว็บไซด กฎระเบียบตางๆ โปรแกรมคอมพิวเตอรและแหลงอางอิงที่สําคัญอ่ืนๆ ซึ่งนักศึกษาจําเปนตองศึกษาเพิ่มเติม

3) เอกสารและขอมูลแนะนํา

ระบุหนังสือ วารสาร รายงาน สื่ออิเล็กทรอนิกส เว็บไซด กฎระเบียบตางๆ โปรแกรมคอมพิวเตอรและแหลงอางอิงที่สําคัญอ่ืนๆ ซึ่งนักศึกษาควรศึกษาเพิ่มเติม

39

Page 40: TQF- Thai qualifications framework for higher education

หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา

1) กลยุทธการประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา

2) กลยุทธการประเมินการสอน

3) การปรับปรุงการสอน

อธิบายกลไกหรือวิธีการปรับปรุงการสอน เชน การจัดประชุมเชิง

ปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน การวิจัยในช้ันเรียน

4) การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา

อธิบายกระบวนการทีใ่ชในการทวนสอบ เชน ทวนสอบจากคะแนน

ขอสอบ หรืองานที่มอบหมาย ซึ่งอาจตางกันไปสําหรับรายวิชาที่ตางกัน

40

Page 41: TQF- Thai qualifications framework for higher education

5) การดําเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของ

รายวิชา

อธิบายกระบวนการในการนําขอมูลที่ไดจากการประเมินขอ 1

และ 2 มาวางแผนเพื่อปรับปรุงคุณภาพ

41

หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา

Page 42: TQF- Thai qualifications framework for higher education

มคอ.4 รายละเอียดของประสบการณภาคสนาม

(Field Experience Specification)

42

Page 43: TQF- Thai qualifications framework for higher education

7 หมวด

7. การประเมนิและปรับปรุงการดําเนนิการ

ของการฝกประสบการณภาคสนาม 1. ขอมูลทั่วไป

6. การประเมนิ

นักศกึษา

5. การวางแผนและการ

เตรยีมการ

2. จุดมุงหมายและ

วัตถุประสงค

3. การพัฒนาผล

การเรยีนรู

4. ลักษณะและการ

ดําเนนิการ

6

2

3

8

5

5

2

แบบฟอรม มคอ.4

Page 44: TQF- Thai qualifications framework for higher education

หมวดท่ี 1 ขอมูลทั่วไป

1) รหัสและช่ือรายวิชา

2) จํานวนหนวยกิต หรือ จํานวนช่ัวโมง

3) หลักสูตรและประเภทของรายวิชา

ระบุช่ือหลักสูตรที่ใชรายวิชาน้ี และระบุวาเปนวิชาบังคับหรือวิชาเลือก

4) อาจารยผูรับผิดชอบ/อาจารยที่ปรึกษาการฝกประสบการณภาคสนาม

5) ภาคการศึกษา/ช้ันปที่กําหนดใหมีการฝกประสบการณภาคสนามตามแผนการศึกษาของหลักสูตร

6) วันที่จัดทําหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาประสบการณภาคสนามคร้ังลาสุด

44

Page 45: TQF- Thai qualifications framework for higher education

หมวดที่ 2 จุดมุงหมายและวัตถุประสงค

1) จุดมุงหมายของประสบการณภาคสนาม

2) วัตถุประสงคของการพัฒนาหรือปรับปรุงประสบการณภาคสนาม

อธิบายโดยยอถึงวัตถุประสงคการพัฒนาหรือปรับปรุง

ประสบการณภาคสนามหรือการเปลี่ยนแปลงสําคัญๆ ที่เกิดขึ้น

และการกระทําที่จะใหบรรลุวัตถุประสงค

45

Page 46: TQF- Thai qualifications framework for higher education

หมวดที่ 3 การพัฒนาผลการเรียนรูของนักศึกษา

ตองสอดคลองกับที่ระบุไวใน Curriculum Mapping ตามที่กําหนด

ใน มคอ.2

46

ดานคุณธรรม จริยธรรม

ดานทักษะทางปญญา

ดานความรู

ดานทักษะการวเิคราะหเชิง

ตัวเลข การสื่อสาร และการใช

เทคโนโลยสีารสนเทศ

ดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคล

และความรับผดิชอบ

Page 47: TQF- Thai qualifications framework for higher education

มาตรฐานการเรียนรูแตละดาน ใหแสดงขอมูลดังน้ี

47

1) คุณธรรม จริยธรรม

1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่

ตองพัฒนา

1.2 วธิกีารสอน

1.3 วธิกีารประเมินผล

2) ความรู

2.1 ความรูที่ตองไดรับ

2.2 วธิกีารสอน

2.3 วธิกีารประเมินผล

3) ทักษะทางปญญา

3.1 ทักษะทางปญญาที่

ตองพัฒนา

3.2 วธิกีารสอน

3.3 วธิกีารประเมินผล

4) ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความ

รับผดิชอบ

4.1 ทักษะความสัมพันธระหวาง

บุคคลและความรับผดิชอบที่ตองพัฒนา

4.2 วธิกีารสอน

4.3 วธิกีารประเมินผล

5) ทักษะการวเิคราะหเชิงตัวเลข การ

สื่อสาร และการใชเทคโนโลยสีารสนเทศ

5.1 ทักษะการวเิคราะหเชิงตัวเลข

การสื่อสาร และการใชเทคโนโลย ี

สารสนเทศที่ตองพัฒนา

5.2 วธิกีารสอน

5.3 วธิกีารประเมินผล

Page 48: TQF- Thai qualifications framework for higher education

หมวดที่ 4 ลักษณะและการดําเนินการ

1) คําอธิบายโดยทั่วไปของประสบการณภาคสนาม หรือคําอธิบายรายวิชา

2) กิจกรรมของนักศึกษา 3) รายงานหรืองานที่นักศึกษาไดรับมอบหมาย 4) การติดตามผลการเรียนรูการฝกประสบการณภาคสนามของนักศึกษา 5) หนาที่และความรับผิดชอบของพนักงานพีเ่ล้ียงในสถานประกอบการที่

ดูแลกิจกรรมในภาคสนาม 6) หนาที่และความรับผิดชอบของอาจารยที่ปรึกษา/อาจารยนิเทศ 7) การเตรียมการในการแนะแนวและชวยเหลือนักศึกษา 8) ส่ิงอํานวยความสะดวกและการสนับสนุนที่ตองการจากสถานที่ที่จดั

ประสบการณภาคสนาม/สถานประกอบการ เชน ที่พัก วัสดุอุปกรณ เปนตน

48

Page 49: TQF- Thai qualifications framework for higher education

หมวดที่ 5 การวางแผนและการเตรียมการ

1) การกําหนดสถานที่ฝก

2) การเตรียมนักศึกษา

3) การเตรียมอาจารยที่ปรึกษา/อาจารยนิเทศ

4) การเตรียมพนักงานพี่เลี้ยงในสถานที่ฝก

5) การจัดการความเสี่ยง เชน ความเสี่ยงจากสถานที่ตั้ง ความเสี่ยง

จากอุบัติภัยจากการทํางาน

49

Page 50: TQF- Thai qualifications framework for higher education

หมวดท่ี 6 การประเมินนักศึกษา

1) หลักเกณฑการประเมิน

2) กระบวนการประเมินผลการปฏิบัติงานของนักศึกษา

3) ความรับผิดชอบของพนักงานพี่เลี้ยงตอการประเมินนักศึกษา

4) ความรับผิดชอบของอาจารยผูรับผิดชอบประสบการณภาคสนามตอการประเมินนักศึกษา

5) การสรุปผลการประเมินที่แตกตาง เชน การประชุมรวมกันระหวางผูเกี่ยวของ เพื่อพิจารณาหาขอสรุป

50

Page 51: TQF- Thai qualifications framework for higher education

หมวด 7 การประเมินและการปรับปรุงการดําเนินการ

ของการฝกประสบการณภาคสนาม 1) กระบวนการประเมินการฝกประสบการณภาคสนามจาก

ผูเกี่ยวของตอไปน้ี

1.1 นักศึกษา

1.2 พนักงานพี่เลี้ยง หรือผูประกอบการ

1.3 อาจารยที่ดูแลกิจกรรมภาคสนาม

1.4 อ่ืนๆ เชน บัณฑิตจบใหม

2) กระบวนการทบทวนผลการประเมินและการวางแผนปรับปรุง

51

Page 52: TQF- Thai qualifications framework for higher education

มคอ.5 รายงานผลการดําเนินการของรายวิชา

(Course Report)

52

Page 53: TQF- Thai qualifications framework for higher education

6 หมวด

1. ขอมูลทั่วไป

6. แผนการปรับปรุง

5. การประเมนิรายวชิา

2. การจัดการเรยีน

การสอน

เปรยีบเทยีบกับ

แผนการสอน

3. สรุปผลการ

จัดการเรยีนการ

สอนของรายวชิา

4. ปญหาและผลกระทบตอการดําเนนิการ

5

4

7

2

2

4

แบบฟอรม มคอ.5

Page 54: TQF- Thai qualifications framework for higher education

หมวดท่ี 1 ขอมูลทั่วไป

1) รหัสและชื่อรายวิชา

2) รายวิชาท่ีตองเรียนกอนรายวิชาน้ี (ถามี)

3) อาจารยผูรับผิดชอบ อาจารยผูสอนและกลุมเรียน (Section)

4) ภาคการศึกษา/ปการศึกษาที่เปดสอนรายวิชา

5) สถานท่ีเรียน (ทั้งในและนอกที่ตั้ง)

54

Page 55: TQF- Thai qualifications framework for higher education

หมวดที่ 2 การจัดการเรียนการสอนที่เปรียบเทียบกับแผนการสอน

1) รายงานชั่วโมงการสอนจริงเทียบกับแผนการสอน

ระบุเหตุผลที่การสอนจริงตางจากแผนการสอน หากมีความแตกตางเกิน 25 %

2) หัวขอที่สอนไมครอบคลุมตามแผน

ในกรณีที่มีนัยสําคัญใหเสนอแนวทางชดเชย

3) ประสิทธิผลของวิธีสอนที่ทําใหเกิดผลการเรียนรูตามที่ระบุในรายละเอียดรายวิชา

4) ขอเสนอการดําเนินการเพื่อปรับปรุงวิธีสอน

55

Page 56: TQF- Thai qualifications framework for higher education

หมวดที่ 3 สรุปผลการจัดการเรียนการสอนของรายวิชา

1) จํานวนนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียน

2) จํานวนนักศึกษาที่คงอยูเมื่อสิ้นสุดภาคการศึกษา

3) จํานวนนักศึกษาที่ถอน W

4) การกระจายของระดับคะแนน (เกรด)

5) ปจจัยที่ทําใหระดับคะแนนผิดปกติ (ถามี)

6) ความคลาดเคลื่อนจากแผนการประเมินที่กําหนดไวใน

รายละเอียดรายวิชา (ดานการกําหนดเวลาประเมิน และดาน

วิธีการประเมินผลการเรียนรู)

7) การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา 56

Page 57: TQF- Thai qualifications framework for higher education

หมวดที่ 4 ปญหาและผลกระทบตอการดําเนินการ

1) ประเด็นดานทรัพยากรประกอบการเรียนและสิ่งอํานวยความ

สะดวก

2) ประเด็นดานการบริหารและองคกร

57

Page 58: TQF- Thai qualifications framework for higher education

หมวดท่ี 5 การประเมินรายวิชา

1) ผลการประเมินรายวิชาโดยนักศึกษา

ขอวิพากษที่สําคัญจากผลการประเมินโดยนักศึกษา (ทั้งจุดแข็งและจุดออน)

ความเห็นของอาจารยผูสอนตอขอวิพากษ

2) ผลการประเมินรายวิชาโดยวิธีอ่ืน

ขอวิพากษที่สําคัญจากผลการประเมินโดยวิธีอ่ืน (ทั้งจุดแข็งและจุดออน)

ความเห็นของอาจารยผูสอนตอขอวิพากษ

58

Page 59: TQF- Thai qualifications framework for higher education

หมวดท่ี 6 แผนการปรับปรุง

1) ความกาวหนาของการปรับปรุงการเรียนการสอนตามที่เสนอในรายงานของรายวิชาครั้งที่ผานมา

2) การดําเนินการอ่ืนๆ ในการปรับปรุงรายวิชา

3) ขอเสนอแผนการปรับปรุงสําหรับภาคการศึกษา/ปการศึกษาตอไป

4) ขอเสนอแนะของอาจารยผูรับผิดชอบรายวิชาตออาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร

59

Page 60: TQF- Thai qualifications framework for higher education

มคอ.6 รายงานผลการดําเนินการของประสบการณภาคสนาม

(Field Experience Report)

60

Page 61: TQF- Thai qualifications framework for higher education

6 หมวด

1. ขอมูลทั่วไป

6. แผนการปรับปรุง

5. การประเมนิการฝก

ประสบการณภาคสนาม

2. การดําเนนิการที่

ตางไปจากแผนการ

ฝกประสบการณ

ภาคสนาม

3. ผลการดําเนนิการ

4. ปญหาและผลกระทบดานการบรหิาร

4

4

5

3

2

4

แบบฟอรม มคอ.6

Page 62: TQF- Thai qualifications framework for higher education

หมวดท่ี 1 ขอมูลทั่วไป

1) รหัสและชื่อรายวิชา

2) หลักสูตร

3) อาจารยผูรับผิดชอบ/อาจารยที่ปรึกษาการฝกประสบการณภาคสนาม

4) ภาคการศึกษา/ปการศึกษาที่ฝกประสบการณภาคสนาม

62

Page 63: TQF- Thai qualifications framework for higher education

หมวดที่ 2 การดําเนินการที่ตางจากแผนการฝกประสบการณภาคสนาม

1) การเตรียมนักศึกษา (ถามี) 2) การเตรียมอาจารยที่ปรึกษา/อาจารยนิเทศ 3) การเตรียมพนักงานพี่เลี้ยงจากสถานประกอบการ (ถามี) 4) การเปลี่ยนแปลงการจัดการในการฝกประสบการณภาคสนาม (ถา

มี) 4.1 การเปลี่ยนแปลงกิจกรรม และ/หรืองานที่มอบหมายใหนักศึกษา 4.2 การเปลี่ยนแปลงสิ่งอํานวยความสะดวกในการสนับสนุน

นักศึกษา 4.3 การเปลี่ยนแปลงอ่ืนๆ (ถามี)

63

Page 64: TQF- Thai qualifications framework for higher education

หมวดท่ี 3 ผลการดําเนินการ

1) จํานวนนักศึกษาที่ลงทะเบียน/สงไปฝกประสบการณภาคสนาม

2) จํานวนนักศึกษาที่คงอยูเมื่อสิ้นสุดการฝกประสบการณภาคสนาม

3) จํานวนนักศึกษาที่ถอน (W)

4) การกระจายระดับคะแนน (เกรด)

5) ปจจัยที่มีผลกระทบตอผลการฝกประสบการณภาคสนาม (ถามี)

64

Page 65: TQF- Thai qualifications framework for higher education

หมวดที่ 4 ปญหาและผลกระทบดานการบริหาร

1) ปญหาดานการบริหารของสถาบันอุดมศึกษา และ/หรือ สถานประกอบการ/สถานที่ฝก

2) ผลกระทบตอผลการเรียนรูของนักศึกษา

3) การเปลี่ยนแปลงที่จําเปนเพื่อหลีกเลี่ยงปญหาและอุปสรรคในอนาคต (ถามี)

65

Page 66: TQF- Thai qualifications framework for higher education

หมวดที่ 5 การประเมินการฝกประสบการณภาคสนาม

1) การประเมินการฝกประสบการณภาคสนามโดยนักศึกษา (ใหแนบผลการสํารวจ)

1.1 ขอวิพากษที่สําคัญจากผลการประเมิน

1.2 ความเห็นของอาจารยผูรับผิดชอบ / อาจารยที่ปรึกษาการฝกประสบการณภาคสนาม

2) การประเมินการฝกประสบการณภาคสนามโดยสถานประกอบการหรือพนักงานพี่เล้ียง

2.1 ขอวิพากษที่สําคัญจากผลการประเมิน

2.2 ความเห็นของอาจารยผูรับผิดชอบ / อาจารยที่ปรึกษาการฝกประสบการณภาคสนาม

66

Page 67: TQF- Thai qualifications framework for higher education

หมวดท่ี 6 แผนการปรับปรุง

1) การดําเนินการเพื่อปรับปรุงการฝกประสบการณภาคสนามครั้งที่ผานมา

2) ความกาวหนาของการปรับปรุงการฝกประสบการณภาคสนามจากรายงานการประเมินครั้งกอน

3) ขอเสนอแผนการปรับปรุงสําหรับภาคการศึกษา/ปการศึกษาตอไป

4) ขอเสนอแนะของอาจารยผูรับผิดชอบการฝกประสบการณภาคสนาม เสนอตออาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร

67

Page 68: TQF- Thai qualifications framework for higher education

มคอ.7 รายงานผลการดําเนินการของหลักสูตร

(Programme Report)

68

Page 69: TQF- Thai qualifications framework for higher education

6) สรุปการประเมนิ

หลักสูตร

9 หมวด

7) คุณภาพของการสอน

1) ขอมูลทั่วไป

5) การบรหิารหลักสูตร

2) ขอมูลเชงิสถิต ิ

3) การเปลี่ยนแปลงที่มี

ผลกระทบตอหลักสูตร 4) ขอมูลสรุปรายวชิาของหลักสูตร

9) แผนการดําเนนิการ

เพื่อพัฒนาหลักสูตร

6

8

2 3

1

3

3

4

2

8) ขอคิดเห็นและขอเสนอแนะ

เกี่ยวกับคุณภาพหลักสูตร แบบฟอรม มคอ.7

Page 70: TQF- Thai qualifications framework for higher education

หมวดท่ี 1 ขอมูลทั่วไป

1) หลักสูตร

2) ระดับคุณวุฒิ

3) อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร

4) วันที่รายงาน

5) ปการศึกษาที่รายงาน

6) สถานที่ตั้ง

70

Page 71: TQF- Thai qualifications framework for higher education

หมวดท่ี 2 ขอมูลเชิงสถิติ

1) จํานวนนักศึกษาชั้นปที่ 1 ที่รับเขาในปการศึกษาที่รายงาน 2) จํานวนนักศึกษาที่สําเร็จการศึกษาในปที่รายงาน 2.1 จํานวนนักศึกษาที่สําเร็จการศึกษากอนกําหนดเวลาของ

หลักสูตร 2.2 จํานวนนักศึกษาที่สําเร็จการศึกษาตามกําหนดเวลาของ

หลักสูตร 2.3 จํานวนนักศึกษาที่สําเร็จการศึกษาหลังกําหนดเวลาของ

หลักสูตร 2.4 จํานวนนักศึกษาที่สําเร็จการศึกษาในสาขาวิชาเอกตาง ๆ

(ระบุ) 3) รายละเอียดเกี่ยวกับอัตราการสําเร็จการศึกษา

71

Page 72: TQF- Thai qualifications framework for higher education

4) จํานวนและรอยละของนักศกึษาที่สอบผานตามแผนการศกึษาของหลักสูตรในแตละป

5) อัตราการเปลี่ยนแปลงจํานวนนักศกึษาในแตละปการศกึษา สัดสวนของนักศกึษาที่สอบผานตามแผนกําหนดการศกึษาและยังคงศกึษา

ตอในหลักสูตรเปรยีบเทยีบกับจํานวนนักศกึษาทั้งหมดของรุนในปที่ผานมา นักศกึษาชั้นปที่ 1 ที่เรยีนตอชั้นปที่ 2 .....................% นักศกึษาชั้นปที่ 2 ที่เรยีนตอชั้นปที่ 3 .....................% นักศกึษาชั้นปที่ 3 ที่เรยีนตอชั้นปที่ 4 .................... % 6) ปจจัย/สาเหตุที่มผีลกระทบตอจํานวนนักศกึษาตามแผนการศกึษา 7) ภาวะการไดงานทําของบัณฑติภายในระยะ 1 ป หลังสําเร็จการศกึษา 8) การวเิคราะหผลที่ได

72

หมวดท่ี 2 ขอมูลเชิงสถิติ

Page 73: TQF- Thai qualifications framework for higher education

หมวดที่ 3 การเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบตอหลักสูตร

1) การเปลี่ยนแปลงภายในสถาบัน (ถามี) ที่มีผลกระทบตอหลักสูตรในชวง 2 ปที่ผานมา

2) การเปลี่ยนแปลงภายนอกสถาบัน (ถามี) ที่มีผลกระทบตอหลักสูตรในชวง 2 ปที่ผานมา

73

Page 74: TQF- Thai qualifications framework for higher education

หมวดที่ 4 ขอมูลสรุปรายวิชาของหลกัสูตร

1) สรุปผลรายวิชาที่เปดสอนในภาคการศึกษา/ปการศึกษา

2) การวิเคราะหรายวิชาที่มีผลการเรียนไมปกติ

3) การเปดรายวิชาในภาคหรือปการศึกษา

3.1 รายวิชาที่ไมไดเปดสอนตามแผนการศึกษา และเหตุผลที่ไมไดเปดสอน

3.2 วิธีแกไขกรณีที่มีการสอนเน้ือหาในรายวิชาไมครบถวน

74

Page 75: TQF- Thai qualifications framework for higher education

หมวดท่ี 5 การบริหารหลักสูตร

1) การบริหารหลักสูตร

ใหระบุปญหาในการบริหารหลักสูตร ผลกระทบของปญหาตอสัมฤทธิผลตามวัตถุประสงคของหลักสูตร แนวทางการปองกันและแกไขปญหาในอนาคต

75

Page 76: TQF- Thai qualifications framework for higher education

หมวดที่ 6 สรุปผลการประเมินหลักสูตร

1) การประเมินจากผูที่กาํลังจะสําเร็จการศึกษา (รายงานตามปที่สํารวจ) 1.1 ขอวิพากษที่สําคัญจากผลการประเมิน และขอคิดเห็นของคณาจารยตอ

ผลการประเมิน 1.2 ขอเสนอการเปล่ียนแปลงในหลักสูตรจากผลการประเมินขอ 1.1 2) การประเมินจากผูมีสวนเกี่ยวของ 2.1 ขอวิพากษที่สําคัญจากผลการประเมิน และขอคิดเห็นของคณาจารยตอ

ผลการประเมิน 2.2 ขอเสนอการเปล่ียนแปลงในหลักสูตรจากผลการประเมินขอ 2.1 (ถามี) 3) การประเมินคุณภาพหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯ

76

Page 77: TQF- Thai qualifications framework for higher education

หมวดท่ี 7 คุณภาพของการสอน

1) การประเมินรายวิชาที่เปดสอนในปที่รายงาน

1.1 รายวิชาที่มีการประเมินคุณภาพการสอน และแผนการปรับปรุงจากผลการประเมิน

1.2 ผลการประเมินคุณภาพการสอนโดยรวม

2) ประสิทธิผลของกลยุทธการสอน

2.1 สรุปขอคิดเห็นของผูสอน และขอมูลปอนกลับจากแหลงตางๆ

2.2 แนวทางแกไข/ปรับปรุง

77

Page 78: TQF- Thai qualifications framework for higher education

หมวดท่ี 7 คุณภาพของการสอน

3) การปฐมนิเทศอาจารยใหม

3.1 สรุปสาระสําคัญในการดําเนินการ

3.2 สรุปการประเมินจากอาจารยที่เขารวมกิจกรรมปฐมนิเทศ

3.3 หากไมมีการจัดปฐมนิเทศ ใหแสดงเหตุผลที่ไมไดดําเนินการ

4) กิจกรรมการพัฒนาวิชาชีพของอาจารยและบุคลากรสายสนับสนุน

4.1 กิจกรรมที่จัดหรือเขารวม

4.2 สรุปขอคิดเห็น และประโยชนที่ผูเขารวมกิจกรรมไดรับ

78

Page 79: TQF- Thai qualifications framework for higher education

หมวดที่ 8 ขอคิดเห็นและขอเสนอแนะเกี่ยวกับคุณภาพหลักสูตรจากผูประเมนิอสิระ

1) ขอคิดเห็นหรือสาระที่ไดรับการเสนอแนะจากผูประเมิน และ

ความเห็นของหลักสูตร/ผูรับผิดชอบหลักสูตรตอขอคิดเห็นหรือ

สาระที่ไดรับการเสนอแนะ

2) การนําไปดําเนินการเพื่อการวางแผนหรือปรับปรุงหลักสูตร

79

Page 80: TQF- Thai qualifications framework for higher education

หมวดที่ 9 แผนการดําเนินการเพ่ือพัฒนาหลักสูตร

1) ความกาวหนาของการดําเนนิงานตามแผนที่เสนอในรายงานของปที่ผานมา 2) ขอเสนอในการพัฒนาหลักสูตร 2.1 ขอเสนอในการปรับโครงสรางหลักสูตร ( จํานวนหนวยกติ รายวชิาแกน

รายวชิาเลอืก ฯ ) 2.2 ขอเสนอในการเปลี่ยนแปลงรายวชิา (การเปลี่ยนแปลง เพิ่มหรอืลด

เนื้อหาในรายวชิาการเปลี่ยนแปลงวธีิการสอนและการประเมนิสัมฤทธิผลรายวชิา ฯ)

2.3 กจิกรรมการพัฒนาคณาจารยและบุคลากรสายสนับสนุน 3) แผนปฏบัิตกิารใหมสําหรับป ............. ระบุแผนปฏบัิตกิารแตละแผน วันที่คาดวาจะสิ้นสุดแผน และผูรับผดิชอบ

80

Page 81: TQF- Thai qualifications framework for higher education

ความเชื่อมโยง

Page 82: TQF- Thai qualifications framework for higher education

TQF: Thai Qualifications Framework for Higher Education

Faculty of Education, Khon Kean University

อ.ดร.อนชุา โสมาบตุร คณะศกึษาศาสตร ์ มหาวทิยาลยัขอนแกน่

[email protected]