Top Banner
การดูแลรักษาภาวะเจ็บครรภ์คลอดและถุงน�้าคร�่ารั่วก่อนก�าหนด | 15 แนวทางเวชปฏิบัติ ของราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย เรื่อง การดูแลรักษาภาวะเจ็บครรภ์คลอด และถุงน�้าคร�่ารั่วก่อนก�าหนด RTCOG Clinical Practice Guideline The Management of Preterm Labour and Preterm Premature Rupture of Membranes เอกสารหมายเลข OB 014 จัดท�าโดย คณะอนุกรรมการอนามัยแม่และเด็ก พ.ศ. 2556-2558 คณะอนุกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ พ.ศ. 2556-2558 วันที่อนุมัติต้นฉบับ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558 นิยาม (1-3) · การคลอดก่อนก�าหนด (Preterm birth) หมายถึง การคลอดทารก ตั้งแต่อายุครรภ์ 24 0/7 สัปดาห์* ถึง 36 6/7 สัปดาห์ · การเจ็บครรภ์คลอดก่อนก�าหนด (Preterm labour) หมายถึง การเจ็บครรภ์คลอดที่มีการหดรัดตัวของมดลูกอย่างสม�่าเสมอ ซึ่งมี ผลท�าให้เกิดการบางตัวลง และ/หรือการขยายตัวของปากมดลูก ตั้งแต่อายุครรภ์ 24 0/7 สัปดาห์* ถึง 36 6/7 สัปดาห์
27

The Management of Preterm Labour and Preterm Premature ...hpc.go.th/download/data/hpc5_01.pdf · The Management of Preterm Labour and Preterm Premature Rupture of Membranes...

May 16, 2020

Download

Documents

dariahiddleston
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: The Management of Preterm Labour and Preterm Premature ...hpc.go.th/download/data/hpc5_01.pdf · The Management of Preterm Labour and Preterm Premature Rupture of Membranes เอกสารหมายเลข

การดูแลรักษาภาวะเจ็บครรภ์คลอดและถุงน�้าคร�่ารั่วก่อนก�าหนด | 15

แนวทางเวชปฏิบัติ

ของราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย

เรื่อง การดูแลรักษาภาวะเจ็บครรภ์คลอด

และถุงน�้าคร�่ารั่วก่อนก�าหนด

RTCOG Clinical Practice Guideline

The Management of Preterm Labour and

Preterm Premature Rupture of Membranes

เอกสารหมายเลข OB014จัดท�าโดย คณะอนุกรรมการอนามัยแม่และเด็ก พ.ศ.2556-2558 คณะอนุกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ พ.ศ.2556-2558วันที่อนุมัติต้นฉบับ 20กุมภาพันธ์พ.ศ.2558

นิยาม(1-3)

· การคลอดก่อนก�าหนด(Pretermbirth)หมายถึงการคลอดทารก ตั้งแต่อายุครรภ์240/7สัปดาห์*ถึง366/7สัปดาห์

· การเจ็บครรภ์คลอดก่อนก�าหนด(Pretermlabour)หมายถึง การเจ็บครรภ์คลอดที่มีการหดรัดตัวของมดลูกอย่างสม�่าเสมอซึ่งม ี ผลท�าให้เกิดการบางตัวลงและ/หรือการขยายตัวของปากมดลูก ตั้งแต่อายุครรภ์240/7สัปดาห์*ถึง366/7สัปดาห์

Page 2: The Management of Preterm Labour and Preterm Premature ...hpc.go.th/download/data/hpc5_01.pdf · The Management of Preterm Labour and Preterm Premature Rupture of Membranes เอกสารหมายเลข

16 | แนวทางเวชปฏิบัติของราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย

· การเจ็บครรภค์ลอดชนดิlatepretermlabourคอืการเจ็บครรภ ์

คลอดก่อนก�าหนดตั้งแต่อายุครรภ์340/7-366/7สัปดาห์

· ภาวะถงุน�า้คร�า่ร่ัวก่อนก�าหนด(Pretermprematureruptureof

membranes)หมายถงึภาวะถงุน�า้คร�า่รัว่ก่อนการเจบ็ครรภ์ตัง้แต่

อายุครรภ์240/7สัปดาห์*ถึง366/7สัปดาห์

· Lowbirthweightคือทารกแรกเกิดที่มีน�้าหนักตั้งแต่1,500กรัม

ถึงน�้าหนักน้อยกว่า2,500กรัม

· Verylowbirthweightคอืทารกแรกเกดิทีม่นี�า้หนกัตัง้แต่1,000กรมั

ถึงน�้าหนักน้อยกว่า1,500กรัม

· Extremelylowbirthweightคือทารกแรกเกิดที่มีน�้าหนักตั้งแต่

500กรัมถึงน�้าหนักน้อยกว่า1,000กรัม

*Thresholdofviabilityของทารกในแต่ละสถาบันอาจแตกต่างกัน

ซึ่งทางราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทยแนะน�าให้นับตั้งแต่อายุครรภ์

240/7สัปดาห์หรือที่น�้าหนักทารกแรกเกิดตั้งแต่500กรัมขึ้นไปกรณีท่ี

ไม่ทราบอายุครรภ์หรืออายุครรภ์ไม่แน่นอน

การวินิจฉัย(3)

การวินิจฉัยภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนก�าหนดตั้งแต่อายุครรภ์240/7

สัปดาห์(ส�าหรับในกรณีที่อายุครรภ์ไม่แน่นอนให้ยึดน�้าหนักตั้งแต่500กรัม

ขึ้นไป)ถึงอายุครรภ์366/7สัปดาห์อาศัยลักษณะทางคลินิกดังนี้

1. มดลกูมกีารหดรดัตวัสม�า่เสมอ4ครัง้ใน20นาทหีรอื8ครัง้ใน60นาที

ร่วมกับการเปลี่ยนแปลงของปากมดลูกอย่างต่อเนื่อง

2. ปากมดลูกเปิดเท่ากับ1เซนติเมตรหรือมากกว่า

3. ปากมดลูกบางตัวลงเท่ากับร้อยละ80หรือมากกว่า

Page 3: The Management of Preterm Labour and Preterm Premature ...hpc.go.th/download/data/hpc5_01.pdf · The Management of Preterm Labour and Preterm Premature Rupture of Membranes เอกสารหมายเลข

การดูแลรักษาภาวะเจ็บครรภ์คลอดและถุงน�้าคร�่ารั่วก่อนก�าหนด | 17

การพยากรณ์การเจ็บครรภ์คลอดก่อนก�าหนด(Predictionof

pretermlabour)(3-8)

การพยากรณ์หรือการคาดคะเนโอกาสเจ็บครรภ์คลอดก่อนก�าหนด

เมื่อพิจารณาตามหลักฐานเชิงประจักษ์ในปัจจุบันดังแสดงในแผนภูมิที่1

แผนภูมิที่1การพยากรณ์การเกิดการคลอดก่อนก�าหนด

การป้องกันการคลอดก่อนก�าหนด(Preventionofpreterm

labour)(3-9)

มาตรการการป้องกันการคลอดก่อนก�าหนดตามหลักฐานเชิงประจักษ์

ดังแสดงในแผนภูมิที่2

การดูแลรักษาภาวะเจ็บครรภคลอดและถุงน้ําคร่ําร่ัวกอนกําหนด

การวินิจฉัยการวินิจฉัยภาวะเจ็บครรภคลอดกอนกําหนดต้ังแตอายุครรภสัปดาห สําหรับในกรณีที่อายุ

ครรภไมแนนอนใหยึดนํ้าหนักตั้งแต กรัมขึ้นไป ถึงอายุครรภสัปดาหอาศัยลักษณะทางคลินิกดังนี้

มดลูกมีการหดรัดตัวสมํ่าเสมอคร้ังในนาทีหรือคร้ังในนาทีรวมกับการเปลี่ยนแปลงของปากมดลูกอยางตอเนื่อง

ปากมดลูกเปดเทากับเซนติเมตรหรือมากกวา ปากมดลูกบางตัวลงเทากับรอยละหรือมากกวา

การพยากรณการเจ็บครรภคลอดกอนกําหนด

การพยากรณหรือการคาดคะเนโอกาสเจ็บครรภคลอดกอนกําหนดเมื่อพิจารณาตามหลักฐานเชิงประจักษในปจจุบันดังแสดงในแผนภูมิที่

แผนภูมิที่การพยากรณการเกิดการคลอดกอนกําหนด

การพยากรณการคลอดกอนกําหนด

การหาปจจัยเสี่ยงตอการคลอดกอนกําหนด

การตรวจภายในเพื่อประเมินปากมดลูก

การตรวจคลื่นเสียงความถี่สูงเพื่อประเมินปากมดลูก

การตรวจทางชีวเคมีเชน

ประเมินโอกาสเสี่ยงตอการคลอดกอนกําหนด

Page 4: The Management of Preterm Labour and Preterm Premature ...hpc.go.th/download/data/hpc5_01.pdf · The Management of Preterm Labour and Preterm Premature Rupture of Membranes เอกสารหมายเลข

18 | แนวทางเวชปฏิบัติของราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย

แผนภูมิที่2การป้องกันการเกิดการคลอดก่อนก�าหนด

การดูแลรักษาสตรีตัง้ครรภ์ทีมี่ภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนก�าหนด(3,10-15)

ก. การดูแลรักษาสตรีตั้งครรภ์ที่เจ็บครรภ์คลอดก่อนก�าหนดมี

ค�าแนะน�าดังต่อไปนี้

1. วนิิจฉยัภาวะเจบ็ครรภ์คลอดก่อนก�าหนดทีแ่น่นอนและถกูต้อง

2. รับมารดาไว้ในโรงพยาบาลเพื่อการดูแลรักษา

3. ประเมนิอายคุรรภ์น�า้หนกัทารกในครรภ์ตลอดจนท่าและส่วนน�าของทารกในครรภ์

4. ประเมนิสขุภาพมารดาได้แก่ความดนัโลหติอณุหภูมกิายอตัราการหายใจและตรวจร่างกายทัว่ไปเบือ้งต้น

5. ประเมนิสขุภาพของทารกในครรภ์ด้วยการฟังอตัราการเต้นของหัวใจทารกด้วยหูฟังหรือเครื่องDoptoneหรือcardiotocography(CTG)ร่วมกับการหดรัดตัวของมดลูก

การดูแลรักษาภาวะเจ็บครรภคลอดและถุงน้ําคร่ําร่ัวกอนกําหนด

ใหการปองกันการคลอดกอนกําหนดแกสตรีตัง้ครรภแตละรายโดยพิจารณาตามความเหมาะสม

ประเมินโอกาสเสี่ยงตอการคลอดกอนกําหนดจากปจจัยเสี่ยงและหรือการตรวจภายในและหรือการตรวจคล่ืนเสียงความถี่สูงและหรือสารชีวเคมี

การเย็บปากมดลูกการใหยาโปรเจสโตเจนการใหยาปฏิชีวนะในการปองกันการหลีกเลี่ยงแอลกอฮอลและยาเสพติดการหยุดสูบบุหรี่การลดอัตราการตั้งครรภแฝดจากเทคนิคการชวยมีบุตรยากหลีกเลี่ยงการทํางานที่หนักมากเกินไป

การปองกันการคลอดกอนกําหนด มาตรการการปองกันการคลอดกอนกําหนดตามหลักฐานเชิงประจักษดังแสดงในแผนภูมิที่แผนภูมิที่การปองกันการเกิดการคลอดกอนกําหนดการดูแลรักษาสตรีตั้งครรภที่มีภาวะเจ็บครรภคลอดกอนกําหนด

ก การดูแลรักษาสตรีตั้งครรภที่เจ็บครรภคลอดกอนกําหนดมีคําแนะนําดังตอไปน้ี วินิจฉัยภาวะเจ็บครรภคลอดกอนกําหนดที่แนนอนและถูกตอง รับมารดาไวในโรงพยาบาลเพ่ือการดูแลรักษา ประเมินอายุครรภน้ําหนักทารกในครรภตลอดจนทาและสวนนําของทารกในครรภ ประเมินสุขภาพมารดาไดแกความดันโลหิตอุณหภูมิกายอัตราการหายใจและตรวจ

รางกายทั่วไปเบ้ืองตน ประเมินสุขภาพของทารกในครรภดวยการฟงอัตราการเตนของหัวใจทารกดวยหูฟงหรือ

เคร่ืองหรือรวมกับการหดรัดตัวของมดลูก ประเมินหาสาเหตุของการเจ็บครรภคลอดกอนกําหนด

ควรทําการเพาะเชื้อจากปากชองคลอดและทางทวารหนักในสถานที่ที่มีความพรอมทางหองปฏิบัติการ

เก็บปสสาวะสงตรวจและเพาะเชื้อ ตรวจเลือด

Page 5: The Management of Preterm Labour and Preterm Premature ...hpc.go.th/download/data/hpc5_01.pdf · The Management of Preterm Labour and Preterm Premature Rupture of Membranes เอกสารหมายเลข

การดูแลรักษาภาวะเจ็บครรภ์คลอดและถุงน�้าคร�่ารั่วก่อนก�าหนด | 19

6. ประเมินหาสาเหตุของการเจ็บครรภ์คลอดก่อนก�าหนด

6.1 ควรท�าการเพาะเชือ้จากปากช่องคลอดและทางทวารหนกั

(Ano-vaginalswabculture)ในสถานที่ที่มีความพร้อมทางห้องปฏิบัติการ

6.2 เก็บปัสสาวะส่งตรวจและเพาะเชื้อ

6.3 ตรวจเลือดcompletebloodcount(CBC)

6.4 การตรวจคลื่นเสียงความถี่สูงเพื่อประเมินท่าและส่วนน�า

ของทารกปริมาณน�้าคร�่าและค้นหาความพิการของทารกสภาพรกตลอดจน

ตัวมดลูกและอาจรวมถึงรังไข่ทั้งสองข้าง

6.5 ค้นหาสาเหตุทางมารดาได้แก่ความดันโลหิตสูง ไข้

การตดิเชือ้โรคประจ�าตัวต่างๆ เช่นโรคหวัใจโรคภมูต้ิานทานบกพร่องตลอดจน

โรคประจ�าตัวของผู้ป่วยที่อาจเป็นสาเหตุ

7. แจ้งข้อมูลเบื้องต้นแก่ผู้ป่วยเก่ียวกับอาการและอาการแสดง

ของโรคตลอดจนขั้นตอนการรักษาและการปฏิบัติตนขณะอยู่โรงพยาบาล

8. แจ้งให้ทีมผู้ดูแลรักษาการคลอดก่อนก�าหนดได้แก่สูติแพทย์

กุมารแพทย์พยาบาลห้องคลอดและพยาบาลหน่วยทารกแรกเกิดทราบข้อมูล

9. กรณีเป็นสถานพยาบาลปฐมภมิูและทุตยิภมูท่ีิไม่สามารถให้การ

ดแูลทารกแรกเกดิน�า้หนักน้อยได้แนะน�าให้ท�าการส่งต่อสตรตีัง้ครรภ์(in-utero

transfer)ไปยังสถานพยาบาลตติยภูมิที่มีความพร้อมในการดูแล

ข. สตรีตั้งครรภ์มีอายุครรภ์เท่ากับ34สัปดาห์หรือมากกว่า*

ทารกในครรภ์มีการเจริญเติบโตของอวัยวะต่างๆมากขึ้นการเกิด

ภาวะแทรกซ้อนต่างๆพบได้น้อยกว่าทารกที่มีอายุครรภ์น้อยกว่า34สัปดาห์

เช่นภาวะrespiratorydistresssyndrome(RDS),necrotizingentero-

colitis(NEC)และintraventricularhemorrhage(IVH)โดยให้ด�าเนินการ

ตามขั้นตอนดังกล่าว9หัวข้อข้างต้น(ก)ร่วมกับด�าเนินการดังต่อไปนี้

Page 6: The Management of Preterm Labour and Preterm Premature ...hpc.go.th/download/data/hpc5_01.pdf · The Management of Preterm Labour and Preterm Premature Rupture of Membranes เอกสารหมายเลข

20 | แนวทางเวชปฏิบัติของราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย

1. งดน�้าและอาหารทางปาก

2. ให้สารน�า้ทางหลอดเลอืดด�าโดยใช้เขม็ขนาดใหญ่พอทีจ่ะให้เลอืดได้

3. ตรวจติดตามการหดรัดตัวของมดลูกอย่างใกล้ชิดโดยอาจใช้

เครื่องcardiotocography

4. เฝ้าระวงัสขุภาพของทารกในครรภ์ด้วยการฟังอตัราการเต้นของ

หัวใจทารกและประเมินความสัมพันธ์กับการหดรัดตัวของมดลูก

5. เฝ้าระวังสัญญาณชีพและอาการทั่วไปของมารดาอย่างใกล้ชิด

6. ให้ยาปฏชิวีนะเพือ่ป้องกนัการตดิเชือ้GroupBStreptococci

(GBS)

7. ไม่ให้ยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก

8. ไม่ให้ยาสเตียรอยด์

9. ประเมินความก้าวหน้าของการคลอดโดยการใช้partogram

ประเมนิส่วนน�าของทารกในครรภ์เป็นระยะในกรณทีีก่ารเจ็บครรภ์คลอดด�าเนนิต่อ

ให้พิจารณาวิธีการคลอดที่เหมาะสมและเตรียมทีมผู ้ดูแลรักษาการคลอด

ก่อนก�าหนดให้พร้อม

10.วิธีการคลอดให้การดูแลอย่างใกล้ชิดขณะเบ่งคลอดตัดฝีเย็บ

ให้กว้างพอเพื่อลดแรงเสียดทานซึ่งอาจเป็นอันตรายต่อศีรษะทารกเช่น

เลอืดออกในสมองกรณีทีส่่วนน�าเป็นก้นและประเมนิน�า้หนกัมากกว่า2,000กรมั

สามารถพิจารณาท�าผ่าตัดคลอดหรือคลอดทางช่องคลอดได้โดยอาจใช้Piper

forcepsท�าคลอดศีรษะโดยสูติแพทย์ที่มีความช�านาญกรณีที่ส่วนน�าเป็นก้น

และน�้าหนักทารกน้อยกว่า2,000กรัมการคลอดทางช่องคลอดอาจท�าได้ยาก

มีโอกาสที่จะคลอดติดศีรษะสูงควรท�าการผ่าตัดคลอด

Page 7: The Management of Preterm Labour and Preterm Premature ...hpc.go.th/download/data/hpc5_01.pdf · The Management of Preterm Labour and Preterm Premature Rupture of Membranes เอกสารหมายเลข

การดูแลรักษาภาวะเจ็บครรภ์คลอดและถุงน�้าคร�่ารั่วก่อนก�าหนด | 21

11.แนวทางการดูแลหลังคลอด

11.1 ด้านทารกให้การดูแลเบื้องต้นท่ีห้องคลอดโดยให้อยู่

ในความดูแลของกุมารแพทย์อย่างใกล้ชิด

11.2 ด้านมารดาให้การดูแลหลังคลอดตามปกติสามารถ

เลี้ยงลูกด้วยนมมารดาได้โดยพิจารณาเป็นรายๆไปซึ่งขึ้นกับสภาวะและ

น�้าหนักของทารกแรกเกิด

*ในสถานพยาบาลที่ไม่สามารถให้การดูแลทารกที่มีน�า้หนักน้อยกว่า

2,500กรัมอาจให้ยายบัยัง้การหดรดัตัวของมดลกูก่อนส่งต่อมารดาไปยงัสถาน

พยาบาลที่มีประสิทธิภาพในการดูแลทารกแรกเกิดน�้าหนักน้อยได้ดี

ค. สตรีตั้งครรภ์มีอายุครรภ์น้อยกว่า34สัปดาห์

ให้ด�าเนินการตามขัน้ตอนดังกล่าว9หวัข้อข้างต้น(ก)ร่วมกบัด�าเนนิ

การดังต่อไปนี้

1. งดน�้าและอาหารทางปาก

2. ให้สารน�้าทางหลอดเลือดด�าโดยใช้เข็มขนาดใหญ่พอท่ีจะให้

เลือดได้

3. ตรวจติดตามการหดรัดตัวของมดลูกอย่างใกล้ชิดโดยอาจใช้

เครื่องcardiotocography

4. เฝ้าระวงัสขุภาพของทารกในครรภ์ด้วยการฟังอตัราการเต้นของ

หัวใจทารกและประเมินความสัมพันธ์กับการหดรัดตัวของมดลูก

5. เฝ้าระวังสัญญาณชีพและอาการทั่วไปของมารดาอย่างใกล้ชิด

6. ให้ยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก

Page 8: The Management of Preterm Labour and Preterm Premature ...hpc.go.th/download/data/hpc5_01.pdf · The Management of Preterm Labour and Preterm Premature Rupture of Membranes เอกสารหมายเลข

22 | แนวทางเวชปฏิบัติของราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย

6.1ก่อนการให้ยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก

6.1.1ซกัประวตัคิวามเจบ็ป่วยโรคประจ�าตวัทีอ่าจเป็น

ข้อบ่งห้ามของการให้ยา

6.1.2อธิบายให้ผู้ป่วยรับทราบถึงอาการข้างเคียงจาก

การให้ยาและ/หรือภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นได้

6.1.3ส่งเลือดตรวจทางห้องปฎิบัติการอีกครั้งในกรณ ี

ที่ไม่ได้ส่งตั้งแต่แรกเช่นelectrolytes,bloodsugar,BUN,Crเป็นต้นโดย

ขึ้นกับชนิดของยาที่ใช้และโรคประจ�าตัวของสตรีตั้งครรภ์

6.1.4ท�าการตรวจคลืน่เสยีงความถีส่งูเพือ่ประเมนิอายุ

ครรภ์จ�านวนทารกปริมาณน�า้คร�า่และรก

6.2ขณะได้รับยายั้บยั้งการหดรัดตัวของมดลูก

6.2.1ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกอย่างใกล้ชิดและ

ปรับขนาดของยาตามความเหมาะสม

6.2.2 เฝ้าระวังสุขภาพของทารกในครรภ์ด้วยการฟัง

อัตราการเต้นของหัวใจทารกและประเมินความสัมพันธ์กับการหดรัดตัวของ

มดลูก

6.2.3 เฝ้าระวงัสญัญาณชพีและอาการทัว่ไปของมารดา

อย่างใกล้ชิด

6.2.4สามารถคงขนาดของยาที่ใช้สักระยะเมื่อการ

หดรัดตัวของมดลูกเริ่มหายไป

6.2.5กรณทีีเ่กดิภาวะแทรกซ้อนของยาต้องหยดุยาหรอื

ลดขนาดของยาลงหรอืเปล่ียนชนิดของยา

Page 9: The Management of Preterm Labour and Preterm Premature ...hpc.go.th/download/data/hpc5_01.pdf · The Management of Preterm Labour and Preterm Premature Rupture of Membranes เอกสารหมายเลข

การดูแลรักษาภาวะเจ็บครรภ์คลอดและถุงน�้าคร�่ารั่วก่อนก�าหนด | 23

6.2.6กรณีท่ีทารกเกิดภาวะคับขัน(Non-reassuring

fetalstatus)จ�าเป็นต้องหยุดยาหรือลดขนาดของยาลงและให้การช่วยเหลือ

เบื้องต้น(intrauterineresuscitation)ทันทีได้แก่การนอนตะแคงซ้าย

ให้ออกซิเจนและแจ้งให้สูติแพทย์และกุมารแพทย์ทราบโดยด่วน

6.2.7บันทึกปริมาณสารน�้าที่มารดาได้รับและปริมาณ

ปัสสาวะตลอดระยะเวลาที่ให้ยา

6.3 ภายหลังการยับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก

หลังจากที่มดลูกหยุดการหดรัดตัวอย่างน้อย24ชั่วโมง

สามารถลดขนาดของยาลงหรือหยุดยาได้ตามชนิดของยานั้นๆ

7. ให้ยาสเตียรอยด์แบบครั้งเดียว(Singlecourse)

8. ในกรณีที่ไม่สามารถยับยั้งการหดรัดตัวของมดลูกได้ให้เฝ้า

ประเมินความก้าวหน้าของการคลอดและส่วนน�าของทารกในครรภ์พิจารณา

วิธีการคลอดที่เหมาะสมตลอดจนแจ้งทีมผู้ดูแลการคลอดก่อนก�าหนดดังกล่าว

ข้างต้นให้เตรียมความพร้อมในการดูแลการคลอดก่อนก�าหนด

9. ให้ยาปฏชิวีนะเพือ่ป้องกนัการติดเชือ้GroupBStreptococci

(GBS)

10.วิธีการคลอดให้การดูแลอย่างใกล้ชิดในขณะเบ่งคลอดตัด

ฝีเยบ็ให้กว้างพอเพือ่ลดแรงเสยีดทานซึง่อาจเป็นอนัตรายต่อทารกแรกเกิดเช่น

เลอืดออกในสมองในกรณทีีท่ารกมก้ีนเป็นส่วนน�าและประเมนิน�า้หนกัมากกว่า

2,000กรัมสามารถพิจารณาผ่าตัดคลอดหรือคลอดทางช่องคลอดได้โดยใช้

Piperforcepsคลอดศีรษะในกรณีที่ทารกมีก้นเป็นส่วนน�าและน�้าหนักน้อย

กว่า2,000กรัมอาจคลอดล�าบากมีโอกาสติดศีรษะสูงดังนั้นการผ่าตัดคลอด

น่าจะเป็นวิธีที่ดีกว่า

Page 10: The Management of Preterm Labour and Preterm Premature ...hpc.go.th/download/data/hpc5_01.pdf · The Management of Preterm Labour and Preterm Premature Rupture of Membranes เอกสารหมายเลข

24 | แนวทางเวชปฏิบัติของราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย

11.แนวทางการดูแลหลังคลอด

11.1 ด้านทารกภายหลงัทารกคลอดและให้การดูแลเบือ้งต้นท่ี

ห้องคลอดเรยีบร้อยแล้วจะให้ย้ายไปอยูใ่นความดแูลของกมุารแพทย์อย่างใกล้

ชิดต่อไปโดยขึ้นกับน�้าหนักและสุขภาพของทารกเป็นส�าคัญ

11.2 ด้านมารดาให้การดูแลหลังคลอดตามปกติสามารถให้

เลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาได้โดยพิจารณาเป็นรายๆไปซึ่งขึ้นกับน�้าหนักและ

สขุภาพของทารกแรกเกดิและควรเฝ้าระวงัการตกเลอืดหลงัคลอดอนัเนือ่งจาก

การหดรดัตวัของมดลกูไม่ดหีลงัจากท่ีหยดุยายบัยัง้การหดรดัตวัของมดลกูไม่นาน

ภาวะถุงน�้าคร�่าร่ัวก่อนก�าหนด(Pretermprematurerupture

ofmembranes;PPROM)(3,14)

การดูแลภาวะถุงน�้าคร�่ารั่วก่อนก�าหนด(Pretermpremature

ruptureofmembranes;PPROM)มีค�าแนะน�าดังต่อไปนี้

1. ให้การวินิจฉัยภาวะน�้าเดินโดยตรวจดูภายในช่องคลอดด้วย

sterilespeculum

2. ไม่ตรวจภายในด้วยนิ้วมือไม่สวนอุจจาระ

3. รับสตรีตั้งครรภ์เข้ารับการดูแลรักษาในโรงพยาบาล

4. ประเมินอายุครรภ์และน�้าหนักทารกในครรภ์ตลอดจนท่าและ

ส่วนน�าของทารกโดยในกรณีที่อายุครรภ์เท่ากับ34สัปดาห์หรือมากกว่า

สามารถชักน�าการคลอดได้โดยเฉพาะในกรณีท่ีมีน�้าเดินเกินกว่า12ชั่วโมง

ส่วนกรณทีีอ่ายคุรรภ์น้อยกว่า34สปัดาห์แนะน�าให้การดแูลแบบexpectant

ส�าหรับในสถานพยาบาลที่ไม่สามารถให้การดูแลทารกน�้าหนักน้อยกว่า

2,500กรัมได้แนะน�าให้ส่งต่อมารดาไปยังสถานพยาบาลท่ีมีประสิทธิภาพ

ในการดูแลทารกแรกเกิดน�้าหนักน้อย

Page 11: The Management of Preterm Labour and Preterm Premature ...hpc.go.th/download/data/hpc5_01.pdf · The Management of Preterm Labour and Preterm Premature Rupture of Membranes เอกสารหมายเลข

การดูแลรักษาภาวะเจ็บครรภ์คลอดและถุงน�้าคร�่ารั่วก่อนก�าหนด | 25

5. ประเมินสุขภาพมารดาได้แก่ชีพจรความดันโลหิตอุณหภูมิ

ร่างกายอัตราการหายใจการตรวจครรภ์และการตรวจร่างกายทั่วไปเบื้องต้น

6. ประเมนิสขุภาพของทารกในครรภ์ด้วยการฟังอตัราการเต้นของ

หัวใจทารกด้วยหูฟังหรือเครื่องDoptoneหรือcardiotocographyร่วมกับ

การหดรัดตัวของมดลูก

7. ประเมินสาเหตุของการมีน�้าเดินก่อนก�าหนด

7.1 ควรท�าการเพาะเชื้อจากทวารหนักและช่องคลอด(ano-

vaginalswabculture)ในสถานที่ที่มีความพร้อมทางห้องปฏิบัติการ

7.2 การเก็บปัสสาวะส่งตรวจและเพาะเชื้อ

7.3 การเจาะเลือดcompletebloodcount(CBC)

7.4 การตรวจคลืน่เสยีงความถีสู่งดูความผิดปกติท่าและส่วนน�า

ของทารกปริมาณน�้าคร�่าสภาพรกตลอดจนตัวมดลูกและอาจรวมถึงรังไข่

ทั้งสองข้าง

7.5 หาสาเหตุทางมารดาได้แก่ภาวะความดนัโลหติสงูไข้และ

การติดเชื้อเป็นต้น

8. การให้ยาปฏิชีวนะ

8.1 กรณทีีต่ดัสนิให้คลอดแนะน�าว่าให้ยาปฏชิวีนะเพือ่ป้องกนั

การติดเชื้อGroupBStreptococci(GBS)

8.2 การดูแลแบบexpectantแนะน�าให้ยาปฏิชีวนะเพื่อยืด

อายุครรภ์(prolongedlatencyperiod)

8.3 กรณีที่มีchorioamnionitisแนะน�าให้คลอดโดยต้องให้

ยาปฏิชีวนะแบบbroadspectrum

Page 12: The Management of Preterm Labour and Preterm Premature ...hpc.go.th/download/data/hpc5_01.pdf · The Management of Preterm Labour and Preterm Premature Rupture of Membranes เอกสารหมายเลข

26 | แนวทางเวชปฏิบัติของราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย

9. กรณทีีอ่ายคุรรภ์ตัง้แต่24-33สปัดาห์ให้การดแูลแบบexpectant

โดยตรวจวัดสัญญาณชีพCBCทุกวันและตรวจเฝ้าระวังทารกในครรภ์ตรวจ

คลื่นเสียงความถี่สูงเพ่ือวัดปริมาณน�้าคร�่าสัปดาห์ละสองคร้ังให้ยาสเตียรอยด์

แบบครัง้เดยีวและให้คลอดเมือ่ตรวจพบว่ามีchorioamnionitis,non-reassuring

fetaltesting,placentalabruption,advancedlabourหรอืเมือ่อายคุรรภ์

ครบ34สัปดาห์

10. กรณีที่อายุครรภ์34-37สัปดาห์แนะน�าให้คลอดได้เพราะส่วน

ใหญ่การเจริญของปอดทารกดีแล้วส�าหรับสถานพยาบาลท่ีไม่สามารถให้การ

ดูแลทารกน�้าหนักน้อยกว่า2,500กรัมได้แนะน�าให้ส่งต่อผู้ป่วยไปยังสถาน

พยาบาลที่มีประสิทธิภาพในการดูแลทารกแรกเกิดน�้าหนักน้อย

11. แจ้งให้ทมีผูด้แูลการคลอดก่อนก�าหนดได้แก่สตูแิพทย์กุมารแพทย์

พยาบาลห้องคลอดและพยาบาลหน่วยทารกแรกเกดิรบัทราบล่วงหน้าในกรณี

ที่คาดว่าจะมีการคลอดก่อนก�าหนด

12. กรณสีถานพยาบาลทีไ่ม่สามารถให้การดูแลทารกแรกเกดิน�า้หนกั

น้อยได้แนะน�าให้สง่ต่อสตรตีั้งครรภ์(in-uterotransfer)ไปยังสถานพยาบาล

ตติยภูมิที่มีความพร้อมในการดูแลรักษา

13. สตรีตั้งครรภ์จะได้รับอนุญาตให้กลับบ้านได้เมื่อ

13.1ได้รับความยินยอมจากแพทย์ผู้เช่ียวชาญทางด้านนี้ซึ่ง

จะพิจารณาเป็นรายๆไป

13.2สามารถติดตามเฝ้าระวงัสขุภาพมารดาและทารกในครรภ์

ภายใน72ชั่วโมงหลังออกจากโรงพยาบาล

13.3ผูป่้วยเข้าใจดีถงึอาการและอาการแสดงของchorioamnionitis

13.4ผู้ป่วยสามารถวัดอุณหภูมิกายได้วันละ2ครั้ง

13.5ผู้ป่วยสามารถมาพบแพทย์ตามนัดได้

Page 13: The Management of Preterm Labour and Preterm Premature ...hpc.go.th/download/data/hpc5_01.pdf · The Management of Preterm Labour and Preterm Premature Rupture of Membranes เอกสารหมายเลข

การดูแลรักษาภาวะเจ็บครรภ์คลอดและถุงน�้าคร�่ารั่วก่อนก�าหนด | 27

แผนภูมิการดูแลรักษาการเจ็บครรภ์คลอดก่อนก�าหนด

การดูแลรักษาภาวะเจ็บครรภคลอดและถุงน้ําคร่ําร่ัวกอนกําหนด

การวินิจฉัยการเจ็บครรภคลอดกอนกําหนด

อายุครรภต้ังแตสัปดาห อายุครรภเทากับสัปดาหหรือมากกวา

• งดน้ําและอาหารทางปาก• ใหสารน้ําทางหลอดเลือดดํา• ไมใหยาสเตียรอยด• ใหยาปฏิชีวนะในขณะคลอดเพื่อ

ปองกันการติดเช้ือ• ตรวจการหดรัดตัวของมดลูก• เฝาระวังสุขภาพของทารกในครรภ• ดําเนินการคลอดอยางนิ่มนวล

• งดน้ําและอาหารทางปาก• ใหสารน้ําทางหลอดเลือดดํา• ใหยาสเตียรอยดฉีดแบบคร้ังเดียว• พิจารณาใหยายับย้ังการหดรัดตัวของมดลูก• ตรวจการหดรัดตัวของมดลูก• เฝาระวังสุขภาพของทารกในครรภ• กรณีที่ไมสามารถยับยั้งการเจ็บครรภคลอดได

ใหยาปฏิชีวนะในขณะคลอดเพื่อปองกันการติดเช้ือ

ตรวจหาและแกไขสาเหตุหรือปจจัยของการเจ็บครรภคลอดกอนกําหนดประเมินสุขภาพมารดาและทารกในครรภ

ตรวจหาขอบงหามในการยับย้ังการหดรัดตัวของมดลูก

ไมมี มี

ขอบงหามในการใหยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูกไดแก• • • • • •

เลือกชนิดของยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูกแตละชนิดอยางเหมาะสมโดยคํานึงถึงขอบงหามของยาแตละชนิด

แผนภูมิการดูแลรักษาการเจ็บครรภคลอดกอนกําหนด

Page 14: The Management of Preterm Labour and Preterm Premature ...hpc.go.th/download/data/hpc5_01.pdf · The Management of Preterm Labour and Preterm Premature Rupture of Membranes เอกสารหมายเลข

28 | แนวทางเวชปฏิบัติของราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย

แผนภูมิการดูแลรักษาภาวะถุงน�้าคร�่ารั่วก่อนก�าหนด(PPROM)

การดูแลรักษาภาวะเจ็บครรภคลอดและถุงน้ําคร่ําร่ัวกอนกําหนด

การวินิจฉัยตรวจพบน้ําครํ่าจากปากมดลูกและหรือในชองคลอดและหรือโดยทดสอบ หรือ ใหผลบวก

ตรวจหาภาวะ ใหคลอด

•ใหยาปฏิชีวนะในขณะคลอดเพื่อปองกันการติดเช้ือ

•ใหยาปฏิชีวนะแบบถาพบวามี

อายุครรภต้ังแตสัปดาห อายุครรภเทากับสัปดาหหรือมากกวา

การดูแลแบบ•

และ• ใหยาสเตียรอยดแบบ• ใหยาปฏิชีวนะเพื่อยืดอายุครรภ• ใหคลอดเมื่อพบ

• ใหคลอดเมื่ออายุครรภสัปดาห

แนะนําใหยาปฏิชีวนะในขณะคลอดเพ่ือปองกันการติดเช้ือ สําหรับในกรณีที่พบวามีแนะนําใหยาปฏิชีวนะ

ชนิด

ใช

ไมใช

• ตรวจดวยเคร่ืองตรวจคลื่นเสียงความถี่สูงเพื่อคํานวณอายุครรภน้ําหนักปริมาณนํ้าครํ่าสวนนําการเจริญเติบโตของทารกตลอดจนความผิดปกติ

• ควรทําการตรวจเพาะเชื้อจากปสสาวะจากชองคลอดและทวารหนัก• ตรวจ• ควรทําเชน โดยเฉพาะเมื่ออายุครรภต้ังแตสัปดาหข้ึนไป

คลอด

แผนภูมิการดูแลรักษาภาวะถุงน้ําคร่ํารั่วกอนกําหนด

การดูแลรักษาภาวะเจ็บครรภคลอดและถุงน้ําคร่ําร่ัวกอนกําหนด

การวินิจฉัยตรวจพบน้ําครํ่าจากปากมดลูกและหรือในชองคลอดและหรือโดยทดสอบ หรือ ใหผลบวก

ตรวจหาภาวะ ใหคลอด

•ใหยาปฏิชีวนะในขณะคลอดเพื่อปองกันการติดเช้ือ

•ใหยาปฏิชีวนะแบบถาพบวามี

อายุครรภต้ังแตสัปดาห อายุครรภเทากับสัปดาหหรือมากกวา

การดูแลแบบ•

และ• ใหยาสเตียรอยดแบบ• ใหยาปฏิชีวนะเพื่อยืดอายุครรภ• ใหคลอดเมื่อพบ

• ใหคลอดเมื่ออายุครรภสัปดาห

แนะนําใหยาปฏิชีวนะในขณะคลอดเพ่ือปองกันการติดเช้ือ สําหรับในกรณีที่พบวามีแนะนําใหยาปฏิชีวนะ

ชนิด

ใช

ไมใช

• ตรวจดวยเคร่ืองตรวจคลื่นเสียงความถี่สูงเพื่อคํานวณอายุครรภน้ําหนักปริมาณนํ้าครํ่าสวนนําการเจริญเติบโตของทารกตลอดจนความผิดปกติ

• ควรทําการตรวจเพาะเชื้อจากปสสาวะจากชองคลอดและทวารหนัก• ตรวจ• ควรทําเชน โดยเฉพาะเมื่ออายุครรภต้ังแตสัปดาหข้ึนไป

คลอด

แผนภูมิการดูแลรักษาภาวะถุงนํ้าคร่ําร่ัวกอนกําหนด

การดูแลรักษาภาวะเจ็บครรภคลอดและถุงน้ําคร่ําร่ัวกอนกําหนด

การวินิจฉัยตรวจพบน้ําครํ่าจากปากมดลูกและหรือในชองคลอดและหรือโดยทดสอบ หรือ ใหผลบวก

ตรวจหาภาวะ ใหคลอด

•ใหยาปฏิชีวนะในขณะคลอดเพื่อปองกันการติดเช้ือ

•ใหยาปฏิชีวนะแบบถาพบวามี

อายุครรภต้ังแตสัปดาห อายุครรภเทากับสัปดาหหรือมากกวา

การดูแลแบบ•

และ• ใหยาสเตียรอยดแบบ• ใหยาปฏิชีวนะเพื่อยืดอายุครรภ• ใหคลอดเมื่อพบ

• ใหคลอดเมื่ออายุครรภสัปดาห

แนะนําใหยาปฏิชีวนะในขณะคลอดเพ่ือปองกันการติดเช้ือ สําหรับในกรณีที่พบวามีแนะนําใหยาปฏิชีวนะ

ชนิด

ใช

ไมใช

• ตรวจดวยเคร่ืองตรวจคลื่นเสียงความถี่สูงเพื่อคํานวณอายุครรภน้ําหนักปริมาณนํ้าครํ่าสวนนําการเจริญเติบโตของทารกตลอดจนความผิดปกติ

• ควรทําการตรวจเพาะเชื้อจากปสสาวะจากชองคลอดและทวารหนัก• ตรวจ• ควรทําเชน โดยเฉพาะเมื่ออายุครรภต้ังแตสัปดาหข้ึนไป

คลอด

แผนภูมิการดูแลรักษาภาวะถุงน้ําคร่ํารั่วกอนกําหนด

Page 15: The Management of Preterm Labour and Preterm Premature ...hpc.go.th/download/data/hpc5_01.pdf · The Management of Preterm Labour and Preterm Premature Rupture of Membranes เอกสารหมายเลข

การดูแลรักษาภาวะเจ็บครรภ์คลอดและถุงน�้าคร�่ารั่วก่อนก�าหนด | 29

สรุป

• การเจ็บครรภ์คลอดก่อนก�าหนดต้องมีการวินิจฉัยที่แน่นอน

• ประเมินอายุครรภ์น�้าหนักทารกและสุขภาวะของทารกในครรภ์

• ค้นหาสาเหตุ

• เลือกให้ยาระงับการหดรัดตัวของมดลูกที่เหมาะสม

• ใช้ยาสเตียรอยด์แบบครั้งเดียว(singlecourse)

• ให้ยาปฏิชีวนะในขณะคลอดเพื่อป้องกันการติดเชื้อGBS

• เฝ้าระวังมารดาและทารกในครรภ์อย่างใกล้ชิด

• เลือกวิธีการคลอดที่เหมาะสม

• เลือกสถานที่คลอดที่เหมาะสมโดยin-uterotransferย่อมดีกว่า

neonataltransfer

• ต้องมกีมุารแพทย์ทีช่�านาญในการดูแลรักษาทารกคลอดก่อนก�าหนด

ค�าแนะน�านีอ้าจเปลีย่นแปลงได้ทัง้นีข้ึน้อยูก่บัดลุพนิจิของคณะแพทย์

และพยาบาลผู้ดูแลซึ่งย่อมต้องพิจารณาภายใต้บริบทของแต่ละ

สถานพยาบาลเพื่อความเหมาะสมในการดูแลรักษา

Page 16: The Management of Preterm Labour and Preterm Premature ...hpc.go.th/download/data/hpc5_01.pdf · The Management of Preterm Labour and Preterm Premature Rupture of Membranes เอกสารหมายเลข

30 | แนวทางเวชปฏิบัติของราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย

เอกสารอ้างอิง

1. RequejoJH,MerialdiM.Theglobalimpactofpretermbirth.In:

BerghellaV,editor.Pretermbirth.Oxford,UK:Wiley-Blackwell;

2010.p.1-7.

2. WalshMC,FanaroffAA.Epidemiologyandperionatalservices.

In:MartinRJ,FanaroffAA,WalshMC,editors.Neonatalperinatal

medicine.9thed.Missouri:Elsevier;2011.p.19-23.

3. Pretermlabour.In:CunninghamFG,LevenoKJ,BloomSL,Spong

CY,DasheJS,HoffmanBL,etal.,editors.WilliamsObstetrics.

24thed.NewYork:McGrawHill;2014.p.829-96.

4. MercerBM,GolddenbergRL,DasA,MoawadAH,IamsJD,Meis

PJ.Thepretermpredictionstudy:aclinicalriskassessment

system.AmJObstetGynecol1996;174:1885-95.

5. BerghellaV.Thecervix.In:BerghellaV,editor.Pretermbirth.

Oxford,UK:Wiley-Blackwell;2010.p.50-7.

6. RafaelTJ.Shortcervicallength.In:BerghellaV,editor.Preterm

birth.Oxford,UK:Willey-Blackwell;2010.p.130-48.

7. BisulliM.Fetalfibronectin.In:berghellaV,editor.Pretermbirth.

Oxford,UK:Willey-Blackwell;2010.p.149-60.

8. NessA,BlumenfieldY,SungJF.Pretermlabour.In:Berghella

V,editor.Pretermbirth.Oxford,UK:Willey-Blackwell;2010.

p.198-216.

9. ACOGCommitteeOpinion.Useofprogesteronetoreduce

pretermbirth.ObstetGynecol2003;102:1115-6.

Page 17: The Management of Preterm Labour and Preterm Premature ...hpc.go.th/download/data/hpc5_01.pdf · The Management of Preterm Labour and Preterm Premature Rupture of Membranes เอกสารหมายเลข

การดูแลรักษาภาวะเจ็บครรภ์คลอดและถุงน�้าคร�่ารั่วก่อนก�าหนด | 31

10. MercerBM.Prematureruptureofthemembranes.In:Berghella

V,editor.Pretermbirth.Oxford,UK:Willey-Blackwell;2010.

p.217-31.

11. ACOGpracticebulletinNo.120:Useofprophylacticantibiotics

inlaboranddelivery.ObstetGynecol2011;117(6):1472-83.

12. ACOGpracticebulletinNo.127:Managementofpretermlabor.

ObstetGynecol2012;119(6):1308-17.

13. ACOGpracticebulletinNo.142:Cerclageforthemanagement

ofcervicalinsufficiency.ObstetGynecol2014;123:372-9.

14. FlenadyV,WojcieszekAM,PapatsonisDN,StockOM,Murray

L,JardineLA,etal.Calciumchannelblockersforinhibiting

pretermlabourandbirth.CochraneDatabaseSystRev2014;6.

15. BhuttaZA,GiulianiF,HaroonA,KnightHE,AlbernazE,BatraM,

etal.Standardisationofneonatalclinicalpractice.BJOG2013;

120:56-63.

Page 18: The Management of Preterm Labour and Preterm Premature ...hpc.go.th/download/data/hpc5_01.pdf · The Management of Preterm Labour and Preterm Premature Rupture of Membranes เอกสารหมายเลข

32 | แนวทางเวชปฏิบัติของราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย

ภาคผนวก

ยาที่ใช้ในการรักษาPretermlaborและPretermpremature

ruptureofmembranes

A. ยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก(Tocolysis)ใช้ในอายุครรภ์ตั้งแต่

viable–336/7สัปดาห์

ยาที่แนะน�าให้เป็นfirstlineมี3ชนิดคือ

1. ยากลุม่calciumchannelblockers–nifedipine(Adalat®)(1)

รูปแบบ ยาเม็ดขนาด10หรือ20มิลลิกรัม

วิธีบริหารยา รับประทานโดยการกลืน(การเคี้ยวบดหรือท�าให้ยาแตกอาจ ส่งผลต่อประสิทธิภาพความคงตัวของยา)

ขนาดยาเริ่มต้น 20มิลลิกรัมรับประทานทันที

หากมดลูกยังหดรัดตัว ให้อีก20มิลลิกรัมรับประทานทุก30นาทีหากจ�าเป็นให้ได้หลังให้ยาแล้ว30นาที จ�านวน2ครั้ง

หากมดลูกไม่มีการ ให้maintenancedose20-40มิลลิกรัมทุก6ชั่วโมงหดรัดตัวแล้ว โดยขนาดยาสูงสุดไม่เกิน160มิลลิกรัม/24ชั่วโมง การพจิารณาหยดุให้ยาขึน้กบัอายคุรรภ์การได้รับยาcorticosteroid เพื่อกระตุ้นปอดทารกและศักยภาพของโรงพยาบาล

ขนาดยาสูงสุดที่ให้ 160มิลลิกรัม/24ชั่วโมง

อาการที่ไม่พึงประสงค์ • Transienthypotension • Transienttachycardia • Flushing • Headache,dizziness • Nausea • Transientfetalhypoxiaจากการทีม่ีmaternalhypotension

การเฝ้าระวังหลังให้ยา • วดัความดันโลหิตอุณหภมูิชีพจรอตัราการหายใจทกุ1ชัว่โมง ในระยะแรกที่เร่ิมให้ยาหลังจากน้ันหากสัญญาณชีพอยู่ใน เกณฑ์ปกติให้วัดห่างออกได้แต่ต้องไม่นานเกิน4ชั่วโมง • รายงานแพทย์หากsystolicBP<100mmHg, PR>100/min,BT>37.5�C

Page 19: The Management of Preterm Labour and Preterm Premature ...hpc.go.th/download/data/hpc5_01.pdf · The Management of Preterm Labour and Preterm Premature Rupture of Membranes เอกสารหมายเลข

การดูแลรักษาภาวะเจ็บครรภ์คลอดและถุงน�้าคร�่ารั่วก่อนก�าหนด | 33

2. ยากลุ่มbeta-adrenergicreceptoragonistแนะน�าให้ใช้ terbutalineในการรักษาpretermlaborเฉพาะinjectableformในคนไข้ที่รับไว้รักษาในโรงพยาบาลและไม่ควรให้นานกว่า48-72ชั่วโมงไม่แนะน�าให้ใช้oralterbutalineเนื่องจากไม่ได้ผลและมีความเสี่ยงต่อมารดา(USFDA2011)มีการบริหารยาได้2วิธีคือ

2.1 วิธีหยดเข้าหลอดเลือด(2)

• ถ้าการประเมินสุขภาพทารกในครรภ์ด้วยเครื่องelectronic fetalmonitoringผลreactiveให้บนัทกึFHRทกุ1ชัว่โมง ในระยะแรกที่เริ่มให้ยาหลังจากนั้นห่างออกเป็นอย่างน้อย ทุก6ชั่วโมงเป็นเวลา48ชั่วโมง

อาการและอาการแสดง • ระดับความรู้สึกตัวลดลงจนถึงขั้นโคม่าเมื่อได้รับยาเกินขนาด • ความดันโลหิตต�่า • Tachycardia • Hyperglycemia • Metabolicacidosis • Hypoxia • Cardiogenicshockwithpulmonaryedema

รูปแบบ Terbutaline(Bricanyl®)ampule(0.5มิลลิกรัม/มิลลิลิตร เท่ากับ500ไมโครกรัม/มิลลิลิตร)

วิธีบริหารยา Continuousintravenousinfusionการบรหิารยาควรใช้เครือ่ง controlledinfusionเพ่ือควบคมุขนาดยาและปรมิาณสารละลาย

ขนาดยาเริ่มต้น 2.5-5ไมโครกรัม/นาทีโดยผสมBricanyl®4มิลลิลิตรเท่ากับ 2มลิลกิรมัหรอื2,000ไมโครกรมัในสารละลาย5%D/Wหรอื0.9% NSS100มลิลลิติรหยดเข้าหลอดเลอืดในอตัรา7-15microdrops/min

หากมดลูกยังหดรัดตัว ปรับยาขึ้น2.5-5ไมโครกรัม/นาที(7-15microdrops/min)หลังให้ยาแล้ว30นาที ทุก20-30นาทีจนถึงขนาดสูงสุด25ไมโครกรัม/นาที (75microdrops/min)หรือมดลูกไม่มีการหดรัดตัว

Page 20: The Management of Preterm Labour and Preterm Premature ...hpc.go.th/download/data/hpc5_01.pdf · The Management of Preterm Labour and Preterm Premature Rupture of Membranes เอกสารหมายเลข

34 | แนวทางเวชปฏิบัติของราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย

หากมดลูกไม่มีการ • ให้maintainขนาดยาตามอตัราทีท่�าให้มดลกูไม่มกีารหดรดัตวัหดรัดตัวแล้ว ต่อไปอีก6ชั่วโมงหลังจากนั้นค่อยๆลดขนาดยาลงครั้งละ 2.5-5ไมโครกรมั/นาที(7-15microdrops/min)จนถงึขนาด ยาต�่าสุดที่สามารถท�าให้มดลูกไม่มีการหดรัดตัว • การพจิารณาหยดุให้ยาขึน้กบัอายคุรรภ์การได้รบัcorticosteroid เพ่ือกระตุ้นปอดทารกและศักยภาพของโรงพยาบาลแต่ โดยทั่วไปไม่ควรให้นานเกิน48-72ชั่วโมง • FDAมีค�าเตือนให้ประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดอาการ ไม่พึงประสงค์ร้ายแรงกับประโยชน์หากจะใช้ยาในกลุ่มนี้ นานเกินกว่า48-72ชั่วโมง

หากชีพจรแม่> ให้ปรับอัตราการให้ยาให้ช้าลงจนกระทั่งชีพจรแม่หรือชีพจร140ครั้ง/นาทีหรือ ทารกในครรภ์ลดลงต�่ากว่าระดับดังกล่าวชีพจรทารกในครรภ์>180ครั้ง/นาที

อาการที่ไม่พึงประสงค์ • Tremor,anxiety,nervousness,sweating • Palpitation,arrhythmia,tachycardia • Headache •Myocardialischemia • Dyspnea,pulmonaryedema •Musclecramp,hypokalemia • Hyperglycemia

การเฝ้าระวังหลังให้ยา • วัดความดันโลหิตชีพจรอัตราการหายใจทุกครั้งหลังเพิ่มยา หลังจากนั้นหากสัญญาณชีพอยู่ในเกณฑ์ปกติให้วัดห่าง ออกได้แต่ต้องไม่นานเกินกว่า4ชั่วโมง • บันทึกfluidintake/output,urineoutput • สังเกตอาการหายใจล�าบากเจ็บหน้าอกหัวใจเต้นเร็ว • ตรวจระดับglucoseและpotassiumทุก4-6ชั่วโมง • ถ้าการประเมินสุขภาพทารกในครรภ์ด้วยเครื่องelectronic fetalmonitoringผลreactiveให้บันทึกFHRทุก1ชั่วโมง ทุกครั้งหลังเพิ่มยาในระยะแรกที่เริ่มให้ยาหลังจากนั้น ห่างออกเป็นอย่างน้อยทุก6ชั่วโมงเป็นเวลา48ชั่วโมง

Page 21: The Management of Preterm Labour and Preterm Premature ...hpc.go.th/download/data/hpc5_01.pdf · The Management of Preterm Labour and Preterm Premature Rupture of Membranes เอกสารหมายเลข

การดูแลรักษาภาวะเจ็บครรภ์คลอดและถุงน�้าคร�่ารั่วก่อนก�าหนด | 35

2.2วิธีฉีดเข้าใต้ผิวหนัง(2)

3. Prostaglandininhibitors:NSAIDs

ยาที่มีการศึกษาและแนะน�าคือยา Indomethacin(3) โดยการ

รับประทานเริ่มด้วยขนาด50-100มิลลิกรัมตามด้วยขนาด25-50มิลลิกรัม

ทุก6ชั่วโมงไม่เกินวันละ200มิลลิกรัมใช้ในอายุครรภ์ที่น้อยกว่า32สัปดาห์

และให้นานไม่เกนิ48ชัว่โมงเนือ่งจากเกดิภาวะแทรกซ้อนต่อทารกในครรภ์ได้เช่น

การตบีของหลอดเลอืดductusarteriosusและ/หรอืภาวะน�า้คร�า่น้อยเป็นต้น

ก่อนให้ยาควรตรวจปริมาณน�้าคร�่าหากน�้าคร�่าน้อยไม่ควรเลือกใช้ยา

กลุ่มนี้

การให้ยาเกิน48ชั่วโมงควรพิจารณาเฉพาะรายและควรต้องตรวจ

ตดิตามดปูรมิาณน�า้คร�า่รวมทัง้การตีบแคบของหลอดเลอืดductusarteriosus

ของทารกในครรภ์หากพบต้องรีบหยุดยา

ไม่แนะน�าการให้ซ�้า(repeatcourse)

รูปแบบ Terbutaline(Bricanyl®)ampule(0.5มิลลิกรัม/มิลลิลิตร เท่ากับ500ไมโครกรัม/มิลลิลิตร)

วิธีบริหารยา Intermittentsubcutaneousinjectionขนาดยาเริ่มต้น 0.25มลิลิกรมัหรอื250ไมโครกรมั(0.5มลิลิลติร)ฉดีใต้ผวิหนงั

หากมดลูกยังหดรัดตัว ฉีดซ�้าในขนาด0.25มิลลิกรัมได้ทุก20-30นาทีจนถึง4ครั้งหลังให้ยาแล้ว30นาที หรือจนมดลูกไม่มีการหดรัดตัว

หากมดลูกไม่มีการ ฉีดยาในขนาด0.25มิลลิกรัมห่างออกเป็นทุก3-4ชั่วโมงหดรัดตัวแล้ว จนกระทั่งมดลูกไม่มีการหดรัดตัวเป็นเวลา24ชั่วโมง

ข้อห้ามในการให้ยา • สตรีที่มีปัญหาtachycardia-sensitivecardiacdiseases • Poorlycontrolledhyperthyroidism • Poorlycontrolleddiabetesmellitus

Page 22: The Management of Preterm Labour and Preterm Premature ...hpc.go.th/download/data/hpc5_01.pdf · The Management of Preterm Labour and Preterm Premature Rupture of Membranes เอกสารหมายเลข

36 | แนวทางเวชปฏิบัติของราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย

ข้อควรระวังในการให้tocolysis

- ควรระมดัระวงัการใช้beta-adrenergicreceptoragonists

และcalciumchannelblockersร่วมกบัmagnesiumsulfate

- ระยะเวลาของการให้tocolysis48-72ชั่วโมง

- ในกรณีที่ยังคงมีการหดรัดตัวของมดลูกแม้ว่าจะให้tocolysis

แล้วควรประเมินซ�้าถ้าปากมดลูกเปิดมากกว่า4เซนติเมตรควรหยุดให้

tocolysisเพราะอาจมีplacentalabruptionหรอืintra-amnioticinfection

แต่ถ้ายังมีcontractionโดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงของปากมดลูกควรประเมิน

ซ�้าว่ามีความเสี่ยงที่จะคลอดก่อนก�าหนดในเวลาอันสั้นหรือไม่

- การใช้tocolysisในPPROMยังcontroversialไม่มีdata

พอที่จะสนับสนุนหรือคัดค้านการใช้prophylactictocolysisอย่างไรก็ดี

ในรายPPROMที่อายุครรภ์น้อยกว่า34สัปดาห์ไม่มีchorioamnionitis

และไม่มีภาวะแทรกซ้อนอื่นการให้tocolysisอาจมีประโยชน์ในการช่วยยืด

อายุครรภ์ไป48ชั่วโมงเพื่อรอให้corticosteroidsออกฤทธิ์เต็มที่ก่อนหรือ

เพื่อให้มีเวลาในการส่งตัวผู้ป่วยไปรักษาต่อยังสถานพยาบาลระดับทุติยภูมิ

MaintenanceTocolysis

ไม่แนะน�าการให้maintenancetocolysisชนิดรับประทานต่อ

หลงัจากสามารถยบัยัง้การหดรดัตวัของมดลกูได้แล้วเนือ่งจากยงัไม่มหีลกัฐาน

เชิงประจักษ์แสดงถึงประโยชน์ในการป้องกันpretermbirthหรือช่วยเพิ่ม

neonataloutcomeให้ดีขึ้น

B.ยาคอร์ตโิคสเตยีรอยด์(Corticosteroids)(4)เพือ่กระตุน้lungmaturity

ลดการเกิดและความรุนแรงของintracranialhemorrhage,necrotizing

enterocolitis

Page 23: The Management of Preterm Labour and Preterm Premature ...hpc.go.th/download/data/hpc5_01.pdf · The Management of Preterm Labour and Preterm Premature Rupture of Membranes เอกสารหมายเลข

การดูแลรักษาภาวะเจ็บครรภ์คลอดและถุงน�้าคร�่ารั่วก่อนก�าหนด | 37

- อายุครรภ์ที่ให้24-34สัปดาห์(ถ้าไม่มีข้อห้าม)

1.แบบครั้งเดียว(singlecourse)ใช้ได้ทั้งในpretermlabor

และPPROMสามารถเลือกใช้ยาชนิดใดชนิดหนึ่ง

- Betamethasoneขนาด12มิลลิกรัมฉีดเข้ากล้ามทุก

24ชั่วโมงจ�านวน2ครั้ง

- Dexamethasoneขนาด6มิลลิกรัมฉีดเข้ากล้ามทุก12

ชั่วโมงจ�านวน4ครั้ง

2. แบบsinglerescuecourseการให้ยาซ�้าอีกครั้งสามารถใช ้

ทัง้ชนิดและขนาดของยาแบบเดยีวกบัsinglecourseใช้ในpretermlaborที่

ได้รับยาครั้งแรกอย่างน้อย7วันและมีโอกาสคลอดก่อนอายุครรภ์34สัปดาห์

ข้อห้ามของการให้ยาคือมีการติดเชื้อทั่วกายในมารดาหรือมีการ

ติดเชื้อในโพรงมดลูก(chorioamnionitis)

C.ยาปฏิชีวนะ(Antibiotics)

1. เพื่อยืดเวลาlatencyในPPROM(6)

· ยาampicillinขนาด2กรัมให้ทางหลอดเลือดด�าร่วมกับ

erythromycinขนาด250มลิลกิรมัรบัประทานทกุ6ชัว่โมง

จนครบ48ชั่วโมงหลังจากนั้นให้รับประทานยาampicillin

250มิลลิกรัมร่วมกับยาerythromycinbase333มิลลิกรัม

ทุก8ชั่วโมงจนคลอดหรือครบ7วัน

2. เพื่อป้องกันการติดเชื้อgroupBstreptococciให้ในช่วงactive

phaseของการเจ็บครรภ์ที่อายุครรภ์น้อยกว่า37สัปดาห์(7)

Page 24: The Management of Preterm Labour and Preterm Premature ...hpc.go.th/download/data/hpc5_01.pdf · The Management of Preterm Labour and Preterm Premature Rupture of Membranes เอกสารหมายเลข

38 | แนวทางเวชปฏิบัติของราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย

· ยาpenicill inG เริ่มต ้นที่ขนาด5ล ้านยูนิต ให ้ทาง

หลอดเลอืดด�าหลงัจากนัน้ให้ขนาด2.5-3ล้านยนูติทุก4ช่ัวโมง จนคลอดหรือยาampicillinขนาดเริ่มต้น2กรัมให้ทาง หลอดเลือดด�าตามด้วยขนาด1กรัมทุก4ชั่วโมงจนคลอด

· กรณีที่แพ้ยาpenicillinเปลี่ยนยาเป็นvancomycinขนาด 1กรัมให้ทางหลอดเลือดด�าทุก12ชั่วโมงจนคลอดหรือยา clindamycinขนาด900มิลลิกรัมให้ทางหลอดเลือดด�า ทุก8ชั่วโมงจนคลอด

· ไม่แนะน�าให้ใช้amoxicillin-clavulanicacidเพราะเพิ่ม การเกิดnecrotizingenterocolitis

· ไม่แนะน�าการให้antibioticsเพื่อprolongpregnancyใน สตรีที่เจ็บครรภ์ก่อนก�าหนดและintactmembrane

3. กรณทีีไ่ด้รบัยาปฏชิวีนะแบบครอบคลมุเพือ่รกัษาภาวะchorioam-nionitisแล้วไม่จ�าเป็นต้องเปลี่ยนทั้งชนิดหรือขนาดของยา

D.ยาป้องกันระบบประสาทของทารกในครรภ์(Neuroprotection)

ยาที่ใช้คือmagnesiumsulfateในสถาบันท่ีจะให้จ�าเป็นต้องมีการก�าหนดแนวปฏิบัติที่ชัดเจนมีinclusioncriteria,treatmentregimen(8) และแนวทางการติดตามความปลอดภยัของผูป่้วย(PatientSafetyChecklist)(9) ขณะที่ได้รับยา

ใช้ในอายุครรภ์240/7-276/7สัปดาห์เริ่มต้นให้ขนาด6กรัมทางหลอดเลอืดด�าตามด้วยการให้ทางหลอดเลอืดด�าขนาด2กรมัต่อชัว่โมงให้นานอย่างน้อย12ชั่วโมง(10)

Page 25: The Management of Preterm Labour and Preterm Premature ...hpc.go.th/download/data/hpc5_01.pdf · The Management of Preterm Labour and Preterm Premature Rupture of Membranes เอกสารหมายเลข

การดูแลรักษาภาวะเจ็บครรภ์คลอดและถุงน�้าคร�่ารั่วก่อนก�าหนด | 39

เมื่อพิจารณาให้magnesiumsulfateเพ่ือเป็นneuroprotectionแล้วหากจะต้องให้tocolyticagentชนดิอืน่ร่วมด้วยจะต้องระมัดระวงัภาวะแทรกซ้อนรุนแรงทีอ่าจจะเพิม่ขึน้เนือ่งจากmagnesiumsulfateอาจไปเสริมฤทธิ์กับtocolyticagent

E.การให้ฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนเพื่อป้องกันการคลอดก่อนก�าหนด

ดังแสดงในแผนภูมิ(11)

การดูแลรักษาภาวะเจ็บครรภคลอดและถุงน้ําคร่ําร่ัวกอนกําหนด

ตั้งครรภเด่ียว

ไมมีประวัติการคลอดกอนกําหนด

คอมดลูกยาวนอยกวามมท่ีอายุครรภ สัปดาห

เหน็บโปรเจสเตอโรนทางชองคลอดมกหรือเจลมกวันละครั้งโดยใหตั้งแตวินิจฉัยไดจนถึงสัปดาห

มีประวัติการเจ็บครรภคลอดกอนกําหนด

ฉีด αมกทุกสัปดาห หรือเหน็บโปรเจสเตอโรนทางชองคลอด มกกอนนอนวันละครั้งตั้งแตอายุครรภ สัปดาหจนถึง สัปดาห

• ไมแนะนําการให เพื่อ ในสตรีที่เจ็บครรภกอนกําหนดและ

กรณีที่ไดรับยาปฏิชีวนะแบบครอบคลุมเพ่ือรักษาภาวะ แลวไมจําเปนตองเปลี่ยนทั้งชนิดหรือขนาดของยา

ยาปองกันระบบประสาทของทารกในครรภ

ยาที่ใชคือในสถาบันที่จะใหจําเปนตองมีการกําหนดแนวปฏิบัติที่ชัดเจนมี และแนวทางการติดตามความปลอดภัยของผูปวยขณะที่ไดรับยา

ใชในอายุครรภสัปดาหเริ่มตนใหขนาดกรัมทางหลอดเลือดดําตามดวยการใหทางหลอดเลือดดําขนาดกรัมตอชั่วโมงใหนานอยางนอยชั่วโมง

เม่ือพิจารณาให เพื่อเปน แลวหากจะตองให ชนิดอ่ืนรวมดวยจะตองระมัดระวังภาวะแทรกซอนรุนแรงที่อาจจะเพ่ิมขึ้นเนื่องจากอาจไปเสริมฤทธิ์กับ

การใหฮอรโมนโปรเจสเตอโรนเพื่อปองกันการคลอดกอนกําหนด

ดังแสดงในแผนภูมิ

Page 26: The Management of Preterm Labour and Preterm Premature ...hpc.go.th/download/data/hpc5_01.pdf · The Management of Preterm Labour and Preterm Premature Rupture of Membranes เอกสารหมายเลข

40 | แนวทางเวชปฏิบัติของราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย

เอกสารอ้างอิง

1. Maternity-Tocolyticagentsforthreatenedpretermlabour

before34weeksgestation.NSWKidandFamilies,2011.http://

www.health.nsw.gov.au/policies/pd/2011/pdf/PD2011_025.pdf

2. SimhanHN,CanitisS,LockwoodCJ,BarssVA.Inhibitionofacute

pretermlabour.UpToDate2015www.uptodate.com

3. SimhanHN,BerghellaV.Pretermlaborandbirth.In:CreasyRK,

ResnikR,IamsID,LockwoodCJ,MooreTR,GreeneMF,eds.

Creasy&Resnik’smaternal–fetalmedicine:Principlesand

practice.7thed.Philadelphia:ElsevierSaunders;2014:624.

4. RoyalCollegeofObstetriciansandGynaecologists.Antenatal

corticosteroidtopreventrespiratorydistresssyndrome.Guide-

lineNo.7February2004.

5. McKinlayCJ,CrowtherCA,MiddletonP,HardingJE.Repeat

antenatalglucocorticoidsforwomenatriskofpretermbirth:

aCochraneSystematicReview.AmJObstetGynecol.2012;

206(3):187-94.doi:10.1016/j.ajog.2011.07.042.

6. MercerBM,MiodovnikM,ThumauGR,GoldenbergRL,DasAF,

RamseyRD,etal.Antibiotictherapyforreductionofinfant

morbidityafterpretermprematureruptureofthemembranes.

Arandomizedcontrolledtrial.NationalInstituteofChildHealth

andDevelopmentMaternal–FetalMedicineUnitsNetwork.

JAMA1997;278:989-95.

Page 27: The Management of Preterm Labour and Preterm Premature ...hpc.go.th/download/data/hpc5_01.pdf · The Management of Preterm Labour and Preterm Premature Rupture of Membranes เอกสารหมายเลข

การดูแลรักษาภาวะเจ็บครรภ์คลอดและถุงน�้าคร�่ารั่วก่อนก�าหนด | 41

7. GibbsRS,SchragS,SchuchatA.Perinatalinfectionsduetogroup

Bstreptococci.ObstetGynecol2004;104(5Pt1):1062-76.

8. AmericanCollegeofObstetriciansandGynecologistsCommittee

onObstetricPracticeSocietyforMaternal-FetalMedicine.

CommitteeOpinionNo.573:Magnesiumsulfateuse in

obstetrics.ObstetGynecol2013;122(3):727-8.doi:10.1097/01.

AOG.0000433994.46087.85.

9. AmericanCollegeofObstetriciansandGynecologists;Committee

onPracticeBulletins-ObstetricsNo.127:Managementofpreterm

labor.ObstetGynecol2012;119(6):1308-17.doi:10.1097/

AOG.0b013e31825af2f0.

10. CunninghamFG,LevenoKJ,BloomSL,SpongCY,DasheJS,

HoffmanBL,etal.WilliamsObstetrics.24thed.NewYork:

McGraw-Hill;2014.

11. AmericanCollegeofObstetriciansandGynecologists;Committee

onPracticeBulletins-Obstetrics.No.130:Predictionand

preventionofpretermbirth.ObstetGynecol2012;120:964-73.