Top Banner
33

Operational Excellance TH

Feb 18, 2016

Download

Documents

The first volume in Thai version
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: Operational Excellance TH
Page 2: Operational Excellance TH
Page 3: Operational Excellance TH
Page 4: Operational Excellance TH

หยิบยื่นความปลอดภัยห่วงใยกัน(Actively Caring) การหยิบยื่นความปลอดภัยห่วงใยกันหมายถึงการที่คุณมองออกไปนอกเหนือตัวคุณเองและเพื่อน

ร่วมงานของคุณ ถ้าคุณเห็นพฤติกรรมที่ไม่ปลอดภัย ขอให้ช่วยพูดออกมาและเราจะร่วมกันมั่นใจ

ได้ว่า ไม่มีใครได้รับบาดเจ็บแน่นอน!

ไม่ว่าคุณจะกำาลังเดินระหว่างสำานักงานหรือว่า

จะเดินไปทานอาหารค่ำา ช่วยนึกถึงพฤติกรรมความ

ปลอดภัยเหล่านี้ในใจด้วย:

• ไม่ควรวิ่ง

• เดินอย่างระมัดระวังและตื่นตัวเสมอ

• ระมัดระวังทางในจุดที่มองไม่เห็น เช่น ทางแยก

คอยสังเกตกระจกตรงมุมเสมอ

• จับราวบนบันไดและลิฟต์

• เมื่อเดินออกไปข้างนอกระวังสภาพอันตราย เช่น

การก้าว, น้ำา, เปลือกล้วย ฯลฯ

• มองทั้งสองด้านก่อนที่จะข้ามถนน ซ้าย ขวา ซ้าย

ไม่มีรถ ข้ามได้! เป็นต้น

อาการปวดหลังเป็นสาเหตุหนึ่งเกี่ยวกับปัญหาความ

ปลอดภัยในสถานที่ทำางาน

ปัจจัยเหล่านี้ทำาให้เกิดความเสี่ยงประกอบด้วย:

• ท่าทางที่ไม่ดี

• สภาพร่างกายที่ไม่ไหว

• กลไกของร่างกายที่ไม่เหมาะสม

• การยกของที่ไม่ถูกต้อง

การป้องกันอาการปวดหลัง:

• ออกกำาลังกายส่วนหลังให้เป็นส่วนหนึ่งของการออก

กำาลังกายเป็นประจำาของคุณ

• ลดน้ำาหนักของร่างกายบางส่วน

• ยกวัตถุให้ถูกท่าทาง

• ไม่สะพายกระเป๋าหรือถุงที่หนักบนไหล่ของคุณ

• รักษาท่าทางที่ดี

• ใช้เก้าอี้ที่หนุนหลังส่วนล่างของคุณ

• หลีกเลี่ยงการนั่งที่นานเกินไป

1

Page 5: Operational Excellance TH

ลื่น สะดุด ล้ม/หล่น เป็นสาเหตุส่วนหนึ่งของการ

ทำางานไม่ได้เกิดได้ทุกแห่งทั้งที่บ้าน ที่ทำางาน ที่อื่นๆ

เพื่อหลีกเลี่ยงอันตรายที่อาจเกิดขึ้น โปรดตระหนักถึง

สภาพแวดล้อมของคุณและช่วยสังเกตเพื่อเพื่อนร่วมทีม

ของคุณด้วย:

• ใช้เวลาของคุณใส่ใจกับที่ที่คุณจะไปไม่ทำาสิ่งอื่นๆใน

ขณะเดินทาง

• สวมรองเท้าที่เหมาะสมกับกิจกรรมที่ปรับให้เหมาะ

สำาหรับเท้าของคุณในพื้นผิวที่เดินและงานที่คุณกำาลัง

ทำา

• ขจัดอุปสรรคจากทางเดินและทำาให้ทางเดินไม่มีสิ่ง

กีดขวาง

• หยิบเก็บสิ่งที่อาจทำาให้เกิดอันตรายบนพื้นให้เข้าที่

เช่น สายที่พันกันบนพื้น

• ไม่ถือของสองมือในขณะขึ้นลงบันได

อย่าปล่อยให้ความยุ่งเหยิงทำาให้คุณบาดเจ็บ

อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์แบบพกพาอาจต้องใช้การจับ

ที่อาจทำาให้เมื่อยมือและการเคลื่อนไหวที่ซ้ำาๆบนปุ่ม

กดเล็กๆกับการเคลื่อนไหวของข้อมือที่น่าไม่สะดวก

อาการเหล่านี้สามารถนำาไปสู่โรคที่มือ ข้อมือและแขน

ได้

เมื่อใช้มือถือ:

• จับให้เป็นธรรมชาติเมื่อถืออุปกรณ์เท่าที่ทำาได้

• พักสมองทุกชั่วโมงหรือสลับไปทำากิจกรรมอื่นๆ

เปลี่ยนมือบ่อยๆ

• มองไปที่ไกลๆตาเพื่อป้องกันการปวดตา

• ไม่ทำากิจกรรมใดๆในขณะที่เดิน

• กรุณาใช้วิจารณญาณที่ดีเมื่อใช้อุปกรณ์มือถือของคุณ

2

หากปล่อยทิ้งไว้ ความเครียดอาจ

มีผลกระทบในทางลบต่อกิจกรรม

การทำางานและที่บ้าน...

Page 6: Operational Excellance TH

หากปล่อยทิ้งไว้ ความเครียดอาจมีผลกระ

ทบในทางลบต่อกิจกรรม การทำางานและที่บ้าน

แม้ว่าเราจะไม่มีทางที่จะกำาจัดความเครียดให้

ผลไปได้ก็ตาม เคล็ดลับต่อไปนี้อาจช่วยให้คุณ

จัดการกับมัน:

• วางแผนเวลาของคุณให้ดี-จัดลำาดับความ

สำาคัญของกิจกรรมที่สำาคัญที่สุดก่อนหลัง; ถ้า

งานมีมากก็พยายามแบ่งย่อยๆที่สามารถจัดการ

ได้

• รู้ตัวเองว่าสิ่งในที่คุณสามารถทำาได้จริง-ตั้ง

เป้าหมายที่คุณสามารถทำาได้เพื่อให้คุณผิดหวัง

หรือท้อแท้

• แบ่งปันในสิ่งที่คุณกังวลอยู่ – การขอความ

ช่วยเหลือถ้าคุณกำาลังมีปัญหาเป็นสิ่งที่สำาคัญ

คุณอาจจะปรึกษากับคนที่คุณไว้ใจในยามที่คุณ

ท้อแท้ได้

• หาเวลาสำาหรับตัวเอง-ใช้เวลาพักผ่อนระยะ

สั้นบ้างเมื่อคุณรู้สึกเครียดหรือเหนื่อย ยืดเส้นยืด

สายหรือออกไปเดินสั้นๆก็ได้

เรียนรู้เทคนิคการผ่อนคลายบ้าง-หายใจลึกๆ,

รู้จักประนีประนอม และเทคนิคการผ่อนคลาย

กล้ามเนื้อจะช่วยในการบรรเทาความเครียดได้

SMITH SYSTEM เพื่อเน้นถึงการเสี่ยงอันตรายและสิ่งต่างๆที่อาจเกิดขึ้นที่เกี่ยวข้องกับการขับ

ช้าๆและสาธิตว่าการใช้ 5 กุญแจของระบบสมิทธ์ (Smith System 5 Keys®)

สามารถช่วยให้คนขับขับขับช้าๆได้อย่างมีประสิทธิภาพอย่างไร และวิธีปฏิบัติที่ดี

ที่สุดเพื่อหลีกเลี่ยงอุบัติเหตุการชน

การเกิดอุบัติเหตุชนกันขณะขับช้าๆ เป็นปัญหาขององค์กร โดย

อุบัติเหตุชนที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่เป็นผลจากความสามารถในการตัดสินใจที่

ไม่ดีของคนขับ หรือจากการที่คนขับไม่ปฏิบัติตามขั้นตอน การปฏิบัติตาม

ขั้นตอนที่กำาหนดไว้ และการนำาหลัก กุญแจ 5 ข้อของระบบสมิทธ์ Smith

System 5 Keys ® มาใช้ให้ถูกต้องเป็นทางแก้ปัญหาการเกิดอุบัติเหตุ

กระจกข้างมี 2 ประเภท – เรียบ (แบน) และ โค้ง

- กระจกเรียบ ให้การมองเห็นวิวด้านท้ายของรถพ่วงของคุณ และวิวทาง

เดินรถหลังรถบรรทุกได้ดีที่สุด

- กระจกโค้งให้คุณมีมุมการมองเห็นกว้างสำาหรับวิวบริเวณด้านข้างรถ

บรรทุก และช่วยลดบริเวณจุดบอดที่มองไม่เห็นซึ่งเกิดในกระจกเรียบ

อย่างไรก็ตามภาพที่เห็นจะถูกทำาให้ผิดส่วน และดูเหมือนว่าอยู่ไกลกว่าที่

เป็นจริง

• ควรปรับที่นั่งคนขับก่อนที่คุณจะปรับกระจก

3

ขอบเขตการมองเห็นในกระจก

การปรับกระจก

Page 7: Operational Excellance TH

แสดงให้เห็นวิวส่วนที่ซ้อนกันกับด้านล่าง

ของวิวจากกระจกเรียบ วิวนี้ควรขยายให้

เห็นไปถึงตอนท้ายของรถพ่วง และควรเห็น

จนไปถึงบริเวณด้านข้างของรถพ่วง

1.มองไกล ®

ขณะที่คุณใกล้ถึงสถานีบริการ กวาด

สายตามองให้ทั่วบริเวณเพื่อดูอันตรายที่

อาจเกิดได้ และเมื่อเข้าไปในสถานี คอย

ระวังอันตรายต่างๆทั้งหมดที่ระบุไว้บนบัตร

สถานที่ มอง คิด และวางแผนล่วงหน้าถึง

ทางที่ปลอดภัยที่สุดที่จะไปยังจุดขนถ่าย

หากมีรถจอดขวาง หรือสิ่งกีดขวาง ขอให้

คนขับเลื่อนรถก่อนที่จะพยายามขับไปยัง

จุดขนถ่าย อย่าถอยหลัง ยกเว้นว่ากำาหนด

ไว้บนบัตรสถานที่

หากมีรถขวางทางไม่สามารถเข้าไปยังจุด

ขนถ่ายได้ คนขับควรรอ จัดการให้บริเวณ

ปราศจากสิ่งกีดขวาง แล้วจึงดำาเนินการต่อ

แทนที่จะพยายามถอยรถหลบสิ่งกีดขวาง

อย่างไม่ปลอดภัย

2.มองภาพโดยรอบ ®

กวาดสายตามองบริเวณโดยรอบให้ทั่ว

เสมอซึ่งอาจรวมถึงการลงจากรถและเดิน

ตรวจโดยรอบเมื่อตรวจดูภาพโดยรอบเสร็จ

แล้ว คอยระมัดระวังถึงสภาพแวดล้อมที่

เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาควรรักษาระดับ

ความเร็วให้ต่ำาที่สุด ขณะถอย เพื่อให้คุณ

กฎทั่วไปคือ

กระจกทั้งสอง

แบบ ควรถูก

ปรับให้มอง

เห็นประมาณ

20 % ของ

รถพ่วง และ

80% ของ

ถนน

• ก่อนเคลื่อนรถ คนขับควรปรับ

กระจกทุกด้าน เพื่อให้แน่ใจว่าเขามีวิว

การมอง

• เห็นด้านข้างและด้านท้ายของรถ

บรรทุกที่ดีที่สุดและปรับกระจกขณะที่

รถตรงเพื่อให้ได้ภาพการมองเห็นที่ดี

ที่สุด

• ควรดูแลกระจกให้สะอาดก่อนออก

เดินทางและหลังการเดินทางทุกครั้ง

ด้วยหากมีสภาพอากาศแย่

• กระจกเรียบ (แบน) ควรปรับให้ด้าน

ในมุมตั้งตรงของกระจกมองเห็นตัวรถ

พ่วงส่วนอื่นของกระจกควรให้คุณเห็น

วัตถุใดๆที่เข้ามาด้านข้างและด้านหลัง

รถพ่วง

• ควรปรับกระจกโค้งเพื่อให้ด้านใน

และมุมตั้งตรงของกระจกเห็นด้านหลัง

ของรถพ่วง มุมบนแนวขวางควร

4

สังเกต และ เห็นภาพโดยรอบที่เกิด

ขึ้นในขณะนั้นใช้ผู้ช่วยดูรถ เพื่อช่วยใน

การมองภาพโดยรอบ แน่ใจว่าผู้ช่วยดู

รถเข้าใจสัญญาณที่จะใช้ และอันตราย

ต่างๆที่ต้องคอยระวัง

3.เคลื่อนไหวสายตา ®

การรักษาการมองภาพโดยรอบของคุณ

เป็นสิ่งจำาเป็น อย่าจ้อง – การจ้องวัตถุ

ใดวัตถุหนึ่งอาจทำาให้พลาดการเห็นข้อ

มูลอื่นๆที่เกี่ยวข้อง การกวาดสายตามอง

ช่วยขยายบริเวณการมองเห็นโดยรอบ

ของคุณ ขณะถอยหลัง คอยกวาดสายตา

มองข้างหน้า ด้านข้าง และด้านท้าย

ตลอดเวลา (จะต้องใช้กรวยเมื่อถอยหลัง

ตามนโยบายของ EM)

4.หาทางออกให้ตัวเอง ®

อย่าปล่อยให้มือ และ เท้าควบคุม

รถของคุณแทนตา และ สติของคุณ –

การลดความเร็วเป็น “ทางออก” ของคุณ

เพื่อหลีกเลี่ยงอุบัติเหตุชนกับวัตถุที่อยู่กับ

ที่ อย่าขับใกล้เกินความจำาเป็น การถอย

หลังเป็นเรื่องยาก และมีความเสี่ยง –

ถอยในระยะเท่าที่จำาเป็น ตั้งกรวยเสมอ

เพื่อให้มีบริเวณถอยรถที่ปลอดภัย ก่อน

ถอย

5.แน่ใจว่าคนอื่นเห็นเรา ®

สบตากับคนขับรถคันอื่นหรือผู้ใดที่

อาจเข้ามาในทางเคลื่อนรถของคุณ ใช้

อุปกรณ์ให้สัญญานของคุณ –ไฟ ไฟกระ

พริบ หรือ บีบแตรเบาๆ - เพื่อให้คนอื่น

รอบตัวคุณสังเกตเห็น

หากบัตรสถานที่กำาหนดให้ถอยหลัง

ตรวจให้แน่ใจว่าสัญญาณเตือนขณะถอย

หลังใช้งานได้ และมีเสียงดังได้ยิน อย่า

ละเลยทุกรายละเอียด

5 กุญแจของระบบสมิทธ์สำาหรับ

การขับขี่อย่างปลอดภัย

Page 8: Operational Excellance TH

1.มองไกล(Aim High in Steering)• มองข้างหน้าอย่างน้อย 15 วินาที

2. มองภาพโดยรวม (Get the Big

Picture)• ทิ้งระยะตามหลังอย่างน้อย 6-8 วินาที

• มองกระจกทุกๆ 5-8 วินาที

3. เคลื่อนไหวสายตา (Keep Your

Eyes Moving)• หลีกเลี่ยงการจ้องมองวัตถุใดวััตถุหนึ่งนานเกิน

กว่า 2 วินาที

4. หาทางออกให้ตัวเอง (Leave

Yourself an Out)• สร้างพื้นที่ว่างรอบตัว

5. แน่ใจว่าคนอื่นเห็นเรา (Make

sure They See You)• สบตา ใช้อุปกรณ์ให้สัญญาณเตือน

เพื่อย้ำาและสาธิตว่าการใช้ 5 กุญแจของสมิธ ซิสเต็ม Smith System 5 Keys®

สามารถช่วยให้คนขับสังเกตเห็นอันตรายเมื่อ: มาถึงสถานีบริการ ทางเข้าสถานี

บริการ เข้าตำาแหน่งจอดที่สถานีบริการและ ออกจากสถานีบริการ

รูปต่อไปนี้ถ่ายที่สถานีบริการ และแสดงให้เห็นถึงอันตรายทั่วไปที่คนขับอาจเจอเป็น

ประจำาทุกวันคุณจะจัดการกับปัญหาอย่างไร และ กุญแจข้อใดที่จะช่วยให้คุณขจัด

อันตรายนั้นได้(เฉลยท้ายเล่ม)

- มีอันตรายใดบ้างที่คุณสังเกตเห็นในรูปนี?้- คุณจะจัดการกับอันตรายแต่ละจุดอย่างไร?- กุญแจ 5 ข้อ ข้อใดที่อาจช่วยคุณให้แก้ไขอันตรายนั้นได้?

- ทำ�ไมคนขับจึงควรมองเข้�ไปในสถ�นีบริก�รก่อนเข้�

- อะไรคือผลที่ต�มม�ห�กไม่ได้มองก่อนเข้�สถ�นี?

- ทำ�ไมคนขับจึงต้องคอยระวังลูกค้�ที่

ปั๊มหัวจ่�ยเติมน้ำ�มัน เมื่อเข้�ม�ในสถ�นี

บริก�ร?

- อะไรคือผลที่ต�มม�ของก�รไม่จัดก�ร

กับปัญห�ลูกค้�ล่วงหน้�?

- อะไรคือผลที่ต�มม�ห�กไม่ได้แก้ไขปัญห�รถที่จอดอยู่ตั้งแต่เนิ่นๆ?

5

การสังเกตเห็นอันตราย

© 2007 Smith System Driver Improvement Institute, Inc.

Page 9: Operational Excellance TH

บริเวณจุดบอดที่มอง

ไม่เห็นของรถบรรทุก

แบบฝึกหัดนี้จะช่วยให้คนขับได้มี

โอกาสเห็นและเข้าใจถึงบริเวณจุดบอด

ที่มองไม่เห็นของรถบรรทุกที่อาจเกิดขึ้น

ได้ เมื่อเครื่องมือต่างๆไม่ได้ถูกใช้อย่าง

มีประสิทธิภาพ โดยแบบฝึกหัดนี้ใช้เวลา

ประมาณ 10 – 15 นาทีในการทำา

วัตถุประสงค์ของแบบฝึกหัดนี้เพื่อสาธิต

ถึงบริเวณจุดบอดที่มองไม่เห็นที่อาจเกิด

ขึ้นบริเวณรอบตัวรถ นอกไปจากการ

ให้คำาแนะนำาของสมิธซิสเต็ม เกี่ยวกับ

การลดความเสี่ยงของโอกาสเกิดบริเวณ

จุดบอดที่มองไม่เห็น

ให้สาธิต; การปรับเบาะที่นั่งให้ถูก

ต้องมีผลต่อการมองเห็นจากห้องคนขับ

ได้อย่างไร, การปรับกระจกที่ถูกต้อง

(80/20), และการใช้กระจก (มองทุกๆ

5-8 วินาที ทุกด้านให้ทั่ว) มีผลต่อการ

มองเห็นจากห้องคนขับได้อย่างไร, สาธิต

ความจำาเป็นที่ต้องปรับ

กระจกโดยคาดเข็มขัดนิรภัย (จำากัด

การเคลื่อนไหว) สาธิตความจำาเป็นที่

ต้อง“ลงจากรถ และมอง” เมื่อถอยรถ

ทั้ง ขณะเดินหน้า และ ถอยหลัง

บทเรียน และคำาแนะนำา จาก 5

กุญแจของสมิธ ซิสเต็ม Smith System 5

Keys® คือควรปรับเบาะที่นั่งและกระจก

ก่อนถอยรถ และความจำาเป็นที่ต้อง ลง

จากรถ และมองก่อนถอยรถ (กุญแจ

2 มองภาพโดยรวม Get The Big

Picture®) นอกจากนี้ยังแสดงให้เห็นว่า

ทำาไมจึงจำาเป็นต้องมองกระจกตลอด

เวลาขณะเคลื่อนรถเพื่อให้ มองเห็นภาพ

โดยรวม (กุญแจ 3 เคลื่อนไหวสายตา

Keep Your Eyes Moving®) เมื่อคนขับ

ทราบถึงความสำาคัญนี้แล้ว จะช่วยให้คน

ขับคอยระมัดระวังระยะ (หรือเมื่อไม่มี

ระยะพอ) รอบรถบรรทุก (กุญแจ 4 หา

ทางออกให้ตัวเอง Leave Yourself An

Out®)

แผนผังนีแ้สดงถึงตำาแหน่งปลายสุดโดยประมาณของ

กรวยท่ีตั้งรอบรถบรรทุก

6

Practice Makes Perfect!

Page 10: Operational Excellance TH

ความปลอดภัยในสถานที่ชุมนุมสาธารณะ ทุกวันน้ี ผู้คนนับล้านตื่นขึ้นมา ไปที่ทำางานหรือโรงเรียนและมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคม แต่ทุกคนมักจะไม่คาดคิดถึงสิ่งที่

จะเกิดขึ้นเช่น แผ่นดินไหว ไฟไหม้ สารเคมีรั่วไหล การกระทำาของผู้ก่อการร้ายหรือภัยพิบัติอื่น ๆ ชีวิตประจำาวันนั้นเปลี่ยนแปลง

อย่างมากและผู้คนก็มีความตระหนักขึ้นมาทันทีถึงความเปราะบางของวิถีชีวิตและกิจวัตรประจำาวันของพวกเขาเอง ภัยพิบัติแต่ละ

ชนิดสามารถมีผลกระทบที่ยาวนาน และสำาหรับคนบางคนอาจจะได้รับบาดเจ็บสาหัสหรือเสียชีวิตรวมทั้งความเสียหายของทรัพย์สิน

ที่ร้ายแรงและค่าใช้จ่ายที่อาจเกิดขึ้น จึงทำาให้คนที่เข้าสู่อาคารชุมนุมสาธารณะใด ๆ จะต้องมีการเตรียมความพร้อมในกรณีฉุกเฉิน

ที่อาจเกิดขึ้นได้

ก่อนที่คุณจะก้าวเข้าไปที่ไหนสักแห่ง เริ่มต้นด้วยการ มองดูดีๆ. ว่าอาคาร

ที่เห็นอยู่ในสภาพที่ทำาให้คุณรู้สึกสะดวก

สบาย มีทางเข้าหลักที่กว้างและมีทางที่

เปิดออกไปสู่ทางหนีได้ง่าย พื้นที่ที่อยู่ด้าน

นอกโล่ง ไม่มีวัสดุที่วางขวางไว้กับอาคาร

หรือปิดกั้นทางออกหรือทางหนี

มีแผนในการสื่อสาร. ระบุญาติที่มี

ความสัมพันธ์กับคุณหรือเพื่อนที่จะให้

ติดต่อในกรณีฉุกเฉินและกรณีที่คุณอาจถูก

แยกออกจากครอบครัวหรือเพื่อน

หาสถานที่รวมพล. เลือกสถานที่รวม

พลข้างนอกเพื่อพบกับครอบครัวหรือเพื่อน

กับเพื่อนร่วมงาน ถ้ามีเหตุฉุกเฉินให้แน่ใจ

ว่าจะได้พบพวกเขาที่นั่น ซึ่งสังเกตได้จาก

ป้ายรวมพล

เมื่อคุณเข้าไปแล้ว ดูให้ดีอีกครั้ง. ค้นหาทางออกทันที เมื่อ

คุณเข้าไปในอาคารคุณควรมองหาทางหนีที่มีอยู่

ทั้งหมด บางทางออกอาจจะอยู่ข้างหน้าหรือข้าง

หลังของคุณ และเตรียมพร้อมที่จะใช้ทางออก

ที่ใกล้ที่สุดของคุณ โดยบางครั้งคุณอาจจะไม่

สามารถที่จะใช้ออกหลักก็ได้

ตรวจสอบเส้นทางออกให้ชัดเจน. ให้คุณ

แน่ใจว่าทางเดินกว้างพอและไม่ได้บดบังด้วย

เก้าอี้หรือเฟอร์นิเจอร์ และตรวจสอบเพื่อให้แน่ใจ

ว่าประตูทางออกของคุณไม่ได้ถูกปิดกั้นหรือถูก

ล่ามโซ่ ถ้ามีอย่างน้อยสองทางออกหรือเส้นทาง

ที่จะถูกปิดกลั้น รายงานสิ่งเหล่านี้ให้ฝ่ายบริหาร

จัดการและออกจากอาคารถ้าไม่ได้รับคำาร้องใน

ทันที โทรหาดับเพลิงท้องถิ่นที่จะรับเรื่องร้องเรียน

7

Page 11: Operational Excellance TH

ในช่วงสถานการณ์ฉุกเฉิน ตอบสนองทันท ีถ้าเสียงสัญญาณเตือนภัยดังขึ้น

คุณจะเห็นควันหรือไฟไหม้หรือบางอย่างที่ผิดปกติอื่น

ๆ รีบหนีออกจากอาคารทันทีตามระเบียบปฏิบัติ

ออกไปอยู่ข้างนอก! เมื่อคุณได้หนีออกไปอยู่ข้าง

นอกแล้ว คุณไม่ควรที่จะกลับไปอยู่ในสถานการณ์ใน

อาคารนั้นอีก ปล่อยให้เจ้าหน้าที่ดับเพลิงกู้ภัยดำาเนิน

การ

เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริง

ไฟไหม้ที่ไนต์คลับใน West Warwick

, Rhode Island, United States.

เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ ปี 2003 ที่มี

ผู้คนที่อยู่กว่า 100 ชีวิตและเป็นเหตุไฟ

ไหม้ที่ไนต์คลับอันดับที่สี่ในประวัติ-

ศาสตร์ของสหรัฐ ตั้งแต่ไฟไหม้ครั้งนั้น

NFPA ได้ตรากฎหมายใหม่ที่ให้มีหัวฉีดน้ำาดับเพลิงและมีการจัดการฝูงชนในไนต์คลับและสถาน

ที่จัดงานประเภทดังกล่าว บทบัญญัติเหล่านี้เป็นจุดเปลี่ยนแปลงด้านกฎหมายและมาตรฐานการ

ดูแลความปลอดภัยในที่ชุมชน

คุณรู้สึกปลอดภัยหรือไม่? อาคารนั้นแออัดหรือ

เปล่า? มีแหล่งของไฟ เช่น เทียนที่จุดอยู่ บุหรี่หรือ

ซิการ์ที่ติดไฟ ดอกไม้ไฟหรือแหล่งความร้อนอื่น ๆ ที่

อาจทำาให้คุณรู้สึกไม่ปลอดภัยหรือไม่? มีระบบความ

ปลอดภัยในสถานที่ เช่น ทางออกหลายทาง หัวฉีดและ

สัญญาณเตือนควันหรือไม่? ขอให้ฝ่ายบริหารจัดการ

ช่วยชี้แจงข้อสงสัยให้คุณ ถ้าคุณรู้สึกไม่ปลอดภัยใน

อาคารนี้ออกจากอาคารในทันที

8

Page 12: Operational Excellance TH

อิทธิพลของระดับความเสี่ยงที่ยอมรับ (Influencing Risk Tolerance) การเสริมสร้างประสิทธิผลของระบบและเครื่องมือของ SSH&E โดย ExxonMobil SSH&E Leadership and Human Factors Center of Excellence

ความเข้าใจเกี่ยวกับระดับความเสี่ยงที่ยอมรับ ความเสี่ยงที่ยอมรับคืออะไร? เรามาเริ่มต้นทำาความ

เข้าใจเกี่ยวกับระดับความเสี่ยงที่ยอมรับกันก่อนเพื่อช่วยให้คุณผู้อ่าน

ได้เห็นภาพโดยรวม ระดับความเสี่ยงที่ยอมรับนั้นเกี่ยวข้องกับการชั่ง

น้ำาหนักปัจจัยต่างๆที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจที่จะยอมรับหรือลด

ความเสี่ยงนั้นๆ แล้วปัจจัยเหล่านี้ได้การรับรู้และชั่งน้ำาหนักในใจของ

พนักงานและกลุ่มงานที่มีผลต่อพฤติกรรมความปลอดภัยอย่างไร

สิ่งที่เป็นปัญหาที่มีอิทธิพลต่อระดับ

ความเสี่ยงที่ยอมรับคืออะไร?

• ความเสี่ยงที่ได้รับจากการตัดสินใจที่

ใส่ใจหรือไม่?

•ปัจจัยอะไรที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจ

ของเราที่จะก็ให้เกิดโอกาส?

•เราเข้าใจหรือไม่ว่าทำาไมเราตัดสินใจที่

เราจะทำา?

•เราสามารถมีอิทธิพลต่อทางเลือกอื่น ๆ

ที่จะเกิดขึ้นอย่างไร?

•และอะไรคือความสัมพันธ์ระหว่างการตะ

หนักถึงสภาพอันตราย การรับรู้ความเสี่ยง

และระดับความเสี่ยงที่ยอมรับ?

ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับระดับความเสี่ยง

ที่ยอมรับได้

ประชาชนได้ข้ามความแตกต่าง

ด้านวัฒนธรรมที่มีความหลากหลาย

ของภูมิหลังการทำางานต่างๆและด้วย

ประสบการณ์ส่วนตัวที่แตกต่างกันแสดง

ให้เห็นถึงความแปรปรวนในปริมาณของ

ความเสี่ยงที่พวกเขากำาลังเตรียมที่จะ

ยอมรับในเวลางานและนอกเวลางาน.

พฤติกรรมที่ปลอดภัยและมีความเสี่ยงที่

เป็นผลมาจากกระบวนการหลายขั้นตอน

ที่รวมถึงต่อไปนี้:

1.การตระหนักถึงสภาพอันตราย

2.การรับรู้ความเสี่ยง

3.ระดับความเสี่ยงที่ยอมรับ

ตัวแบบง่ายๆที่แสดงให้เห็นถึงความ

สัมพันธ์ระหว่างการตระหนักถึงสภาพ

อันตราย การรับรู้ความเสี่ยงและระดับ

ความเสี่ยงที่ยอมรับเป็นสิ่งที่จำาเป็นเพื่อ

ลดการยอมรับความเสี่ยงส่วนบุคคลและ

กลุ่มบุคคล

ในขณะที่ระบบ SSH&Eที่มีอยู่นั้นเน้น

หลักในการตระหนักถึงสภาพอันตรายที่เ

น้นโดยตรงเกี่ยวกับการรับรู้ของความเสี่

ยงและระดับความเสี่ยงที่ยอมรับที่เป็นสิ่

งจำาเป็นสำาหรับการเพิ่มประสิทธิภาพ

นำาเข้าสู่ตัวแบบของระดับความ

เสี่ยงที่ยอมรับ (A Risk Tolerance

Model)

สภาพอันตรายคืออะไร?

•สภาพอันตรายก็คือสภาพหรือสถาน

การณ์ที่สามารถสร้างอุบัติเหตุได้

การรับรู้คืออะไร?

•กระบวนการที่จะเพิ่มความหมายของ

ข้อมูลที่ได้รับ

•ได้รับอิทธิพลจากความรู้และ

ประสบการณ์ของเรา

การรับรู้ความเสี่ยงคืออะไร?

•การตัดสินเป็นหลักว่าเราทำาเกี่ยวกับ

ลักษณะและความรุนแรงของความ

เสี่ยง โดยเฉพาะ ... อะไรจะสามารถก็

ให้เกิดทางที่ผิดได้? , สิ่งที่เกิดขึ้นร้ายแรง

อย่างไร?

•จำานวนของความเสี่ยงที่แต่ละบุคคลหรือ

กลุ่มบุคคลกำาลังเต็มใจที่จะยอมรับในการ

แสวงหาเป้าหมายบางอย่าง

พฤติกรรมจะถูกกำาหนดขึ้นโดยการรับ

รู้มากกว่าโดยความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจริง

10 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อระดับความ

เสี่ยงที่ยอมรับได้

ปัจจัยสำาคัญที่มีอิทธิพลต่อระดับความ

เสี่ยงที่ยอมรับได้

1.ประเมินค่าความสามารถหรือประสบ-

การณ์สูงเกินไป

2.คุ้นเคยกับงาน

3.ความเคร่งเครียดจากผลที่ได้

9

Page 13: Operational Excellance TH

4.การกระทำาด้วยความสมัครใจกับการถูก

ควบคุม

5.ประสบการณ์ส่วนตัวกับผลงาน

6.ค่าใช้จ่ายในการปฏิบัติตามกับไม่ปฏิบัติ

ตาม

7.ความเชื่อมั่นในอุปกรณ์

8.ความเชื่อมั่นในการป้องกันและการช่วย

เหลือ

9.กำาไรที่อาจเกิดขึ้นหรือได้รับจากการกระ

ทำา

10.ตัวแบบที่มีบทบาทต่อการยอมรับความ

เสี่ยง

เรียนรู้เพิ่มเติมเรื่องอิทธิพลของระดับ

ความเสี่ยงที่ยอมรับ

1.ใช้ดีวีดีที่แสดงถึงการตระหนักต่อระดับ

ความเสี่ยงที่ได้รับซึ่งให้ความรู้เป็นหัวข้อ

เบื้องต้น

2.ใช้คู่มือ “อำานวยความสะดวกเรื่องระดับ

ความเสี่ยงที่ยอมรับได้” ในการสร้าง

กลยุทธ์การดำาเนินงาน

3.ชักชวนพนักงานให้ผ่านการฝึกอบรมใน

แต่ละ 10 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อระดับความ

เสี่ยงที่ยอมรับได้

4.เสริมสร้างการมีส่วนร่วมของพนักงาน

โดยใช้แผ่นงานสำาหรับแต่ละปัจจัย

10

Page 14: Operational Excellance TH

ที่นี่ยังไม่ขอมีฮีโร ่... (No Hero)

การรับมือกับลูกค้า- ใช้ถ้อยคำาสุภาพ นุ่มนวล (อย่าตอบความโกรธด้วยความ

โกรธ)

- ยืนในตำาแหน่งที่ปลอดภัย (ให้พ้นรัศมีถูกทำาร้าย เช่น เกิน

1 ช่วงแขน 1 ช่วงขา)

- สอบถาม วิเคราะห์ปัญหา (ตั้งใจฟัง อย่าโต้ตอบ อย่าโต้

เถียง)

- ใส่ใจเริ่มช่วยเหลือ

- อย่าใช้คำาว่า “ไม่”หรือ “ไม่ได้”

-- เราเข้าใจสิ่งที่ คุณพี่บอก ครับ/ค่ะ

-- ขอเราดูก่อน ครับ/ค่ะว่าจะทาอะไรได้บ้าง

-- เราอยากทำาให้แต่ว่า…ระเบียบเราคือ…

-- ขอปรึกษาหัวหน้าก่อน

-- มีเบอร์ติดต่อกลับไหม ครับ /ค่ะ

ยิ้มไว้ก่อน

No hero การปฏิบัติเพื่อป้องกันถูกปล้น- ส่งเงินตามข้อกำาหนด เลือกที่/เวลานับเงิน ปิดลิ้นชัก

เครื่องเก็บเงินเสมอ ล็อกประตูตู้บูธเสมอ

- โดยปกติแล้ว ก่อนที่โจรจะทำาการปล้นจะต้องทำาการ

สำารวจสถานที่จะเข้าปล้นว่ามีโอกาส/ความเสี่ยงมากน้อย

เพียงใด ทักทายลูกค้าให้ รู้ว่าเราเห็นเขา เช่น สวัสดีครับ/

ค่ะ ไทเกอร์ มาร์ท….

- การสื่อสารให้โจรได้รู้ว่าสถานีบริการแห่งนี้มีระบบการ

ป้องกันอย่างไร? ตลอดจนคุณโจรจะได้เงินสด

11

“หลี่กเลี่ยงการเผชิญหน้า” ประมาณเท่าใด? จึงมีความจำาเป็นอย่างยิ่งเพื่อเป็นการ

ลดแรงจูงใจในการทำาการปล้น

- แถบวัดความสูง (หน่วยเป็นฟุต) ติดที่ขอบประตูทางเข้า

เพื่อกะความสูงคนร้าย

- ข้อความที่ใช้ลดแรงจูงใจ ได้ แก่ 1) สถานีบริการแห่งนี้

มีบนทึกวีดีโอวงจรปิดตลอด 24 ชั่วโมง 2) พนักงานเก็บ

เงินสดไว้ในเครื่อง ไม่ เกิน 1,000 บาท เท่านั้น จึงสมควร

ติด โปสเตอร์ หรือรูปภาพอื่นๆ ที่ใช้เตือน ในตำาแหน่งที่

เหมาะสม

- ตรวจสอบกล้องวงจรปิด ถ้าเสียหรือชำารุด แจ้งผู้จัดการ

เขตแล้ว แจ้งซ่อมทันที

- อย่าพกของมีค่า เช่น มือถือ ใส่ สร้อยทอง นาฬิกาหรู

กระเป๋าเก็บเงิน ล่อตาโจรขณะทำางาน

การปฏิบัติระหว่างถูกปล้น- เมื่อมีการปล้นที่สถานี หน้าที่ของท่านคือ ป้องกันไม่ ให้

มีความรุนแรง

- การกระทาตัวเป็นพระเอก อาจเป็นความกล้าหาญแบบ

โง่ ๆ หรืออาจเสียชีวิต ปฏิบัติกับโจรด้วยความระมัดระวัง

และให้ความร่วมมือเต็มที่

- อยู่ในความสงบ ทำาตามที่บอกให้ เร็วเท่าที่ทำาได้ การ

ปล้นที่ใช้ เวลานานจะเพิ่มความเครียดให้ โจร และเพิ่ม

อันตรายกับตัวท่านเอง

- อย่ามีการเคลื่อนไหวทันทีทันใด หรือไม่ คาดคิด ถ้าต้อง

เคลื่อนตัว หรือคาดว่าจะมีผู้จะมา ให้ แจ้งโจรทราบล่วง

Page 15: Operational Excellance TH

หน้าปกติ แล้วโจรจะอยู่ในสภาวะตื่นเต้น เครียด ซึ่งอาจ

ทำาให้ สถานการณ์ รุนแรงได้ ถ้าตกใจ

- เมื่ออยู่ในเหตุการณ์ ให้จำารูปพรรณสัณฐานของโจร

ความสูงของโจร โดยเทียบกับแถบขีดความสู ง (Height

Indicator) ที่ตดบริเวณของประตูทางเข้ามาร์ทและเขียน

รายละเอียด รูปพรรณสัณฐานทันทีหลังการปล้น เมื่อ

เขียนละเอียด จะช่วยจับคนร้ายเร็วขึ้นอย่าปรึกษาหรือ

เปรียบเทียบข้อมูลกับพยานคนอื่น ๆ เพราะอาจทาให้

ตำารวจได้ ข้อมูลที่ผิด ๆ ไป ให้ ตรวจสอบแถบความสูง

ด้วยตลับเมตรว่า ถูกต้อง

- โทรเรียกตำารวจทันทีที่โจรไปแล้ว อย่าวางโทรศัพท์

จนกว่าตำารวจบอกให้ วางได้ และแจ้ ง ผู้จัดการสาขา

ทันทีหลังแจ้งตำารวจ

- อย่าไล่ตามโจรเพราะโจรจะทาอันตรายคนที่ไล่ตาม ให้

เฝ้าดูโจรจนกระทั่งหนีไป และจดเบอร์รถและยี่ห้อรถที่ใช้

พร้อมจดเส้นทางที่โจรหนีด้วย

การปฏิบัติหลังจากที่ถูกปล้น- ห้ามตาม อย่าออกนอกประตู

- หลังโทรเรียกตำารวจ ให้โทรหาผู้จัดการสาขา SM, TM

- เก็บหลักฐานรอยนิ้วมือไว้ อย่าให้ ใครแตะต้องสิ่งของที่

โจรสัมผัส

- รักษาวีดีโอเทปหรือไฟล์ดิจิตอลที่ถ่ายไว้

- ขอร้องให้พยานอยู่ที่สถานีเพื่อรอตำารวจมาสอบ

ตัวอย่างการฝึกซ้อมกรณี 1 ปล้น เด็กปั๊ม หน้าลาน (ไม่มีเงินติดตัว) และโจร

ยอมไป

1) เซฟตี้กัปตัน (สวมบทเป็นโจรห้าร้อย) ฝึกซ้อมบท

สนทนา กรณีมีโจรปล้น กับพนักงานเติมน้ำามัน ทยอย

12

ปฏิบัติการ ยิ้มแฉ่ง(อย่าสู้ฟัด)

ซ้อม(ให้น่วม) ทีละคน ให้ทุกคนฝึกซ้อมพูดจริง โดย

เริ่ม คนที่อยู่กะดึกก่อน

โจร - เฮ้ย! ถ้ามึงยังไม่อยากตาย เอาเงินมาให้หมด เร็วๆ !

พนักงาน – ยอมแล้วๆ (ให้ยกมือขึ้นด้วย) เงินผม/หนู ส่งให้

หัวหน้าไปหมดแล้ว (พูดด้วยสำาเนียงยินยอม สีหน้า แววตา

ให้ดูน่าเมตตา)

โจร - กูไม่เชื่อ ไหน เปิดกระเป๋า ดูซิ

พนักงาน - ได้ ครับ/ค่ะ ได้ครับ/ค่ะ (ให้ความร่วมมือโดยดี

เช่น ล้วง/เปิดกระเป๋า/เปิดลิ้นชักให้ดูแล้วยกมือขึ้นเหมือนเดิม

(พนักงานไม่ควรพกของมีค่า เช่น กระเป๋าเงิน มือถือ สร้อย

ต่างหู ทองคำา นาฬิกาติดตัว)

โจร - แม่งโว้ย/อะไรวะ บริษัทใหญ่โต ไม่มีเงิน เลยหรือวะ

พนักงาน - ขอโทษนะพี่ ผม/หนู เพิ่งเข้ามาทำางาน อย่าทำา

อะไรผม/หนู เลยนะ ครับ/ค่ะ

โจร – ผลักพนักงานแล้วขับออกไป

ทุกกรณีพนักงานอย่าตาม โจรไปแล้วจึงรีบโทรหาผู้จัดการ ผู้

จัดการ/พนักงานแจ้ง ตำารวจ

กรณี 2 ปล้นหน้าลาน ตู้บูธ (โจรได้เงินบางส่วนแล้ว หนีไป)

โจร - เฮ้ย! ถ้ามึงยังไม่อยากตาย เอาเงินมาให้หมด เร็วๆ !

พนักงาน – ยอมแล้ว ยอมแล้ว (ให้ยกมือขึ้น ด้วย) เดี๋ยว ผม/

หนูเปิดลิ้นชักเครื่องเก็บเงินให้ ครับ/ค่ะ

โจร - แม่งโว้ย/อะไรวะ บริษัทใหญ่โต ไม่มีเงิน แค่.... บาท เอง

หรือวะ มึงเอามาไวๆ (ถ้าไม่ตระหนก ให้ความร่วมมือ โจรได้

เงินไป ก็จะรีบหนีออกไป

ที่สำาคัญพนักงานต้องส่งเงินตามข้อกำาหนดเพื่อลดโอกาสที่

โจรจะเขากลับมาอีก

Page 16: Operational Excellance TH

13

กรณี 3 ปล้นในมาร์ท โจรยอมไป หรือไม่ยอมไป บังคับให้

เปิดตู้เซฟตี้

โจร - เฮ้ย! ถ้ามึงยังไม่อยากตาย เอาเงินมาให้หมด เร็วๆ !

พนักงาน – ยอมแล้วๆ (ให้ยกมือขึ้นด้วย) เดี๋ยว เปิดลิ้น ชัก

เครื่องเก็บเงินให้ ครับ/ค่ะ

โจร - แม่งโว้ย/อะไรวะ บริษัทใหญ่โต ทำาไมมีเงินแค่.... บาท

เองหรือวะ มึงเอามาไวๆ

(ถ้าไม่ตระหนก ให้ความร่วมมือ โจรได้เงินไปแล้วก็จะรีบหนี

ออกไป – ที่สำาคัญพนักงานต้อง ส่งเงินตามข้อกำาหนดเพื่อ

ลดโอกาสที่โจรจะเข้ามาอีก)

กรณีถ้าโจร ไม่ยอมไป ......

โจร - เฮ้ย! มึงเอาเงินจากตู้เซฟ ออกมาด้วย เร็วๆ! (ต้องมี

สติ๊กเกอร์ครบ เช่นพนักงานไม่มีกุญแจฯ ส่งเงินตามกำาหนด)

พนักงาน - ขอโทษนะพี่ กุญแจ อยู่กับผู้จัดการครับ/ค่ะ

(พนักงานไม่ควรพก ของมีค่า ล่อตาล่อใจโจร ติด ตัว)

โจร - ปากแข็งอีก เดี๋ยวกูแทงไสไหลเลย มึงอยากลองดี ใช่

ไหม

No Hero

พนักงาน - พี่จะเอาอะไร เอาไปเลย ผม/หนู เพิ่งเข้ามา

ทำางาน กุญแจ อยู่กับผู้จัดการจริงๆนะ ครับ/ค่ะ

โจร – แม่งโว้ย! เซ็งเป็ด แล้ววิ่งออกไป

ทุกกรณี พนักงานอย่าตาม โจรไปแล้วให้โทรหาผู้จัดการ

โดยผู้จัดการ/พนักงานแจ้งตำารวจ

ทุกกรณี พนักงาน อย่าตาม จนโจรไปแล้วให้โทรหาผู้

จัดการ ผู้จัดการ/พนักงานแจ้งตำารวจ

ขอให้ทุกท่านช่วยกรุณาทบทวนดังต่อไปนี้เสมอ

1. ทบทวนการรับมือกับลูกค้า หลีกเลี่ยงการเผชิญหน้า

2. ทบทวนการปฏิบัติกรณีถูกปล้น

3. และให้เซฟตี้กัปตันซ้อมบทสนทนา กรณีถูกปล้น กับ

พนักงานทุกคน ทีละคน โดยเริ่ม

โดยเริ่มจากจากพนักงานใหม่ และพนักงานกะกลางคืน

ก่อนแล้วจึงพนักงานคนอื่นๆ

Respond Calmly and Smile.

Page 17: Operational Excellance TH

Let’s exercise. วิธีการออกกำาลังกายบรรเทาความเครียด

การออกกำาลังกายสามารถเป็นประโยชน์ต่อสุขภาพทางด้านจิตใจหรืออารมณ์ของคุณ เมื่อต้องเผชิญกับ

ความเครียดการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นในร่างกายเพื่อเตรียมความพร้อมสำาหรับการออกกำาลังกาย (เรียกว่าการ

ต่อสู้หรือหนีการตอบสนอง) การออกกำาลังกายการตอบสนองที่มีเหตุผลที่สุดและเป็นประโยชน์ต่อสถานการณ์

ความตึงเครียดลดระยะเวลาและความรุนแรงของการตอบสนองต่อความเครียด มันช่วยให้ร่างกายกลับสู่

สภาวะที่ผ่อนคลายและมีความสมดุล การออกกำาลังกายที่ได้รับการเรียกตัวเองปลอบโยนของธรรมชาติ

เคล็ดลับการออกกำาลังกายเพื่อการจัดการความเครียด• การออกกำาลังกายในตอนท้ายของวันจะช่วยกำาจัดความเครียดที่สร้างขึ้นมาทั้งวันได้

เช่น โยคะ แอโรบิก นวด กีฬาต่างๆ เป็นต้น

• ออกไปเดินเล่นเพื่อที่จะหยุดพักและวางปัญหาเอาไว้ก่อน เพราะเมื่อสมองโล่งแล้วการ

แก้ปัญหาที่ดีย่อมได้เสมอ

• หลังจากการนั่งเป็นเวลานานในเวลาทำางาน ลองยืดเส้นยืดสายสักนิด ขยับใบหน้า

ไหล่ คอสักหน่อยจะช่วยคุณได้ค่อนข้างดีทีเดียว

• หลีกเลี่ยงกิจกรรมการออกกำาลังกายเพื่อการแข่งขันบ้าง เพราะอาจทำาให้คุณจริงจัง

มากเกินไป

14

HealthyroadsTM

Page 18: Operational Excellance TH

การจัดการกับสภาพการทำางานที่มีความร้อน(Heat Stress)โดย คู่มือ “Electronic SH&E Work Practices and Guidelines Manual”

การทำางานในช่วงอากาศร้อนหรือในพื้นที่ร้อนนั้น ทุกคน

ควรมีการวางแผนและปฏิบัติเพื่อการพิจารณาปัจจัยเสี่ยงที่

ก่อให้เกิดโรคจากความร้อนและข้อควรระวังด้วย โดยเนื้อหา

ต่อไปนี้มีวัตถุประสงค์ที่่จะให้คำาแนะนำาแก่พนักงานและผู้รับ

เหมาที่เกี่ยวข้องกับผลกระทบของสภาพการทำางานในความ

ร้อน เพื่อที่ทุกคนจะได้ตระหนักถึงปัญหาที่เกิดจากความร้อน

และวิธีการควบคุมที่มีอยู่เพื่อลดความเสี่ยงได้

ความเครียดที่เกิดจากความร้อน

ของร่างกายจะเกิดขึ้นเมื่ออุณหภูมิโดย

รอบและทางกายภาพ(ซึ่งรวมอุปกรณ์

ป้องกันส่วนบุคคล (PPE) ด้วย) รวม

ทั้งอัตราการทำางานซึ่งเกี่ยวข้องกับ

ความสามารถของร่างกายในการรักษา

อุณหภูมิให้ปกติที่ประมาณ 37 องศา

เซลเซียส

อุณหภูมิสภาวะแวดล้อมที่รวมด้วย

องค์ประกอบของอุณหภูมิ ความชื้น

การหมุนเวียนของอากาศและการแผ่

ความร้อน. การเคยชินกับสภาพ (คือ

ความสามารถที่จะทนต่อผลกระทบ

สภาพงานในที่ที่มีความร้อน)เกี่ยวข้อง

กับการปรับเปลี่ยนสภาพทางสรีรวิทยา

และทางด้านจิตใจที่เกิดขึ้นในแต่ละ

คนโดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงสองสาม

สัปดาห์แรกของการสัมผัสกับสภาพ

แวดล้อมที่ร้อน

โดยแต่ละคนเป็นส่วนสำาคัญใน

การป้องกันโรคที่เกิดจากความร้อน

พนักงานทุกคนควรทำาความเข้าใจเรื่อง

สภาวะร่างกายเมื่อเผชิญกับความร้อน

ปัจจัยเสี่ยง อาการ มาตรการป้องกัน

และวิธีการปฐมพยาบาล และควร

สื่อสารสิ่งที่ตระหนักได้ในเรื่องนี้หรือ

ถ้ามีอาการควรติดต่อผู้บังคับบัญชาได้

และนอกจากนี้ก็เป็นสิ่งสำาคัญที่จะรู้และ

ทำาความเข้าใจว่าสภาพของร่างกายเมื่อ

ทำางานในที่ร้อนเป็นจุดตั้งต้นสู่การบาด

เจ็บประเภทอื่น ๆ เนื่องจากการตื่นตัวที่

ลดลง

ข้อควรระวังด้านความปลอดภัย

และสิ่งแวดล้อม: ความล้มเหลวในการตระหนักถึงและ

การควบคุมการสัมผัสกับความเครียดที่

เกิดจากความร้อนอาจเป็นผลทำาให้เกิด

การบาดเจ็บส่วนบุคคลได้

กิจกรรมการทำางานที่มีความเสี่ยงสูง

ได้แก่ งานความความต้องการทางด้าน

ร่างกาย (เช่น การอับของอากาศที่ร้อน

ในพื้นที่ทำางานที่จำากัด การสร้างนั่งร้าน

การขุดโดยใช้คน การใช้ฉนวนกันความ

ร้อนของอุปกรณ์ที่เกี่ยวกับกระบวนการ

ให้ความร้อน ฯลฯ )

การทำางานขณะที่สวมใส่เสื้อผ้าที่

ป้องกันด้านใน (เช่น ชุดกระดาษ ชุด

เสื้อกันฝน เกียร์บังเกอร์ เครื่องป้องกัน

ร่างกายระดับ A ถึง D ฯลฯ),ทำางานใน

ขณะที่สวมใส่เครื่องป้องกันระบบทาง

เดินหายใจ,การทำางานในที่ที่มีการ

ห่อหุ้ม (เช่นใยหิน ตะกั่ว การทำาลาย

ที่มีฤทธิ์กัดกร่อน ฯลฯ ),การทำางานใน

บริเวณที่อุปกรณ์มีการแผ่ความร้อนสูง

(เช่น ท่อไอน้ำา หม้อไอน้ำา เตาเผา ฯลฯ)

มาตรการควบคุมทั่วไป: ตัวเลือกการควบคุมสภาวะการ

ทำางานในที่ร้อนนั้นรวมถึงการใช้การ

ควบคุมทางวิศวกรรมเป็นสิ่งสำาคัญใน

อันดับแรก ตามด้วยการปฏิบัติในการ

บริหารและการใช้งานอุปกรณ์ป้องกัน

ส่วนบุคคล(PPE) ปัญหาคที่เกิดจาก

ความร้อนควรได้รับการพิจารณาก่อน

ที่งานจะเริ่มต้นเพื่อให้แน่ใจว่ามีการ

วางแผนการควบคุมความเหมาะสม

สำาหรับอุปกรณ์ที่จะใช้

การควบคุมทางวิศวกรรม: สภาพที่เกิดจากความร้อนอาจจะ

ลดลงได้โดยการปรับปรุงให้เหมาะสม

บางส่วนหรือทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับทาง

วิศวกรรมดังต่อไปนี้:

15

Page 19: Operational Excellance TH

-อุปกรณ์ป้องกันที่เกี่ยวกับ

กระบวนการ (ที่กำาจัดความร้อนเผา

ไหม้ที่อาจเกิดและลดภาระความร้อน

ที่แผ่ออกมา)

-เพิ่มพัดลมระบายอากาศและ

ทำาความเย็นหรือเครื่องถ่ายเทอากาศ

-ติดตั้งที่ป้องกันการแผ่รังสีความร้อน

-ติดตั้งเครื่องปรับอากาศแบบพก

พาในสถานที่หรือหน่วยงานในพื้นที่

เฉพาะเจาะจง (เช่น พื้นที่จำากัด ส่วน

ที่เป็นระบบปิด ฯลฯ)

-เครื่องป้องกันและลดแสงแดด

การติดตามตรวจสอบและการ

ควบคุมต่อไปนี้อาจช่วยลด

ภาระงานที่เกิดจากความร้อน

ได้:-วางแผนสำาหรับสภาพที่เกิดจากการ

ทำางานโดยในแต่ละวันถ้าเป็นไปได้

ควรมีช่วงเวลาสำาหรับรับความเย็น

-หมุนเวียนพนักงานที่ทำางานที่มีความ

เสี่ยงสูง

-ใช้เวลาพักที่กำาหนดไว้ในพื้นที่เย็น

และดื่มเครื่องดื่มหรือน้ำามากๆ

-วางแผนการทำางานเพื่อให้แน่ใจว่า

ใช้เวลาขั้นต่ำาในการใส่เสื้อผ้าที่ใช้

ป้องกัน

-ตั้งเครื่องดื่มไว้ที่สถานีงาน

-PPE ที่ช่วยในการบรรเทาสภาวะที่

เกิดจากความร้อน

อุปกรณ์การป้องกันส่วนบุคคล(PPE):

อาจจะถูกนำามาใช้เมื่อต้องการควบ

คุมทางวิศวกรรมและการบริหารโดยได้

รับการพิจารณาและพบแล้วว่าจะ

ไม่ทำาให้เกิดการดำาเนินงานที่ไม่สม-

บูรณ์ และอาจจัดให้มีการบรรเทาที่

จำาเป็นดังต่อไปนี้:

เสื้อเย็นที่มีแพ็คน้ำาแข็งหรือเจลที่เป็น

แพ็ค

ปลอกคอเย็น

เสื้อกั๊กเย็น Vortex (คอและศีรษะ)

* หมายเหตุ: เทคโนโลยี Encapsula-

tion ในเสื้อผ้ามีประสิทธิภาพมาก แต่

อย่างไรก็ตามยังคงมีความกังวลมาก

ขึ้นสำาหรับอากาศที่ใช้สำาหรับระบาย

ความร้อนจะต้องมีใช้อากาศที่หายใจ

ได้เกรด D หรืออากาศที่ถูกอัดด้วย

ระบบกรองอากาศที่ได้รับการรับรอง

คาร์บอนมอนอกไซด์ ไอน้ำาและน้ำามัน

สรุปแล้วเสื้อเย็น (Cool vests) ได้รับ

การแนะนำา

การฝึกอบรม: ผู้บังคับบัญชาต้องให้ความมั่นใจ

ว่าพนักงานมีการฝึกอบรมที่เหมาะ

สมด้านผลกระทบของความเครียด

ที่เกิดจากความร้อนและขั้นตอนการ

ปฐมพยาบาล ต่อไปนี้จะเป็นหลักสูตร

การฝึกอบรมของเอกซอนโมบิลและ

รายงานโดยตรงอื่น ๆ (หลักสูตรคล้าย

ๆ กันในที่แนะนำาสำาหรับผู้รับเหมา):

-ขั้นตอนของการจัดการสภาพการ

ทำางานที่เกิดจากความร้อน (Heat

Stress Procedure)

-ตัวแบบ TRACCESS หรือ Mocking-

bird ที่มีหรือในคู่มืออิเล็กทรอนิกส์ (e-

manual) สำาหรับการฝึกอบรมเพิ่มเติม

-ผลกระทบที่เกิดจากทางการแพทย์

ส่วนบุคคลด้วย (เช่นโรคเบาหวานโรค

ความดันโลหิตสูง ฯลฯ)

-ผลของการใช้ยา (เช่น ความดันโลหิต

แพ้ระคายเคือง ฯลฯ)

ความรับผิดชอบของแต่ละส่วน: เริ่มจากพนักงานทุกคนมีความรับผิด

ชอบที่จะทำาความคุ้นเคยกับสัญญาณ

เตือนภัยล่วงหน้าจากสภาวะที่เกิดจาก

ความร้อนในตัวเองและเพื่อนร่วมงาน

ของพวกเขาและผู้บังคับบัญชาควรได้

รับการแจ้งเตือนทันทีหากมีความ

กังวลเกิดขึ้นในขณะที่ทำางานในสภาพ

แวดล้อมที่ร้อน

16

Page 20: Operational Excellance TH

ความรับผิดชอบ:

หัวหน้าแผนกมีความรับผิดชอบในการตรวจ

สอบ:

-ขั้นตอนที่ยังทำางานอยู่นั้น พนักงานได้รับ

การอบรมความรู้เกี่ยวกับการจัดการสภาพการ

ทำางานในความร้อนอย่างน้อยหนึ่งครั้งเมื่อได้รับ

มอบหมายหรือตามที่ต้องการ

-การควบคุมที่เหมาะสมเพื่อลดภาระงานที่เกิด

จากความร้อนในสถานที่ปฏิบัติงาน

หัวหน้าพนักงานมีความรับผิดชอบในการ

ตรวจสอบ:

-ขั้นตอนและคู่มือแนะนำาในเรื่องนี้ได้มีการ

ทำาความเข้าใจและนำามาใช้เป็นส่วนหนึ่งของ

งาน Pre-Job SPSA (Safe Performance Self

Assessment)

-พนักงานเข้าใจว่าเงื่อนไขทางการแพทย์ส่วน

บุคคล (เช่นเบาหวานความดันโลหิตสูง ฯลฯ)

และ หรือยา (ระคายเคืองเช่นความดันโลหิต

ฯลฯ) อาจเพิ่มความไวต่อความร้อนและก่อให้

เกิดความเจ็บป่วยเนื่องจากความร้อนได้

-มีเครื่องดื่มเพียงพอ เช่น น้ำาหรือเครื่องดื่ม

ชูกำาลัง (Gatorade) และสามารถเข้าถึงได้ง่าย

สำาหรับพนักงานทุกคน ผู้รับเหมาและผู้เข้าชมที่

หน้างาน

กลุ่มอาการที่เกิดจากความร้อนและขั้นตอนการปฐม

พยาบาลเบื้องต้น

โรคตะคริวความร้อนอาการที่อาจเกิดขึ้น ได้แก่ ตะคริวหรือปวดที่กล้ามเนื้อโดยเฉพาะที่หน้า

ท้องและขา เกิดจากการสูญเสียน้ำาและเกลือแร่ทางเหงื่อที่มากเกินไป

การดื่มเครื่องดื่ม เช่น เกลือแร่ สามารถลดความรุนแรงของอาการเหล่า

นี้ได้

โรคเพลียความร้อน อาการที่แสดงออก ได้แก่ เมื่อยล้า เวียนศีรษะ อ่อนเพลีย และหน้า

มืดซึ่งเกิดจากการรับปริมาณเครื่องดื่มที่ไม่เหมาะสม คนที่เป็นอาจเกิด

จากร่างกายที่ต้องอยู่ในสภาพแวดล้อมที่มีอุณหภูมิสูงจนทำาให้อุณหภูมิ

ในร่างกายสูงทำาให้ร่างกายขาดน้ำาและเกลือแร่ จนรู้สึกวิงเวียน หน้ามืด

ปวดหัว หรือจนกระทั่งอาจเป็นลม

ผู้ป่วยควรนอนลง (ยกเท้าสูงด้วยถ้ารู้สึกวิงเวียน) ได้รับเครื่องดื่มมาก

พอและพักผ่อนในที่เย็น ถ้าอาการยังคงตัวหรือแย่ลง ควรนำาไปส่งแพทย์

โรคลมความร้อน เป็นสถานการณ์ฉุกเฉินที่การดูแลทางการแพทย์เป็นสิ่งจำาเป็นเร่งด่วน

ซึ่งสังเกตได้ดังนี้

-อุณหภูมิของร่างกายสูงมาก (40 องศาเซลเซียสหรือสูงกว่า)

-ผิวแห้ง ร้อน (กลไกเหงื่อไม่สามารถรับได้)

-ชีพจรเต้นอย่างรวดเร็ว

-อาการวิตกกังวล สับสน เพ้อ ชัก หรือถึงขั้นอาการไม่รู้สึกตัว (Coma)

17

Page 21: Operational Excellance TH

สิ่งที่ควรทำา:-พาผู้ป่วยออกจากพื้นที่ที่มีความร้อน

-ทำาให้ผู้ป่วยเย็นขึ้นโดยหลายวิธีเหล่านี้:

1. นำาไปที่ห้องปรับอากาศ

2. เปิดพัดลมระบายแรงๆ

3. แช่เสื้อผ้าในน้ำาเย็น

-แล้วนำาไปพบแพทย์ทันที

สิ่งที่ไม่ควรทำา:-ให้เครื่องดื่มหรือยา

-ใช้น้ำาเย็นหรือน้ำาแข็งโดยไม่อนุญาตให้ผู้

ป่วยได้รับความเย็นจัดในทันที โดยให้เขา

เริ่มที่จะสั่น ขนลุก และอุณหภูมิสูงขึ้นทีละ

ระดับ

คู่มือแนะนำาเรื่องความเครียดที่เกิดจากความร้อน: คู่มือแนะนำานี้ได้รับการพัฒนาเพื่อให้เกิดวิธีการเชิงรุกในการจัดการ

กับปัญหาที่ก่อให้เกิดความเครียดจากความร้อน แผนภาพการ

ไหล(Flow diagram) ได้แนะนำาเป็นสามระดับที่แตกต่างกัน โดยผู้ใช้

เพียงทราบอุณหภูมิของอากาศภายนอกและขอบเขตงานที่จะใช้ในคู่มือ

เท่านั้น

ระดับที่ใช้จะอยู่บนพื้นฐานของอุณหภูมิของอากาศแวดล้อม

สมมติว่าความชื้นสัมพัทธ์> 80% กับภาระทางความร้อนที่แผ่รังสีสูง

(แสงแดด) ตามแบบฉบับของสภาพอากาศในคาบสมุทร

18

Page 22: Operational Excellance TH

Stuck means STOP ถ้าติดก็หยุดเลยดีกว่า

เมื่อเชือกที่ใช้เริ่มติดแล้ว หยุด

เถอะครับ•จะเป็นอะไรหรือไม่ถ้าเราฉุดลาก

เชือกนี้ให้หนักกว่าเดิม?

•อะไรที่เลวร้ายจะเกิดขึ้นถ้าเชือกที่

เราดึงถูกับบางสิ่งบางอย่างและเรายัง

ดึงมันแรงๆอีก?

•จะมีใครที่อยู่ข้างใต้เราหรือไม่ที่จะ

โดนเมื่อของตกและถูกขวางจากอุปก

รณ์อื่นๆด้วยด้วย?

•ทางที่เราจะใช้ขนวัสดุขึ้นนั้นไม่มีสิ่ง

กีดขวางหรืออุปสรรคที่ยุ่งเหยิงแล้ว?

“การดึงหรือดันอะไรที่ยากกว่า

เดิมสามารถนำามาซึ่งความเสี่ยง

ได้ ทั้งคนและอุปกรณ์อาจได้รับ

บาดเจ็บหรือเสียหายได้”

เมื่อคุณรู้สึกเริ่มติดแล้ว หยุด

เถอะครับ•จะเป็นอะไรหรือไม่ถ้าเราดึงแล้ว

มันยากกว่าเดิม?

•จะเกิดอะไรขึ้นอย่างร้ายแรงถ้า

เครื่องมืออันนี้ล่วงหล่น?

•เรามีเครื่องมือที่เหมาะสมสำาหรับ

งานนี้หรือไม่

•เราได้ผ่านการฝึกอบรมในการใช้

เครื่องมือที่แตกต่างกันที่จะทำาให้

งานนี้มีความปลอดภัยกว่าหรือไม่?

•เราควรจะขอความช่วยเหลือเลย

ดีหรือไม่? และถ้าทำางานนี้ต่อจะ

ปลอดภัยหรือไม่?

การทุบหรือตอกที่ยากขึ้นถึง

เวลาแล้วที่จะต้อง หยุดเถอะ

ครับ•จะเป็นอะไรหรือไม่ถ้าเราทุบหรือตอก

แล้วมันยากขึ้นและควรจะตอกต่อไป

หรือไม่?

•อะไรเลวร้ายที่จะเกิดขึ้นถ้าเรายิ่งตอก

ยากขึ้นเรื่อยๆ?

•ค้อนที่ใหญ่กว่าเป็นเครื่องมือที่เหมาะ

สมสำาหรับงานนี้แล้วหรือไม่ ถ้าใช่อะไร

คือความเสี่ยงใหม่ที่จะเกิดขึ้น? แล้วมี

เครื่องมือที่ดีกว่านี้อีกหรือไม่?

•ฉันควรจะขอความช่วยเหลือหรือ

เปล่า?

“การผลักหรือดึงอะไรที่ยากขึ้น

อาจส่งผลให้เกิดความเสี่ยงได้”

“การใช้ค้อนที่ใหญ่กว่าสามารถ

สร้างความเสี่ยงใหม่ให้คุณได้”

ใช้เวลาสักนิดที่จะ ประเมิน วิเคราะห์ และปฏิบัติ

19

Page 23: Operational Excellance TH

STOP AND THINK

5KeysXoverP 5 กุญแจที่จะช่วยไม่ให้เกิดน้ำามันผสม (Crossover) ได้

20

พยายามคิดถึงสิ่งต่างๆเหล่านี้ให้เป็นส่วนหนึ่งของคุณ-ใช้ SDC แล้วทำาการปากย้ำามือชี้ (Point Touch Tell) หลายๆครั้งและเติมช่องในใบ SDC ให้ครบทุกช่อง

-ถ้าพบป้ายผลิตภัณฑ์ที่ผิด ให้หยุดการส่งตามนโยบายทันที

-ไม่วุ่นวายใจและไม่เชื่อมั่นอะไรมากเกินไป

-รายงานปัญหาหรือเหตุการณ์ทั้งหมดที่เกิดขึ้นกับเจ้าหน้าที่ในทันที

การทำาปากย้ำามือชี้ (Point Touch Tell) หลายๆครั้งนั้นหมายความว่าให้คุณตรวจสอบ API และป้ายผลิตภัณฑ์ที่จุดเติมกับใบ

SDC ให้เรียบร้อย

หยิบยื่นความปลอดภัยห่วงใยกัน (Actively Caring) คือการที่เราช่วยกันเตือนทั้งตัวเราเองและคนรอบข้างเมื่อเห็นเหตุการณ์ที่มี

ความเสี่ยงและมั่นใจเสมอว่าคุณสามารถทำาให้ไม่เกิดน้ำามันผสมได้ด้วย 5KeyXoverP

ใช้ 5 กุญแจต่อไปนี้ตลอดเวลากุญแจที่ 1 ตรวจดู (Check) – ที่หน้างาน

กุญแจที ่2 วางแผน (Plan) – SDC ใบนำาเติมผลิตภัณฑ์

กุญแจท่ี 3 ทำาหลายๆครั้ง (Multiple) – ปากย้ำามือชี้ (Point Touch & Tell) หลายๆครั้ง

กุญแจที่ 4 ตรวจสอบให้ถูก (Verify) – SDC ใบนำาเติมผลิตภัณฑ์ให้เรียบร้อย กรอกข้อมูลให้ครบทุกช่อง

กุญแจที ่5 รายงาน (Report) – ปัญหาที่เกิดตามลำาดับและหยุดส่งผลิตภัณฑ์ทันที

“เราสามารถช่วย

กันลดการเกิด

น้ำ�มันผสมได้”

Page 24: Operational Excellance TH

Let’stourin our

Excellent Activities

คุณอิทธิพล Fleet Supervisor at ESSO

มาเยี่ยมหน่วยงานสระบุรี

คุณอิทธิพลได้ทำาการแลกเปลี่ยนความรู้เรื่องน้ำามันผสมที่หน่วย

งานลำาลูกกาซึ่งเป็นต้นปีที่ไม่ดีเลยเพราะล่วงเลยปีใหม่มาแค่ 10

วันก็เกิดน้ำามันผสมแล้วเกิดจากสาเหตุการลัดขั้นตอนการทำางาน

ของพนักงานจึงขอให้กัปตันอย่าทำางานลัดขั้นตอน

• และขอชมเชยหน่วยงานสระบุรีที่ทำาให้ปลอดอุบัติเหตุมาเป็น

ระยะเวลา 5 ปี แล้วขอให้รักษาคุณภาพนี้ไว้ตลอดไป

• และได้ปรึกษาหารือเพื่อแก้ปัญหาการขับรถช้าแล้วเกิดอุบัติเหตุ

ในสถานีบริการ ว่าอาจมีการทดสอบการถอยหลังประมาณ 3 ด่าน

ในสนามซ้อมและไปดูแลให้คะแนนในสนามจริงที่ปั๊มซึ่ง SOM_SRB

เห็นดีด้วยอาจทำาในสัปดาห์หน้า

• และได้นำากระเป๋ามาในงานคัดเลือก Near miss ดีเด่นใน

เดือน มกราคม 2556 เพื่อส่งเสริมให้กัปตันมีวัฒนธรรมด้านความ

ปลอดภัย

(เยี่ยมบ้านกัปตัน)

หน่วยงานสุราษฎร์ธานี

คุณมงคล (ผู้บริหารจาก ESSO) คุณเอกพงษ์ (รอง ผจก.

หน่วยงาน), คุณสัมพันธ์ (หัวหน้างาน) และ ทีมเซฟตี้ได้เดิน

ทางไปเยี่ยมบ้านกัปตันเสรี รอดสั้น ซึ่งป่วยพักรักษาตัวอยู่ที่

บ้านและได้มอบของขวัญเพื่อเป็นกำาลังใจให้แก่กัปตัน

• ร่วมพูดคุยถาม อาการป่วยของกัปตัน และสอบถามความ

เป็นอยู่ทั่วไปของกัปตันและครอบครัว

• ทางผู้บริหาร ESSO ให้ความรู้กัปตันในเรื่องการรักษา

แผลโดยให้ดูวีดีโอตัวอย่าง ของผู้ที่มี

อาการเหมือนกับกัปตันเสรี

วันที่ 10 มกราคม 2013 วันที่ 12 มกราคม 2013

21

Page 25: Operational Excellance TH

Excellent Activities

Safety talk

22

วันที่ 31 มกราคม 2013

ทดสอบ Low Speed Maneuvering

LSM ( เทคนิคการขับเคลื่อนด้วย

ความเร็วต่ำา ) ESSO_SRB

วัตถุประสงค์ของการทดสอบการถอยหลังเพื่อทำาให้โครงการ LSM ประสบ

ความสำาเร็วและทำาให้กัปตันได้ทบทวนวิธีการถอยหลังในสถานีบริการได้อย่าง

ปลอดภัย

• ลงจากรถมามองทุกครั้ง

• ถ้าไม่ลงจากรถมามองและวัดระยะผลของการทดสอบก็จะเป็นดังภาพที่เห็น

• ลงจากรถมามองและวัดระยะทุกครั้งผลก็หยุดได้ตามต้องการไม่เกิดการเฉี่ยว

ชน

• นี้คือเทคนิคพิเศษในการมาร์คกรวยจราจร

• เมื่อกันชนท้ายชนกรวยที่มาร์คก่อนถึงวัตถุด้านหลังก็หยุดรถ ผลการทดสอบ

ดังภาพที่เห็น

วันที่ 14 มีนาคม 2013

Page 26: Operational Excellance TH

ความเข้าใจขั้นตอนการทำางาน•หลักเกณฑ์ชั่วโมงการทำางานต่อวันต้องไม่เกิน 12

ชม.ขับได้ไม่เกิน 10 ชม.

•หัวหน้ารับงานจากแพลนเนอร์ต้องไม่เกิน 12 ชม.ถ้า

เกินต้องคุยกับแพลนเนอร์และแจ้งผู้จัดการ-หน่วยงาน

ให้ทราบเพื่อแจ้งคุณอิทธิพล(ถ้างาน อุบลกับสุรินทร์

จัดคู่กันเวลาจะเกิน 12 ชม.ทุกเที่ยว)

•ใช้มาตรฐานอะไรในการทำางาน : เวลาโดยเฉลี่ยจะ

ใช้ไม่เกิน 10 ชม.ในการขับและต้องวางแพลนงานให้ดี

•ถ้าเกิดอุบัติเหตุหรือเกือบเกิดอุบัติเหตุ กัปตันต้อง

รีบแจ้งหัวหน้างานทันที และหยุดการทำางานทันที จะ

ต้องไม่ล่าช้าในการแจ้งต้องรีบแจ้งทางเอสโซ่ทันที

•อาการเจ็บที่เกิดขึ้นจากการทำางานต้องทำาอย่างไร ;

ถ้าเกิดการบาดเจ็บจนต้องหาหมอ หัวหน้างานต้องไป

ด้วยทุกครั้งเพื่อจะได้รับทราบข้อเท็จจริงจากหมอ ว่า

อาการกัปตันเป็นอย่างไร สามารถทำางานได้หรือไม่

รุนแรงมากน้อยแค่ไหนควรต้องจ่ายยาอย่างไร

•วิธีการเช็ดชั่วโมงการทำางานของกัปตัน 1.มีคนเตรียม

เอกสาร 2.มีคนตรวจสอบ 3.มีคนอนุมัติ

•ถ้าชั่วโมงกัปตันเกิน ควรทำาใบให้กัปตันเซ็นรับทราบ

และให้กัปตันพักมากกว่า 10 ชั่วโมง

•ไม่มีการแบ่งลงน้ำามันโดยเด็ดขาดถ้าพบให้แจ้งเอส

โซ่ทันที่

•เรื่องรูดการ์ด/ไซท์ การ์ด ต้องแนบให้กัปตันทุกครั้ง

ที่ไปส่งงาน

•ถ้าเจอป้ายออกผลิตภัณฑ์ไม่ถูกต้อง ต้องหยุดการ

ทำางานทันทีและกัปตันต้องรีบแจ้งหัวหน้างานเพื่อ

แก้ไข

• เข้าใจชั่วโมงทำางานหรือไม่ กัปตันทำางานได้วันหนึ่งกี่ชม.ขับไม่เกินกี่ชม.

• กัปตันทำางานได้ไม่เกิน 12 ชม.และขับรถไม่เกิน 10 ชม. ครับ

• ถ้าได้รับแพลนงานที่มีชั่วโมงทำางานเกิน 12 ชั่วโมงคุณจะทำาอย่างไร?

• แจ้งแพลนเนอร์ให้รับทราบถ้ายังให้วิ่งงานต้องติดต่อ SOM และแจ้งต่อไปที่

Fleet Supervisor

• คุณชัชวาล ได้ร่วมทำา 5 นาทีแห่งความปลอดภัย

• กัปตันพูด 5 นาทีแห่งความปลอดภัยเรื่องเทคนิคการขับรถเข้าสถานีบริการ

• SOM สรุปงานแล้วขอเพิ่มเติมเทคนิคหน่อยในการบล็อกเลนซ้ายเพื่อป้องกัน

รถแทรกตีหัวออกเลนขวาแต่หางบล็อกซ้าย

• เมื่อไม่กี่วันมานี้มีน้ำามันผสมเกิดขึ้นที่ประเทศฮ่องกง ให้กัปตันทำางานตาม

ขั้นตอนทำา Point Touch & Tell พร้อม SDC ทุกครั้ง 5KeyXover เสมอ

คุณชัชวาล ได้มาสอบถามความเข้าใจขั้นตอนการทำางาน

จากผู้จัดการ หัวหน้างาน เจ้าหน้าที่ GPS and KPI

วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2013

23

Excellent ActivitiesLet’stourin our

Page 27: Operational Excellance TH

โครงการประเมินความเสี่ยงในเอเชียตะวันออก

เฉียงใต้และฮ่องกง(SEA/HK)

-SEA การรับรู้ถึงสภาพอันตรายและการฝึกอบรมการ

ประเมินความเสี่ยง (RA)

-SEA การรับรู้ถึงสภาพอันตรายและการฝึกอบรมการ

ประเมินความเสี่ยง (RA)ไฮไลท์ที่สำาคัญในระหว่างการประเมินความเสี่ยงของฮ่องกง

•แบ่งปันข้อมูล pHROs ที่มีอยู่และฟังการบรรยายสรุปเรื่อง Burge, Ferry,

LPG

- ในการร่วมแบ่งปันดังกล่าว Burge, Ferry, LPG โดยผู้เชี่ยวชาญและ

เตรียมความพร้อมสำาหรับการสังเกตการณ์

•ดำาเนินการสังเกตการดำาเนินงาน Burge, Ferry และเยี่ยมชม LPG

- เพื่อให้ความเข้าใจที่ดีต่อเชี่ยวชาญก่อนที่จะหารือรายละเอียดที่เกี่ยวกับ

pHROs

- ใช้สนามจริงเพื่อฝึกอบรมทีมในพื้นที่ในการชี้บ่งอันตรายและความเสี่ยง

ที่อาจเกิดขึ้น

- การขอใช้บริการผู้รับเหมา Linfox เพื่อจำาลองการติดตั้งอุปกรณ์ LPG

- เข้าชมไซต์ LPG ระบุสภาพอันตรายและความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น

•ทบทวน pHROs

- กล่าวถึง pHROs ของฮ่องกงและพัฒนาใน “ส่วนใหญ่” และ “กรณีที่ร้าย

แรงที่สุด” โดยใช้แผ่นประเมินความเสี่ยง

- แก้ไข pHROs ที่มีอยู่กับสมมติฐานที่ตกลงกันรวมทั้งการบรรเทาผลกระ

ทบและขั้นตอนการป้องกัน

ไฮไลท์สำาคัญในช่วง SEA การรับรู้ถึงสภาพอันตรายและการฝึกอบรมการประเมิน

ความเสี่ยง (RA)

•การดำาเนินการประเมินความเสี่ยงในที่ไซต์ I & W ใหม่

- เพื่อให้เข้าใจถึงช่องว่างในการชี้บ่งอันตรายจากทีมภายในพื้นที่

- ใช้สนามจริงเพื่อฝึกทีมภายในพื้นที่ในการชี้บ่งอันตรายและความเสี่ยงที่อาจ

เกิดขึ้นได้

- ได้นำาภาพถ่ายมาร่วมกันวิเคราะห์กับผู้เข้าร่วมประชุมท่านอื่น ๆ ในช่วงบ่าย

•การดำาเนินการประเมินความเสี่ยงถึงการรับรู้สภาพอันตรายและการฝึกอบรม

สำาหรับ SEA Fleet and Haulers

- แบ่งปันหลักการของการรับรู้สภาพอันตรายกับการประเมินความเสี่ยง และ

เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในปี 2012 เป็นกรณี

- ร่วมดูรูปถ่ายของ I & W ไซต์ใหม่และระดมความคิดเพื่อระบุถึงสภาพอันตราย

และความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น

- ให้การฝึกอบรมที่มีประสิทธิภาพที่ใช้ในการประเมินความเสี่ยงของไซต์งาน

ด้วยใบตรวจสอบ (Check List)

•การดำาเนินการประเมินความเสี่ยงที่ไซต์ LPG และสถานีบริการค้าปลีก (ทั้ง

CORและตัวแทนจำาหน่าย)

- การประยุกต์ใช้การรับรู้สภาพอันตรายและหลักการประเมินความเสี่ยงจากการ

ฝึกอบรมภายใต้การสังเกตจากผู้เชี่ยวชาญ

24

Excellent Activities

วันที่ 18-22 กุมภาพันธ์ 2013

Page 28: Operational Excellance TH

ทดสอบ เทคนิคการขับเคลื่อนด้วยความเร็วต่ำา

(Low Speed Maneuvering LSM) ESSO_SRB เริ่มต้น คุณไซม่อน ได้อบรมเรื่อง LSM ณ คลังน้ำามัน ลำาลูกกา date: 05/02/13

คุณไซม่อน ติดตามเรื่อง LSM date: 12/03/13

นำาไปสู่กิจกรรม LSM ภายในหน่วยงาน LLK date: 20/03/13

• อ.อำานาจ เริ่มต้น ด้วยการเล่าถึงที่มาของ LSM ที่ได้รับการอบรมโดยคุณไซม่อน และ EM

Team ที่ให้ความสำาคัญกับเรื่องความปลอดภัย

• อ.อำานาจและ อ.สมเดช อธิบายหลัก 3F NoRT–Get3 ในการขับขี่ด้วยความเร็วต่ำา (LSM)

พร้อมยกตัวอย่างการถอยหลังภายและจุดระวังในปั๊ม

จากในห้องเรียนสู่ ภาคปฏิบัติ สาธิตการถอยหลัง LSM 2 แบบ คือ การถอยหลังแบบไม่มีคน

ให้สัญญาณ และกรณีถอยหลังแบบมีคนให้สัญญาณ

• สาธิตการถอยหลังแบบไม่มีคนให้สัญญาณ ใช้หลัก 3F-Get3 ถ้าถอยแล้วไม่แน่ใจควรใช้

Get-out and Look ลงไปตรวจสอบโดยรอบอีกครั้ง จนมั่นใจว่าปลอดภัย

ซ้อมการให้สัญญาณมือ ก่อนสาธิตการถอยหลังแบบมีคนให้สัญญาณ

กัปตันเข้าอบรมกันอย่างพร้อมเพียงและให้ความสนใจมากๆๆ

• ก่อนจบ อ.อำานาจ/อ.สมเดช สรุปและทบทวนเนื้อหาที่ได้เรียนรู้ อีกครั้ง คือ

1.การขับขี่ด้วยความเร็วต่ำา (LSM) หลัก 3F NoRT-Get3

2.การในหลักที่ได้เรียนรู้และสาธิต ไปใช้ในการทำางาน และ “ทำาทุกครั้งให้เหมือนเป็นครั้ง

แรกที่เราทำาเสมอ”

• ชาวลำาลูกกา พร้อมใจร่วมมือร่วมใจ ที่จะบอกว่า “อุบัติเหตุเป็น 0 ” อุบัติเหตุต้องไม่เกิด

ขึ้นอีกทุกประเภท

25

3FNoRT หมายถึง

F1 Fit for duty คือ ร่างกายพร้อม

สำาหรับการทำางาน

F2 Focus on the job-Get 3 คือ

มีสมาธิในการทำางาน

F3 Follow Procedure คือ การ

ทำาตามขั้นตอนอย่างเคร่งครัด

No to Risk Tolerance คือ การ

ไม่ยอมรับกับความเสี่ยง

Get 3 – Get-Big Picture มอง

ภาพโดยรอบ

Get-Out and Look ออกจาก

รถแล้วมองดูความเสี่ยงโดย

รอบGet-It Right at First Time

ทำาให้ถูกตั้งแต่ต้น

Excellent ActivitiesLet’stourin our

วันที่ 20-21 มีนาคม 2013

Page 29: Operational Excellance TH

26

Excellent Activities

The Best Drivers! กัปตันดีเด่นประจำาปี 2012 ของ Linfox

คือ คุณ Kwok Chiu Man คุณ Chiu ได้ร่วมแบ่งปันเคล็ดลับสู่ความ

สำาเร็จของเขาที่ผ่านมาเป็นเวลา 8 ปีกับ

เพื่อนๆร่วมงานดังนี้

-ทำางานด้วยความขยันในทุกๆวัน

-ทุกๆขั้นตอนต้องมีความปลดภัย มีข้อ

ควรระวังและกลายมาเป็นการฝึก

-หลังจากที่คุ้นเคยในกระบวนการทำางาน

และสิ่งแวดล้อมแล้ว ก็จะหาทางพัฒนา

อย่างต่อเนื่องด้วย UDCR

กัปตันดีเด่นประจำาปี 2012 ของ SC Car-

rier. คือ คุณ อานนท์ กันไพ• อยากบอกย้ำาให้เพื่อนพนักงานขับรถ

ทราบเกี่ยวกับการสำารวจความพร้อม

ของตัวเอง , สภาพรถ และอุปกรณ์ความ

ปลอดภัยต่างๆ และทุกครั้งที่จะเริ่มงาน

จะคุยกันก่อนระหว่างพนักงานขับรถด้วย

กัน เกี่ยวกับจุดอันตราย , จุดเสี่ยงต่างๆ

, สถานที่รับสินค้าว่ามีความเสี่ยงหรือไม่

เช่น จุดทางแยก , จุดจอดรถ เป็นต้น หาก

พบเห็นให้ทำา UDCR แจ้งหัวหน้างานให้รับ

ทราบ

• ต้องทำางานให้ปลอดภัย กลับมาเจอหน้า

ครอบครัว

12 เมษายน 2013 Safety Talk 26 เมษายน 2013 Safety Talk

คุณปิ่นสุวรรณได้พูดคุย

เน้นย้ำาถึงความปลอดภัย

ก่อนออกปฏิบัติงานในช่วง

เทศกาลสงกรานต์

- ชั่วโมงการทำางานและการ

พักผ่อน

- น้ำามันหก ล้น ผสม

- การขับขี่

- ระดับความเสี่ยงที่ยอมรับ

กัปตันดีเด่นประจำาปี 2012 ของ

Wattwah คือคุณ Khoo You Nam

เขาเป็นคนขยันและพิถีพิถันมากใน

การทำางาน เขาได้รับรางวัลในการ

แข่งขันรถสะอาดและเป็นระเบียบ

เรียบร้อยประจำาปี 2012 เขากระตือ-

รือร้นในการรายงานสภาพันตราย

และ NLI เขายังมีทัศนคติในการ

ทำางานที่ดีที่จะร่วมแบ่งปันดังนี้

1. เรียนรู้จากข้อผิดพลาดของคุณ

และคนอื่นๆเสมอๆ

2.ทำางานคือทำางานต้องตั้งใจและไม่

วอกแวกขณะปฏิบัติงาน

Page 30: Operational Excellance TH

Safety in a Flash เกร็ดข่าวความปลอดภัย

รถของผู้รับเหมากำาลังออกจากช่องหลังจ่ายเงินเสร็จ

จากรายงานของ GPS รถได้เริ่มเคลื่อนที่ด้วยความเร่ง

33 กิโลเมตรต่อชั่วโมงที่เลนซ้าย ถนนในขณะนั้นไม่มี

เครื่องหมายที่พื้นบอกว่ามีคอนกรีตกั้นอยู่ทำาให้ถนนแคบเข้า

มาทางด้านขวา กัปตันได้สังเกตเห็นรถบรรทุกอีกคันขับมา

ด้วยความเร็วสูงจากด้านขวากำาลังแซงเข้ามา ทำาให้กัปตัน

พยายามลดความเร็วลงแต่ก็ยังไม่สามารถหลีกการชนได้ ผล

ของ DVA นี้ทำาให้กระจกข้างเสียหายและเป็นรอขีดข่วนที่

บริเวณด้านท้ายข้างซ้ายของรถบรรทุก แต่โชคดีที่ไม่มีใครได้

รับบาดเจ็บหรือน้ำามันหก

5 เมษายน 2013 - ขับรถผู้รับเหมาที่มีประสบการณ์ 2

เดือนได้ลดลง ~ 2.8KL จากดีเซลเป็น G91 ถังในสถานี

บริการ ครอสโอเวอร์ที่ถูกค้นพบเมื่อสัญญาณเตือนภัย

ระดับสูงสถานที่ถูกเรียก โปรแกรมควบคุมการตอบสนอง

โดยการหยุดการไหลของทั้งหมดและรายงานไปยังสถานี

และผู้บังคับบัญชา โชคดีที่มีการรั่วไหลไม่ได้และลูกค้าที่

ไม่ได้รับผลกระทบ

แล้วทำาไมถึงเกิดเหตุแบบนั้น?พนักงานขับรถของ Hauler อาจจะบกพร่องในการใช้กุญแจ

สมิธดังนี้

กุญแจที่ 1 (มองไกล) - การใช่ช่วงเวลาอย่างน้อย 15 วินาที

และปรับความเร็วตามที่ถนนกำาหนด

กุญแจที่ 2 (มองภาพโดยรอบ) - ตระหนักถึงการรักษา

บริเวณ 360 องศาโดยรอบ โดยสอดส่องอย่าง

น้อย 1 กระจกทุกๆ 5-8 วินาที

กุญแจที่ 5 (แน่ใจว่าคนอื่นเห็นเรา) –นอกเหนือไปจากการ

ลดความเร็วลงแล้ว พนักงานขับรถควรที่จะ

บีบแตรหรือเปิดไฟเลี้ยวให้สัญญาณเตือนด้วย

พนักงานขับรถผู้เชี่ยวชาญควรที่จะทำาอะไร?การปฏิบัติงานระดับโลก – ประยุกต์ใช้ทักษะการขับรถใน

เชิงป้องกันตลอดเวลา

การดูแลช่วยเหลือกันอย่างแข็งขัน – สามารถอธิบายให้

เพื่อนกัปตัน ครูฝึก ผู้บริหารคนอื่นๆได้ฟังเกี่ยวกับการ

ประยุกต์ใช้การขับขี่เชิงป้องกันได้ในขณะการประชุมด้าน

ความปลอดภัย

27

Page 31: Operational Excellance TH

ทำาไม?คนขับรถที่ใช้ 2 ท่อขนถ่ายในนี้ เมื่อเขาเสร็จสิ้นการขนถ่าย G91 เขาเปลี่ยนท่อที่ด้านข้างของรถบรรทุก แต่ล้มเหลวที่จะ

เปลี่ยนสายยางที่จุดเติม

คนขับรถไม่ได้พูดถึง SDC เมื่อเปลี่ยนท่อและได้รับอนุญาตข้ามท่อไดร์ล้มเหลวในการดำาเนินการสัมผัสหลายจุดและบอก

คนขับรถก็อาจจะวิ่งและฟุ้งซ่านเนื่องจากการตั้งครรภ์เดือนที่ 8 จากภรรยาของเขา

สิ่งที่คุณควรทำาตามที่คนขับรถมืออาชีพ?การดำาเนินงานที่ได้มาตรฐานระดับโลก - ทำาตามขั้นตอนที่ตกลงกันตลอดเวลา ในระหว่างการขนถ่ายเสมอหมายถึง SDC

เมื่อเชื่อมต่อท่อและดำาเนินการ “MPTT” ก่อนที่จะปลดประจำาการ

การดูแลอย่างแข็งขัน - อภิปรายเกี่ยวกับปัญหาที่มีศักยภาพที่จะก่อให้เกิดสิ่งที่ทำาให้ไขว้เขว / ไม่เหมาะสม

กับหน้าที่กับอาจารย์ที่ปรึกษาของคุณใด ๆ

28

NEWS

ชุดใหม่ by EMลักษณะเสื้อผ้าสวมใส ดังนี้

1.เป็นผ้า Cotton 100% คอปก แขนยาว ติดกระดุมหลบ

2.สี มี 2สี แนวนอน โดยด้านบนเป็น สีชมพู (ตามสีของ GTE)

และด้านล่างสีน้ำาเงินเข้มถึงกรมท่า

3.มีกระเป๋าหน้าด้านซ้าย พร้อมปักตรา GTE ส่วนด้านขวาปัก

สัญลักษณ์ Actively Caring

ช่วงเวลาใส่: สวมใสทุกๆ วันศุกร์ของการทำางาน

Life Style! กัปตัน ESSO LLK

2013 Focus Areas•Taking Safety Personally•Active Caring / Care Management penetration•Lower Risk Tolerance Culture•Demonstrate visible leadership in the field (e.g. positive intervention)•Quality SBO/SBOQR by both EM and Hauler Management•Maintaining World Class Operations•Strictly follow established procedures•Personal Injury: SBO/SBOQR•DVA: LSM, Smith System•Crossover/Spill: SDC, Multiple point tell &touch•STOP and REPORT immediately•Effective Change Management•New Drivers / New Supervisors•Experience Drivers working at new location•Change in SS layout (Site Card)

Page 32: Operational Excellance TH

เราได้สังเกตเห็นอันตรายที่เป็นไปได้ 6 จุด

1.รถบรรทุกให้บริการสีขาวในสถานี

• ใช้กุญแจ 3 และ 5 คอยระวังสัญญาณที่อาจชี้ถึง

การเคลื่อนของรถ และ อยู่ใกล้แตรไว้

2.ป้ายแสดงราคาของ Exxon ทางขวา

• ใช้กุญแจ 4 เว้นระยะให้มากขึ้น ขณะเลี้ยว เพื่อ

หลีกเลี่ยงที่จะชนกับเสา

3.รถที่ปั๊มหัวจ่ายเติมน้ำามัน

• ใช้กุญแจ 3 และ 5 คอยระวังสัญญาณที่อาจชี้ถึงการเคลื่อนของรถและอยู่ใกล้แตรไว้

4.ขอบถนนทางขวาตรงทางเข้า

• ใช้กุญแจ 4 เว้นระยะให้มากขึ้น ขณะเลี้ยว เพื่อหลีกเลี่ยงที่จะขับขึ้นไปบนขอบถนน

5.คนเดินในบริเวณนั้น

• ใช้กุญแจ 2 กวาดสายตามองว่ามีอะไรที่กำาลังเคลื่อนที่ให้รอบทิศ

6.ยานพาหนะที่กำาลังเข้ามาในสถาน ี

• ใช้กุญแจ 2 และ 3 กวาดสายตามองยานพาหนะที่อาจทำาให้เกิดอุบัติเหตุชนกัน

ตัวอย่างคำาตอบ

- ทำาไมคนขับจึงควรมองเข้าไปในสถานีบริการก่อนเข้า?

• เพื่อสังเกตว่ามีอันตรายใดๆที่อาจเกิดขึ้นตั้งแต่เนิ่นๆ และเพื่อมองหาทางที่ปลอดภัยที่จะไปยังจุดขนถ่าย

- อะไรคือผลที่ตามมาหากไม่ได้มองก่อนเข้าสถานี?

• อาจเกิดการชนซึ้งสามารถหลีกเลี่ยงได้โดยง่าย

- ทำาไมคนขับจึงต้องคอยระวังลูกค้าที่ปั๊มหัวจ่ายเติมน้ำามัน เมื่อเข้ามาในสถานีบริการ?

• ลูกค้าที่เติมน้ำามันเสร็จแล้ว อาจถอยจากปั๊มหัวจ่ายเติมน้ำามัน และอาจไม่ทันเห็นรถบรรทุกในทางที่กำาลังจะ

ถอย

- อะไรคือผลที่ตามมาของการไม่จัดการกับปัญหาลูกค้าล่วงหน้า?

• อาจเกิดอุบัติเหตุชนกันซึ้งสามารถหลีกเลี่ยงได้โดยง่าย

- อะไรคือผลที่ตามมาหากไม่ได้แก้ไขปัญหารถที่จอดอยู่ตั้งแต่เนิ่นๆ?

• ไม่ดีต่อความสัมพันธ์กับลูกค้า และอาจต้องเลื่อนรถบรรทุกเพื่อให้รถที่จอดอยู่ออก

30

Page 33: Operational Excellance TH