Top Banner
การถ่ายภาพรังสีฟันในช่องปากผู้ป่วย เป็ นสิ่งสาคัญในการวินิจฉัยและรักษาโรคในช่องปากของ ทันตแพทย์ เพื่อวางแผนการรักษาที่ถูกต้องให้ผู้ป ่วย และปัจจุบันมีการใช้งานเครื่องเอกซเรย์วินิจฉัย ฟันในโรงพยาบาลและคลินิกฟันอย่างแพร่หลาย จึงมีการนารังสีมาใช้ถ่ายภาพรังสีวินิจฉัยทาง การแพทย์เพิ่มมากขึ ้น โดยรังสีที่ได้รับก่อให้เกิดอันตรายต่อเซลล์และเพิ่มความเสี่ยงของโรคมะเร็ง เช่น มะเร็งต่อมน าลาย, มะเร็งต่อมไทรอยด์ (1) เป็นต้นผู้ปฏิบัติงานควรใช้ปริมาณรังสีให้ผู้ป่วยได้รับ รังสีน้อยที่สุดแต่เกิดประโยชน์สูงสุดตามหลักการ ( As Low As Reasonably Achievable : ALARA) จึงพบว่าประเทศต่างๆ ให้ความสาคัญและศึกษาวิจัย เรื่องปริมาณรังสีผู้ป ่ วยจากการถ่ายภาพรังสี วินิจฉัยฟันในหลายประเทศ โดยวัดและเก็บรวบรวมข้อมูลปริมาณรังสีจากการสารวจโรงพยาบาล และคลินิกฟัน เพื่อเป็นค่าปริมาณของกลุ่ม โดยนิยมใช้ค่าควอไทล์ที่ 3 เป็ นค่าอ้างอิงและกาหนดเป็น ปริมาณรังสีอ้างอิง diagnostic reference levels (DRL) ของกลุ่มพื ้นที่ของประเทศหรือการรวมกลุ ่ม ระหว่างประเทศ เช่น (European Commission : EC) (2) ,หน่วยงานทบวงการพลังงานปรมาณู ระหว่างประเทศ (International Atomic Energy Agency : IAEA) (3) ,คณะกรรมการระหว่างประเทศ เกี่ยวกับการคุ้มครองรังสี (International Commission on Radiological Protection : ICRP) (4) เป็นต้น สาหรับประเทศไทยมีข้อมูลปริมาณรังสีผู้ป่วยค่อนข้างน้อยและยังไม่มีค่าปริมาณรังสีอ้างอิงของ ประเทศที่ใช้เปรียบเทียบกับผู้ป ่ วย จึงไม่ทราบข้อมูลปริมาณรังสีที่ให้ผู้ป ่ วยมีค่าสูงเกินความจาเป็น หรือไม่ ผู้วิจัยจึงได้ศึกษาปริมาณรังสีจากการถ่ายภาพรังสีฟันในช่องปากเพื่อได้ทราบปริมาณรังสี ผู้ป่วยเพื่อใช้เปรียบเทียบกับปริมาณรังสีอ้างอิงของกลุ ่มศึกษาและเปรียบเทียบกับค่าอ้างอิงของ ยุโรป (European Guidelines) Intraoral dental radiographic examinations are necessary for the diagnosis and treatment of oral diseases. The use of these examinations has to be balance between the maximize benefits and minimal radiation dose because the primary risk is radiation-induced cancer. Patient entrance doses was studied by Regional Medical Sciences Center 2, Phitsanulok in 88 units of the hospitals and dental clinics in Phitsanulok, Petchaboon, Uttaradit, Sukhothai and Tak in during 2013 and 2015. Patient entrance doses in adult patients from 6 types of intraoral dental radiographic examinations including upper anterior, upper premolar, upper molar, lower anterior, lower premolar and lower molar were measured by solid state detector. The third quartile of the group were 2.8, 4.0, 5.0, 2.5, 3.0 and 3.8 mGy,respectively.The radiation dose used in the imaging of upper molar teeth of adults was higher than European guidelines of 33 units (37.5%).The radiation dose of hospitals was not statistically significant different (p>0.05) from that of dental clinics. In conclusion, the radiation dose that patients received was higher than standard .The causal factors should be corrected and the techniques should be improved to reduce patient dose to be as low as possible. Keywords : patient entrance doses, diagnostic reference levels, Intraoral dental radiography Abstract บทนำ วัสดุวิธีการ หัววัดรังสีชนิด solid state หลอดเอกซเรย์ฟันชนิดถ่ำยภำพในช่องปำก 1. เครื่องมือที่ใช้ในกำรศึกษำ 1.1 เครื่องวัดและตรวจสอบคุณภาพเครื่องเอกซเรย์ยี่ห้อ Piranha 657 Model CB2-10070060 ซึ ่งมี หัววัดรังสีชนิด solid state 1.2 เครื่องคอมพิวเตอร์ประมวลผล 1.3 ตลับเมตร ปริมำณรังสีผู ้ป่ วยจำกกำรถ่ำยภำพรังสีฟันในช่องปำกในเขตสุขภำพที่2 Patient entrance doses from intraoral radiography in Regional Health 2 นัฐิกำ จิตรพินิจ 1 * * ศูนย์วิทยำศำสตร์กำรแพทย์ที2 พิษณุโลก กำรถ่ำยภำพรังสีฟันในช่องปำกผู ้ป่ วย มีควำมจำเป็นสำหรับวินิจฉัยและรักษำโรคในช่องปำก จึงต้อง ใช้รังสีให้เกิดประโยชน์สูงสุด และปริมำณรังสีน้อยสุด เนื่องจำก ควำมเสี่ยงหลักคือโรคมะเร็งที่เกิดขึ้น ศูนย์วิทยำศำสตร์กำรแพทยที่ 2 พิษณุโลก ศึกษำปริมำณรังสีผู ้ป่ วยจำกโรงพยำบำลและคลินิกฟันใน จังหวัดพิษณุโลก เพชรบูรณ์ อุตรดิตถ์ สุโขทัย และตำก จำนวน 88 เครื่อง ระหว ่ำง พ.ศ. 2556-2558 ใช้เครื่องวัดรังสีชนิดโซลิดสเตท วัดปริมำณรังสีผู ้ป่ วยผู ้ใหญ่ จำกกำรถ่ำยภำพรังสีฟัน 6 ชนิด ได้แก่ ฟันหน้ำบน, ฟันกรำมน้อยบน, ฟันกรำมบน, ฟันหน้ำล่ำง, ฟันกรำมน้อยล่ำง, ฟันกรำมล่ำง พบปริมำณรังสีมีค่ำควอไทล์ที่ 3 ของกลุ ่มเท่ำกับ 2.8, 4.0, 5.0, 2.5, 3.0, 3.8 มิลลิเกรย์ ตำมลำดับ พบค่ำปริมำณรังสีที่ใช้ในกำรถ ่ำยภำพรังสีฟันกรำมบนของผู ้ใหญ่สูงเกินค่ำอ้ำงอิงของEuropean Guidelines จำนวน 33 เครื่อง (ร้อยละ 37.5) และเปรียบเทียบค ่ำปริมำณรังสีของโรงพยำบำลกับคลินิก ไม่แตกต่ำงกันอย่ำงมีนัยสำคัญทำงสถิติที่ระดับควำมเชื่อมั่น95% (p>0.05) สรุปปริมำณรังสีที่ให้ผู ้ป่ วย มีค่ำสูงเกินค่ำอ้ำงอิง ควรแก้ไขปัจจัยที่เป็นสำเหตุและปรับปรุงเทคนิคปัจจุบัน เพื่อลดปริมำณรังสี ผู ้ป่ วยได้รับน้อยสุด คำสำคัญ: ปริมาณรังสีผู้ป่วย, ปริมาณรังสีอ้างอิง , ภาพถ่ายรังสีฟันในช่องปาก บทคัดย่อ สำรวจ ศึกษำ และเก็บข้อมูล จำกเครื่องเอกซเรย์ฟันในช ่องปำกของโรงพยำบำลและคลินิกฟันจังหวัดพิษณุโลก, เพชรบูรณ์, อุตรดิตถ์,สุโขทัยและตำก ระหว่ำงปี 2556-2558 วัดปริมำณ รังสี ใช้เครื่องวัดรังสี ชนิด solid state ยี่ห้อ Piranha 657 Model CB2-10070060 จัดตำแหน ่งให้หัววัด รังสีอยู ่ที่ปลำยกระบอกลำรังสี เป็นตำแหน ่งที่รังสีเข้ำผู ้ป่ วย ถ่ำยภำพรังสีวินิจฉัยฟันในช่องปำกผู ้ใหญ่ 6 ชนิด ตำมเทคนิคที่ใช้ประจำ ลงบนหัววัดรังสี คำนวณสถิติ นำข้อมูลปริมำณรังสีผู ้ป่วย (patient entrance dose : PED) จำกเครื่องวัดรังสีหำค ่ำเฉลี่ย (mean),ค่ำควอไทล์ที่ 3 (third quartile), วัดค่ำเบี่ยงเบนมำตรฐำน(Standard deviation :SD), ค่ำควำมเบ้ (S k ) เปรียบเทียบค่ำปริมำณรังสีผู ้ป่ วยภำยในกลุ ่มจำกกรำฟฮิสโตแกรม ( Histogram) เปรียบเทียบค่ำปริมำณรังสีผู ้ป่ วยระหว่ำงโรงพยำบำลกับคลินิกฟัน โดยใช้สถิติ ANOVA วัสดุวิธีกำร (ต่อ) ตำรำงที่ 1 ปริมำณรังสีผู ้ป่ วยจำกกำรถ่ำยภำพรังสีวินิจฉัยฟันในช่องปำกของผู ้ป่ วยผู ้ใหญ่ ในโรงพยำบำลและคลินิกฟันในเขตสุขภำพที่ 2 ตำรำงที่ 2 ปริมำณรังสีผู ้ป่ วยจำกกำรถ่ำยภำพรังสีวินิจฉัยฟันในช่องปำกของผู ้ป่ วย ผู ้ใหญ่ในโรงพยำบำล 45 แห่ง และคลินิกฟัน43 แห่งในเขตสุขภำพที่2 * ใช้ ANOVA เปรียบเทียบปริมำณรังสีผู ้ป่ วยของโรงพยำบำลกับคลินิกฟัน * ค่ำนัยสำคัญทำงสถิติที่ p> 0.05 ไม ่แตกต่ำงกันอย่ำงมีนัยสำคัญทำงสถิติ ตำรำงที่ 3 เทคนิคและองค์ประกอบที่ใช้ในกำรถ ่ำยภำพรังสีวินิจฉัยฟันในช่องปำกผู ้ใหญ่ ของเครื่องตั ้งค่ำตำมชนิดฟัน ปริมาณรังสีผู้ป่วยจากการถ่ายภาพรังสีวินิจฉัยฟันในช่องปาก ผลการวัดปริมาณรังสีที่ใช้ถ่ายภาพฟันใน ช่องปากผู้ใหญ่ พบปริมาณรังสีผู้ป่วย patient entrance dose (PED) ที่ใช้ในการถ่ายภาพรังสีฟันกราม บนผู้ใหญ่ของกลุ่ม มีค่าคอลไทล์ที่ 3 เท่ากับ 5.0 มิลลิเกรย์ สูงเกินค่าอ้างอิงของ European Guidelines ทีกาหนดไว้ คือ 4 มิลลิเกรย์ของฟันกรามบน รายละเอียดดังตารางและกราฟ ผล วิจำรณ์ การศึกษาปริมาณรังสีในครั งนี ้พบปริมาณรังสีมีค่าควอไทล์ที่ 3 ของกลุ ่ม สูงเกินค่าอ้างอิง ของ European Guidelines ที่กาหนดไว้ คือ 4 มิลลิเกรย์ (2) และของฟันกรามบน (maxillary molar) ของผู้ใหญ่ที่วัดได้ที่ปลายโคนของหลอดเอกซเรย์ สูงกว่าค่าปริมาณรังสีของ ตัวอย่างงานวิจัย ของศิริวรรณ จูเลียงและคณะของประเทศไทย (5) ในพื ้นที่จังหวัดตรัง กระบี่ พังงา และภูเก็ตและการสารวจรังสีของประเทศลักซัมเบิร์ก (2) ที่วัดค่าปริมาณรังสี จากการถ่ายภาพรังสีฟันกรามบนของผู้ใหญ่เท่ากับ 3.7 มิลลิเกรย์ และ3.8 มิลลิเกรย์ ตามลาดับ ส่วนค่าปริมาณรังสีของฟันกรามล่าง(mandibular molar) ของผู้ใหญ่ค่าควอ ไทล์ที่ 3 ของกลุ ่มเท่ากับ 3.8 มิลลิเกรย์ สูงกว่างานวิจัยของ Eun-Kyung Kim และคณะ ของประเทศเกาหลี (6) ที่วัดค่าปริมาณรังสี เท่ากับ 3.07 มิลลิเกรย์ มีค่าสูงกว่าเช่นกัน ส่วน ปริมาณรังสีของการถ่ายภาพฟันอื่นๆ ในช่องปาก ได้แก่ ฟันหน้าบน, ฟันกรามน้อยบน, ฟันหน้าล่าง,ฟันกรามน้อยล่าง พบค่าปริมาณรังสีสูงกว่างานวิจัยของ Mi -Ra Han และ คณะของประเทศเกาหลี (7) ทุกชนิดฟัน ดังนั นควรมีการศึกษาวิจัยต่อไปถึงสาเหตุสาคัญ ของการให้ปริมาณรังสีที่สูง โดยปัจจัยต่างๆ ที่มีผลต่อค่าปริมาณรังสีที่สูงขึ ้น เช่น เครื่องเอกซเรย์ไม่มีการควบคุมคุณภาพหรือเครื่องมีสภาพเก่าไม่มีการปรับปรุง,ความยาว ของกระบอกรังสีน้อย,ฟิล์มที่ใช้มีความไวต่อแสงต ่า,ไม่มีการควบคุมคุณภาพของน ายา และมีการใช้น ายาซ าและยังไม่เปลี่ยนเป็นระบบสร้างภาพดิจิตอลที่ให้ปริมาณรังสีลดลง มากกว่า, เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานไม่มีการฝึกอบรมให้ความรู้เรื่องขั นตอนการปฏิบัติและ ไม่เข้าใจการตั งเทคนิคที่เหมาะสม จึงตั งเทคนิคโดยไม่มีการปรับปรับปรุงเทคนิคปัจจุบัน ให้ลดลงและควรดาเนินการตรวจวัดค่าปริมาณรังสีของผู้ป่วยเป็นประจาอย่างต่อเนื่อง เพื่อเปรียบเทียบกับปริมาณรังสีอ้างอิงอย ่างสม ่าเสมอและการประเมินควรดาเนินการ อย่างน้อยทุก 3 ปี (2) เพื่อควบคุมไม่ให้มีการใช้รังสีกับผู้ป่วยมากเกินความจาเป็น สรุป ดังนั นจากการศึกษาปริมาณรังสีในการถ่ายภาพวินิจฉัยฟันที่พบค่าสูงใน การศึกษานี จะเป็นข้อมูลที่นาไปสู ่การให้ความสาคัญในการปรับปริมาณรังสี ผู้ป่วยได้รับต ่ากว่าค่าปริมาณรังสีอ้างอิงและน้อยลงอย่างต่อเนื่องและยั งยืนโดย โรงพยาบาลและคลินิกฟันต้องร่วมกันพัฒนาคุณภาพงานบริการถ่ายภาพรังสีทีมีคุณภาพสามารถวินิจฉัยโรคได้อย่างถูกต้องและลดปริมาณรังสีให้ผู้ป่วยได้รับ น้อยสุดและปลอดภัย และข้อมูลปริมาณรังสีในเขตสุขภาพที2 จะเป็น ประโยชน์ในการศึกษาปริมาณรังสีผู้ป่วยและนาไปสู ่การศึกษาต่อในภาพรวม ของประเทศ เพื่อให้ประเทศไทยมีค่าปริมาณรังสีอ้างอิงของประเทศในอนาคต เพื่อใช้เป็นค่าอ้างอิงที่เหมาะสมของประเทศต่อไป เอกสำรอ้ำงอิง 1. Memon A, Godward S, Williams D, Siddique I, AL-Saleh K. Dental x-rays and the risk of thyroid cance: a case- conrol study. Acta Oncologica. (serial online) 2010 ( cited 2015 Dec 22); 49: 447–453: Available from:URL:http ://www.learndigital.net/articles/2011/DentalXraysandthyroidcancer.pdf . 2. European guidelines on radiation protection in dental radiology: The safe use of radiology in dental practice. Issue NO 136. Belgium: European Commission; 2004. 3. IAEA. International Basic Safety Standards for protection against ionizing radiation and the Safety of radiation sources.IAEA safety series No.115. Vienna:International Atomic Energy Agency; 1996. 4. ICRP. International Commission on Radiological Protection. Diagnostic reference levels in medical imaging: Review and additional advice. A web module produced by Committee 3 of the ICRP (serial online) 2002 (cited 2015 Dec 30);(14 screen): Available from:URL:http://www.icrp.org/docs/DRL_for_web.pdf . 5. ศิริวรรณ จูเลียง, สายัณห์ เมืองสว่าง. ความปลอดภัยจากการใช้เครื่องเอกซเรย์ฟันในเขตสาธารณสุขที่ 7 วารสารกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 2556; 55(4) : 236-245. 6. Kyung Kim E, Jeong Han W, Woo Choi J, -Hoa Jung Y, Ja Yoo S, Seo Lee J. Diagnostic reference levels in intraoral dental radiography in Korea. Imaging Sci Dent. (serial online) 2012 (cited 2015 Dec 22); 42 (4):237-242 Available from: URL: http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC 3534178/ 7. MR Han M, Cheol Kang B, Seo Lee J, Ja Yoon S, Hee Kim Y. Reference dose levels for dental periapical radiography in Chonnam Province.Korean J Oral Maxillofac Radiol.(serial online)2009 Dec; (cited 2015 Dec 24);39(4):195-198. Available from:URL: http://www.kamje.or.kr/KAMJE_Journals/ 2009/pdf/147.pdf.
1

No Slide Title นัฐิกา.pdfthe imaging of upper molar teeth of adults was higher than European guidelines of 33 units (37.5%).The radiation dose of ... องEuropean Guidelines

Mar 02, 2020

Download

Documents

dariahiddleston
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: No Slide Title นัฐิกา.pdfthe imaging of upper molar teeth of adults was higher than European guidelines of 33 units (37.5%).The radiation dose of ... องEuropean Guidelines

การถายภาพรงสฟนในชองปากผปวย เปนสงส าคญในการวนจฉยและรกษาโรคในชองปากของทนตแพทย เพอวางแผนการรกษาทถกตองใหผปวย และปจจบนมการใชงานเครองเอกซเรยวนจฉยฟนในโรงพยาบาลและคลนกฟนอยางแพรหลาย จงมการน ารงสมาใชถายภาพรงสวนจฉยทางการแพทยเพมมากขน โดยรงสทไดรบกอใหเกดอนตรายตอเซลลและเพมความเสยงของโรคมะเรงเชน มะเรงตอมน าลาย, มะเรงตอมไทรอยด(1) เปนตนผปฏบตงานควรใชปรมาณรงสใหผปวยไดรบรงสนอยทสดแตเกดประโยชนสงสดตามหลกการ ( As Low As Reasonably Achievable : ALARA)จงพบวาประเทศตางๆ ใหความส าคญและศกษาวจย เรองปรมาณรงสผปวยจากการถายภาพรงสวนจฉยฟนในหลายประเทศ โดยวดและเกบรวบรวมขอมลปรมาณรงสจากการส ารวจโรงพยาบาลและคลนกฟน เพอเปนคาปรมาณของกลม โดยนยมใชคาควอไทลท 3 เปนคาอางองและก าหนดเปนปรมาณรงสอางอง diagnostic reference levels (DRL) ของกลมพนทของประเทศหรอการรวมกลมระหวางประเทศ เชน (European Commission : EC)(2) ,หนวยงานทบวงการพลงงานปรมาณระหวางประเทศ (International Atomic Energy Agency : IAEA)(3) ,คณะกรรมการระหวางประเทศเกยวกบการคมครองรงส (International Commission on Radiological Protection : ICRP)(4) เปนตนส าหรบประเทศไทยมขอมลปรมาณรงสผปวยคอนขางนอยและยงไมมคาปรมาณรงสอางองของประเทศทใชเปรยบเทยบกบผปวย จงไมทราบขอมลปรมาณรงสทใหผปวยมคาสงเกนความจ าเปนหรอไม ผวจยจงไดศกษาปรมาณรงสจากการถายภาพรงสฟนในชองปากเพอไดทราบปรมาณรงสผปวยเพอใชเปรยบเทยบกบปรมาณรงสอางองของกลมศกษาและเปรยบเทยบกบคาอางองของยโรป (European Guidelines)

Intraoral dental radiographic examinations are necessary forthe diagnosis and treatment of oral diseases. The use of theseexaminations has to be balance between the maximizebenefits and minimal radiation dose because the primary riskis radiation-induced cancer. Patient entrance doses wasstudied by Regional Medical Sciences Center 2, Phitsanulok in88 units of the hospitals and dental clinics in Phitsanulok,Petchaboon, Uttaradit, Sukhothai and Tak in during 2013 and2015. Patient entrance doses in adult patients from 6 types of

intraoral dental radiographic examinations including upperanterior, upper premolar, upper molar, lower anterior, lowerpremolar and lower molar were measured by solid statedetector. The third quartile of the group were 2.8, 4.0, 5.0,

2.5, 3.0 and 3.8 mGy,respectively.The radiation dose used inthe imaging of upper molar teeth of adults was higher thanEuropean guidelines of 33 units (37.5%).The radiation dose ofhospitals was not statistically significant different (p>0.05)from that of dental clinics. In conclusion, the radiation dosethat patients received was higher than standard .The causalfactors should be corrected and the techniques should beimproved to reduce patient dose to be as low as possible.

Keywords : patient entrance doses, diagnostic referencelevels, Intraoral dental radiography

Abstract

บทน ำ

วสดวธการ

หววดรงสชนด solid stateหลอดเอกซเรยฟนชนดถำยภำพในชองปำก

1. เครองมอทใชในกำรศกษำ 1.1 เครองวดและตรวจสอบคณภาพเครองเอกซเรยยหอ Piranha

657 Model CB2-10070060 ซงม หววดรงสชนด solid state1.2 เครองคอมพวเตอรประมวลผล 1.3 ตลบเมตร

ปรมำณรงสผปวยจำกกำรถำยภำพรงสฟนในชองปำกในเขตสขภำพท 2Patient entrance doses from intraoral radiography in Regional Health 2

นฐกำ จตรพนจ1** ศนยวทยำศำสตรกำรแพทยท 2 พษณโลก

กำรถำยภำพรงสฟนในชองปำกผปวย มควำมจ ำเปนส ำหรบวนจฉยและรกษำโรคในชองปำก จงตองใชรงสใหเกดประโยชนสงสด และปรมำณรงสนอยสด เนองจำก ควำมเสยงหลกคอโรคมะเรงทเกดขนศนยวทยำศำสตรกำรแพทยท 2 พษณโลก ศกษำปรมำณรงสผปวยจำกโรงพยำบำลและคลนกฟนในจงหวดพษณโลก เพชรบรณ อตรดตถ สโขทย และตำก จ ำนวน 88 เครอง ระหวำง พ.ศ. 2556-2558ใชเครองวดรงสชนดโซลดสเตท วดปรมำณรงสผปวยผใหญ จำกกำรถำยภำพรงสฟน 6 ชนด ไดแกฟนหนำบน, ฟนกรำมนอยบน, ฟนกรำมบน, ฟนหนำลำง, ฟนกรำมนอยลำง, ฟนกรำมลำงพบปรมำณรงสมคำควอไทลท 3 ของกลมเทำกบ 2.8, 4.0, 5.0, 2.5, 3.0, 3.8 มลลเกรย ตำมล ำดบพบคำปรมำณรงสทใชในกำรถำยภำพรงสฟนกรำมบนของผใหญสงเกนคำอำงองของEuropeanGuidelines จ ำนวน 33 เครอง (รอยละ 37.5) และเปรยบเทยบคำปรมำณรงสของโรงพยำบำลกบคลนกไมแตกตำงกนอยำงมนยส ำคญทำงสถตทระดบควำมเชอมน95% (p>0.05) สรปปรมำณรงสทใหผปวยมคำสงเกนคำอำงอง ควรแกไขปจจยทเปนสำเหตและปรบปรงเทคนคปจจบน เพอลดปรมำณรงสผปวยไดรบนอยสด

ค ำส ำคญ: ปรมาณรงสผปวย, ปรมาณรงสอางอง , ภาพถายรงสฟนในชองปาก

บทคดยอ

ส ำรวจ ศกษำและเกบขอมล

• จำกเครองเอกซเรยฟนในชองปำกของโรงพยำบำลและคลนกฟนจงหวดพษณโลก, เพชรบรณ,อตรดตถ,สโขทยและตำก ระหวำงป 2556-2558

วดปรมำณรงส

• ใชเครองวดรงส ชนด solid state ยหอ Piranha 657 Model CB2-10070060 จดต ำแหนงใหหววดรงสอยทปลำยกระบอกล ำรงส เปนต ำแหนงทรงสเขำผปวย

• ถำยภำพรงสวนจฉยฟนในชองปำกผใหญ 6 ชนด ตำมเทคนคทใชประจ ำ ลงบนหววดรงส

ค ำนวณสถต

• น ำขอมลปรมำณรงสผปวย (patient entrance dose : PED) จำกเครองวดรงสหำคำเฉลย (mean),คำควอไทลท 3 (third quartile), วดคำเบยงเบนมำตรฐำน(Standard deviation :SD), คำควำมเบ (Sk)

• เปรยบเทยบคำปรมำณรงสผปวยภำยในกลมจำกกรำฟฮสโตแกรม ( Histogram) • เปรยบเทยบคำปรมำณรงสผปวยระหวำงโรงพยำบำลกบคลนกฟน โดยใชสถต ANOVA

วสดวธกำร (ตอ)

ตำรำงท 1 ปรมำณรงสผปวยจำกกำรถำยภำพรงสวนจฉยฟนในชองปำกของผปวยผใหญในโรงพยำบำลและคลนกฟนในเขตสขภำพท 2

ตำรำงท 2 ปรมำณรงสผปวยจำกกำรถำยภำพรงสวนจฉยฟนในชองปำกของผปวยผใหญในโรงพยำบำล 45 แหง และคลนกฟน43 แหงในเขตสขภำพท2

* ใช ANOVA เปรยบเทยบปรมำณรงสผปวยของโรงพยำบำลกบคลนกฟน* คำนยส ำคญทำงสถตท p> 0.05 ไมแตกตำงกนอยำงมนยส ำคญทำงสถต

ตำรำงท 3 เทคนคและองคประกอบทใชในกำรถำยภำพรงสวนจฉยฟนในชองปำกผใหญของเครองตงคำตำมชนดฟน

ปรมาณรงสผปวยจากการถายภาพรงสวนจฉยฟนในชองปาก ผลการวดปรมาณรงสทใชถายภาพฟนในชองปากผใหญ พบปรมาณรงสผปวย patient entrance dose (PED) ทใชในการถายภาพรงสฟนกรามบนผใหญของกลม มคาคอลไทลท 3 เทากบ 5.0 มลลเกรย สงเกนคาอางองของ European Guidelines ทก าหนดไว คอ 4 มลลเกรยของฟนกรามบน รายละเอยดดงตารางและกราฟ

ผล

วจำรณ

การศกษาปรมาณรงสในครงนพบปรมาณรงสมคาควอไทลท 3 ของกลม สงเกนคาอางองของ European Guidelines ทก าหนดไว คอ 4 มลลเกรย(2)และของฟนกรามบน (maxillarymolar) ของผใหญทวดไดทปลายโคนของหลอดเอกซเรย สงกวาคาปรมาณรงสของตวอยางงานวจย ของศรวรรณ จเลยงและคณะของประเทศไทย(5) ในพนทจงหวดตรงกระบ พงงา และภเกตและการส ารวจรงสของประเทศลกซมเบรก(2) ทวดคาปรมาณรงสจากการถายภาพรงสฟนกรามบนของผใหญเทากบ 3.7 มลลเกรย และ3.8 มลลเกรยตามล าดบ สวนคาปรมาณรงสของฟนกรามลาง(mandibular molar) ของผใหญคาควอไทลท 3 ของกลมเทากบ 3.8 มลลเกรย สงกวางานวจยของ Eun-Kyung Kim และคณะของประเทศเกาหล(6) ทวดคาปรมาณรงส เทากบ 3.07 มลลเกรย มคาสงกวาเชนกน สวนปรมาณรงสของการถายภาพฟนอนๆ ในชองปาก ไดแก ฟนหนาบน, ฟนกรามนอยบน,ฟนหนาลาง,ฟนกรามนอยลาง พบคาปรมาณรงสสงกวางานวจยของ Mi -Ra Han และคณะของประเทศเกาหล(7) ทกชนดฟน ดงนนควรมการศกษาวจยตอไปถงสาเหตส าคญของการใหปรมาณรงสทสง โดยปจจยตางๆ ทมผลตอคาปรมาณรงสทสงขน เชนเครองเอกซเรยไมมการควบคมคณภาพหรอเครองมสภาพเกาไมมการปรบปรง,ความยาวของกระบอกรงสนอย,ฟลมทใชมความไวตอแสงต า,ไมมการควบคมคณภาพของน ายาและมการใชน ายาซ าและยงไมเปลยนเปนระบบสรางภาพดจตอลทใหปรมาณรงสลดลงมากกวา, เจาหนาทผปฏบตงานไมมการฝกอบรมใหความรเรองขนตอนการปฏบตและไมเขาใจการตงเทคนคทเหมาะสม จงตงเทคนคโดยไมมการปรบปรบปรงเทคนคปจจบนใหลดลงและควรด าเนนการตรวจวดคาปรมาณรงสของผปวยเปนประจ าอยางตอเนองเพอเปรยบเทยบกบปรมาณรงสอางองอยางสม าเสมอและการประเมนควรด าเนนการอยางนอยทก 3 ป (2) เพอควบคมไมใหมการใชรงสกบผปวยมากเกนความจ าเปน

สรปดงนนจากการศกษาปรมาณรงสในการถายภาพวนจฉยฟนทพบคาสงในการศกษาน จะเปนขอมลทน าไปสการใหความส าคญในการปรบปรมาณรงสผปวยไดรบต ากวาคาปรมาณรงสอางองและนอยลงอยางตอเนองและยงยนโดยโรงพยาบาลและคลนกฟนตองรวมกนพฒนาคณภาพงานบรการถายภาพรงสทมคณภาพสามารถวนจฉยโรคไดอยางถกตองและลดปรมาณรงสใหผปวยไดรบนอยสดและปลอดภย และขอมลปรมาณรงสในเขตสขภาพท 2 จะเปนประโยชนในการศกษาปรมาณรงสผปวยและน าไปสการศกษาตอในภาพรวมของประเทศ เพอใหประเทศไทยมคาปรมาณรงสอางองของประเทศในอนาคตเพอใชเปนคาอางองทเหมาะสมของประเทศตอไป

เอกสำรอำงอง1. Memon A, Godward S, Williams D, Siddique I, AL-Saleh K. Dental x-rays and the risk of thyroid cance: a case-

conrol study. Acta Oncologica. (serial online) 2010 ( cited 2015 Dec 22); 49: 447–453: Available from:URL:http://www.learndigital.net/articles/2011/DentalXraysandthyroidcancer.pdf.

2. European guidelines on radiation protection in dental radiology: The safe use of radiology in dental practice. Issue NO 136. Belgium: European Commission; 2004.

3. IAEA. International Basic Safety Standards for protection against ionizing radiation and the Safety of radiation sources.IAEA safety series No.115. Vienna:International Atomic Energy Agency; 1996.

4. ICRP. International Commission on Radiological Protection. Diagnostic reference levels in medical imaging: Review and additional advice. A web module produced by Committee 3 of the ICRP (serial online) 2002 (cited 2015 Dec 30);(14 screen): Available from:URL:http://www.icrp.org/docs/DRL_for_web.pdf.

5. ศรวรรณ จเลยง, สายณห เมองสวาง. ความปลอดภยจากการใชเครองเอกซเรยฟนในเขตสาธารณสขท 7วารสารกรมวทยาศาสตรการแพทย 2556; 55(4) : 236-245.

6. Kyung Kim E, Jeong Han W, Woo Choi J, -Hoa Jung Y, Ja Yoo S, Seo Lee J. Diagnostic reference levels in intraoral dental radiography in Korea. Imaging Sci Dent. (serial online) 2012 (cited 2015 Dec 22); 42 (4):237-242 Available from: URL: http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC3534178/

7. MR Han M, Cheol Kang B, Seo Lee J, Ja Yoon S, Hee Kim Y. Reference dose levels for dental periapical radiography in Chonnam Province.Korean J Oral Maxillofac Radiol.(serial online)2009 Dec; (cited 2015 Dec 24);39(4):195-198. Available from:URL: http://www.kamje.or.kr/KAMJE_Journals/2009/pdf/147.pdf.