Top Banner
การศึกษาปริมาณความชื้นในดินเพื่อปลูกพืชไร และ ไมผลบางชนิด โดยใช ซอรฟแวร CROPWAT ที่อําเภอ ชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี วัตถุประสงค เพื่อคาดคะเนความชื้นในชุดดินตางๆ ใน ตําบลศิลาทิพย อําเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี เพื่อปลูก ขาวโพด ถั่วเขียว ถั่วเหลือง สมเขียวหวาน มะมวง และกลวยหอม โดยใชซอฟทแวร CROPWAT ระยะเวลาดําเนินการ เริ่มตน มกราคม 2537 สิ้นสุด ธันวาคม 2537 สถานที่ดําเนินการ ที่ดินของเกษตรกรตําบลศิลาทิพย อําเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี และกองสํารวจและจําแนกดิน ผูดําเนินการ 1. นางผริดา คุณีพงษ 2. นายเสรี จึงนิจนิรันดร 3. นางผุสดี เพื่อวงษ การดําเนินการ 1) การสรางแผนที่ตนราง (Preliminary map) สรางแผนที่ตนรางของแผนที่ดินจากภาพถายทางอากาศมาตราสวน 1: 4,000 2) การสํารวจดิน 2.1 ทําการสํารวจดินอยางละเอียด (Detailed survey) บนพื้นที่ศึกษารวมเนื้อที่ทั้งหมด 1,714 ไร ขนาดมาตราสวนของแผนที1: 4,000 โดยทําการเจาะสํารวจทุกๆระยะ 100 เมตร หรือทุกระยะที่มีการ เปลี่ยนแปลงของพื้นทีโดยตองการสํารวจในระดับชุดดิน (Soil series) และ ระดับ Phase 2.2 เก็บตัวอยางดินเพื่อวิเคราะห คุณสมบัติทางเคมีและฟสิกส ไดแก OM. P, K , available water capacity (AWC), Bulk density, pH, % ความชื้นของดิน หนวยแผนที่ดิน จากการสํารวจดินในพื้นที่ศึกษา ตั้งอยูระหวางตั้งอยูระหวาง 733,200E - 735,400E และ 1,094,200N- 1,697,000N และ จากการสํารวจและวิเคราะหดินพบวาในสถานที่ศึกษาประกอบดวยชุดดินตางๆดังตอไปนีชุด ดินลพบุรี ชุดดินชัยบาดาล และ ชุดดินสบปราบ และแบงออกไดเปน
24

CROPWAT ชัยบาดาลาเภอ จังหวัดลพบุรี ...oss101.ldd.go.th/web_research/_doc_research/water...CROPWAT ระยะเวลาด าเนนการ

Jan 24, 2021

Download

Documents

dariahiddleston
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
  • การศึกษาปริมาณความชื้นในดินเพื่อปลูกพืชไร และ ไมผลบางชนิด โดยใช ซอรฟแวร CROPWAT ท่ีอําเภอ ชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี

    วัตถุประสงค เพื่อคาดคะเนความชื้นในชุดดินตางๆ ใน ตําบลศิลาทิพย อําเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี เพื่อปลูก ขาวโพด ถ่ัวเขียว ถ่ัวเหลือง สมเขียวหวาน มะมวง และกลวยหอม โดยใชซอฟทแวร CROPWAT ระยะเวลาดําเนินการ เร่ิมตน มกราคม 2537 สิ้นสุด ธันวาคม 2537 สถานที่ดําเนินการ ท่ีดินของเกษตรกรตําบลศิลาทิพย อําเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี และกองสํารวจและจําแนกดิน ผูดําเนินการ 1. นางผริดา คุณีพงษ 2. นายเสรี จึงนิจนิรันดร 3. นางผุสดี เพื่อวงษ การดําเนินการ 1) การสรางแผนที่ตนราง (Preliminary map) สรางแผนที่ตนรางของแผนที่ดินจากภาพถายทางอากาศมาตราสวน 1: 4,000 2) การสํารวจดิน 2.1 ทําการสํารวจดินอยางละเอียด (Detailed survey) บนพื้นที่ศึกษารวมเนื้อที่ทั้งหมด 1,714 ไร ขนาดมาตราสวนของแผนที่ 1: 4,000 โดยทําการเจาะสํารวจทุกๆระยะ 100 เมตร หรือทุกระยะที่มีการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ โดยตองการสํารวจในระดับชุดดิน (Soil series) และ ระดับ Phase 2.2 เก็บตัวอยางดินเพื่อวิเคราะห คุณสมบัติทางเคมีและฟสิกส ไดแก OM. P, K , available water capacity (AWC), Bulk density, pH, % ความชื้นของดิน หนวยแผนที่ดิน จากการสํารวจดินในพื้นที่ศึกษา ตั้งอยูระหวางตั้งอยูระหวาง 733,200E - 735,400E และ 1,094,200N- 1,697,000N และ จากการสํารวจและวิเคราะหดินพบวาในสถานที่ศึกษาประกอบดวยชุดดินตางๆดังตอไปนี้ ชุดดินลพบุรี ชุดดินชัยบาดาล และ ชุดดินสบปราบ และแบงออกไดเปน

  • 8 ประเภทของดิน (Phase) ชุดดินลพบุรี (Lop Buri: Lb) จัดอยูในวงศ Typic Pellusterts, very fine montmorillonitic, isohyperthermic. พบบนพื้นที่คอนขางราบเรียบจนถึงเปนลอนคลื่นเล็กนอย มีความลาดเท 1 - 3 เปอรเซ็นต เปนดินลึกมีการระบายน้ําดีปานกลาง ดินมีความสามารถในการใหน้ําซึมผานไดชาและอุมน้ําไดสูง ฤดูแลงดินจะแตกระแหงเปนรองลึก เนือดินเปนดินเหนียวสีดํา ถึงสีเทาเขมมาก ปฏิกริยาเปนกรดเล็กนอยจนถึงเปนดาง ดินมีความอุดมสมบูรณปานกลาง pH 6.1-8.0 (จากหองปฏิบัติการ) พบดินอยู 1 ประเภทดินคือ ชุดดินลพบุรี มีเนื้อดินบนเปนดินเหนียว มีความลาดชัน 0-2 เปอรเซ็นต (Lop Buri-clay: Lb-cA, 0-2 % slopes) ชุดดินชัยบาดาล (Chai Badan: Cd) จัดอยูในวงศ Typic Chromuderts. very fine montmorillonitic,isohyperthermic. เปนดินลึกปานกลาง การระบายน้ําดีปานกลาง ความสามารถในการอุมน้ําสูง ความสามารถในการใหน้ําซึมผานไดชา การไหลบาของน้ําบนผิวดินปานกลางถึงเร็ว โครงสรางของดินดีปานกลาง ความอุดมสมบูรณปานกลาง ความเปนกรดเปนดางประมาณ 6.3 - 7.9 (จากหองปฏิบัติการ) ชุดดินชัยบาดาล ที่พบในบริเวณศึกษา มี 3 ประเภท คือ 1) ชุดดินชัยบาดาล ที่มีเนื้อดินบนเปนดินเหนียว มีความลาดชัน 0-2 เปอรเซ็นต (Chai Badan - Clayey, 0-2% slopes : Cd - cA) 2) ชุดดินชัยบาดาล ที่มีเนื้อดินบนเปนดินเหนียว มีความลาดชัน 0-2 เปอรเซ็นต และเปนดินลึก (Chai Badan - Clayey, 0-2% slopes and deep : Cd - cA/d4) 3) ชุดดินชัยบาดาล ที่มีเนื้อดินบนเปนดินเหนียว มีความลาดชัน 2-5 เปอรเซ็นต (Chai Badan - Clayey, 2-5% slopes : Cd - cB) ชุดดินสบปราบ (Sop Prap series : So) จัดอยูในวงศ Lithic Haplustolls, fine, montmorillonitic, isohyperthermic. เปนดินตื้นพบบนสภาพพื้นที่คอนขางราบเรียบ จนถึงเปนลอนคลื่น มีการระบายน้ําดี ความสามารถในการอุมน้ําสูง ความสามารถในการใหน้ําซึมผานปานกลางถึงชา การไหลบาของน้ําบนผิวดินปานกลางถึงเร็ว โครงสรางของดินดีปานกลาง ความอุดมสมบูรณปานกลาง ความเปนกรดเปนดางประมาณ 6.1 - 7.6 (จากหองปฏิบัติการ) ชุดดินสบปราบที่พบในบริเวณสํารวจมี 4 ประเภท คือ

  • 1) ชุดดินสบปราบ ที่มีเนื้อดินบนเปนดินเหนียว มีความลาดชัน 0-2 เปอรเซ็นต (Sop Prap - Clayey, 0-2% slopes : So - cA) 2) ชุดดินสบปราบ ที่มีเนื้อดินบนเปนดินเหนียว มีความลาดชัน 2-5 เปอรเซ็นต (Sop Prap - clay loam, 2-5% slopes : So - cB) 3) ชุดดินสบปราบ ที่มีเนื้อดินบนเปนดินเหนียว มีความลาดชัน 0-2 เปอรเซ็นต และเปนดินตื้นมาก (Sop Prap - Clayey , 0-2% slopes and very shallow : So - cA/d1) 4) ชุดดินสบปราบ ที่มีเนื้อดินบนเปนดินเหนียว มีความลาดชัน 2-5 เปอรเซ็นตและเปนดินตื้นมาก and very shallow : So - cB/d1) หมายเหตุ ในการศึกษาครั้ง ไดทําการศึกษาในระดับชุดดิน 3) ทําแผนที่ดิน ไดทําแผนที่ทั้งระดับชุดดินและระดับประเภทของดิน 4) การใชซอฟทแวร CROPWAT CROPWAT จะคํานวณการคายระเหยจริง (Eta: Actual evapotranspiration), ศักยภาพในการคายระเหย (Etm: Potential evapotranspiration) ปริมาณน้ําฝนที่นําไปใชไดจริง (effective rainfall) และคาความตองการน้ํา (Crop water requirement)ของสมเขียวหวาน มะมวง กลวยหอม และพืชไรบางชนิดไดแก ขาวโพด ถ่ัวเหลืองและถ่ัวเขียวในดินแตละหนวยแผนที่ดิน จากผลการวิเคราะหดินและขอมูลภูมิอากาศ การทํางานของ CROPWATCROPWAT คือซอฟทแวรพัฒนาโดย FAO เมื่อป 2531 เพื่อคํานวณหาความตองการน้ําของพืช (Crop water requirement) บนชุดดินตางๆ ปริมาณน้ําที่พืชสามารถนําไปใชได (Moisture availability) และปริมาณน้ําที่ตองการเพิ่มเติม (Irrigation requirement) เพื่อใหดินอยูในสภาพความชื้นที่พืชตองการ และการจัดชั้นความเหมาะสมของดินโดยอาศัยความชื้นเพียงอยางเดียว โดย การคํานวณจาก ภูมิอากาศ พืช และดิน

  • ผังการทํางานของ CROPWAT รูปท่ี 1 แสดงผังการทํางานของ CROPWAT

    ขอมูลภูมิอากาศ ขอมูลพืช วัน ขอมูลดิน- อุณหภูมิ - ระยะการเจริญเติบโต ปลูก - ความชื้นในดินทั้งหมด - ปริมาณน้ําฝน - สัมประสิทธิพืช (Kc) (TAM m/mm) - ความชื้นสัมพัทธ - ความยาวของราก - การแทรกซึมน้ําผาน - แสง - การตอบสนองในการ ผิวดิน - ความเร็วลม ใหผลผลิต (yield respond (Max. infiltration rate) factor) - ความลึก

  • - ความชื้นเริ่มตน การคายระเหยจริงและ (Initial avail. ) ศักยภาพ - ระยะที่น้ําเริ่มขาด (Eta, Etm ) (Initial soil depletion) น้ําฝนที่นําไปใชได (Effective rainfall) ผลที่ได - ปริมาณน้ําที่พืชตองการ - ปริมาณน้ําที่ตองใหเพิ่ม - ชวงเวลาที่ตองใหน้ํา - ผลผลิตที่ลดลงถาขาดน้ํา - ช้ันความเหมาะสมของดิน ในการปลูกพืชโดยใชความ ช้ืนเพียงอยางเดียว 4. การคํานวณปริมาณความชื้นบนชุดดินตางๆโดยใชซอฟทแวร CROPWAT ขอมูลฐานที่ตองการ (Data input) 1. ขอมูลภูมิอากาศ (ตารางที่ 1 ) - อุณหภูมิ ความชื้น ความยาวของวัน ความเร็วของลม ปริมาณน้ําฝน ปริมาณการคาย ระเหย จากสถานีบัวชุม อ. บัวชุม จ. ลพบุรี ซ่ึงเปนสถานีตรวจอากาศที่อยูใกลสถานที่ ทําการทดลองมากที่สุด คํานวณโดย CROPWAT ตารางที่1. แสดงคาการคายระเหยจริง (Eta) ปริมาณน้ําฝนที่ตก (Rainfall) และ ปริมาณน้ําฝนที่สามารถนําไปใชได (Effective rainfall) ของสถานีบัวชุมเฉลี่ย 30 ป (โดยยังไมไดนําขอมูลดินมาเกี่ยวของ)

  • เดือน

    คาการคายระเหยจริง Eta (mm)

    ปริมาณฝนที่ตก Rainfall(mm/month)

    ปริมาณฝนที่พืชสามารถนําไปใชได Eff.ective

    rainfall(mm/month) / วัน /เดือน

    มกราคม 4.6 138.0 2.7 0.0 กุมภาพันธ 5.1 153.0 16.8 0.1 มีนาคม 5.4 162.0 41.0 14.6 เมษายน 6.0 180.0 93.0 49.4 พฤษภาคม 4.0 120.0 130.0 79.0 มิถุนายน 4.1 122.0 116.0 67.8 กรกฎาคม 3.7 111.5 127.0 76.6 สิงหาคม 3.5 106.5 181.0 119.8 กันยายน 3.1 99.0 283.0 201.4 ตุลาคม 3.5 106.5 126.5 76.2 พฤศจิกายน 3.8 116.0 21.0 2.6 ธันวาคม 3.8 116.0 3.3 0.0 ตลอดป - 1530.5 1141.3 687.5

    Effective rainfall คํานวณโดย Empiracal formula (AGLW/FAO) 2. ขอมูลพืช สาระสําคัญของขอมูลพืชที่เกี่ยวของกับน้ําในดินไดแก การขาดน้ําในระยะวิกฤติ (Critical period) ของแตละพืช ดังตอไปนี้ 2.1 ขาวโพด ระยะวิกฤติของขาวโพดคือ 2.1.1 ระยะการเจริญเติบโตทางลําตน และกิ่งกาน (Vegetative growth) หรือเมื่ออายุประมาณ 15 - 40 วันนับจากการหยอดเมล็ด การขาดน้ําในชวงนี้จะยับยั้งการเจริญเติบโต

  • 2.1.2 ระยะออกไหม และ ระยะผสมเกษรเมื่ออายุประมาณ 40 - 60 วัน การขาดน้ําในชวงนี้ทําใหไมมีเมล็ดหรือมีนอย เนื่องจากไหมจะแหงไป 2.1.3 ระยะที่กําลังสรางเมล็ด (Yield formation) เมื่ออายุประมาณ 60 - 95 วัน ซ่ึงการขาดน้ําในชวงนี้จะมีผลทําใหเกิดเมล็ดลีบ 2.2 ถั่วเหลือง ระยะวิกฤติของถ่ัวเหลือง คือ 2.2.1 ระยะการเจริญเติบโตทางลําตน และกิ่งกาน (Vegetative growth) หรือเมื่ออายุประมาณ 10 - 25 วันนับจากการหยอดเมล็ดการขาดน้ําในชวงนี้ จะยับยั้งการเจริญเติบโต 2.2.2 ระยะออกดอก (Flowering) หรือเมื่ออายุประมาณ 25 - 45 วันการขาดน้ําในชวงนี้จะทําใหเกิดดอกนอย 2.2.3 ระยะติดฝก (Early yield formation) เมื่ออายุประมาณ 45 - 55 วันการขาดน้ําในชวงนี้จะมีผลทําใหฝกรวง 2.3 ถั่วเขียว ระยะวิกฤติของถ่ัวเขียว คือ 2.3.1 ระยะการเจริญเติบโตทางลําตน และกิ่งกาน (Vegetative growth) หรือเมื่ออายุประมาณ 10 - 30 วันนับจากการหยอดเมล็ด การขาดน้ําในชวงนี้ จะทําใหการเจริญเติบโตไมสม่ําเสมอ 2.3.2 ระยะออกดอก (Flowering) หรือเมื่ออายุประมาณ 30 - 40 วัน การขาดน้ําในชวงนี้ จะทําใหผลผลิตลดลง 2.3.3 ระยะติดฝก (Early yield formation) เมื่ออายุประมาณ 40-55 วัน การขาดน้ําในชวงนี้ จะมีผลทําใหฝกรวง 2.3.4 ระยะที่กําลังแก (Ripening Stage) หรือเมื่ออายุประมาณ 55-70 วัน การขาดน้ําในชวงนี้ จะมีผลทําใหผลผลิตเมล็ดแหงขาดคุณภาพ 2.4 สมเขียวหวาน สําหรับไมผลการเจริญเติบโตของกิ่งกานใหม (New vegetative growth) ขึ้นอยูกับความสมบูรณในระยะกอนออกดอกครั้งแรก และเปนตัวกําหนดขนาดของลําตน และ เปอรเซ็นตของการออกดอก ระยะวิกฤติของสมเขียวหวานที่ใหผลแลวคือ 2.4.1 ระยะการพักฟน (Rest period) หรือประมาณ 2 เดือนหลังเก็บเกี่ยวปที่แลว เมื่อไมมีการเจริญเติบโตของกิ่งกานใหม แตจะเกิดตาดอก (Flower bud) การขาดน้ําหลังจากระยะการพักฟนจะทําใหยืดระยะเวลาการออกดอก และยังทําใหจํานวนผลมากเกินไป (Over production) อีกดวย 2.4.2 ระยะออกดอก (Flowering period) หากขาดน้ําในชวงนี้ ซ่ึงเปนชวงที่ตองใหปูยเคมีจะทําใหไมสามารถใหปุยเคมีกับสมเขียวหวานทําใหติดผลนอยลงมาก 2..4.3 ระยะสรางผล (Yield formation) การขาดน้ําในระยะสรางผล จะทําใหผลออนรวง 2.4.4 ระยะติดผล (Fruit set) การขาดน้ําในระยะติดผล จะทําใหผลผลิตลดลงเนื่องจากผลรวง

  • 2.5 มะมวง เชนเดียวกับสมเขียวหวาน 2.6 กลวยหอม 2.6.1 ระยะแตกหนอและระยะ เจริญเติบโตของลําตนและใบ (Suckering and vegetative growth) ไดแกระยะ 6 เดือนแรก การขาดน้ําในชวงนี้ทําใหอัตราการเจริญเติบโตของใบลดลง เปนผลทําใหจํานวนและขนาดของหวีในเครือลดลง 2.6.2 ระยะออกดอก (Flowering period) การขาดน้ําในระยะออกดอกจะทําให การเจริญเติบโตของใบลดลง จะทําใหจํานวนผลใน 1 หวีลดลง 2.6.3 ระยะสรางผล (Yield formation) การขาดน้ําในระยะสรางผล จะจํากัดขนาดของผล และ ทําใหผลไมสม่ําเสมอ และสุกเร็วเกินไป ขอมูลพืชที่ CROPWAT ตองการ แสดงไวในตารางที่ 2 ไดแก ชนิดของพืช วันที่ปลูก อัตราการเจริญเติบโต สัมประสิทธิ์พืช การลดลงของผลผลิต เปนตน ตารางที่ 2 ขอมูลพืช

    ระยะเวลา ระยะการเจริญเติบโต (Growth stage) ชนิดพืช

    เร่ิมตน (Initial )

    เจริญเติบโต (Developmen

    t

    ระยะกลาง (Mid-

    season)

    ระยะเก็บเกี่ยว (Late)

    รวม (Total)

    หมายเหตุ

    ขาวโพด ชวงอายุ (วัน) 15 27 30 28 100 สัมประสิทธิพืช Crop coeffiicient : Kc)

    0.40 1.05 0.12 Fraction

    ความยาวของราก (เมตร.) 0.10 -----> 0.80 0.80 ระดับการขาดน้ํา (Depletion,%)

    0.20 -----> 0.25 0.50 Fraction

    ปจจัยตอบสนองตอการใหผลผลิต(Yield respond factors : % )

    0.40 1.50 0.40 1.50 1.25 Fraction

  • ถั่วเหลือง ชวงอายุ (วัน) 10 15 35 30 90 สัมประสิทธิพืช Crop coefดicient : Kc)

    0.45 -----> Fraction

    ความยาวของราก (เมตร) 0.25 -----> 0.80 0.80 ระดับการขาดน้ํา

    (Depletion) 0.50 -----> 0.60 0.90 Fraction

    ปจจัยตอบสนองตอการใหผลผลิต(Yield respond factors )

    0.40 0.80 1.00 0.40 0.85 Fraction

    ถั่วเขียว ชวงอายุ (วัน) 10 15 30 15 70 สัมประสิทธิพืช Crop coefดicient : Kc)

    0.54 -----> 1.05 0.45 Fraction

    ความยาวของราก (เมตร) 0.25 -----> 0.80 0.80 ระดับการขาดน้ํา

    (Depletion) 0.50 -----> 0.60 0.90 Fraction

    ปจจัยตอบสนองตอการใหผลผลิต(Yield respond factors )

    0.40 0.80 1.00 0.40 0.85 Fraction

    112 ระยะการเจริญเติบโต (Growth stage)

    ระยะเวลา ชนิดพืช

    เร่ิมตน (Initial )

    เจริญเติบโต (Development

    ระยะกลาง (Mid-

    season)

    ระยะเก็บเกี่ยว (Late)

    รวม

    (Total)

    หมายเหตุ

    สมเขียวหวาน ชวงอายุ (วัน) 60 90 90 120 360 สัมประสิทธิพืช 0.75 -----> 0.65 Fraction

  • Crop coeffรicient : Kc) ความยาวของราก (เมตร) 1.40 -----> 1.40

    ระดับการขาดน้ํา (Depletion)

    0.50 -----> 0.50 Fraction

    ปจจัยตอบสนองตอการใหผลผลิต(Yield respond factors )

    1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 Fraction

    มะมวง ชวงอายุ (วัน) 90 90 90 90 360 สัมประสิทธิพืช Crop coeffรicient : Kc)

    0.90 -----> 0.90 0.90 Fraction

    ความยาวของราก (เมตร) 2.00 -----> 2.00 2.00 ระดับการขาดน้ํา

    (Depletion) 0.60 -----> 0.60 0.60 Fraction

    ปจจัยตอบสนองตอการใหผลผลิต(Yield respond factors : %)

    0.80 0.80 0.80 0.80 0.80 Fraction

    กลวยหอม ชวงอายุ (วัน) 90 90 90 90 360 สัมประสิทธิพืช Crop coeffรicient : Kc)

    0.90 -----> 0.90 0.90 Fraction

    ความยาวของราก (เมตร) 0.80 -----> 0.80 0.80 ระดับการขาดน้ํา

    (Depletion) 0.35 -----> 0.35 0.35 Fraction

    ปจจัยตอบสนองตอการใหผลผลิต(Yield respond factors : %)

    1.30 1.30 1.30 1.30 1.30 Fraction

    หมายเหตุ Fraction = เลขเศษสวน หรือ เลขทศนิยม (ไมมีหนวย)

  • 3. ขอมูลดิน สําหรับขอมูลดินที่ CROPWAT ตองการไดแก ปริมาณน้ําในดินทั้งหมด (Total available moisture) ปริมาณความชื้นที่เร่ิมตนในดิน (Initial soil moisture) อัตรา การซาบซึมน้ําฝนสูงสุด (Maximum rain infiltration rate) และความลึกของดิน (ตารางที่ 3) ตารางที่ 3 แสดงขอมูลดินที่ CROPWAT ตองการ

    หนวยแผนทีดิน

    พื้นที่ (ไร)

    ปริมาณน้ําทั้งหมดใน

    ดิน Total

    available moisture (mm/m)

    ปริมาณน้ําเริ่มตนในดิน Initial soil

    moisture depletion

    (%)

    ปริมาณน้ําเร่ิมตนในดินที่พืชใชได Initial

    available soil

    moisture (mm/m)

    อัตราการซาบซึมน้ําฝนสูงสุด

    Max rain infiltration

    rate (mm./day)

    ความลึกของดิน

    Soil depth (cm.)

    Lb -cA 649.0 195 15 166 40 100+

    Cd-cA 53.0 220 19 178 40 100+

    Cd-cB 105.3 257 21 196 40 100+

    Cd-cB/d4 61.9 248 21 196 40 100+

    So-cA 172.0 233 13 203 40 40 So-cAd1 164.6 271 20 217 40 35 So-cB/d1 296.7 284 21 224 40 35 So-cB 204.7 255 18 209 40 45 นา 6.8 รวม 1714.0 - - - - -

    หมายเหตุ Lb-cA = ชุดดินลพบุรี ที่มีเนื้อดินบนเปนดินเหนียว มีความลาดชัน 0-2 เปอรเซ็นต Cd - cA = ชุดดินชัยบาดาล ที่มีเนื้อดินบนเปนดินเหนียว มีความลาดชัน 0-2 เปอรเซ็นต Cd - cB = ชุดดินชัยบาดาล ที่มีเนื้อดินบนเปนดินเหนียว มีความลาดชัน 2-5 เปอรเซ็นต

  • Cd - cB/d4) = ชุดดินชัยบาดาล ที่มีเนื้อดินบนเปนดินเหนียว มีความลาดชัน 2-5 เปอรเซ็นต และเปนดินลึก So - cA = ชุดดินสบปราบ ที่มีเนื้อดินบนเปนดินเหนียว มีความลาดชัน 0-2 เปอรเซ็นต So - cA/d1 = ชุดดินสบปราบ ที่มีเนื้อดินบนเปนดินเหนียว มีความลาดชัน 2-5 เปอรเซ็นต และเปนดินตื้นมาก So - cB = ชุดดินสบปราบ ที่มีเนื้อดินบนเปนดินเหนียว มีความลาดชัน 2-5 เปอรเซ็นต So - cBd1 = ชุดดินสบปราบ ที่มีเนื้อดินบนเปนดินเหนียว มีความลาดชัน 2-5 เปอรเซ็นตและเปน ดินตื้นมาก 5. วิเคราะหขอมูลและเขียนรายงาน สรุป วิเคราะหขอมูลและเขียนรายงาน

    สรุปผลการศึกษา 1. การสํารวจและทําแผนที่ดิน จากการสํารวจดินอยางละเอียดในระดับชุดดิน (Series) และระดับหนวยดิน (Phase) พบดิน 3 ชุด และ 10 ประเภทของดิน ดังแสดงไวในรูปที่ 1

  • รูปที่ 2

  • 2. การใชซอฟทแวร CROPWAT ประเมินความตองการน้ําของพืช ไดนําขอมูลภูมิอากาศตามตารางที่ 1 ขอมูลพืชตามตารางที่ 3 และขอมูลดินตามตารางที่ เขาโปรแกรม CROPWAT โดยทําการประเมินเฉพาะในระดับชุดดิน ผลที่ไดรับแสดงไวในตารางที่ 4 ตารางที่ 4 แสดงปริมาณน้ําฝนที่พืชนําไปใชได ปริมาณน้ําที่พืชตองการ ปริมาณน้ําที่พืชขาด % ของ ผลผลิตลดลงเมื่อขาดน้ําและชั้นความเหมาะสมของชุดดินลพบุรี ชัยบาดาลและสบปราบ ใน การปลูกขาวโพด ถ่ัวเหลือง และ ถ่ัวเขียว โดยอาศัยความชื้นในดินเพียงอยางเดียว ที่ ต.ศิลาทิพย อ. ชัยบาดาล จ. ลพบุรี

    ชุดดิน พืชไร ลพบุรี ชัยบาดาล สบปราบ

    ขาวโพด

    ถ่ัวเหลือง

    ถ่ัวเขียว ขาวโพด

    ถ่ัวเหลือง

    ถ่ัวเขียว ขาวโพด

    ถ่ัวเหลือง

    ถ่ัวเขียว

    ปริมาณน้ําฝนที่พืชนําไปใชได (มม.)

    331.8 342.9 259.5 314.5 320.7 235.2 291.8 312.6 196.1

    ปริมาณน้ําที่พืชตองการ (มม.)

    275.3 288.5 211.8 275.3 288.5 211.8 275.3 288.5 211.8

    พืชขาดน้ํา (มม.)

    0.0 0.0 3.7 0.0 0.0 3.3 0.0 0.0 0.0

    ผลผลิตลดลง %

    0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0

    ช้ันความเหมาะสม โดยอาศัยความชื้นอยางเดียว

    S1 S1 S1 S1 S1 S1 S1 S1 S1

  • จากตารางที่ 4 อธิบายไดวา พืชไร ขาวโพด ปลูกในวันที่ 15 พฤษภาคม เก็บเกี่ยววันที่ 25 สิงหาคม พบวา ปริมาณน้ําฝนในฤดูปลูก = 460 มม. ขาวโพดตองการใชน้ํา 275.3 มม.เทากันทุกชุดดิน และปริมาณน้ําที่ขาวโพดสามารถจะนําไปใชได (Effective rainfall) บนชุดดินลพบุรี ชัยบาดาลและสบปราบเทากับ 331.8 314.5 และ 291.8 มม.ตามลําดับ เนื่องจากปริมาณน้ําในดินมากกวาปริมาณน้ําที่พืชตองการ และพอเหมาะกับการเจริญเติบโต จึงทําใหผลผลิตของขาวโพดอยูในเกณฑสูง การจัดชั้นความเหมาะสมของดิน (โดยอาศัยความชื้นเพียงอยางเดียว)

    ชุดดินลพบุรี (Lb) มีความเหมาะสม (Highly suitable = S1) สําหรับปลูกขาวโพด ชุดดินชัยบาดาล (Cd) มีความเหมาะสม (Highly suitable = S1) สําหรับปลูกขาวโพด ชุดดินสบปราบ (So) มีความเหมาะสม (Highly suitable = S1) สําหรับปลูกขาวโพด ถั่วเหลือง ปลูกในวันที่ 15 พฤษภาคม เก็บเกี่ยววันที่ 15 สิงหาคม พบวา ปริมาณน้ําฝน ในฤดูปลูก = 460 มม. ถ่ัวเหลืองตองการใชน้ํา 288.5 มม. เทากันทุกชุดดิน และปริมาณน้ําที่ ถ่ัวเหลืองสามารถจะนําไปใชได (Effective rainfall) บนชุดดินลพบุรี ชัยบาดาลและสบปราบ =342.9 320.7 และ 312.6 มม.ตามลําดับ เนื่องจากปริมาณน้ําในดินมากกวาปริมาณน้ําที่พืช ตองการจึงทําใหผลผลิตของถั่วเหลืองอยูในเกณฑสูง จึงไมทําใหผลผลิตลดลง การจัดชั้นความเหมาะสมของดิน (โดยอาศัยความชื้นเพียงอยางเดียว) ชุดดินลพบุรี (Lb) มีความเหมาะสม (Highly suitable = S1) สําหรับปลูกถ่ัวเหลือง ชุดดินชัยบาดาล (Cd) มีความเหมาะสม (Highly suitable = S1) สําหรับปลูกถ่ัวเหลือง ชุดดินสบปราบ (So) มีความเหมาะสม (Highly suitable = S1) สําหรับปลูกถ่ัวเหลือง ถั่วเขียว ปลูกหลังจากเก็บเกี่ยวขาวโพดและถั่วเหลืองแลว คือในวันที่ 28 สิงหาคม เก็บ เกี่ยวใน วันที่ 5 พฤศจิกายน พบวาตองการน้ํา 211.8 มม. และปริมาณที่พืชสามารถจะนําไปใช ได (Effective rainfall) บนชุดดินลพบุรี ชัยบาดาล และสบปราบ = 259.5 235.2 และ 196.1มม. ตามลําดับ เนื่องจากปริมาณน้ําในดินมากกวาปริมาณน้ําที่พืชตองการจึงทําใหผลผลิตของ

  • ถ่ัวเขียวอยูในเกณฑสูง จึงไมทําใหผลผลิตลดลง การจัดชั้นความเหมาะสมของดิน (โดยอาศัยความชื้นเพียงอยางเดียว) ชุดดินลพบุรี (Lb) มีความเหมาะสม (Highly suitable = S1) สําหรับปลูกถ่ัวเขียว ชุดดินชัยบาดาล (Cd) มีความเหมาะสม (Highly suitable = S1) สําหรับปลูกถ่ัวเขียว ชุดดินสบปราบ (So) มีความเหมาะสม (Highly suitable = S1) สําหรับปลูกถ่ัวเขียว ตารางที่ 5 แสดงปริมาณน้ําฝนที่พืชนําไปใชได ปริมาณน้ําที่พืชตองการ น้ําที่ขาด ผลผลิตลดลงถาขาดน้ําและช้ันความเหมาะสมของชุดดินลพบุรี ชัยบาดาลและสบปราบ ใน การปลูกสมเขียวหวาน มะมวง และ กลวยหอมโดยอาศัยความชื้นในดินเพียงอยางเดียว ที่ ต.ศิลาทิพย อ. ชัยบาดาล จ. ลพบุรี

    ชุดดิน

    ไมผล ลพบุรี ชัยบาดาล สบปราบ สมเขียว

    หวาน มะมวง กลวย

    หอม สมเขียวหวาน

    มะมวง กลวยหอม

    สมเขียวหวาน

    มะมวง กลวยหอม

    ปริมาณน้ําฝนที่พืชนําไปใชได (มม.)

    978.0 978.01 853.9 734.7 938.9 833.5 677.7 857.9 792.9

    ปริมาณน้ําที่พืชตองการ (มม.)

    965.0 1152.9 1122.4 923.8 1111.7 989.4 762.0 923.3 871.2

    พืชขาดน้ํา (มม.)

    274.1 274.1 208.7 336.6 424.4 527.9 386.9 505.3 570.3

    ผลผลิตลดลง %

    12.3 12.3 32.5 12.2 14.8 35.9 11.4 25.8 46.9

    ช้ันความเหมาะสม โดยอาศัย

    S1 S1 S2 S1 S1 S2 S1 S2 S3

  • ความชื้นอยางเดียว หมายเหตุ การจัดชั้นความเหมาะสมตามแนวทางของ FAO แบงเปน 4 ช้ัน ช้ันที่ 1 เหมาะสม (Highly suitable: S1) ช้ันที่ 2 เหมาะสมปานกลาง (Moderately suitable: S2) ช้ันที่ 3 เหมาะสมเล็กนอย (Marginally suitable: S3) ช้ันที่ 4 ไมเหมาะสม (Not suitable: N) ช้ันความเหมาะสมทั้ง 4 สามารถจะนํามาเปรียบเทียบกับผลผลิตไดโดยเปรียบเทียบกับ Optimum yield โดย S1 = 80 -100 % ของ Optimum yield S2 = 40 - 80 % ของ Optimum yield S3 = 20 - 40 % ของ Optumum yield N =

  • เนื่องจากผลผลิตที่ลดลงยังไมเกิน 20 % จึงจัดอยูในชั้นที่มีความเหมาะสม (Highly suitable = S1) ทั้งหมด (FAO, 1984) มะมวง เก็บเกี่ยวกลางเดือนมีนาคมพบวาตองการน้ํา 1152.9 1111.7 และ 923.3 มม. ปริมาณน้ําที่มะมวงสามารถจะนําไปใชได (Effective rainfall) บนชุดดินลพบุรี ชัยบาดาลและ สบปราบ = 978.0 938.9 และ857.9 มม. ทําใหมะมวงขาดน้ํา 274.1 424.4 และ 505.3 มม. และทําใหผลผลิตลดลง 12.3 14.8 และ 25.8 เปอรเซ็นตตามลําดับ การจัดชั้นความเหมาะสมของดิน (โดยอาศัยความชื้นเพียงอยางเดียว) ชุดดินลพบุรี (Lb) มีความเหมาะสม (Highly suitable = S1) สําหรับปลูกมะมวง ชุดดินชัยบาดาล (Cd) มีความเหมาะสม (Highly suitable = S1) สําหรับปลูกมะมวง ชุดดินสบปราบ (So) มีความเหมาะสมปานกลาง (Moderately suitable = S2) สําหรับ ปลูกมะมวง กลวยหอม เก็บเกี่ยวกลางเดือนมีนาคมพบวาตองการน้ํา 1122.4 989.4 และ 871.2 มม. ปริมาณน้ําที่กลวยหอมสามารถจะนําไปใชได (Effective rainfall) บนชุดดินลพบุรี ชัยบาดาลและสบปราบ = 853.9 833.5 และ 792.2 มม. จะขาดน้ํา 208.7 527.9 และ 570.3 มม. ทําให

    น้ําไมเพียงพอ เนื่องจากในกลวยหอมในชวง 6 เดือนแรกที่เร่ิมปลูกระหวางมีนาคม-สิงหาคม เมื่อถึงระยะกลาง (Mid season) ซ่ึงเปนระยะออกดอกการเจริญเติบโตทางลําตนและใบลดลง จํานวนผลในแตละหวีลดลง นอกจากนั้นยังทําใหขนาดของผลลดลงและมีขนาดไมสม่ําเสมอ ผลผลิตจึงลดลง 32.5 40.0 และ 46.9 เปอรเซ็นตบนชุดดินลพบุรี ชัยบาดาลและสบปราบตามลําดับ ซ่ึงนับวาคอนขางมาก และเปนเครื่องบงชี้วาหากปลูกกลวยหอมบนดินทั้ง 3 ชุดในที่ๆน้ําฝนไมพอเพียง หรือระยะเวลาปลูกไมเหมาะสมแลว ควรมีแหลงน้ําชลประทานจึงจะไดผลดี การจัดชั้นความเหมาะสมของดิน (โดยอาศัยความชื้นเพียงอยางเดียว) ชุดดินลพบุรี (Lb) มีความเหมาะสมปานกลาง (Moderatly suitable = S2) สําหรับปลูก กลวยหอม ชุดดินชัยบาดาล (Cd) มีความเหมาะสมปานกลาง (Moderatly suitable = S2) สําหรับปลูกกลวยหอม ชุดดินสบปราบ (So) มีความเหมาะสมเล็กนอย (Marginally suitable = S3) สําหรับปลูก กลวยหอม

  • สรุปและขอเสนอแนะ จากการจัดชั้นความเหมาะสมของดินโคยรวมตามแนวทางของ FAO (FAO, 1976 & 1983) จะไดขอสรุปดังตารางที่ 6 ตารางที่ 6 การจัดชั้นความเหมาะสมของชุดดินลพบุรี ชัยบาดาล และ สบปราบ ในการปลูก พืชไรและไมผลบางชนิด ที่ ต.ศิลาทิพย อ. ชัยบาดาล จ. ลพบุรี ตามแนวทาง FAO (FAO, 1976 และ 1983) ชุดดิน พื้นที่ พืชไร ไมผล

    ขาวโพด ถ่ัวเหลือง ถ่ัวเขียว สมเขียวหวาน

    มะมวง กลวยหอม

    ลพบุรี 61.9 S2 S2 S2 S2 S2 S2 ชัยบาดาล

    807.3 S3 S3 S3 S3 S3 S3

    สบปราบ

    838.0 S3 S3 S2 N N S3

    น้ํา 6.8 - - - - - - รวม 1714.0 - - - - - -

    หมายเหต ุ ตัวบงชี้ (Indicator) ท่ีใชในการจัดชั้นความเหมาะสมตามแนวทางของ FAO ไดแก

  • 1. อุณหภูมิ (o C) 2. ความชื้นท่ีพืชสามารถนําไปใชได ( ชั้นความเหมาะสม: ตามการทดลองครั้งนี้) 3. การระบายน้ํา (ชั้น) 4. คุณสมบัติทางเคมี ( N %, P : ppm, K : ppm, OM : %, pH, CEC. : meg/100gm, BS.: %,) 5. ความลึกของดิน การจัดชั้นความเหมาะสม ของชุดดินลพบุรี ชัยบาดาลและสบปราบ สําหรับปลูกพืชไร และ ไมผล ที่ ตําบลศิลาทิพย อําเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี แนวทางของ FAO (FAO, 1976 & 1983) ในตารางที่ 6 ไดจัดชั้นความเหมาะสมตามแนวทางของ FAO เปนการจัดชั้นความเหมาะสมของที่ดิน โดยไดนําภูมิอากาศและปจจัยอ่ืนๆ มาเกี่ยวของดวย 1. ชุดดินลพบุรี (Lb) 1.1 การจัดชั้นความเหมาะสมโดยอาศัยความชื้นเพียงอยางเดียว พบวาชุดดินลพบุรี (Lb) 1.1.1 มีความเหมาะสม (Highly suitable : S1) สําหรับ ถ่ัวเหลือง 1.1.2 มีความเหมาะสม (Highly suitable : S1) สําหรับขาวโพด 1.1.3 มีความเหมาะสม (Highly suitable : S1) สําหรับถ่ัวเขียว 1.1.4 มีความเหมาะสม (Highly suitable : S1) สําหรับสมเขียวหวาน 1.1.5 มีความเหมาะสม (Highly suitable : S1) สําหรับปลูกมะมวง 1.1.6 มีความเหมาะสมปานกลาง (Moderately suitable : S2) สําหรับปลูก กลวยหอม ขอจํากัดสําหรับการปลูกกลวยหอม ระหวางกันยายน - ธันวาคม เมื่อถึงระยะกลาง (Mid season) ซ่ึงเปนระยะออกดอกการเจริญเติบโตทางลําตนและใบลดลง จํานวนผลในแตละหวีลดลง นอกจากนั้นยังทําใหขนาดของผลลดลงและมีขนาดไมสม่ําเสมอ ผลผลิตจึงลดลง แนวทางแกไข ควรใหน้ําในชวงระหวางเดือนกันยายน - ธันวาคมเปนชวงๆ เพื่อใหความชื้นพอเพียงในการสรางผลใหสมบูรณ 1.2 การจัดชั้นความเหมาะสมโดยอาศัยปจจัยอ่ืนๆรวมดวย

  • 1.2.1 เหมาะสมปานกลาง (S2 :Moderately suitable:) สําหรับขาวโพด ถ่ัวเหลือง ถ่ัวเขียว สมเขียวหวาน มะมวงและกลวยหอม ขอจํากัด ขอจํากัดสําหรับชุดดินลพบุรี สําหรับ ขาวโพด ถ่ัวเหลือง ถ่ัวเขียว สมเขียวหวาน มะมวงและกลวยหอมไดแก ความอุดมสมบูรณปานกลาง แตสําหรับกลวยหอมยังขาดน้ําอีกดวย แนวทางแกไข โดยการใสปุยอินทรีย และปุยเคมีรวมทั้งการปรับปรุงบํารุงดินดวยอินทรียวัตถุ สําหรับกลวยหอมควรวางแผนการใหน้ําในชวงระหวางเดือนมีนาคม-สิงหาคมเปนชวงๆเพื่อใหความชื้นพอเพียงในการสรางผลใหสมบูรณ 2. ชุดดินชัยบาดาล (Cd) 2.1 การจัดชั้นความเหมาะสมโดยอาศัยความชื้นเพียงอยางเดียว พบวาชุดดินชัยบาดาล 2.1.1 มีความเหมาะสม (Highly suitable = S1) สําหรับปลูกขาวโพด 2.1.2 มีความเหมาะสม (Highly suitable = S1) สําหรับปลูกถ่ัวเหลือง 2.1.3 มีความเหมาะสม (Highly suitable = S1) สําหรับปลูกถ่ัวเขียว 2.1.4 มีความเหมาะสม (Highly suitable = S1) สําหรับปลูกสมเขียวหวาน 2.1.5 มีความเหมาะสม (Highly suitable = S1) สําหรับปลูกมะมวง 2.1.6 มีความเหมาะสมปานกลาง (Moderately suitable = S2) สําหรับปลูก กลวยหอม ขอจํากัดสําหรับการปลูกกลวยหอม ระหวางมีนาคม-สิงหาคม เมื่อถึงระยะกลาง (Mid season) ซ่ึงเปนระยะออกดอกการเจริญเติบโตทางลําตนและใบลดลง จํานวนผลในแตละหวีลดลง นอกจากนั้นยังทําใหขนาดของผลลดลงและมีขนาดไมสม่ําเสมอผลผลิตจึงลดลง แนวทางแกไข ควรใหน้ําในชวงระหวางเดือนมีนาคม-สิงหาคมเปนชวงๆเพื่อใหความชื้นพอเพียงในการสรางผลใหสมบูรณ 2.2 การจัดชั้นความเหมาะสมโดยอาศัยปจจัยอ่ืนๆรวมดวย เหมาะสมเล็กนอย (S3: Marginally suitable) ในการปลูก ขาวโพด ถ่ัวเหลือง ถ่ัวเขียว สมเขียวหวาน มะมวงและ กลวยหอม

  • ขอจํากัดในการปลูกขาวโพด ถ่ัวเหลือง ถ่ัวเขียว สมเขียวหวานและมะมวงและกลวยหอม ไดแกการขาดความอุดมสมบูรณ แตสําหรับกลวยหอมยังขาดน้ําอีกดวย แนวทางแกไข โดยการใสปุยอินทรีย และปุยเคมีรวมทั้งการปรับปรุงบํารุงดินดวยอินทรียวัตถุ สําหรับกลวยหอมควรวางแผนการใหน้ํา โดยใหน้ําในชวงระหวางเดือนมีนาคม-สิงหาคมเปนชวงๆเพื่อใหความชื้นพอเพียงในการสรางผลใหสมบูรณ 3 ชุดดินสบปราบ (So) 3.1 การจัดชั้นความเหมาะสมโดยอาศัยความชื้นเพียงอยางเดียว พบวาชุดดินสบปราบ 3.1.1 มีความเหมาะสม (Highly suitable = S1) สําหรับปลูกขาวโพด 3.1.2 มีความเหมาะสม (Highly suitable = S1) สําหรับปลูกถ่ัวเหลือง 3.1.3 มีความเหมาะสม (Highly suitable = S1) สําหรับปลูกถ่ัวเขียว 3.1.4 มีความเหมาะสม (highly suitable = S2) สําหรับปลูกสมเขียวหวาน ขอจํากัดของความชื้นสําหรับปลูกสมเขียวหวาน เนื่องจากขาดน้ํา ในชวงการออกดอกและระยะติดผล แนวทางแกไข ควรใหน้ําในชวงระหวางเดือน กรกฎาคม-ตุลาคม สําหรับสมเขียวหวาน เปนชวงๆเพื่อใหความชื้นพอเพียงในการสรางผลใหสมบูรณ 3.1.5 มีความเหมาะสมปานกลาง (Moderately suitable = S2) สําหรับปลูกมะมวง ขอจํากัดของความชื้นสําหรับปลูกมะมวง เนื่องจากขาดน้ําในชวง การออกดอกและติดผล แนวทางแกไข ควรใหน้ําในชวงระหวางเดือนกันยายน - ธันวาคมสําหรับมะมวงเปนชวงๆเพื่อใหความชื้นพอเพียงในการสรางผลใหสมบูรณ 3.1.6 เหมาะสมเล็กนอย (Marginally suitable = S3) สําหรับปลูกกลวยหอม ขอจํากัดของความชื้นสําหรับปลูกกลวยหอม ระหวางกันยายน - ธันวาคม เมื่อถึงระยะกลาง (Mid season) ซ่ึงเปนระยะออกดอกการเจริญเติบโตทางลําตนและใบลดลง จํานวนผลในแตละหวีลดลง ขนาดของผลลดลงและมีขนาดไมสม่ําเสมอ ผลผลิตจึงลดลง แนวทางแกไข ควรใหน้ําในชวงระหวางเดือนกันยายน - ธันวาคมเปนชวงๆเพื่อใหความชื้นพอเพียงในการสรางผลใหสมบูรณ

  • 3.2 การจัดชั้นความเหมาะสมโดยปจจัยอ่ืนๆรวมดวย พบวาชุดดินสบปราบ (So) 3.2.1 เหมาะสมเล็กนอย (S3: Marginally suitable) สําหรับในการปลูก ขาวโพดและ ถ่ัวเหลือง ขอจํากัดในการปลูกขาวโพดและ ถ่ัวเหลือง ไดแกการขาดความอุดมสมบูรณและดินตื้น แนวทางแกไข โดยการใสปุยอินทรีย และปุยเคมีรวมทั้งการปรับปรุงบํารุงดินดวยอินทรียวัตถุและเตรียมดินอยางถูกวิธี 3.2.2 เหมาะสมปานกลาง (S2 :Moderately suitable) สําหรับถ่ัวเขียว ขอจํากัดในการปลูกถ่ัวเขียว ไดแกความอุดมสมบูรณปานกลาง แนวทางแกไข โดยการใสปุยอินทรีย และปุยเคมีรวมทั้งการปรับปรุงบํารุงดินดวยอินทรียวัตถุ 3.2.3 ไมเหมาะสม (N: not suitable) สําหรับสมเขียวหวานและมะมวง ขอจํากัดในการปลูกสมเขียวหวานและมะมวง ขอจํากัดสําหรับชุดดินสบปราบ เนื่องจากขาดความอุดมสมบูรณ ดินตื้น และ ขาดน้ํา แนวทางแกไข ไมควรปลูกสมเขียวหวานและมะมวง ควรแนะนําให ปลูกพืชไร หรือ ทุงหญาเลี้ยงสัตว 2.3.2.4 เหมาะสมเล็กนอย (S3) สําหรับกลวยหอม ขอจํากัดในการปลูกกลวยหอม คือความอุดมสมบูรณ ดินตื้น และขาดน้ํา แนวทางแกไข ไมควรปลูกกลวยหอม ควรแนะนําใหปลูกพืชไร หรือทุงหญาเลี้ยงสัตว

    ประโยชนท่ีไดรับ 1. ทําใหทราบผลของภูมิอากาศ ดิน และ ความชื้นในดินแตละชุด ที่มีผลตอการผลิตพืชโดยไมตองทําการทดลอง 2. เปนแนวทางสําหรับนักวิชาการ ในการประเมินปริมาณน้ําที่พืชแตละชนิดสามารถจะนําไปใชได บนชุดดินตางๆ ภายใตสภาพภูมิอากาศตางๆ 3. สามารถที่จะใชวางแผนการใหน้ําแกพืช โดยการใชน้ํานอยที่สุด แตมีประสิทธิภาพ ที่สุด โดยการคํานวณการใหน้ําความชื้นในดินเทากับความชื้นในสนาม (Field capacity) พรอมทั้งกําหนดวันใหน้ําแกพืชแตละชนิดอีกดวย

  • 4. ทําใหการปฏิบัติงานการสํารวจ จําแนก และจัดชั้นความเหมาะสมของดิน/ที่ดิน เปนไปไดอยางรวดเร็วและมีประสิทธิภาพและสามารถจะแกไข (Update) ขอมูลใหทันสมัยอยูเสมอไดงายและรวดเร็ว โดยจะประหยัดเวลาไดประมาณ 10 เทาของการคํานวณตามปกติ 4. สามารถทําใหการวางแผนการใชที่ดินเปนไปอยางทันเหตุการ โดยไมจําเปนตองรอการทดลอง

    ประโยชน์ที่ได้รับ