Top Banner
แนวทางการรักษาผูปวยสุรา CLINICAL PRACTICE GUIDELINE FOR ALCOHOL-RELATED DISORDERS บทนํา แนวทางการรักษาผูปวยสุรานีจัดทําขึ้นเพื่อพัฒนาคุณภาพการดูแลผูติดสุรา ภายใตโครงการ ศึกษาวิจัย เรื่อง การศึกษาและพัฒนารูปแบบการบําบัดรักษาผูปวยสุราในระดับตติยภูมิ ของศูนย บําบัดรักษายาเสพติด เชียงใหม โดยมุงเนนการประสานงานรวมกันระหวางทีมสหวิชาชีพในการใหการ บําบัดรักษาเพื่อประโยชนสูงสุดแกผูปวยและครอบครัว การพัฒนารูปแบบการดูแลผูติดสุราของศูนยบําบัดรักษายาเสพติด เชียงใหม จะเนนในผูปวยทีไดรับการวินิจฉัยวาเปนผูติดสุรา (alcohol dependence) และเขารับการรักษาแบบผูปวยใน โดยหลักการ ดูแลรักษาจะครอบคลุมทั้งระยะถอนพิษสุรา และระยะฟนฟูสมรรถภาพ มีวัตถุประสงคหลักเพื่อใหผูที่ผาน การบําบัดรักษาการติดสุราสามารถกลับไปใชชีวิตไดอยางมีคุณภาพ โดยไมหวนกลับไปดื่มสุรา เปาหมายการดูแล 1. เพื่อใหมีการทํางานรวมกันเปนทีมแบบสหวิชาชีพ โดยมีแผนการดูแล (Care MAP) สําหรับ ผูปวยสุราเปนเครื่องมือในการดูแลรวมกัน เพื่อผลลัพธการดูแลที่มีประสิทธิภาพ และเพิ่ม ความพึงพอใจตอการทํางานเปนทีม 2. เพื่อใหผูปวยและญาติไดรับบริการที่ถูกตองตามมาตรฐานแตละวิชาชีพ สงผลใหผูปวยและ ญาติไดรับบริการที่มีคุณภาพ ตลอดจนเกิดความพึงพอใจ ผลลัพธที่คาดวาจะเกิด 1. ดานผูใชบริการ 1.1 ผูปวยมีภาวะสุขภาพที่ดีขึ้น 1.2 ผูปวยไมเกิดภาวะแทรกซอน 1.3 ผูปวยมีคุณภาพชีวิตที่ดี 1.4 ผูปวยเกิดความพึงพอใจ 1.5 ครอบครัวของผูปวยเกิดความพึงพอใจ และมีความพรอมในการดูแลผูปวยอยาง ตอเนื่องที่บาน 2. ดานผูใหบริการ 2.1 ทีมสุขภาพมีการสื่อสารและการประสานงานที่ดี 2.2 ทีมสุขภาพเกิดความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน 2.3 ระบบบริการไมเกิดการซ้ําซอน
23
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: Cpg and care map alcohol

แนวทางการรักษาผูปวยสุรา CLINICAL PRACTICE GUIDELINE FOR ALCOHOL-RELATED DISORDERS

บทนํา แนวทางการรกัษาผูปวยสุรานี้ จัดทําขึ้นเพื่อพัฒนาคณุภาพการดแูลผูติดสุรา ภายใตโครงการศึกษาวจิัย เรื่อง การศึกษาและพัฒนารูปแบบการบาํบัดรักษาผูปวยสุราในระดับตติยภูมิ ของศูนยบําบัดรักษายาเสพติด เชียงใหม โดยมุงเนนการประสานงานรวมกันระหวางทีมสหวิชาชีพในการใหการบําบัดรักษาเพือ่ประโยชนสูงสุดแกผูปวยและครอบครัว

การพัฒนารูปแบบการดแูลผูติดสุราของศูนยบําบัดรกัษายาเสพติด เชียงใหม จะเนนในผูปวยที่ไดรับการวนิิจฉัยวาเปนผูติดสุรา (alcohol dependence) และเขารับการรักษาแบบผูปวยใน โดยหลักการดูแลรักษาจะครอบคลุมทั้งระยะถอนพิษสรุา และระยะฟนฟูสมรรถภาพ มีวัตถุประสงคหลักเพื่อใหผูที่ผานการบําบัดรักษาการติดสุราสามารถกลับไปใชชีวิตไดอยางมีคุณภาพ โดยไมหวนกลับไปดื่มสุรา

เปาหมายการดูแล 1. เพื่อใหมีการทํางานรวมกันเปนทีมแบบสหวิชาชีพ โดยมีแผนการดูแล (Care MAP) สําหรับ

ผูปวยสุราเปนเครื่องมือในการดูแลรวมกัน เพื่อผลลัพธการดูแลที่มีประสิทธิภาพ และเพิ่มความพึงพอใจตอการทํางานเปนทีม

2. เพื่อใหผูปวยและญาติไดรับบริการที่ถูกตองตามมาตรฐานแตละวิชาชีพ สงผลใหผูปวยและญาติไดรับบริการที่มีคุณภาพ ตลอดจนเกิดความพึงพอใจ

ผลลัพธที่คาดวาจะเกิด 1. ดานผูใชบรกิาร

1.1 ผูปวยมีภาวะสุขภาพที่ดีขึ้น 1.2 ผูปวยไมเกิดภาวะแทรกซอน 1.3 ผูปวยมีคุณภาพชีวิตที่ด ี1.4 ผูปวยเกดิความพึงพอใจ 1.5 ครอบครัวของผูปวยเกดิความพึงพอใจ และมีความพรอมในการดแูลผูปวยอยาง

ตอเนื่องที่บาน 2. ดานผูใหบริการ

2.1 ทีมสุขภาพมีการสื่อสารและการประสานงานที่ด ี2.2 ทีมสุขภาพเกิดความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน 2.3 ระบบบริการไมเกิดการซ้ําซอน

1

Page 2: Cpg and care map alcohol

3. ดานผูจายคาบริการ 3.1 ลดคาใชจายในการรักษาพยาบาล 3.2 ลดการกลับเขามารับการรักษาซ้ํา หรือยืดเวลาการเขารับการรักษาในโรงพยาบาลครั้ง

ตอไปใหหางออกไปได

หลักเกณฑการรับผูปวย เกณฑการรับผูปวยติดสุราไวรักษาแบบผูปวยนอก

1. ผูปวย หรือญาติมีความประสงคที่จะรับการรักษาแบบผูปวยนอก 2. แพทยพิจารณาแลวสามารถรับการรักษาแบบผูปวยนอก โดยไมมภีาวะเสี่ยงตอภาวะ Alcohol

withdrawal เกณฑการรับผูปวยติดสุราไวรักษาแบบผูปวยใน

1. ไมมีโรคทางกายหรือทางจิตเวชที่ควบคุมไมไดหรือเปนอันตรายแกผูปวย 2. เร่ิมมีอาการหรือคาดวาจะมอีาการ moderate to severe withdrawal โดยประเมนิจากการสังเกต

และประวัตอิดตี หรือ ใชแบบประเมิน AWS คะแนน > 3 หรือ แบบประเมิน CIWA-Ar > 10 3. เคยมีอาการแทรกซอนจากการขาดแอลกอฮอลมากอน เชน อาการชัก อาการสับสน DTs 4. มีการติดยาหรอืสารเสพติดอื่นรวมดวย และมีอาการ withdrawal 5. เคยรักษา detoxification แบบผูปวยนอกแลวไมไดผล 6. ขาด social supports หรือส่ิงแวดลอมที่ปลอดภัยเพียงพอสําหรับการดูแลรักษาแบบผูปวยนอก 7. กรณีอ่ืนๆอยูในดุลยพินิจของแพทย

เกณฑการสงตอผูปวยติดสุราไปรับการรักษายังสถานพยาบาลอื่น

1. มีโรคทางกายหรือทางจิตเวชที่ตรวจพบภายหลัง และแพทยพิจารณาแลวเหน็ควรใหสงตอไปรับการรักษาภาวะโรคที่พบนั้นกอน

2. ผูปวย หรือญาติมีความประสงคที่จะไปรบัการรักษาที่อ่ืน ปจจัยเสี่ยงตอภาวะ alcohol withdrawal

1. อายุมากกวา 40 ป 2. เพศชาย 3. ดื่มแอลกอฮอลมากกวา 20 drinks ตอวัน(ประมาณเทากบัเบียรไทย 10 ขวด หรือสุราไทย 500 cc ) 4. ดื่มตลอดทั้งวนัเพื่อรักษาระดับแอลกอฮอลในเลือดใหคงที่เสมอ 5. ดื่มอยางหนักมาก มานานกวาสิบป

2

Page 3: Cpg and care map alcohol

6. มีอาการสั่นและ anxiety เกิดขึ้นภายใน 6-8 ช่ัวโมงหลังหยุดดื่ม 7. ประวัติของการชัก ประสาทหลอน การหลงผิด หรือ DTs เมื่อเกดิภาวะ alcohol withdrawal

คร้ังกอนๆ 8. มี acute medical problem รวมดวย เชน pneumonia 9. ระดับแอลกอฮอลในเลือด > 250mg/dl ในขณะแรกรับ

หากมี 0-2 ปจจัย-จัดวาเปน low risk for sever withdrawal หากมี 3-6 ปจจัย-จัดวาเปน moderate risk for sever withdrawal หากมี 7-9 ปจจัย-จัดวาเปน high risk for sever withdrawal

หลักการรักษา 1. การประเมินเพื่อวินิจฉยัโรค

1.1 การประเมินคดักรอง : ใชแบบประเมินมาตรฐาน AUDIT หรือ CAGE เพื่อคัดกรองในกรณีที่ไมไดมาดวยปญหาหลักจากสุรา สวนกรณีมารักษาดวยการตดิสุราเปนหลักอาจใชเพียงการสัมภาษณประวัติ

1.2 การวินจิฉัยโรค : ใหอิงตามระบบ DSM และใหรหัสโรคตามเกณฑ ICD-10 ของ WHO 2. การเตรียมความพรอมในการเขารับการรักษา : ไดแก การซักประวัติประเมินสภาพปญหา

ของผูปวย และประเมนิแหลงสนับสนุน การใหขอมูลแกผูปวยและญาติเกี่ยวกับโรค อาการ ผลกระทบ แนวทางการรักษาของแพทย และการมีสวนรวมในการรักษา

3. การบําบัดรักษาภาวะติดสุรา : ใชแผนการดแูลของทีมสหวิชาชีพ 3.1 การประเมินความรุนแรงของการถอนพิษสุรา : ใชแบบประเมิน AWS เปนหลัก หรืออาจ

ใช CIWA-Ar กรณีที่ใช AWS แลวไมสามารถประเมินความรุนแรงในภาพรวมได 3.2 การดูแลในระยะถอนพษิแอลกอฮอล : เนนการดูแลในดานการใหยาระงับประสาท การ

บรรเทาอาการทางกาย การเสริมวิตามินและเกลือแร และการจัดสิ่งแวดลอม 3.3 การดูแลในระยะฟนฟูสมรรถภาพ : เนนเรือ่งการวางแผนจําหนาย เพิม่ศักยภาพและ

แรงจูงใจในการเลิกสุรา การปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม กิจกรรมบําบัด จิตบาํบัดประคับประคอง การฝกทักษะการปองกันการกลับไปดืม่สุราซ้ํา และการมีสวนรวมของครอบครัวในการดูแลชวยเหลือผูปวย

4. การดูแลหลังการรักษา : เนนการติดตามใหการปรึกษาชวยเหลือในดานการรับประทานยาตอเนื่อง การดแูลสุขภาพ การใชชีวิตกับครอบครัวและอยูในสังคมโดยไมหวนกลับไปติดสุรา

3

Page 4: Cpg and care map alcohol

แนวทางการบําบัดรักษาผูปวยสุราของ ศูนยบําบดัรักษายาเสพติด เชียงใหม

ผูปวย

ประเมินผูปวย คัดกรอง/ซักประวัติจากผูปวยและญาติ (History taking) ใหขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับแนวทางการรักษา

พบแพทย ตรวจสภาพจิตและตรวจรางกาย

(Mental Status Examination and physical examination) ประเมินภาวะถอนพิษสุรา (Alcohol withdrawal) : ดูความเสี่ยง,ความรุนแรง

วินิจฉัยโรค (Diagnosis) ตาม DSM-IV-TR , ICD 10

พิจารณา Admit ตามเกณฑการรับผูปวยติดสุราไวรักษาแบบผูปวยใน

Admit ไม Admit

รักษาแบบผูปวยใน รักษาแบบผูปวยนอก (In patients) (Out patients)

1. ใหยารักษาตามอาการและภาวะแทรกซอนที่พบ 2. สรางแรงจูงใจในการรักษา แบบ Motivational Interviewing (MI) 3. ประเมินเปนระยะเพื่อปรับลดยาและเตรียมการ

บําบัดรักษาฟนฟูแบบผูปวยใน 4. วางแผนการรักษาและแผนการจําหนาย

5. ติดตามผลการรักษาอยางตอเนื่องอยางนอย 1 ป

1. ใหยารักษาตามอาการ 2. ใหคําแนะนําแบบ Brief Intervention (BI) 3. สรางแรงจูงใจในการรักษาแบบ Motivational

Interviewing 4. เขาสูระบบการบําบัดรักษาฟนฟูแบบผูปวยนอก

5. ติดตามผลการรักษาอยางตอเนื่องอยางนอย 1 ป

4

Page 5: Cpg and care map alcohol

Flow Chart แผนการดูแลผูปวยสุราแบบผูปวยใน

รับผูปวยจาก OPD

ประเมินสภาพผูปวย

มีภาวะแทรกซอน Yes รุนแรง

Refer

No ใหการดูแลในระยะแรกรับ

( Acute phase management )

ประเมิน AWS No ผานเกณฑหรือไม

Yes

ยายเขาระยะฟนฟู

ใหการบําบัดฟนฟูสมรรถภาพตามโปรแกรม

D/C planning

จําหนายผูปวยและนัด Follow up

5

Page 6: Cpg and care map alcohol

แนวทางการบาํบัดรักษาผูปวยสุราในระยะถอนพิษแอลกอฮอล: CDTC Model for alcohol withdrawal การถอนพิษแอลกอฮอลเปนกระบวนการทีจ่ะชวยใหผูที่ตดิสุราสามารถหยุดดื่มสุราได โดยมีอาการขาดสุรานอยที่สุด ผูที่เสพติดสุรามักมีอาการผิดปกติเมื่อหยุดดื่ม บางรายอาจรุนแรงจนถึงแกชีวิตได

ปจจัยเส่ียงสําคัญที่ทําใหเกดิภาวะถอนพษิสุรา ไดแก 1) ความรุนแรงของการติดสุรา การดื่มหนักและดื่มมานาน มีโอกาสเกิดอาการ withdrawal สูง 2) ประวัตเิคยมีอาการ withdrawal, delirium tremens หรือชัก มากอน 3) ประวัตกิารหยุดดื่ม ทั้งปรมิาณที่ลดลงและวันสุดทายที่หยุดดื่ม 4) โรคทางกายอื่นที่พบรวม เชน โรคตับ, โรคไต,โรคเบาหวาน, ระบบหัวใจและหลอดเลือด

แนวทางการบาํบัดรักษาผูปวยสุราในระยะถอนพิษแอลกอฮอล หลักการรักษาภาวะถอนพิษสุราประกอบดวย 4S’ ไดแก 1) Sedation : การใหยาระงบัประสาท

2) Symptomatic Relief : การบรรเทาอาการทางกาย 3) Supplement : การเสริมวติามินและเกลือแร 4) Supportive environment : การจัดสิ่งแวดลอม

1. การใหยาระงบัประสาท ยาหลักทีใ่ห ไดแก Diazepam, Chlordiazepoxide หรือ Lorazepam ในกรณีเปนผูปวยสูงอายุ หรือ

ผูปวยที่มีภาวะการทํางานของตับบกพรอง โดยพิจารณาตามดุลยพินจิของแพทยผูรักษา

ตารางการประเมินผูปวยเพื่อพิจารณาใหยาระงับประสาท Stage Severity AWS

SCORE CIWA-Ar SCORE

MINDS SCORE

Hallucination Agitation ประเมินทุก

1 Mild 1-4 1-9 1-9 No No 4-8 ชม. 2 Moderate 5-9 10-14 10-14 Yes Yes/ No 1-2 ชม. 3 Severe 10-14 15-18 15-20 Yes Yes/ No 1-2 ชม. 4 Very severe � 15 � 19 > 20 Yes Yes 10-15 นาท ี

หมายเหต ุ ในที่นีใ้ช AWS เปนหลัก

6

Page 7: Cpg and care map alcohol

Protocol 1 Standard treatment regimen or Fixed- schedule regimen

เปนการใหยาตามเวลาที่แพทยกําหนด ในรายที่มีความเสี่ยงหรือเร่ิมมีอาการขาดสุราเพื่อปองกันอาการถอนพิษหรือควบคุมไมใหมอีาการรุนแรงมากขึ้น หลักการคือใหยาทุก 6 ช่ัวโมง เพื่อคงระดับยาในกระแสเลือดใหคงที่ ทั้งนี้การใหยา 4 เวลาหลังมืออาหารและกอนนอนจะสงผลใหผูปวยมีระดับยาในกระแสเลือดต่ําในชวงกลางคืน ทําใหผูปวยมโีอกาสขาดสุรารุนแรงในชวงกลางคืนได ดังนั้นควรพิจารณาการใหในเวลาทีท่ําใหระดับยาคงตัวมากที่สุด และเหมาะสมกับสภาพผูปวย

ตารางการใหยา แบบ Fixed- schedule regimen (ตัวอยาง ยาที่ใหตามตาราง : Diazepam)

วันที่/เวลา 6 .00 น. 13 .00 น. 18 .00 น. 21 .00 น. รวม 1 10 mg 10 mg 10 mg 15 mg 45 mg 2 10 mg 10 mg 10 mg 15 mg 45 mg 3 5 mg 5 mg 5 mg 15 mg 30 mg 4 5 mg งด 5 mg 15 mg 25 mg 5 5 mg งด 5 mg 10 mg 20 mg 6 5 mg งด งด 10 mg 15 mg 7 งด งด งด 10 mg 10 mg

8 งด งด งด 5 mg 5 mg โดย เทียบปริมาณยาดังนี ้Diazepam 5 mg = Chlordiazepoxide 10 mg = Lorazepam 1 mg สําหรับผูปวยรายที่มีการทํางานของตับบกพรอง หรือรายที่สูงอายุ แพทยอาจพจิารณาให

Lorazepam แทน Diazepam หรือ Chlordiazepoxide

สรุป การใหยาตามเวลา ดังนี้ Day 1-2 : 2 tab tid. & 3 tab hs. x 2 days

Day 3 : 1 tab tid. & 3 tab hs Day 4 : 1 tab bid. & 3 tab hs.

Day 5 : 1 tab bid. & 2 tab hs. Day 6 : 1 tab OD. & 2 tab hs. Day 7 : 2 tab hs

Day 8 : 1 tab hs. หมายเหตุ การใหยาระงับประสาทเนนการประเมินความรุนแรง และใหยาตามเวลาที่

กําหนด เพื่อคงระดับยาในกระแสเลือด โดยไมเก่ียวของกับมื้ออาหาร

7

Page 8: Cpg and care map alcohol

Protocol 2 Symptom-triggered Regimen

เปนการใหยาตามความรุนแรงของอาการถอนพิษสุรา โดยพิจารณาขนาดยาและความถี่

ในการใหตามความรุนแรงของอาการซึ่งประเมินจาก Alcohol Withdrawal Scale (AWS) โดยระยะเวลาการประเมิน พิจารณาตามความรุนแรงของอาการ ประเมินคะแนน AWS > 5 (หากไมมีอาการ Hallucination อาจพิจารณาใชเฉพาะ protocol ยาที่ให คือ Valium injection 5-10 mg slow IV prn for severe agitation or convulsion : ใหซํ้าไดทกุ15-30 นาที จนสงบ แตไมเกนิ 4 doses โดย ประเมิน v/s และรายงานแพทยทุกครั้ง กอนใหยา

สําหรับผูปวยที่มีอาการขาดแอลกอฮอลอยางรุนแรง AWS > 10 โดยเฉพาะอยางยิง่ เมื่อมีอาการประสาทหลอนชัดเจน ควรพิจารณาใหยาระงับประสาทที่มีฤทธิ์แรงกวา เชน Haloperidol เสริม ในขนาด 2.5-5 mg ฉีดเขากลามเนื้อ โดยสามารถใหซํ้าไดถึง 3 คร้ัง ในชั่วโมงตอไป จากนั้นใหไดทกุ 6 ช่ัวโมงตามความจําเปน หรือ อาจพิจารณาใหแบบรับประทานวันละ 2 คร้ังตามความจาํเปน นอกจากการใหยา Haloperidol ในรายที่มอีาการประสาทหลอนแลว อาจพิจารณาใหยาตานโรคจิต Risperidone 2 mg หรือ Olanzapine 5-10 mg ตอวัน หรือใหยา Benztropine 0.5-2 mg รับประทานวนัละ 2 คร้ัง เพือ่ลดอาการขางเคียงจากการใชยา Haloperidol หลังจากผูปวยสงบ ใหคํานวณขนาดยาที่ใหแบงเปนรับประทาน 4 เวลาในวันถัดไป โดยลดขนาดยาประมาณรอยละ 25 ทุก 2-3 วันจนหยุดยาได และไมควรใหตอเนื่องนานเกิน 10 วนันอกจากมีกรณีอ่ืนที่จําเปนตองใหตอ เชน นอนไมหลับ วิตกกังวล ใหพิจารณาตามความจําเปน ขอควรระวังในการใหยาระงับประสาท ควรใชความระมัดระวังในการใชยาระงับประสาทใน กรณีผูปวยมภีาวะ ดังตอไปนี ้

• โรคตับเรื้อรัง

• มีโรคในระบบทางเดินหายใจเรื้อรัง

• โรคหัวใจ

• มีการบาดเจ็บที่ศีรษะ

2. การบรรเทาอาการ การใหความชวยเหลือเพื่อบรรเทาอาการทางกายเปนเรื่องจําเปนสําหรบัผูปวยที่มีอาการ

ขาดแอลกอฮอลและมีความสําคัญเทาๆกับการใหยาระงบัประสาท ผูปวยควรไดรับการรักษาตามอาการที่เกิดขึ้น ภาวะไมสุขสบายทางกายอื่น ที่พบไดบอย เชน

• อาการคลื่นไสอาเจียน พิจารณาให Plasil หรือ Metoclopromide ตามความจําเปน

8

Page 9: Cpg and care map alcohol

• อาการจุกเสียดแนนทอง อาหารไมยอย พจิารณาใหยาลดกรด ตามความจาํเปน

• อาการทองเดนิ พิจารณาใหยาคาโอลินมิกซเจอร หรือ ดื่มน้ําเกลือแร ตามความจําเปน

• อาการปวดศีรษะ เปนไข หรืออาการปวดอืน่ๆ ที่ไมรุนแรง พิจารณาใหยาแกปวด Paracetamol ตามความจําเปน

3. การเสริมวิตามินและเกลอืแร การเสริมวิตามินและเกลือแร เปนเรื่องจําเปนสําหรับผูปวยสวนใหญที่กําลังอยูในชวงถอนพิษ

จากแอลกอฮอลวิตามินที่แพทยอาจพิจารณาให ไดแก

• Thaimine ( Vitamine B1) เนือ่งจากการขาดวิตามินบี 1 จะนําไปสูอาการ Wernicke’s encephalophathy อยางเฉียบพลันได เนื่องจากผูปวยที่กําลังถอนพิษ สวนใหญรางกายจะมีการดูดซึมไมดี จึงควรใหทางกลามเนื้อ ในขนาด 100 mg อยางนอย 3 วัน เสริมจากการรับประทาน

• การใหวิตามินบีรวม เพื่อรักษาอาการขาดวิตามินบีชนดิอ่ืนๆ

• การให Folic acid เพื่อบรรเทาการขาดสารอาหารประเภทโฟเลต

• การใหยาบํารุงตับกรณีติดสุราเรื้อรัง หรือตรวจพบการทําหนาที่ของตับบกพรอง

• ในรายที่ขาดเกลือแรและน้ํา ควรเสริมของเหลวใหดื่ม เชน กลูโคส หรืออาจใหทาง IV

• ในรายที่ตรวจพบมีภาวะซีดหรือ พบความผิดปกติของเมด็เลือดหรือเกล็ดเลือด พิจารณาใหยาบํารุงเลือดตามจําเปน

• ในรายที่มแีมกนีเซียมในเลือดต่ํา หรือพบหวัใจเตนผิดจังหวะ ควรพิจารณาใหแมกนีเซียมซัลเฟต

• ในรายที่ตดิรุนแรง อาจตรวจพบระดับโปแตสเซียมและฟอสเฟตต่ํา ควรพิจารณาให โปแตสเซียมหรือฟอสเฟตตามความจําเปน

4. การจัดสิ่งแวดลอม ควรจัดสิ่งแวดลอมใหเงียบสงบ มีแสงสวางพอควร และมีอากาศเยน็สบาย ไมทาํใหผูปวยรูสึกตกใจหรือหวาดกลัว เนื่องจากสิ่งแวดลอมที่มีเสียงดังรบกวน ไมสะดวกสบาย หรือมส่ิีงเรามากเกินไป จะทําใหภาวะขาดแอลกอฮอลรุนแรงมากขึ้น และควรมีเจาหนาที่ที่รูจักการใชเทคนิคการจัดการทางพฤติกรรมเพื่อบรรเทาและรักษาอาการตื่นกลัวของผูปวย นอกจากนี ้ ควรแยกผูปวย เพื่อจํากดัการพบปะของผูปวยหรือบุคคลอื่นๆ และควรใหผูปวยพบปะผูคนใหนอยที่สุดถาผูปวยมีอาการสับสน หรือไมรับรูเกี่ยวกับบุคคล เวลา และสถานที่

9

Page 10: Cpg and care map alcohol

หลักการแนวทางการบําบัดรักษาผูปวยสุราในระยะฟนฟูสมรรถภาพ: CDTC Model for alcohol rehabilitation

ระยะฟนฟูสมรรถภาพ หมายถึง หลังจากผานระยะวิกฤติ และผูปวยอาการดีขึ้น อยูในชวงสัปดาห

ที่ 2-3 หลังรับการรักษาในโรงพยาบาล หลังจากผูปวยไดรับการดูแลในระยะถอนพิษสุรา (detoxification) แลว การดูแลผูปวยดานจิตสังคม After care) การเสริมสรางแรงจูงใจในการเลิกสุรา การพัฒนารูปแบบและแนวทางในการวางแผนจําหนายรวมถึงการสงตอและติดตามผูปวยหลังจําหนายจึงเปนส่ิงจําเปน เพื่อปองกันการกลับไปดื่มซํ้า(relapse prevention) ผูปวยจะไดรับการประเมินความพรอมในการฟนฟูสมรรถภาพ โดยประเมินตามความเหมาะสมในผูปวยแตละรายทั้งสภาพรางกาย/จิตใจและภาวะแทรกซอนทางดานรางกายอื่นๆ

การดูแลผูปวยสุราโดยทีมสหวิชาชีพ

ทีมสหวิชาชีพ (multidisiplinary team) ในที่นี้หมายถึง แพทย พยาบาล นักจิตวิทยา นกัสังคมสงเคราะห นักอาชีวบําบัด นกัโภชนาการ และนักเทคนคิการแพทย ซ่ึงรวมกันใหการดูแลรักษาผูปวย โดยเนนผูปวยเปนศูนยกลาง(patient center)

แพทย

พยาบาล นักจิตวิทยา

เภสัชกร

นักโภชนาการ

นักอาชีวบําบัด ผูปวย

นักสังคมสงเคราะห

นักเทคนิคการแพทย

10

Page 11: Cpg and care map alcohol

บทบาทของทมีสหวิชาชีพ

1. แพทย มีบทบาทที่เกีย่วของดังนี ้1.1 ตรวจวนิิจฉยั และส่ังการรักษาในแตละราย 1.2 ใหขอมูลเกีย่วกับโรค การวนิิจฉัยรวมทั้งแนวทางการรกัษาตาง ๆ และแผนการ

จําหนายแกผูปวยครอบครัว และผูเกีย่วของ 1.3 เยี่ยมตรวจอาการผูปวย 1.4 อภิปรายปญหาและวางแผนการรักษาพยาบาลรวมกับทมีสุขภาพ รวมทั้งผูปวย

และครอบครัว 2. เภสัชกร มีบทบาทที่เกีย่วของดังนี ้

2.1 ดาน Dispensing คือ การเตรียม การจัดหา การบริหารยาและเวชภัณฑระหวางการบําบัดรักษาภายในโรงพยาบาลเพื่อใหผูปวยไดรับยาอยางถูกตอง เหมาะสม ปลอดภัย และทันเวลา ตามคําส่ังใชยาของแพทย

2.2 ดาน Counseling คือ การใหขอมูล คําปรึกษา ความรูดานยาและเวชภัณฑแกบุคลากรทีมสุขภาพของโรงพยาบาล เพื่อนําไปใชในการบําบัดรักษาผูปวยระหวางดําเนินการรักษาภายในโรงพยาบาล เพื่อใหการใชยาเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด

2.3 ใหขอมูล คําปรึกษาเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลโดยการใชยาแกผูปวยโดยตรง กรณีพบความผิดปกติจากการใชของผูปวย เชน เกิดผลขางเคียงจากการใชยา อาการไมพึงประสงคจากการใชยา เชน เกิดอาการเปนพิษจากการใชยา เปนตน ผูปวยไมรับประทานยาตามคําส่ังแพทย หรือกรณีผูปวยมีการใชยาอยางอื่นรวมกับการรักษา ซ่ึงอาจจะเกิดปฏิกิริยาระหวางกันของยา

2.4 ดาน Drug Monitoring คือ การติดตามอาการขางเคียงและอาการไมพึงประสงคจากการใชยา กรณีที่เกิดอาการรุนแรงเปนอันตรายแกผูปวย หรืออยูในความสนใจของบุคลากรทีมสุขภาพโรงพยาบาล

2.5 ติดตามและประเมินผลการใชยาที่มี Therapeutic Index แคบๆ มีโอกาสที่จะเกิดอาการเปนพิษจากการใชยา การติดตามประเมินผลการใชยา ในบัญชียาแหงชาติประเภท ง.

2.6 วางแผนการใชยาของผูปวยกอนจําหนายกลับบาน เพื่อใหผูปวยสามารถไดรับการรักษาไดอยางตอเนื่อง และการใหคําแนะนําแกผูปวยหรือญาติผูปวย

3. พยาบาลประจําหอผูปวย มีบทบาทที่เกี่ยวของดังนี้ 3.1 สัมภาษณประวัติ ประเมินสภาพ จําแนกประเภทผูปวย และวางแผนการดูแล 3.2 ปฏิบัติการพยาบาลแกผูปวย โดยใชกระบวนการพยาบาล ทฤษฎีทางการพยาบาล และ

ศาสตรตางๆที่เกี่ยวของมาบูรณาการ เพื่อใหการดูแลครอบคลุมใน 4 มิติ คือ การ

11

Page 12: Cpg and care map alcohol

สงเสริมสุขภาพจิต การปองกันปญหาสุขภาพจิต การบําบัดรักษา และการฟนฟูสมรรถภาพ

3.3 การจัดสิ่งแวดลอมเพื่อการบําบัด 3.4 การชวยเหลือสนับสนุนใหผูปวยดูแลตนเอง การสอนและใหคําปรึกษาปญหาสุขภาพ

4. นักจิตวิทยา มีบทบาทที่เกี่ยวของดังนี้ 4.1 ตรวจวินิจฉัยทางจิตวิทยาคลินิก โดยใชเครื่องมือทดสอบทางจิตวิทยาที่เปนมาตรฐาน

เพื่อตรวจวินิจฉัยพฤติกรรม ศักยภาพ กลไกที่มา หรือสาเหตุของปญหาทางจิตเวช สุขภาพจิต และความผิดปกติอันเนื่องมาจากพยาธิสภาพทางสมอง ตลอดจนลักษณะบุคลิกภาพ และระดับเชาวนปญญา

4.2 ใหการบําบัดทางจิตวิทยา ทั้งแบบรายบุคคลและรายกลุมเพื่อชวยใหผูปวยสามารถเขาใจและยอมรับปญหาของตนเอง สามารถปรับปรุงเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม แนวความคิด วิธีการปรับตัว หรือแกปญหาและโครงสรางที่บกพรองบางประการทางบุคลิกภาพใหมีประสิทธิภาพเหมาะสมยิ่งขึ้น รวมทั้งการใชเทคนิคทางจิตวิทยาเพื่อฟนฟู และพัฒนาศักยภาพของผูทุเลาจากอาการทางจิตและปญหาสุขภาพจิตใหมีการปรับตัวที่เหมาะสม และมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น

5. นักสังคมสงเคราะห มีบทบาทที่เกี่ยวของดังนี้ 5.1 ชวยเหลือในดานปญหาทางสังคมและอารมณของผูปวย โดยประเมนิสภาพครอบครัว

สังคม และความตองการทางดานสังคมและอารมณของผูปวย 5.2 ใหคําปรึกษาแกผูปวยและผูดูแลผูปวย หรือสมาชิกในครอบครัวคนอื่น ๆ 5.3 คนหาแหลงทรัพยากร ประสานเครือขายชุมชนเพื่อเปนแหลงสนับสนนุและใหความ

ชวยเหลือแกผูปวยและผูดูแลผูปวย 6. นักอาชีวบําบัด / นักกิจกรรมบําบัด มีหนาที่ 2 ระยะ

6.1 ระยะที่ 1 กระตุนใหผูปวยมีปฏิกิริยาตอบสนอง สนใจ และรับรูตอส่ิงแวดลอม โดยประเมินสภาพจิตใจอารมณ และความสามารถในการทํางานเบื้องตน และเลือกใช กิจกรรมรักษาที่เหมาะสมกับผูปวย อาจเปนกิจกรรมรายบุคคลที่ใชความสามารถงาย ๆ และทําเสร็จภายในเวลาสั้น ๆ เชน การฝกกิจวัตรประจําวัน เพื่อฟนฟูสมรรถภาพผูปวย ทางกาย และสงเสริมสมรรถภาพจิตใจของผูปวยใหเขมแข็งที่จะจัดการกับปญหาได 6.2 ระยะที่ 2 มุงเนนการสรางสัมพันธภาพในสังคม ฝกอุปนิสัยพื้นฐานในการทํางาน

พัฒนาทักษะขั้นพื้นฐานในการทํางาน และทักษะการปฏิบัติตัวทั้งที่บานและที่ทํางาน ในกรณีที่ผูปวยไมสามารถจะกลับไปประกอบอาชีพเดิมได ตองประเมินวาผูปวยมีความเหมาะสมกับอาชีพใด เพื่อใหทดลองทํางานในสาขาที่ถนัด เชน งานชาง งานฝมือ สวนยาง เกษตร เปนตน

12

Page 13: Cpg and care map alcohol

7. โภชนากร มีบทบาทที่เกี่ยวของดังนี้ 7.1 จัดอาหารที่เหมาะสมกับโรคและความเจ็บปวย ใหผูปวยที่มีภาวะแทรกซอนทางกาย

ตามคําส่ังแพทย เพื่อเสริมการรักษาของแพทยใหไดผลดียิ่งขึ้น 7.2 เสริมอาหารที่มีคุณภาพทางโภชนาการ ใหเหมาะสมกับผูปวยเฉพาะราย ตามคําส่ัง

แพทย 7.3 สอนใหความรูและแนะนําผูปวย ญาติ หรือผูดูแลในเรื่องการเตรียม การไดรับ

สารอาหารเฉพาะโรคที่เหมาะสมกับผูปวยแตละราย 7.4 เยี่ยมตรวจผูปวยและอภิปรายปญหาความตองการของผูปวยรวมกับทมีสุขภาพ 7.5 ติดตาม ประเมินผล การบริการ ใหคําปรึกษา เผยแพรความรูดานโภชนาการและการ

บริโภคอาหารที่ถูกตอง รวมทั้งใหความรูพื้นฐานงานอาชีพเกี่ยวกับอาหารผูปวย 8. นักเทคนิคการแพทย มีบทบาทที่เกี่ยวของดังนี้ 8.1 รับสิ่งสงตรวจจากผูเขามารับบริการ เชน เลือด ปสสาวะ อุจจาระ โดยจะทําการตรวจสอบชื่อและสิ่งสงตรวจของผูปวยวาเปนคนเดียวกัน และจะตรวจดูคุณภาพของสิ่งสงตรวจวาเหมาะสมสําหรับนํามาทดสอบทางหองปฏิบัติการหรือไม เนื่องจากสิ่งสงตรวจที่ไมเหมาะสมจะมีผลตอการผลทดสอบดวย 8.2 นําสิ่งสงตรวจไปทําการตรวจวิเคราะหทางหองปฏิบัติการทางการแพทยเพื่อวินิจฉัย พยากรณ ติดตาม หรือประเมินสุขภาวะของผูเขามารับบริการ ซ่ึงจะรายงานผลใหแกแพทยหรือผูปวยไดทราบตอไป 8.3 ควบคุมคุณภาพตาง ๆ ภายในหองปฏิบัติการทางการแพทย เชน ควบคุมคุณภาพของการรับส่ิงสงตรวจ ขั้นตอนกอนการตรวจวิเคราะห ขั้นตอนการวิเคราะห และขั้นตอนหลังการวิคราะห ตรวจสอบความถูกตองของผลทดสอบทุกครั้งกอนลงชื่อเพื่อรับรองผลการทดสอบกอนรายงานผลทางหองปฏิบัติการ

การวางแผนจําหนายผูปวย เนื่องจากการตดิสุราเปนปญหาดานพฤตกิรรม ผูติดสุราที่ผานการบําบัดรักษาแลว สวนหนึ่งไมสามารถเลิกสุราได และหวนกลับไปดื่มสุราซ้ํา โดยหลักการแลวการวางแผนการจําหนายผูปวย เปนกระบวนการรกัษาพยาบาลที่มีการเตรียมการตั้งแตวันแรกที่ผูปวยเขารับการรักษาไวในโรงพยาบาล ซ่ึงตองอาศัยความรวมมือของบุคลากรทีมสหวิชาชีพ ผูดแูล และผูปวย เพื่อชวยใหผูปวย และครอบครัวสามารถนําศักยภาพที่มีอยูดแูลชวยเหลือตนเองในการสงเสริม ปองกนั ดแูลรักษาทัง้ดานรางกาย และจิตใจ ตลอดจนมีการใหขอมูลการประสานงาน จัดหาทรัพยากรที่จําเปน และเหมาะสม คุมคาตามความจําเปน และความตองการของผูปวยและครอบครัว ตลอดจนสภาพสังคม เศรษฐกิจ เพื่อใหผูปวยมีคณุภาพชีวิตที่ดีขึ้น

13

Page 14: Cpg and care map alcohol

กระบวนการวางแผนจําหนาย 1. การประเมินปญหา เปนการประเมินแบบองครวม โดยมีการประเมินตั้งแตแรกรับตามแผน

การดูแลผูปวยโรคสุรา การประเมินผูปวยแรกรับ การดแูลผูปวยวิกฤติ การดูแลผูปวย1-7วันแรก แรงจูงใจในการเลิกสุรา การตองการความคาดหวังตอการเขารับรักษาของผูปวยและผูดูแล ตลอดจนครอบครัวของผูปวย แหลงชวยเหลือตางๆ

2. การวินจิฉัยปญหาสุขภาพ จากทีมสหวิชาชีพ แนวโนมของปญหาในขณะอยูโรงพยาบาล ตามแบบฟอรมการบันทึกปญหาของทีมสหวิชาชีพ ซ่ึงเปนแนวทางในการวางแผนจําหนายผูปวยแตละราย

3. การกําหนดแผนการจําหนายผูปวย ในผูปวยโรคสุรานั้น มีแนวทางในการดําเนินการตาม รูปแบบ D-METHOD ซ่ึงเริ่มตั้งแตผูปวยเขารักษาในโรงพยาบาล คือ D-Disease ผูปวยโรคสุรา และผูดูแลจะไดรับการเตรียมความรูเกี่ยวกบัโรคสุรา อาการสําคัญภาวะ แทรกซอนที่จะเกดิขึ้น ผลจากภาวะถอนพษิสุรา การเฝาระวังสังเกตอาการของผูปวย และสามารถ บอกอาการใหทีมรักษาทราบได โดยแนวทางการปฏิบัติ คือ ผูปวย ผูดูแลจะไดรับความรูเร่ืองโรคสุรา จากแพทยผูรักษา พยาบาลประจําตึก การใหสุขภาพจิตศึกษาทั้งรายบคุคล และรายกลุม กลุมจิตบําบัดประคับประคอง กลุมAlcohol counseling, Individual, BA, BI และเอกสารแผนพับเรื่องโรคสุรา M-Medication ผูปวยโรคสุรา และผูดแูลจะไดรับการเตรียมความรูเกี่ยวกับยาที่ผูปวยไดรับอยางละเอียด โดยแพทยผูรักษา เภสัชกร หรือพยาบาล หรือจากเอกสารแผนพับความรูเร่ืองยา ไดแก ช่ือยา การออกฤทธิ์ วัตถุประสงค ความจําเปนในการใชยา วิธีการใช ขนาด ปริมาณ จํานวนครั้ง ระยะเวลาที่ใช ขอควรระวังในการใชยา รวมทั้งการดูแลใหผูปวยไดรับยาอยางถูกตอง ครบถวน ตลอดจนภาสวะแทรกซอนตางๆ แนวทางแกไขปญหาที่อาจเกดิขึน้ ความสามารถของผูดูแล หรือหนวยงานที่จะชวยเหลือเมื่อผูปวยจําหนายออกจากโรงพยาบาล E-Environment & Economic ผูปวยและผูดูแลไดรับการเตรียมความรูเกีย่วกับการจัดการสิ่งแวดลอม ส่ิงของ และสถานที่ที่บานใหเหมาะสมกบัภาวะสุขภาพ การใชแหลงประโยชนจากชุมชน รวมท้ังขอมูลเกี่ยวกับการจดัการปญหาดานเศรษฐกจิ สังคมซึ่งจะมีผลตอการดาํเนินชวีิตประจําวันของผูปวย และความสามารถของผูดูแล หรือหนวยงานทีจ่ะชวยเหลือเมือ่ผูปวยจําหนายออกจากโรงพยาบาล

ผูปวยโรคสุราจะไดรับการเตรียมกอนออกชุมชน โดยการใหสุขศึกษาเรื่องโรคสุรา การเขากลุมกิจกรรมตางๆภายในตึก การใหคําปรึกษาญาติทั้งรายบุคคล รายกลุม ตลอดจนการใหคําปรึกษาทางโทรศัพท และการสงตอผูปวยไปยังโรงพยาบาลใกลบาน

14

Page 15: Cpg and care map alcohol

T-Treatment ผูปวยโรคสุรา และผูดูแลตองทราบ และเขาใจเปาหมายแผนการรักษา และกระบวนการรักษา การปฏบิัติเกี่ยวกับโรค รวมทั้งตองมีความรูเพียงพอในการจัดการกับภาวะฉุกเฉินไดดวยตนเองอยางเหมาะสม และไดรับการเตรียมทักษะทีจ่ําเปน ซ่ึงมีผลตอการดําเนินชวีิตประจาํวันของผูปวย และความสามารถของผูดูแล หรือหนวยงานที่จะชวยเหลือ เมื่อผูปวยจําหนายออกจากโรงพยาบาล รวมถึงขอมูลเกี่ยวกับการเตรียมตวัในการตรวจตางๆ ทั้งขณะอยูรักษา และเมื่อมาตามนัดหลังจําหนาย ผูปวยโรคสุรา และผูดแูลจะไดรับความรูเร่ืองการรักษา การปฏิบัติตวัเกีย่วกับโรค และขอจํากัดของตนเองในขณะอยูรักษาโดยแพทย เภสัชกร และพยาบาลประจําตึก มีการใหความรูในเรื่องภาวะแทรกซอนที่อาจเกดิขึ้นเนื่องจากการดืม่สุรา เชน อาการชัก ภาวะเพอสับสน ความจําเสื่อมจากการดื่มสุรา ภาวะตับแข็ง โรคกระเพาะอาหาร ฯลฯ ตลอดจนการตรวจพเิศษตางๆ เชน การตรวจเลือด การตรวจสมอง เปนตน H-Health ผูปวยโรคสุรา และผูดูแลตองเขาใจภาวะสุขภาพของผูปวยวามีขอจาํกัดอะไรบาง เขาใจผลกระทบของภาวะความเจบ็ปวยตอรางกาย การดําเนนิชีวิตประจําวนั กิจกรรม การเคลื่อนไหว การประกอบอาชพี การเรียน และผูปวยสามารถปรับวิถีชีวิตการดําเนินชีวิตใหเหมาะสมกับขอจํากัดดานสุขภาพ รวมทั้งการสงเสริม ฟนฟูสภาพ และปองกนัภาวะแทรกซอนตางๆ เมื่อผูปวยจําหนายออกจากโรงพยาบาล ซ่ึงจะมีการประเมินภาวะสุขภาพของผูปวยตั้งแตแรกรับ โดยแพทยผูรักษา นักจติวทิยา นักสังคมสงเคราะหที่ซักประวตัิผูปวย พยาบาลประจําตึก การทํากลุมสุขภาพจิตศึกษาทั้งผูปวย และผูดแูล การทํากลุม CBT กลุม MI และกอนจําหนายออกจากโรงพยาบาล มีการใหคําปรึกษา ใหความรูแกผูปวย และผูดูแลทั้งรายกลุม และรายบคุคล O-Outpatient referral ผูปวยโรคสุรา และผูดูแลตองเขาใจ และทราบความสําคัญของการมาตรวจตามนัดทั้งเวลา และสถานที่ ตองทราบวาควรติดตอขอความชวยเหลือจากใครไดบางในกรณเีกิดภาวะฉุกเฉนิ หรือมีอาการเฉียบพลัน โดยแพทย และพยาบาล นอกจากนี้ยังรวมถึงการสงตอแผนการดูแลผูปวยอยางตอเนื่องในกรณีที่ผูปวยไมสะดวกในการมาพบแพทยตามแพทยนัด โดยหลังการจําหนายจะมีการสงตอผูปวยไปรับการรักษาตอเนื่องที่โรงพยาบาลใกลบาน D-Diet ผูปวยโรคสุรา และผูดูแลตองเขาใจ และสามารเลือกรับประทานอาหาร หรือสารน้ําไดอยางถูกตองเหมาะสมกับขอจํากัดดานสุขภาพ หรืออาหารที่มีปฏิกิริยาทางลบตอยาที่รับประทาน หรือรับประทาน/ดื่มในปริมาณที่เหมาะสม รวมทั้งวิธีการจัดหา/เตรียมอาหารเฉพาะโรค เชน โรคความดันโลหิตสูง โรคตับ โรคกระเพาะอาหาร โรคเบาหวาน โรคสมองเสื่อม เปนตน โดยพยาบาลประจําตึก โภชนากร และเภสัชกร การใหสุขภาพจิตศึกษาทั้งรายบุคคล รายกลุม ตลอดจนการสอดแทรกความรูในการเขากลุมตางๆที่ผูปวยไดรับ

15

Page 16: Cpg and care map alcohol

16

แนวทางการประเมินแผนการจําหนายผูปวย ทีมสหวิชาชีพควรมีการประชุมปรึกษาทุก 1 เดือน หรือชวงเวลาที่มีปญหาเรงดวน โดยผูปวยที่รับไวรักษาตัวในโรงพยาบาลทุกรายจะมีแบบบันทึกการวางแผนการจําหนายผูปวยโดยทมีสหวิชาชีพ เพื่อเปนแนวทางในการวางแผนในการใหการดูแลผูปวย และเปนสื่อกลางในการทํางานรวมกนัของทีมสหวิชาชีพ กรณีมปีญหาซับซอนที่จะตองไดรับการดูแล ทีมสหวิชาชีพจะมีการรวมประชุมปรึกษาหาแนวทางในการดแูลผูปวยตอไป ทีมสหวิชาชีพจะมีการบนัทกึขอมูลในทุกขั้นตอนของแผนการจําหนายในรูป D-METHOD เนื่องจากเปนวธีิการสื่อสารใหสมาชิกในทมีสหวิชาชีพรวมทั้งผูปวย ผูดูแล หนวยงานที่เกีย่วของในการดูแลตอเนื่องไดทราบขอมูลที่รวบรวมไว การตั้งเปาหมาย และการวางแผนทีก่ําหนดรวมกัน รวมทั้งไดทราบเกี่ยวการปฏิบัติที่ไดดําเนินการไปแลว ตลอดจนงายตอการติดตามประเมินผลทั้งในดานผูปวย และการประเมินความเหมาะสมของแผนการจาํหนาย โดยมกีารประเมินเปนระยะๆ ปรับปรุงแผน และวิธีการปฏิบัติใหเหมาะสมตลอดเวลากอนจําหนาย ตลอดจนประเมินผลสําเร็จของกระบวนการวางแผนจําหนาย เพื่อนําไปสูการปรับปรุง และพัฒนาคณุภาพตอไป

Page 17: Cpg and care map alcohol

0

1. การเตรียม

- เจาหนาที่ - สถานที่ - อุปกรณ - เอกสาร - ขอมูล

4. การดูแลรักษา

- การใหยา - การรักษาดวยไฟฟา - กิจกรรมการพยาบาล - โภชนาการ - MI /การใหคําปรึกษา - จิตบําบัด - กิจกรรมบําบัด - กลุมบําบัด - กิจกรรมการแพทย ทางเลือก

5. การประเมินซ้ํา

- รายงานผูปวย Progress note - แบบสอบถาม, แบบประเมินตาง ๆ - การประชุมปรึกษา (W/R รับสงเวร) - การเฝาระวังความเสี่ยง (อุบัติเหตุ, การบาดเจ็บ, การทํารายตัวเอง, พฤติกรรมกาวราว) - การเตรียมเยี่ยม, การสรางสัมพันธภาพเชิงบําบัด

สรุปกระบวนการดูแลผูปวยสุรา โดยทีมสหวิชาชีพ

ศูนยบําบัดรักษายาเสพติด เชียงใหม

6. กิจกรรมคูขนาน - ระบบการจัดการ ของแตละสหสาขา - ระบบการบันทึก - การสื่อสาร / การประสานงาน - แผนการจําหนาย - Risk management

2. การประเมินและการวินิจฉัย

- การจําแนกประเภทผูปวย - ซักประวัติผูปวยและครอบครัว - การตรวจรางกาย - การประเมินสภาพผูปวย - การวินิจฉัยโรค - การวินิจฉัยทางการพยาบาล - การวินิจฉัยทางจิตวิทยา - การวินิจฉัยทางสังคมสงเคราะห *

3. การวางแผน

- เปาหมายการรักษาของทีม - แนวปฏิบัติการดูแล - แผนการดูแลของทีมสหวิชาชีพ ( Care MAP) - การประชุมปรึกษา

7. การจําหนาย

- เตรียมการดูแลที่บาน(การปฏิบัติตัวเพื่อปองกันการติดสุราซ้ํา, แนะนําญาติเรื่องการดูแลผูปวย) - ใหมาพบแพทยเพื่อตรวจตามนัด - แนะนําแหลงใหความชวยเหลือ

- การมอบหมายงาน

17

Page 18: Cpg and care map alcohol

แผนการดแูลผูปวยสุรา ศูนยบําบัดรักษายาเสพติด เชียงใหม หัวเรื่อง กอนรับเขารักษา สัปดาหที่ 1 สัปดาหที่ 2 สัปดาหที่ 3 – D/C

1. ผลลัพธ ที่คาดหวัง

- ผูปวยไดรับการวินิจฉัย และประเมิน สภาพอยางถูกตอง - ผูปวยมีความพรอมที่จะอยูรับการ รักษา

- ผูปวยไดรับการรักษาที่ถูกตอง เหมาะสม ปลอดภัย - ปลอดภัยจากภาวะถอนพิษสุรา - ปลอดภัยจากอุบัติเหตุ / การไดรับบาดเจ็บ - ไมมีภาวะแทรกซอนจากการรักษา

- ผูปวยไดรับการรักษาที่ถูกตอง เหมาะสม ปลอดภัย - ผูปวยไดรับการฟนฟูสมรรถภาพ - ผูปวยมีความรูในการปฏิบัติตัวเพื่อ ชวยเหลือตนเอง

- ผูปวยไดรับการฟนฟูสมรรถภาพ - ผูปวยมีแนวทางปฏิบัติตัวเพื่อ ปองกันการกลับไปดื่มสุราซ้ํา - ญาติไดรับการเตรียมความพรอม ในการปฏิบัติตัวเพื่อ ชวยเหลือ ผูปวย

2. การประเมิน/ การสงปรึกษา

- ซักประวัติ ตรวจรางกาย - ประเมินสภาพจิต - ปรึกษาแผนกที่เกี่ยวของ - วินิจฉัยโรคตาม DSM IV or ICD10 - ประเมินความคาดหวังของผูปวยและญาติเกี่ยวกับความรู ความเขาใจ สาเหตุการเกิดโรค และการรักษา

- ประเมินสภาพและ ความรุนแรง ของอาการถอนพิษสุรา - ซักประวัติ และตรวจรางกาย เพิ่มเติม

- Routine LAB: CBC , U/A , LFT, CxR - LAB อื่นๆ ที่พิจารณาวาจําเปน - วินิจฉัยปญหาทางการพยาบาล - ประเมินการตอบสนองตอยาที่ไดรับและผลขางเคียงที่พบ

- ตรวจ Lab บางอยางซ้ํา /ตรวจเพิ่ม ถาจําเปน - ประเมินความรูเกี่ยวกับโรค อาการ/ การรักษา - ประเมินความสามารถในการเขา รวมกิจกรรม

- ประเมินพฤติกรรม/ความสามารถ ในการดูแลตนเองของผูปวย - ประเมินความสามารถของ ครอบครัวในการดูแลผูปวย - ประเมินทักษะในการแกไขปญหา - ประเมินความรวมมือในการ รับประทานยาและการปฏิบัติตัวให เหมาะสมกับแผนการรักษา

3. ยา/การรักษา - ยาที่ใชรักษาภาวะติดสุราตาม CPG - ยาเดิมที่ใชในการรักษาโรคประจําตัว และผูปวยตองรับประทานเปนประจํา - ยารักษาตามอาการ

- ใหยาตามโรคหลัก โดยแพทยพิจารณาปรับตามสภาพของผูปวยแตละราย - ใหยาตามอาการ

- ใหยาตามโรคหลัก - ใหยาตามอาการ - การรักษาดวยเครื่องกระตุนไฟฟา - การแพทยทางเลือก เชน อบสมุนไพร

- ใหยาตามโรคหลัก - ใหยาตามอาการ - การแพทยทางเลือก เชน การรักษาดวย เครื่องกระตุนไฟฟา การอบสมุนไพร หัตถบําบัด

18

Page 19: Cpg and care map alcohol

หัวเรื่อง กอนรับเขารักษา สัปดาหที่ 1 สัปดาหที่ 2 สัปดาหที่ 3 – D/C 4. กิจกรรม/ อาหาร/ การออกกําลังกาย

- Record v / s - การสรางแรงจูงใจใหอยูรับการรักษา

- Record v / s - ดูแลการไดรับยาตามแผนการรักษา - ดูแลการไดรับสารน้ํา และอาหาร - ดูแลการปฏิบัติกิจวัตรประจําวัน - ดูแลการพักผอนใหเพียงพอ - พิจารณาการผูกมัดเพื่อจํากัดพฤติกรรม ตามความจําเปน

- Record v / s - ดูแลการไดรับยาตามแผนการรักษา - การสรางแรงจูงใจใหอยูรับการรักษา - การใหการปรึกษาผูปวยและครอบครัว - จิตบําบัด รายบุคคล / รายกลุม - กลุมบําบัด** - กิจกรรมบําบัด

- Record v / s - จิตบําบัด รายบุคคล / รายกลุม - กลุมบําบัด** - กิจกรรมบําบัด

5. การสอนใหความรู/ ใหคําแนะนํา

- ใหขอมูลและความรูแกผูปวยและญาติ เกี่ยวกับโรค อาการ ผลกระทบ การ รักษา และการจัดกิจกรรมเพื่อการ ฟนฟูสมรรถภาพ - แจงแผนการรักษา คารักษาพยาบาล สิทธิการรักษา การสงตอกรณีตางๆ - แนะนําญาติใหมีสวนรวมในการดูแล

- ใหขอมูล เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของ รางกายในระยะเลิกสุรา / การปฏิบัติ ตัวในระยะถอนพิษสุรา - ใหคําแนะนําเรื่อง การรับประทาน อาหาร การพักผอน การออกกําลังกาย

- ใหขอมูล เรื่อง แนวทางการ ปฏิบัติตัวในระยะฟนฟูสมรรถภาพ / ปญหาที่พบบอยในการเลิกสรุา - ใหขอมูล เรื่อง แนวทางการปฏิบัติตัว เพื่อปองกันการกลับไปเสพซ้ํา

- ใหขอมูล เรื่อง แนวทางการปฏิบัติตัว เมื่อกลับไปอยูที่บานเพื่อปองกันการ กลับไปเสพซ้ํา

- ใหขอมูลเรื่องการรับประทานยา การสังเกตอาการขางเคียงของยา และความผิดปกติที่ควรมาพบแพทย กอนวันนัด

6. การวางแผนจําหนาย

- ประเมินสถานการณของผูปวยและครอบครัวเพื่อประกอบการวางแผนจําหนาย ดวย DMETHOD

- ประเมินตาม DMETHOD - ประเมินตาม DMETHOD

- ประเมินตาม DMETHOD - 7 Question for relapse prevention

19

Page 20: Cpg and care map alcohol

แบบประเมินแผนการดูแลผูปวยตดิสุราแบบผูปวยใน ศูนยบําบดัรักษายาเสพตดิ เชียงใหม

ชื่อ-สกุล ............................................................................................. อายุ ................ ป HN ………………………… AN …………………….Ward …………………. วันที่รับไวในโรงพยาบาล ........................................................... วันที่จาํหนาย ............................................................ผูบันทึก ................................................................

ผลการปฏิบัติ ระยะเวลา เปาหมาย / ผลลัพธที่คาดหวัง

กิจกรรม ผูรับผิดชอบ ไดรับ ไมไดรับ

ผลลัพธ / ความแปรปรวน

ลงชื่อผูปฏิบัติ

1. คัดกรองผูปวย ซักประวัติ และประเมินสภาพ - คัดกรองดวย AUDIT, CAGE และซักประวัติ - ประเมินภาวะสุขภาพตามแบบแผนสุขภาพ - การวินิจฉัยและวางแผนการพยาบาล

พยาบาล

2. การวินิจฉัยโรคตามระบบDSM IV และพิจารณาใหยารักษา แพทย 3. การสงตรวจทางหอง ปฏิบัติการ: CBC , U/A , LFT, CxR แพทย 4. การประเมินทางจิตวิทยา นักจิตวิทยา 5. การประเมินทางสังคม นักสังคมฯ 6. การปฐมนิเทศ ใหความรูและขอมูลที่เกี่ยวของกับการติดสุรา

และแนวทางการรักษา แกผูปวยและญาติ พยาบาล

วันที่ 1-2 1. ผูปวยไดรับการวินิจฉัย และประเมินสภาพอยางถูกตอง

2. ผูปวยมีความพรอมที่จะอยูรับ

การรักษา

7. การจัดเตรียมยาและเวชภัณฑใหกับผูปวยและสงตอพยาบาลประจําตึก

เภสัชกร

20

Page 21: Cpg and care map alcohol

ผลการปฏิบัติ ระยะเวลา เปาหมาย / ผลลัพธที่คาดหวัง

กิจกรรม ผูรับผิดชอบ ไดรับ ไมไดรับ

ผลลัพธ / ความแปรปรวน

ลงชื่อผูปฏิบัติ

15. การประเมินความรุนแรงตามสภาพอาการของผูปวย เชน ภาวะขาดสุรา , ชัก, ซีด, สั่น, ขาดน้ําตาล, ตัวตาเหลือง, หูแววประสาทหลอน

แพทย

16. การบําบัดรักษาดวยยา แพทย 17. ประเมินภาวะโภชนาการและจัดเตรียมอาหารตามภาวะสุขภาพ

ของผูปวย โภชนากร

18. ปฏิบัติการพยาบาลตามแผนการรักษา พยาบาล 12. การประเมินความสามารถในการดูแลตนเอง ความรวมมือใน

การรักษา ความเสี่ยงตางๆ พยาบาล

13. ติดตามประเมินอาการขางเคียงจากยาเมื่อไดรบัรายงานจากพยาบาลผูดูแล

เภสัชกร

สัปดาหที่ 1

3. ผูปวยไดรับการ รักษาที่ถูกตอง เหมาะสม และ ปลอดภัยจาก - ภาวะถอนพิษสุรา - อุบัติเหตุ / การ ไดรับบาดเจ็บ - ภาวะแทรกซอน จากการรักษา

14. การตรวจเยี่ยม ประเมินสภาพ การตอบสนองตอการรักษา ภาวะแทรกซอนที่เกิดขึ้น และใหการบําบัดรักษาตามความเหมาะสมกับสภาพผูปวย

แพทย

15. การบําบัดรักษาดวยยา แพทย

16. ปฏิบัติการพยาบาลตามแผนการรักษา พยาบาล

สัปดาหที่ 2-4

3. ผูปวยไดรับการ รักษาที่ถูกตอง เหมาะสม ปลอดภัย

17. การดูแลการไดรับการบําบัดรักษาดวยเครื่องกระตุนไฟฟา พยาบาล

21

Page 22: Cpg and care map alcohol

ผลการปฏิบัติ ระยะเวลา เปาหมาย / ผลลัพธที่คาดหวัง

กิจกรรม ผูรับผิดชอบ

ไดรับ ไมไดรับ

ผลลัพธ / ความแปรปรวน

ลงชื่อผูปฏิบัติ

18. การตรวจเยี่ยม ประเมินสภาพ การตอบสนองตอการรักษา ภาวะแทรกซอนที่เกิดขึ้น และใหการบําบัดรักษาหรือพิจารณาปรับแผนการรักษาตามความเหมาะสมกับสภาพผูปวย

แพทย

19. Psychotherapy / Psychosupportive group ครั้งที่ 1 …………………………………. ครั้งที่ 2 …………………………………. ครั้งที่ 3 ………………………………….

นักจิตวิทยา

20. Occupational therapy ครั้งที่ 1 …………………………………. ครั้งที่ 2 …………………………………. ครั้งที่ 3 ………………………………….

นักกิจกรรม บําบัด

4. ผูปวยไดรับการบําบัดฟนฟูสมรรถภาพ

21. Social support & Self-help group ครั้งที่ 1 …………………………………. ครั้งที่ 2 ………………………………….

พยาบาล

สัปดาหที่ 2-4

5. ผูปวยมีความรูใน การปฏิบัติตัว มีแรงจูงใจ มีแนวทางปฏิบัติตัวเพื่อปองกันการกลับไปดื่มสุราซ้ํา

20. Health education group ครั้งที่ 1 การดื่มสุราและผลกระทบจากการดื่ม ครั้งที่ 2 ปญหาที่พบบอยในการเลิกสุรา ครั้งที่ 3 ...........................................................

พยาบาล

22

Page 23: Cpg and care map alcohol

ผลการปฏิบัติ ระยะเวลา เปาหมาย / ผลลัพธที่คาดหวัง

กิจกรรม ผูรับผิดชอบ

ไดรับ ไมไดรับ

ผลลัพธ / ความแปรปรวน

ลงชื่อผูปฏิบัติ

26. Relapse prevention skill ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2

พยาบาล / นักจิตวิทยา

27. การสรางแรงจูงใจในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเพื่อเลิกสุรา พยาบาล / 25. Family education & Family counseling ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2

พยาบาล

27. การประเมินสถานการณของผูปวย และครอบครัวเพื่อการ วางแผนจําหนาย

พยาบาล

28. ใหขอมูลเรื่องการรับประทานยาการสังเกตอาการขางเคียงของยา และความผิดปกติที่ควรมาพบแพทยกอนวันนัด

เภสัชกร

สัปดาหที่ 2-4

6. ญาติไดรับการเตรียมความพรอมในการปฏิบัติตัวเพื่อ ชวยเหลือผูปวย

29. กิจกรรมกลุมใหคําแนะนํากอนกลับบาน/การนัดติดตามผล นักสังคมฯ

G:\CM project\manual\แบบประเมินแผนการดูแลผูปวยติดสุราแบบผูปวยใน.doc

23