Top Banner
บทปฏิบัติการที4 การจัดการตารางขอมูลเชิงคุณลักษณะดวยโปรแกรม ArcView (Management of Attribute Table using ArcView) วัตถุประสงค 1. นิสิตทราบถึงโครงสรางของตารางขอมูลเชิงคุณลักษณะภายใตโปรแกรม Arcview 2. นิสิตสามารถสรางและจัดการตารางขอมูลเชิงคุณลักษณะดวยโปรแกรม ArcView 3. นิสิตสามารถสอบถามขอมูลภายใตเงื่อนไขที่กําหนด โดยใชตารางขอมูลคุณลักษณะ 4. นิสิตเขาใจถึงหลักการของฐานขอมูลเชิงสัมพันธและสามารถสรางความสัมพันธระหวาง ตารางขอมูลได 4.1 ตารางและการจัดการตาราง (Table and Management of Table) ตาราง (table) คือ สวนที่เก็บขอมูลเชิงคุณลักษณะ ที่ประกอบไปดวยตัวเลข (number) หรือ ตัวอักษร (string) ที่อธิบายเกี่ยวกับลักษณะของขอมูลภูมิศาสตร ซึ่งตารางขอมูลคุณลักษณะเหลานีสามารถนํามาใชรวมกับขอมูลภาพ (graphic) โดยผานเขตขอมูลรวม (common filed) ชนิดของขอมูลที่สามารถนําเขามาจัดการในตาราง Data Type Range Minimum Range Maximum Remark Byte 0 255 Whole numbers Integer -32,767 +32,767 Whole numbers Long integer -2,147,483,647 +2,147,483,647 Whole numbers Real -1,7014111 E38 +1,7014111 E38 Scientific notation (E38 = 10 38 ) String If no data exits Maximum 20 characters Alphanumeric data ที่มา: สมพร สงาวงศ (2543) 4.1.1 รูปแบบของตารางนําเขา การนําตารางเขามาใชรวมกับ ArcView ทําได 2 แบบ คือ 1) การสรางตารางขึ้นมาใหม ซึ่งจะไดแฟมขอมูลนามสกุล DBF โดยตรง โดยเปนตารางใหมทีปราศจากเขตขอมูล (field) และรายการขอมูล (record) 2) การนําเขามาจากแหลงขอมูลอื่น บทปฏิบัติการระบบสารสนเทศภูมิศาสตร การจัดการตารางขอมูลเชิงคุณลักษณะดวยโปรแกรม ArcView
13

conf.agi.nu.ac.th › agmis › download › publication › 441_file.pdf 4 ArcView37 4.1.2 ประเภทของตารางข อม ลเช งค กษณะณล

Feb 27, 2020

Download

Documents

dariahiddleston
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: conf.agi.nu.ac.th › agmis › download › publication › 441_file.pdf 4 ArcView37 4.1.2 ประเภทของตารางข อม ลเช งค กษณะณล

บทปฏิบัติการที่ 4 การจัดการตารางขอมูลเชิงคุณลักษณะดวยโปรแกรม ArcView

(Management of Attribute Table using ArcView)

วัตถุประสงค

1. นิสิตทราบถึงโครงสรางของตารางขอมูลเชิงคุณลักษณะภายใตโปรแกรม Arcview 2. นิสิตสามารถสรางและจัดการตารางขอมูลเชิงคุณลักษณะดวยโปรแกรม ArcView 3. นิสิตสามารถสอบถามขอมูลภายใตเง่ือนไขที่กําหนด โดยใชตารางขอมูลคุณลักษณะ 4. นิสิตเขาใจถึงหลักการของฐานขอมูลเชิงสัมพันธและสามารถสรางความสัมพันธระหวาง

ตารางขอมูลได

4.1 ตารางและการจัดการตาราง (Table and Management of Table)

ตาราง (table) คือ สวนที่เก็บขอมูลเชิงคุณลักษณะ ที่ประกอบไปดวยตัวเลข (number) หรือตัวอักษร (string) ที่อธิบายเกี่ยวกับลักษณะของขอมูลภูมิศาสตร ซึ่งตารางขอมูลคุณลักษณะเหลาน้ีสามารถนํามาใชรวมกับขอมูลภาพ (graphic) โดยผานเขตขอมูลรวม (common filed)

ชนิดของขอมูลที่สามารถนําเขามาจัดการในตาราง

Data Type Range Minimum Range Maximum Remark Byte 0 255 Whole numbers Integer -32,767 +32,767 Whole numbers Long integer -2,147,483,647 +2,147,483,647 Whole numbers Real -1,7014111 E38 +1,7014111 E38 Scientific notation

(E38 = 1038) String If no data exits Maximum 20 characters Alphanumeric data

ที่มา: สมพร สงาวงศ (2543)

4.1.1 รูปแบบของตารางนําเขา

การนําตารางเขามาใชรวมกับ ArcView ทําได 2 แบบ คือ

1) การสรางตารางขึ้นมาใหม ซึ่งจะไดแฟมขอมูลนามสกุล DBF โดยตรง โดยเปนตารางใหมที่ปราศจากเขตขอมูล (field) และรายการขอมูล (record)

2) การนําเขามาจากแหลงขอมูลอื่น

บทปฏิบัติการระบบสารสนเทศภูมิศาสตร การจัดการตารางขอมูลเชิงคุณลักษณะดวยโปรแกรม ArcView

Page 2: conf.agi.nu.ac.th › agmis › download › publication › 441_file.pdf 4 ArcView37 4.1.2 ประเภทของตารางข อม ลเช งค กษณะณล

36

- แฟมขอมูลตัวอักษร Text - แฟมขอมูลตาราง INFO ของโปรแกรม ArcInfo - แฟมขอมูลในรูปแบบ dBASE จากโปรแกรมอื่นๆ เชน PC Arc/Info หรือ

ArcCAD เปนตน - ขอมูลจากการสืบคนจากฐานขอมูล SQL โดยการเชื่อมเขาสูระบบฐานขอมูล แลวใช

ภาษา SQL ดึงขอมูลมาสรางเปนตาราง สําหรับระบบจัดการฐานขอมูลเชิงสัมพันธ (RDBMS) ที่ ArcView สามารถเขาถึงได เชน MS ACCESS, ORACLE, SYBASE, INFOMIX, INGRES, AS/400 และ MS EXCEL

• การสรางตารางขอมูลคุณลักษณะจากขอมูลที่มีอยู

Add dBASE, INFO and Text files

Connect to SQL database

บทปฏิบัติการระบบสารสนเทศภูมิศาสตร

Page 3: conf.agi.nu.ac.th › agmis › download › publication › 441_file.pdf 4 ArcView37 4.1.2 ประเภทของตารางข อม ลเช งค กษณะณล

37

4.1.2 ประเภทของตารางขอมูลเชิงคุณลักษณะ

ตารางขอมูลเชิงคุณลักษณะประกอบไปดวยสองสวนคือ

(1) Internal attribute หมายถึงกลุมของขอมูลเชิงคุณลักษณะภายในที่สามารถนํามาเช่ือมกับ ขอมูลภาพกราฟฟกไดโดยตรง ซึ่งการแกไขควรทําดวยความระมัดระวัง เน่ืองจากถามีการผิดพลาดจะทําใหแฟมขอมูลทั้งขอมูลภาพและขอมูลเชิงคุณลักษณะเกิดความเสียหายได

(2) External attribute หมายถึง กลุมของขอมูลเชิงคุณลักษณะภายนอกที่สามารถนําเขามาเช่ือมกับตารางขอมูลเชิงคุณลักษณะภายใน โดยผานเขตขอมูลรวม (Common field) ซึ่งจะมี

ซอนกวาตารางแบบ internal attribute

SHAPE AREA LU_ID

polygon 55 1 polygon 35 2 polygon 32 3

2

LU_ID LU_CODE LU_NAM_E 1 10 นาขาว 2 20 ออย 3 30 ถั่วเหลือง

• ตัวอยาง ตารางแสดงความสัมพันธระหวางขอมูลเชิงพ้ืนที่และขอมูลเช่ือมโยงตารางแบบ Internal และ External เขากับขอมูลภา(common filed)

4.1.3 การจัดการขอมูลตาราง

การจัดการขอมูลตารางสามารถทําไดหลายรูปแบบ เชน การสอบถาม (ที่ถูกเลือกตามเงื่อนไขที่กําหนด การแสดงคาสถิติ การเช่ือมตาราง (Join) การสตารางขอมูลเชิงคุณลักษณะ (Link) เปนตน โดยการทํางานเหลาน้ีจะชวยประสิทธิภาพมากข้ึนเปนไปตามวัตถุประสงคที่ตองการ

การเช่ือมตาราง หมายถึง การนําเอาตารางขอมูลเชิงคุณลักษณะตั้งแต 2กัน เพ่ือเพ่ิมรายละเอียดของเขตขอมูลใหมข้ึนมา โดยใชเขตขอมูลรวม (Commonตัวเช่ือม

การจัดการตารางขอมูลเชิงคุณลักษณ

1

3

Landuse

เชิงคุณลักษพโดยผานเข

Query) การรางความสัมใหผูปฏิบัต

ตารางขึ้นไ filed) ที่เห

ะดวยโปรแก

การจัดการซับLanduse.dbf

.shp

Lu_name.dbf Common filed

ณะ และการตขอมูลรวม

แสดงขอมูลพันธระหวาง ิใชขอมูลใหมี

ปมาเชื่อมตอมือนกันเปน

รม ArcView

Page 4: conf.agi.nu.ac.th › agmis › download › publication › 441_file.pdf 4 ArcView37 4.1.2 ประเภทของตารางข อม ลเช งค กษณะณล

38

4.2 การสรางตารางและแฟมขอมูลเชิงคุณลักษณะ ฝกการสรางตารางขอมูลคุณลักษณะที่เก็บบันทึกในรูปแบบแฟมขอมูล dBASE และเพ่ิม

เขตขอมูลและรายการลงในตารางที่สรางข้ึนมาโดยมีข้ันตอนดังตอไปนี้

(1) เลือก “Table” icon ที่ Project Window แลวคลิกที่ปุม “NEW” (หรือดับเบิ้ลคลิกที่ Table icon)

(2) เลือก folder และ ตั้งช่ือแฟมตารางขอมูลใหม หลังจากนั้นจะไดตารางขอมูลใหมที่ปราศจาก field และ record

(3) เลือกคําส่ัง Add Filed จากเมนู Edit เพ่ือสรางเขตขอมูลใหม โดยใน “Name” text box

ตั้งช่ือเปน Soil_unit (ช่ือหนวยดิน) เลือกประเภทของ Field เปน “String” และกําหนดความกวางของเขตขอมูลเทากับ “16” ใน “Width” text box หลังจากนั้น คลิกปุม OK

(4) ทําซ้ําตามข้ันตอนที่ 2.3 โดยตั้งช่ือเขตขอมูลเปน “Soil_def” (คําอธิบายหนวยดิน) กําหนดใหประเภทของเขตขอมูลเปน “String” และความกวางของเขตขอมูลเทากับ “30” ใน “Width” text box

(5) เขตขอมูลใหม ช่ือ Soil_unit และ Soil_def จะถูกเพ่ิมเขาในไปตาราง Soilunit.dbf ตามลําดับ

(6) จากเมนู Edit เลือกคําส่ัง “Add Record” เพ่ือเพ่ิมรายการขอมูล (record) ใหมลงไปใน

ตาราง Soilunit.dbf

(7) คลิกปุม Edit จาก Toolbar แลวใสรายละเอียดขอมูลลงไปใน Record ที่ 1

บทปฏิบัติการระบบสารสนเทศภูมิศาสตร

Page 5: conf.agi.nu.ac.th › agmis › download › publication › 441_file.pdf 4 ArcView37 4.1.2 ประเภทของตารางข อม ลเช งค กษณะณล

39

(8) ทําตามข้ันตอนที่ 2.6 เพ่ือเพ่ิมรายการใหมลงไปในตาราง Soilunit.dbf ดังภาพขางลาง

(9) เม่ือเสร็จส้ินการเพ่ิมรายการลงในตารางแลว เลือกคําส่ัง “Stop Editing” จากเมนู Table

เพ่ือทําการบันทึกขอมูล และจบการแกไขขอมูล

4.3 การคํานวณคาในเขตขอมูลที่กําหนด

(1) เปด “View” document ใหมข้ึนมา แลวแสดงขอมูล Soilgroup.shp

(2) คลิกปุม Open Theme Table จาก Button bar เพ่ือแสดงตารางขอมูลคุณลักษณะของ Soilgroup_bkt.shp

(3) เลือกคําส่ัง Properties จากเมนู Table เพ่ือเลือกแสดงเฉพาะเขตขอมูล (Filed) ที่ตองการ โดยการคลิกเครื่องหมาย √ หนาช่ือ Field ที่ตองการจะแสดงผล

• “Area” Filed แสดงเน้ือที่ของแตละ Polygon feature ในขอมูล Soilgroup_bkt.shp ซึ่งมีหนวยเปน ตารางเมตร สําหรับในครั้งนี้จะฝกใหนิสิตคํานวณเนื้อที่ของแตละ Polygon ออกมามีหนวยเปน “ไร” โดยจะถูกเพ่ิมลงในเขตขอมูลใหมที่ช่ือ “RAI”

การจัดการตารางขอมูลเชิงคุณลักษณะดวยโปรแกรม ArcView

Page 6: conf.agi.nu.ac.th › agmis › download › publication › 441_file.pdf 4 ArcView37 4.1.2 ประเภทของตารางข อม ลเช งค กษณะณล

40

(4) เลือกคําส่ัง Start Editing จากเมนู Table เพ่ือทําการแกไขตารางขอมูลเชิงคุณลักษณะของ Soilgroup_bkt.shp

(5) จากเมนู Edit เลือกคําส่ัง “Add Filed” เพ่ือสราง Filed ใหม โดยตั้งช่ือวา RAI เลือกประเภทของ Field เปน Number และกําหนดความกวางของ Filed เปน “16” และกําหนดตําแหนงทศนิยมเปนเลข “2” หลัก ใน Decimal Places

(6) คลิก Active ที่เขตขอมูล “RAI” แลวคลิกปุม “Calculate” ที่ Button bar เพ่ือทําการ

คํานวณเนื้อที่จากเขตขอมูล “Area” ใหมีหนวยเปน “ไร”

(7) ใน “Filed Calculator” dialog box ใสสูตรการคํานวณเนื้อที่จากหนวย “ตารางเมตร” เปนหนวย “ไร” โดยเขียนสมการดังภาพขางลาง แลวคลิกปุม OK เพ่ือทําการคํานวณเนื้อที ่โดยแสดงคาเน้ือที่ (ไร) ลงในเขตขอมูล “RAI”

4.4 การสอบถามขอมูลจากตารางเชิงคุณลักษณะ

การเลือก Record ในตารางตามเงื่อนไขที่กําหนด โดยการใช Query button ในการระบุช่ือ Field Operation และ Value โดยเงื่อนไขที่กําหนด (selection criteria) สามารถอยูในรูปของชุดสมการเชิงตรรกะ (logical expression) ตั้งแตหนึ่งสมการขึ้นไป ซึ่งจะประกอบดวยการรวมกันของ ช่ือเขตขอมูล (Feild), การปฏิบัติการ (operation), และ คาขอมูล (Value) ตัวอยางเชน จากขอมูล Soilgroup.shp ตองการหา feature ที่ Soil_id มีคาตั้งแต 2000 ถึง 7000 ดังนั้นสามารถสรางเงื่อนไขที่กําหนดไดดัง สมการตรรกะขางลางนี้

Soil_id >= 2000 or Soil_id <= 7000

บทปฏิบัติการระบบสารสนเทศภูมิศาสตร

Page 7: conf.agi.nu.ac.th › agmis › download › publication › 441_file.pdf 4 ArcView37 4.1.2 ประเภทของตารางข อม ลเช งค กษณะณล

41

การแสดงขอมูลที่ถูกเลือกตามเงื่อนไขที่กําหนดมีข้ันตอนดังตอไปนี้

(1) แสดงขอมูล Soil_drainage_bkt.shp ใน “View” document และเปดตารางขอมูลเชิงคุณลักษณะ

(2) จากตาราง Attributes of Soil_drainage_bkt.shp, กําหนดเงื่อนไข โดยตองการหาพื้นที่ที่มี การระบายน้ําคอนขางเลว ดวยการคลิกที่ปุม “Query” button หลังจากนั้นเลือก “Soil_drain” field, “=” operation, และเลือก value เปน “การระบายน้ําคอนขางเลว”. เม่ือเสร็จส้ินการกําหนดเงื่อนไขแลว คลิกปุม “New Set” เพ่ือทําการเลือกรายการ (record) ที่มีคาตามเงื่อนไขกําหนด

• ขอมูลที่ถูกเลือกตามเง่ือนไขที่กําหนด (records และ polygon features) ทั้งใน Table

และ View จะถูก highlight เปนสีเหลือง

(3) คลิกปุม “Promote” เพ่ือยายขอมูล (record) ที่ถูกเลือกทั้งหมดมารวมกันอยูดานบนสุดของตาราง

• จาก “Query” dialog box, ปุม New Set ใชสําหรับเลือกขอมูลตามเงื่อนไขที่กําหนด, ปุม Add To Set ใชในการเพ่ิมขอมูลตามเงื่อนไขใหมใหกับชุดขอมูลเดิมที่ถูกเลือกไวแลว และปุม Select From Set ใชเลือกขอมูลเดิมจากชุดขอมูลที่ถูกเลือกตามเงื่อนไขที่กําหนดครั้งลาสุด

การจัดการตารางขอมูลเชิงคุณลักษณะดวยโปรแกรม ArcView

Page 8: conf.agi.nu.ac.th › agmis › download › publication › 441_file.pdf 4 ArcView37 4.1.2 ประเภทของตารางข อม ลเช งค กษณะณล

42

4.5. การแสดงคาทางสถิติของตารางขอมูลเชิงคุณลักษณะ

ตารางที่นําเขาสู ArcView สามารถแสดงผลทางสถิติของแตละเขตขอมูล (Filed) โดยการเลือกรายการ (record) จากเขตขอมูล (field) ที่ตองการจะแสดงคาทางสถิติ เม่ือทําการคํานวณคาสถิติของ field หรือ record (ที่ถูกเลือกตามเงื่อนไขที่กําหนด) ใด ๆ ในตาราง, ArcView จะแสดงคาสถิติตางๆ ดังนี้ Average, Sum, Minimum, Maximum, Standard Deviation, Variance, First, Last, และ Count ซึ่งคาสถิติเหลาน้ีจะถูกบันทึกในตารางใหมที่ถูกสรางข้ึน

(1) แสดงขอมูล Soilgroup_bkt.shp ใน View document และเปดตารางขอมูลคุณลักษณะ

(2) จากตาราง Attributes of Soilgroup_bkt.shp, คลิก active ที่เขตขอมูล “Soil_id” แลวคลิกปุม “Summarize” จาก button bar (เพ่ือจะทําการหาคาเฉล่ียพ้ืนที่และคาพ้ืนที่รวมของกลุม Soil_ID แตละประเภท)

(3) ใน “Summary Table Definition” dialog box, กําหนดชื่อตารางขอมูลใหมที่เพ่ือแสดงคาเฉล่ียพ้ืนที่ของ Soil_id แตละประเภท หลังจากนั้นกําหนดเขตขอมูล (Statistic field) เปน Area field และกําหนดประเภทการคํานวณคาสถิติ (Type of statistic) เปน Average (เพ่ือหาคาเฉล่ียพ้ืนที่ของกลุม Soil_ID แตละประเภท)

(4) คลิก “Add” button เพ่ือแสดงเงื่อนไขการคํานวณคาสถิติ แลวคลิก OK button เพ่ือทําการคํานวณและแสดงผลในตาราง

ประเภทการคํานวณคาส

(5) การคํานวณหาคาพ้ืนที่รวมของกลุม ใหมที่เพ่ือแสดงคาที่คํานวณได (“Suเปน “Area” และกําหนดประเภทกาแลวทําตามข้ันตอนที่ 5.4 เพ่ือคํานวณ

บทปฏิบัติการระบบสารสนเทศภูมิศาสตร

ชื่อและตําแหนงของตารางใหม

ถิติ

Soil_ID แตละประเภท, ใหกําหนดช่ือตารางขอมูลm_soilid.dbf”), กําหนดเขตขอมูล (Statistic field) รคํานวณคาสถิติ (Type of statistic) เปน “Sum” คาสถิติที่ตองการ

Page 9: conf.agi.nu.ac.th › agmis › download › publication › 441_file.pdf 4 ArcView37 4.1.2 ประเภทของตารางข อม ลเช งค กษณะณล

43

• จากการคํานวณคาสถิติของตารางใดๆ น้ัน พบวาผลที่ไดคือ ตารางใหมที่ประกอบไปดวย (1) เขตขอมูลที่ตองการคํานวณ (Soil_id) ซึ่งอยูในลักษณะของ primary key field โดยคาในแตละ record จะไมซ้ํากัน (2) เขตขอมูลแสดงจํานวนรายการ (record) ของแตละคาใน primary key field และ (3) เขตขอมูลที่บันทึกคาสถิติที่กําหนด (เชน Ave_Area หรือ Sum_Area fields) ซึ่งตารางคาสถิติที่คํานวณไดน้ี สามารถนําไปเชื่อมโยงหรือสรางความสัมพันธระหวางตารางขอมูลเชิงคุณลักษณะอื่น ๆ ได

4.6 การสรางความสัมพันธระหวางตารางขอมูลเชิงคุณลักษณะ

การสรางความสัมพันธระหวางตารางขอมูลตาง ๆ ทําใหสามารถสอบถาม สรางแผนภูมิ วิเคราะหขอมูล และแสดงผลขอมูล จากตารางตางๆ ที่มีความสัมพันธกันตั้งแตหนึ่งตารางขึ้นไป สําหรับโปรแกรม ArcView สามารถใหผูใชสรางลักษณะความสัมพันธระหวางตารางขอมูลไดสองแบบ คือ Join และ Link โดยทั่วไป หลักการของฐานขอมูลเชิงสัมพันธ (Relational database) จะตองมีเขตขอมูลรวมกัน (Common field) ระหวาง 2 ตาราง คือ Primary key field และ Foreign key field ซึ่งเขตขอมูลทั้งสองจะทําหนาที่รวมรายการขอมูล (record) ที่มีคาตรงกันในทั้งสองตารางเขาดวยกัน ดวยการสําเนาขอมูลจากตารางหนึ่งไปสูอีกตารางหนึ่งดังภาพขางลางนี้

Primary Key Common field

Foreign Key

Destination Table Source Table Join Operation

การจัดการตารางขอมูลเชิงคุณลักษณะดวยโปรแกรม ArcView

Page 10: conf.agi.nu.ac.th › agmis › download › publication › 441_file.pdf 4 ArcView37 4.1.2 ประเภทของตารางข อม ลเช งค กษณะณล

44

การตอรวมขอมูลจากสองตารางเขาดวยกัน (Join Operation) ปกติจะใหกับตารางที่มีความสัมพันธในแบบ one-to-one relationship แตก็สามารถใชกับตารางที่มีความสัมพันธกันแบบ many-to-one ไดเชนเดียวกัน :ซึ่งการทํางานแบบ Join Operation จะใหแตละ record ในตาราง Destination Table จับคูกับ Unique record ในตาราง Source Table หลังจากนั้นเขตขอมูล จาก Source Table จะถูกนําไปตอกับ Destination Table อยางไรก็ตามขอมูลของทั้ง 2 ตารางยังคงถูกเก็บบันทกึแยกกันอยู โดยการใช Join Operation เปนการตอรวมขอมูลเขาดวยกันเพียงช่ัวคราวเทาน้ัน

การเช่ือมโยงขอมูล (Link Operation) เปนการกําหนดความสัมพันธกันระหวาง record ใน ตารางทั้งสอง โดยจะทํางานไดกับตารางที่มีความสัมพันธแบบ one-to-many relationship ไดเทาน้ัน และยังแตกตางจาก Join Operation ตรงที่จะไมมีเขตขอมูลใดๆ ใน Source Table ไปตอรวมกับ Field ใน Destination Table สําหรับการแสดงผลของการเชื่อมโยงความสัมพันธ (Link) ทําไดโดยการเลือก Record ใน Destination Table ซึ่งจะทําให Linked Record (รายการที่เช่ือมโยงกัน) ใน Source Table ถูกเลือกเชนกัน

การใชคําส่ัง Join เพ่ือตอรวมเขตขอมูลจากสองตารางเขาดวยกัน มีข้ันตอนดังนี้

(1) แสดงขอมูล Aquifer_bkt.shp ใน View document และเปดตารางขอมูลคุณลักษณะ

(2) ที่ Table icon คลิก Add button เพ่ือเพ่ิมตารางขอมูล Aq_code.dbf (ขอมูลคําอธิบายช่ือของประเภทชั้นหินอุมนํ้า: Aquifer rock type) และ Aq_yield.dbf (ขอมูลปริมาณนํ้าใตดินใน Aquifer แตละประเภท) เขามาใชงาน

บทปฏิบัติการระบบสารสนเทศภูมิศาสตร

Page 11: conf.agi.nu.ac.th › agmis › download › publication › 441_file.pdf 4 ArcView37 4.1.2 ประเภทของตารางข อม ลเช งค กษณะณล

45

(3) จากทั้งหมด 3 ตารางขอมูลคือ Attribute of Aquifer_bkt.shp, Aq_code.dbf, Aq_yield.dbf, และนํามาสรางความสัมพันธกันระหวางตารางทั้ง 3 ดวยการใช “Join” Operation

(4) ทําการ Join ตาราง Aq_code.dbf กับตาราง Aq_yield.dbf ซึ่งตารางทั้งสองที่มีความสัมพันธแบบ one-to-one relationship โดยการ คลิก Active ที่ “Aqui_code” field (commond field) ของตาราง Aq_yield.dbf (กําหนดใหเปน Source table) หลังจากนั้น Active ที่ “Aqui_code” field ในตาราง Aq_code.dbf (กําหนดใหเปน Destination table)

(5) คลิก Join icon ที่ Button bar, เขตขอมูลทั้งหมดจากตาราง Aq_yield.dbf (ยกเวน Aqui_Code เพราะเปน command field) จะถูกนํามาแสดงในตาราง Aq_code.dbf

Destination Table Common field

Source Table Common field

แสดงผลหลังการ Join ในตาราง Destination Table

(6) ทําการ Join ตาราง Attribute of Aquifer_bkt.shp กับตาราง Aq_yield.dbf ซึ่งตารางทั้งสองที่มีความสัมพันธแบบ “many-to-one” relationship โดยการ คลิก Active ที่เขตขอมูลที่ช่ือวา “Aqui_code” (commond field) ของตาราง Aq_yield.dbf (กําหนดใหเปน Source table) หลังจากนั้น Active ที่เขตขอมูล “Aqui_code” ในตาราง Attribute of Aquifer_bkt.shp (กําหนดใหเปน Destination table)

(7) คลิก Join icon ที่ Button bar, เขตขอมูลทั้งหมดจากตาราง Aq_yield.dbf (ยกเวนเขตขอมูล Aqui_Code เพราะเปน command field) จะถูกนํามาแสดงในตาราง Attribute of Aquifer_bkt.shp

การจัดการตารางขอมูลเชิงคุณลักษณะดวยโปรแกรม ArcView

Page 12: conf.agi.nu.ac.th › agmis › download › publication › 441_file.pdf 4 ArcView37 4.1.2 ประเภทของตารางข อม ลเช งค กษณะณล

46

Source Table

Common field

Common field

Join Operation

Destination Table

(8) ทําการ Link ตาราง Aq_yield.dbf กับตาราง Attribute of Aquifer_bkt.shp ซึ่งตารางทั้งสองที่มีความสัมพันธแบบ “one-to-many” relationship โดยการ คลิก Active ที่ “Aqui_code” field (commond field) ของตาราง Attribute of Aquifer_bkt.shp (กําหนดใหเปน Source table) หลังจากนั้น Active ที่ “Aqui_code” field ในตาราง Aq_yield.dbf (กําหนดใหเปน Destination table)

(9) เลือกคําส่ัง Link จากเมนู Table, ซึ่ง “Aqui_code” Field ในตาราง Attribute of Aquifer_bkt.shp จะทําการเช่ือมโยงรายการขอมูล (record) ทั้งหมดเขากับรายการขอมูล (record) ของตาราง Aq_yield.dbf

Common field

Destination Table Link Operation Source Table

(10) ทําการทดสอบผลการใช Link Operation ดวยการเลือกรายการขอมูล (record) จากตาราง Aq_yield.dbf ถาพบวารายการขอมูล (record) ของตาราง Attribute of Aquifer_bkt.shp ถูกเลือกตามมาดวย แสดงวา Link ไดทํางานตามปกติ

บทปฏิบัติการระบบสารสนเทศภูมิศาสตร

Page 13: conf.agi.nu.ac.th › agmis › download › publication › 441_file.pdf 4 ArcView37 4.1.2 ประเภทของตารางข อม ลเช งค กษณะณล

47

การเช่ือมโยงความสัมพันธกันระหวางขอมูลตาราง และขอมูลภาพ Shape File ดวยการทํา Link Operation

เอกสารอางอิง

Environmental System Research Institute. 1996. Introduction to ArcView GIS. California : ESRI Educational Services. Environmental Systems Research Institute, Inc.

สมพร สงาวงศ. 2543. ความรูเบื้องตนเก่ียวกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (ฉบับยอ) และแบบฝกหัดการใช ArcView. ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม. นพบุรีการพิมพ. เชียงใหม

การจัดการตารางขอมูลเชิงคุณลักษณะดวยโปรแกรม ArcView