Top Banner
ระบบคอมพิวเตอร บทที1 ระบบคอมพิวเตอร คอมพิวเตอรเขามามีบทบาทที่สําคัญยิ่งตอสังคมของมนุษยเราในปจจุบัน แทบทุกวงการลวนนํา คอมพิวเตอรเขาไปเกี่ยวของกับการใชงาน จนกลาวไดวาคอมพิวเตอรเปนปจจัยที่สําคัญอยางยิ่งตอการดําเนิน ชีวิตและการทํางานในชีวิตประจําวัน ฉะนั้นการเรียนรูเพื่อทําความรูจักกับคอมพิวเตอรจึงถือเปนสิ่งที่มีความจํา เปนเปนอยางยิ่ง เพื่อที่จะทราบวาคอมพิวเตอรคืออะไร ทํางานอยางไร และมีความสําคัญตอมนุษยอยางไร เรา จึงควรทําการศึกษาในหัวขอตอไปนี1.1 บทนํา บทนํา คอมพิวเตอรมาจากภาษาละตินวา Computare ซึ่งหมายถึง การนับ หรือ การคํานวณพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน .. 2525 ใหความหมายของคอมพิวเตอรไววา "เครื่องอิเล็กทรอนิกสแบบอัตโนมัติ ทํา หนาที่เหมือนสมองกล ใชสําหรับแกปญหาตาง ที่งายและซับซอนโดยวิธีทางคณิตศาสตร" รูปที1.1 แสดงไมโครคอมพิวเตอร คอมพิวเตอรจึงเปนเครื่องจักรอิเล็กทรอนิกสที่ถูกสรางขึ้นเพื่อใชทํางานแทนมนุษย ในดานการคิด คํานวณและสามารถจําขอมูล ทั้งตัวเลขและตัวอักษรไดเพื่อการเรียกใชงานในครั้งตอไป นอกจากนียังสามารถ จัดการกับสัญลักษณไดดวยความเร็วสูง โดยปฏิบัติตามขั้นตอนของโปรแกรม คอมพิวเตอรยังมีความสามารถใน ดานตางๆ อีกมาก อาทิเชน การเปรียบเทียบทางตรรกศาสตร การรับสงขอมูล การจัดเก็บขอมูลในตัวเครื่องและ สามารถประมวลผลจากขอมูลตางๆ ได 1.1.1 ขั้นตอนการทํางานของคอมพิวเตอร คอมพิวเตอรไมวาจะเปนประเภทใดก็ตาม จะมีลักษณะ การทํางานของสวนตาง ที่มีความสัมพันธกันเปนกระบวนการ โดยมีองคประกอบพื้นฐานหลัก คือ Input Process และ output ซึ่งมีขั้นตอนการทํางานดังรูปที1.2 Output Process แสดงขอมูล ประมวลผล รับขอมูล Input รูปที1.2 แสดงขั้นตอนการทํางานของคอมพิวเตอร -1- มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
18
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: Chepter1

ระบบคอมพิวเตอร

บทที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร

คอมพิวเตอรเขามามีบทบาทที่สําคัญยิ่งตอสังคมของมนุษยเราในปจจุบัน แทบทุกวงการลวนนํา

คอมพิวเตอรเขาไปเกี่ยวของกับการใชงาน จนกลาวไดวาคอมพิวเตอรเปนปจจัยที่สําคัญอยางยิ่งตอการดําเนินชีวิตและการทํางานในชีวิตประจําวัน ฉะนั้นการเรียนรูเพื่อทําความรูจักกับคอมพิวเตอรจึงถือเปนส่ิงที่มีความจําเปนเปนอยางยิ่ง เพื่อที่จะทราบวาคอมพิวเตอรคืออะไร ทํางานอยางไร และมีความสําคัญตอมนุษยอยางไร เราจึงควรทําการศึกษาในหัวขอตอไปนี้ 11..11 บทนํา บทนํา

คอมพิวเตอรมาจากภาษาละตินวา Computare ซึ่งหมายถึง การนับ หรือ การคํานวณพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ใหความหมายของคอมพิวเตอรไววา "เครื่องอิเล็กทรอนิกสแบบอัตโนมัติ ทําหนาที่เหมือนสมองกล ใชสําหรับแกปญหาตาง ๆ ที่งายและซับซอนโดยวิธีทางคณิตศาสตร"

รูปที่ 1.1 แสดงไมโครคอมพิวเตอร

คอมพิวเตอรจึงเปนเครื่องจักรอิเล็กทรอนิกสที่ถูกสรางขึ้นเพื่อใชทํางานแทนมนุษย ในดานการคิด

คํานวณและสามารถจําขอมูล ทั้งตัวเลขและตัวอักษรไดเพื่อการเรียกใชงานในครั้งตอไป นอกจากนี้ ยังสามารถจัดการกับสัญลักษณไดดวยความเร็วสูง โดยปฏิบัติตามขั้นตอนของโปรแกรม คอมพิวเตอรยังมีความสามารถในดานตางๆ อีกมาก อาทิเชน การเปรียบเทียบทางตรรกศาสตร การรับสงขอมูล การจัดเก็บขอมูลในตัวเครื่องและสามารถประมวลผลจากขอมูลตางๆ ได

1.1.1 ขั้นตอนการทํางานของคอมพิวเตอร คอมพิวเตอรไมวาจะเปนประเภทใดก็ตาม จะมีลักษณะ

การทํางานของสวนตาง ๆ ที่มีความสัมพันธกันเปนกระบวนการ โดยมีองคประกอบพื้นฐานหลัก คือ Input Process และ output ซึ่งมีขั้นตอนการทํางานดังรูปที่ 1.2

Output Process

แสดงขอมูล ประมวลผลรับขอมูล

Input

รูปที่ 1.2 แสดงขั้นตอนการทํางานของคอมพิวเตอร

-1- มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี

Page 2: Chepter1

ระบบคอมพิวเตอร

หนวยควบคุม หนวยคํานวณ

หนวยรับขอมูล หนวยแสดงผล

หนวยความจําหลัก

ขั้นตอนที่ 1: รับขอมูลเขา (Input)

เริ่มตนดวยการนําขอมูลเขาเครื่องคอมพิวเตอร ซึ่งสามารถผานทางอุปกรณชนิดตางๆ แลวแตชนิดของขอมูลที่จะปอนเขาไป เชน ถาเปนการพิมพขอมูลจะใชแผงแปนพิมพ (Keyboard) เพื่อพิมพขอความหรือโปรแกรมเขาเครื่อง ถาเปนการเขียนภาพจะใชเครื่องอานพิกัดภาพกราฟก (Graphics Tablet) โดยมีปากกาชนิดพิเศษสําหรับเขียนภาพ หรือถาเปนการเลนเกมก็จะมีกานควบคุม (Joystick) สําหรับเคลื่อนตําแหนงของการเลนบนจอภาพ เปนตน ขั้นตอนที่ 2: ประมวลผลขอมูล (Process)

เมื่อนําขอมูลเขามาแลว เครื่องจะดําเนินการกับขอมูลตามคําส่ังที่ไดรับมาเพื่อใหไดผลลัพธตามที่ตองการ การประมวลผลอาจจะมีไดหลายอยาง เชน นําขอมูลมาหาผลรวม นําขอมูลมาจัดกลุม นําขอมูลมาหาคามากที่สุด หรือนอยที่สุด เปนตน ขั้นตอนที่ 3: แสดงผลลัพธ (Output)

เปนการนําผลลัพธจากการประมวลผลมาแสดงใหทราบทางอุปกรณที่กําหนดไว โดยทั่วไปจะแสดงผานทางจอภาพ หรือเรียกกันโดยทั่วไปวา "จอมอนิเตอร" (Monitor) หรือจะพิมพขอมูลออกทางกระดาษโดยใชเครื่องพิมพก็ได 1.1.2 ลักษณะเดนของคอมพิวเตอร เครื่องคอมพิวเตอรถูกสรางขึ้นมาเพื่อใหมีจุดเดน 4 ประการ เพื่อทดแทนขอจํากัดของมนุษย เรียกวา 4 S special ดังนี้

1. หนวยเก็บ (Storage) หมายถึง ความสามารถในการเก็บขอมูลจํานวนมากและเปนเวลานาน นับเปนจุดเดนทางโครงสรางและเปนหัวใจของการทํางานแบบอัตโนมัติของเครื่องคอมพิวเตอร ทั้งเปนตัวบงชี้ประสิทธิภาพของคอมพิวเตอรแตละเครื่องดวย

2. ความเร็ว (Speed) หมายถึง ความสามารถในการประมวลผลขอมูล (Processing Speed) โดยใชเวลานอย เปนจุดเดนทางโครงสรางที่ผูใชทั่วไปมีสวนเกี่ยวของนอยที่สุด เปนตัวบงชี้ประสิทธิภาพของเครื่องคอมพิวเตอรที่สําคัญสวนหนึ่งเชนกัน

3. ความเปนอัตโนมัติ (Self Acting) หมายถึง ความสามารถในการประมวลผลขอมูลตามลําดับขั้นตอนไดอยางถูกตองและตอเนื่องอยางอัตโนมัติ โดยมนุษยมีสวนเกี่ยวของเฉพาะในขั้นตอนการกําหนดโปรแกรมคําส่ังและขอมูลกอนการประมวลผลเทานั้น

-2- มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี#อ.มะลิวรรณ ระหูภา#

Page 3: Chepter1

ระบบคอมพิวเตอร

4. ความนาเชื่อถือ (Sure) หมายถึง ความสามารถในการประมวลผลใหเกิดผลลัพธที่ถูกตอง ความนาเชื่อถือนับเปนส่ิงสําคัญที่สุดในการทํางานของเครื่องคอมพิวเตอร ความสามารถนี้เกี่ยวของกับโปรแกรมคําส่ังและขอมูลที่มนุษยกําหนดใหกับเครื่องคอมพิวเตอรโดยตรง กลาวคือ หากมนุษยปอนขอมูลที่ไมถูกตองใหกับเครื่องคอมพิวเตอรก็ยอมไดผลลัพธที่ไมถูกตองดวยเชนกัน

1.1.3 ประโยชนของคอมพิวเตอร จากการที่คอมพิวเตอรมีลักษณะเดนหลายประการ ทําใหถูกนํา

มาใชประโยชนตอการดําเนินชีวิตประจําวันในสังคมเปนอยางมาก ที่พบเห็นไดบอยที่สุดก็คือ การใชในการพิมพเอกสารตางๆ เชน พิมพจดหมาย รายงาน เอกสารตางๆ ซึ่งเรียกวางานประมวลผล ( word processing ) นอกจากนี้ยังมีการประยุกตใชคอมพิวเตอรในดานตางๆ อีกหลายดาน ดังตอไปนี้

1.

2.

3.

4.

5.

6.

งานธุรกิจ เชน บริษัท รานคา หางสรรพสินคา ตลอดจนโรงงานตางๆ ใชคอมพิวเตอรในการทําบัญชี งานประมวลคํา และติดตอกับหนวยงานภายนอกผานระบบโทรคมนาคม นอกจากนี้งานอุตสาหกรรม สวนใหญก็ใชคอมพิวเตอรมาชวยในการควบคุมการผลิต และการประกอบชิ้นสวนของอุปกรณตางๆ เชน โรงงานประกอบรถยนต ซึ่งทําใหการผลิตมีคุณภาพดีขึ้นบริษัทยังสามารถรับ หรืองานธนาคาร ที่ใหบริการถอนเงินผานตูฝากถอนเงินอัตโนมัติ ( ATM) และใชคอมพิวเตอรคิดดอกเบี้ยใหกับผูฝากเงิน และการโอนเงินระหวางบัญชี เชื่อมโยงกันเปนระบบเครือขาย

งานวิทยาศาสตร การแพทย และงานสาธารณสุข สามารถนําคอมพิวเตอรมาใชในนํามาใชในสวนของการคํานวณที่คอนขางซับซอน เชน งานศึกษาโมเลกุลสารเคมี วิถีการโคจรของการสงจรวดไปสูอวกาศ หรืองานทะเบียน การเงิน สถิติ และเปนอุปกรณสําหรับการตรวจรักษาโรคได ซึ่งจะใหผลที่แมนยํากวาการตรวจดวยวิธีเคมีแบบเดิม และใหการรักษาไดรวดเร็วขึ้น

งานคมนาคมและสื่อสาร ในสวนที่เกี่ยวกับการเดินทาง จะใชคอมพิวเตอรในการจองวันเวลา ที่นั่ง ซึ่งมีการเชื่อมโยงไปยังทุกสถานีหรือทุกสายการบินได ทําใหสะดวกตอผูเดินทางที่ไมตองเสียเวลารอ อีกทั้งยังใชในการควบคุมระบบการจราจร เชน ไฟสัญญาณจราจร และ การจราจรทางอากาศ หรือในการสื่อสารก็ใชควบคุมวงโคจรของดาวเทียมเพื่อใหอยูในวงโคจร ซึ่งจะชวยสงผลตอการสงสัญญาณใหระบบการสื่อสารมีความชัดเจน

งานวิศวกรรมและสถาปตยกรรม สถาปนิกและวิศวกรสามารถใชคอมพิวเตอรในการออกแบบ หรือ จําลองสภาวการณ ตางๆ เชน การรับแรงสั่นสะเทือนของอาคารเมื่อเกิดแผนดินไหว โดยคอมพิวเตอรจะคํานวณและแสดงภาพสถานการณใกลเคียงความจริง รวมทั้งการใชควบคุมและติดตามความกาวหนาของโครงการตางๆ เชน คนงาน เครื่องมือ ผลการทํางาน

งานราชการ เปนหนวยงานที่มีการใชคอมพิวเตอรมากที่สุด โดยมีการใชหลายรูปแบบ ทั้งนี้ขึ้นอยูกับบทบาทและหนาที่ของหนวยงานนั้นๆ เชน กระทรวงศึกษาธิการ มีการใชระบบประชุมทางไกลผานคอมพิวเตอร , กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ไดจัดระบบเครือขายอินเทอรเน็ตเพื่อเชื่อมโยงไปยังสถาบันตางๆ, กรมสรรพากร ใชจัดในการจัดเก็บภาษี บันทึกการเสียภาษี เปนตน

การศึกษา ไดแก การใชคอมพิวเตอรทางดานการเรียนการสอน ซึ่งมีการนําคอมพิวเตอรมาชวยการสอนในลักษณะบทเรียน CAI หรืองานดานทะเบียน ซึ่งทําใหสะดวกตอการคนหาขอมูลนักเรียน การเก็บขอมูลยืมและการสงคืนหนังสือหองสมุด

-3- มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี

Page 4: Chepter1

ระบบคอมพิวเตอร

11..22 ประวัติความเปนของคอมพิวเตอรประวัติความเปนของคอมพิวเตอร คอมพิวเตอรที่เราใชกันอยูทุกวันนี้เปนผลมาจากการประดิษฐคิดคนเครื่องมือในการคํานวณ ซึ่งมี

วิวัฒนาการนานมาแลว เริ่มจากเครื่องมือในการคํานวณเครื่องแรกคือ "ลูกคิด" (Abacus) ที่สรางขึ้นในประเทศจีน เมื่อประมาณ 2,000-3,000 ปมาแลว

จนกระทั่งในป พ.ศ. 2376 นักคณิตศาสตรชาวอังกฤษ ชื่อ ชารล แบบเบจ (Charles Babbage) ไดประดิษฐเครื่องวิเคราะห (Analytical Engine) สามารถคํานวณคาของตรีโกณมิติ ฟงกชั่นตางๆ ทางคณิตศาสตร การทํางานของเครื่องนี้แบงเปน 3 สวน คือ สวนเก็บขอมูล สวนคํานวณ และสวนควบคุม ใชระบบพลังเครื่องยนตไอน้ําหมุนฟนเฟอง มีขอมูลอยูในบัตรเจาะรู คํานวณไดโดยอัตโนมัติ และเก็บขอมูลในหนวยความจํา กอนจะพิมพออกมาทางกระดาษ หลักการของแบบเบจนี้เองที่ไดนํามาพัฒนาสรางเครื่องคอมพิวเตอรสมัยใหม เราจึงยกยองใหแบบเบจเปน บิดาแหงเครื่องคอมพิวเตอร

หลังจากนั้นเปนตนมา ไดมีผูประดิษฐเครื่องคอมพิวเตอรขึ้นมามากมายหลายขนาด ทําใหเปนการเริ่มยุคของคอมพิวเตอรอยางแทจริง โดยสามารถจัดแบงคอมพิวเตอรออกไดเปน 5 ยุค

- ยุคที่หนึ่ง (First Generation Computer) พ.ศ. 2489-2501 - ยุคที่สอง (Second Generation Computer) พ.ศ. 2502-2506 - ยุคที่สาม (Third Generation Computer) พ.ศ. 2507-2512 - ยุคที่ส่ี (Fourth Generation Computer) พ.ศ. 2513-2532 - ยุคที่หา (Fifth Generation Computer) พ.ศ. 2533 จนถึงปจจุบัน ยุคที่หนึ่ง (First Generation Computer) พ.ศ. 2489-2501 เปนการประดิษฐเครื่องคอมพิวเตอรที่มิใชเครื่องคํานวณ โดยเมาชลีและเอ็กเคอรต (Mauchly and

Eckert) ไดนําแนวความคิดนั้นมาประดิษฐเปนเครื่องคอมพิวเตอรที่มีประสิทธิภาพมากเครื่องหนึ่งเรียกวา ENIAC (Electronic Numerical Integrator and Calculator) ซึ่งตอมาไดทําการปรับปรุงการทํางานของเครื่องคอมพิวเตอรใหมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น และไดประดิษฐเครื่อง UNIVAC (Universal Automatic Computer) ขึ้นเพื่อใชในการสํารวจสํามะโนประชากรประจําป

รูปที่ 1.3 แสดงเครื่อง ENIAC

-4- มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี#อ.มะลิวรรณ ระหูภา#

Page 5: Chepter1

ระบบคอมพิวเตอร

จึงนับไดวา UNIVAC เปนเครื่องคอมพิวเตอรเครื่องแรกของโลกที่ถูกใชงานในเชิงธุรกิจ ซึ่งนับเปนการเริ่มของเครื่องคอมพิวเตอรในยุคแรกอยางแทจริง เครื่องคอมพิวเตอรในยุคนี้ใชหลอดสุญญากาศในการควบคุมการทํางานของเครื่อง ซึ่งทํางานไดอยางรวดเร็ว แตมีขนาดใหญมากและราคาแพง ยุคแรกของคอมพิวเตอรส้ินสุดเมื่อมีผูประดิษฐทรานซิสเตอรมาใชแทนหลอดสุญญากาศ

รูปที่ 1.4 หลอดสุญญากาศ

ลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอรยุคที่ 1

• ใชอุปกรณ หลอดสุญญากาศ (Vacuum Tube) เปนสวนประกอบหลัก ทําใหตัวเครื่องมีขนาดใหญ ใชพลังงานไฟฟามาก และเกิดความรอนสูง

• ทํางานดวยภาษาเครื่อง (Machine Language) เทานั้น • เริ่มมีการพัฒนาภาษาสัญลักษณ (Assembly / Symbolic Language) ขึ้นใชงาน

ยุคที่สอง (Second Generation Computer) พ.ศ. 2502-2506 มีการนําทรานซิสเตอร มาใชในเครื่องคอมพิวเตอรจึงทําใหเครื่องมีขนาดเล็กลง และสามารถเพิ่มประ

สิทธิภาพในการทํางานใหมีความรวดเร็วและแมนยํามากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ในยุคนี้ยังไดมีการคิดภาษาเพื่อใชกับเครื่องคอมพิวเตอรเชน ภาษาฟอรแทน (FORTRAN) จึงทําใหงายตอการเขียนโปรแกรมสําหรับใชกับเครื่อง

รูปที่ 1.5 แสดงคอมพิวเตอรยุคที่สอง

-5- มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี

Page 6: Chepter1

ระบบคอมพิวเตอร

ลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอรยุคที่ 2 1. ใชอุปกรณ ทรานซิสเตอร (Transistor) ซึ่งสรางจากสารกึ่งตัวนํา (Semi-Conductor) เปนอุปกรณหลัก แทนหลอดสุญญากาศ เนื่องจากทรานซิสเตอรเพียงตัวเดียว มีประสิทธิภาพในการทํางานเทียบเทาหลอดสุญญากาศไดนับรอยหลอด ทําใหเครื่องคอมพิวเตอรในยุคนี้มีขนาดเล็ก ใชพลังงานไฟฟานอย ความรอนต่ํา ทํางานเร็ว และไดรับความนาเชื่อถือมากยิ่งขึ้น

2. เก็บขอมูลได โดยใชสวนความจําวงแหวนแมเหล็ก (Magnetic Core) 3. มีความเร็วในการประมวลผลในหนึ่งคําส่ัง ประมาณหนึ่งในพันของวินาที (Millisecond: mS) 4. ส่ังงานไดสะดวกมากขึ้น เนื่องจากทํางานดวยภาษาสัญลักษณ (Assembly Language) 5. เริ่มพัฒนาภาษาระดับสูง (High Level Language) ขึ้นใชงานในยุคนี้

รูปที่ 1.6 แสดงทรานซิสเตอร

ยุคที่สาม (Third Generation Computer) พ.ศ. 2507-2512 คอมพิวเตอรในยุคนี้เริ่มตนภายหลังจากการใชทรานซิสเตอรไดเพียง 5 ป เนื่องจากไดมีการประดิษฐ

คิดคนเกี่ยวกับวงจรรวม (Integrated-Circuit) หรือเรียกกันยอๆ วา "ไอซี" (IC) ซึ่งไอซีนี้ทําใหสวนประกอบและวงจรตางๆ สามารถวางลงไดบนแผนชิป (chip) เล็กๆ เพียงแผนเดียว จึงมีการนําเอาแผนชิปมาใชแทนทรานซิสเตอรทําใหประหยัดเนื้อที่ไดมาก

รูปที่ 1.7 แสดงคอมพิวเตอรยุคที่สาม

นอกจากนี้ยังเริ่มมีการใชงานระบบจัดการฐานขอมูล (Data Base Management Systems: DBMS) และมีการพัฒนาเครื่องคอมพิวเตอรใหสามารถทํางานรวมกันไดหลายๆ งานในเวลาเดียวกัน และมีระบบที่ผูใชสามารถโตตอบกับเครื่องไดหลายๆ คน พรอมๆ กัน (Time Sharing) ลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอรยุคที่ 3

-6- มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี#อ.มะลิวรรณ ระหูภา#

Page 7: Chepter1

ระบบคอมพิวเตอร

• ใชอุปกรณ วงจรรวม (Integrated Circuit : IC) หรือ ไอซี และวงจรรวมสเกลขนาดใหญ (Large Scale Integration : LSI) เปนอุปกรณหลัก

• ความเร็วในการประมวลผลในหนึ่งคําส่ัง ประมาณหนึ่งในลานของวินาที (Microsecond : mS) (สูงกวาเครื่องคอมพิวเตอรในยุคที่ 1 ประมาณ 1,000 เทา) ทํางานไดดวยภาษาระดับสูงทั่วไป

รูปที่ 1.8 แสดงรูป IC

ยุคที่ส่ี (Fourth Generation Computer) พ.ศ. 2513-2532 เปนยุคที่นําสารกึ่งตัวนํามาสรางเปนวงจรรวมความจุสูงมาก (Very Large Scale Integrated: VLSI)

ซึ่งสามารถยอสวนไอซีธรรมดาหลายๆ วงจรเขามาในวงจรเดียวกัน และมีการประดิษฐ ไมโครโพรเซสเซอร (Microprocessor) ขึ้น ทําใหเครื่องมีขนาดเล็ก ราคาถูกลง และมีความสามารถในการทํางานสูงและรวดเร็วมาก จึงทําใหมีคอมพิวเตอรสวนบุคคล (Personal Computer) ถือกําเนิดขึ้นมาในยุคนี้

รูปที่ 1.9 แสดงภาพของไมโครคอมพิวเตอร

ลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอรยุคที่ 4

• ใชอุปกรณ วงจรรวมสเกลขนาดใหญ (Large Scale Integration : LSI) และ วงจรรวมสเกลขนาดใหญมาก (Very Large Scale Integration : VLSI) เปนอุปกรณหลัก

• มีความเร็วในการประมวลผลแตละคําส่ัง ประมาณหนึ่งในพันลานวินาที (Nanosecond : nS) และพัฒนาตอมาจนมีความเร็วในการประมวลผลแตละคําส่ัง ประมาณหนึ่งในลานลานของวินาที (Picosecond : pS)

รูปที่ 1.10 แสดงภาพซีพียูของไมโครคอมพิวเตอร

-7- มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี

Page 8: Chepter1

ระบบคอมพิวเตอร

ยุคที่หา (Fifth Generation Computer) พ.ศ. 2533 จนถึงปจจุบัน ในยุคนี้ ไดมุงเนนการพัฒนา ความสามารถในการทํางานของระบบคอมพิวเตอร และ ความสะดวก

สบายในการใชงานเครื่องคอมพิวเตอร อยางชัดเจน มีการพัฒนาสรางเครื่องคอมพิวเตอรแบบพกพาขนาดเล็กขนาดเล็ก (Portable Computer) ขึ้นใชงานในยุคนี้

โครงการพัฒนาอุปกรณ VLSI ใหใชงานงาย และมีความสามารถสูงขึ้น รวมทั้งโครงการวิจัยและพัฒนาเกี่ยวกับ ปญญาประดิษฐ (Artificial Intelligence: AI) เปนหัวใจของการพัฒนาระบบคอมพิวเตอรในยุคนี้ โดยหวังใหระบบคอมพิวเตอรมีความรู สามารถวิเคราะหปญหาดวยเหตุผล องคประกอบของระบบปญญาประดิษฐ ประกอบดวย 4 หัวขอ ไดแก

1. ระบบหุนยนต หรือแขนกล (Robotics or Robotarm System) คือหุนจําลองรางกายมนุษยที่ควบคุมการทํางานดวยเครื่องคอมพิวเตอร มีจุดประสงคเพื่อใหทํางานแทนมนุษยในงานที่ตองการความเร็ว หรือเส่ียงอันตราย เชน แขนกลในโรงงานอุตสาหกรรม หรือหุนยนตกูระเบิด เปนตน

รูปที่ 1.11 แสดงภาพแขนกลในโรงงานอุตสาหกรรม

2. ระบบประมวลภาษาพูด (Natural Language Processing System) คือ การพัฒนาใหระบบคอมพิวเตอรสามารถสังเคราะหเสียงที่มีอยูในธรรมชาติ (Synthesize) เพื่อส่ือความหมายกับมนุษย เชน เครื่องคิดเลขพูดได (Talking Calculator) หรือนาฬิกาปลุกพูดได (Talking Clock) เปนตน

รูปที่ 1.12 แสดงเครื่องคิดเลขพูดไดและนาฬิกาปลุกพูดได

3. การรูจําเสียงพูด (Speech Recognition System) คือ การพัฒนาใหระบบคอมพิวเตอรเขาใจภาษา

มนุษย และสามารถจดจําคําพูดของมนุษยไดอยางตอเนื่อง กลาวคือเปนการพัฒนาใหเครื่องคอมพิวเตอรทํางานไดดวยภาษาพูด เชน งานระบบรักษาความปลอดภัย งานพิมพเอกสารสําหรับผูพิการ เปนตน

-8- มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี#อ.มะลิวรรณ ระหูภา#

Page 9: Chepter1

ระบบคอมพิวเตอร

4. ระบบผูเชี่ยวชาญ (Expert System) คือ การพัฒนาใหระบบคอมพิวเตอรมีความรู รูจักใชเหตุผลในการวิเคราะหปญหา โดยใชความรูที่มี หรือจากประสบการณในการแกปญหาหนึ่ง ไปแกไขปญหาอื่นอยางมีเหตุผล ระบบนี้จําเปนตองอาศัยฐานขอมูล (Database) ซึ่งมนุษยผูมีความรูความสามารถเปนผูกําหนดองคความรูไวในฐานขอมูลดังกลาว เพื่อใหระบบคอมพิวเตอรสามารถวิเคราะหปญหาตางๆ ไดจากฐานความรูนั้น เชน เครื่องคอมพิวเตอรวิเคราะหโรค หรือเครื่องคอมพิวเตอรทํานายโชคชะตา เปนตน 11..33 ประเภทของคอมพิวเตอรประเภทของคอมพิวเตอร

จากประวัติความเปนมาของคอมพิวเตอร จะเห็นไดวาเทคโนโลยีทางดานคอมพิวเตอรมีการพัฒนาเปล่ียนแปลงไปอยางรวดเร็วมาก ทําใหปจจุบันมีเครื่องคอมพิวเตอรใหเลือกใชมากมายหลายรูปแบบตามความตองการของผูใช

การแบงประเภทของคอมพิวเตอรนั้น สามารถจําแนกออกไดเปน 3 กลุมหลัก ดังนี้ 1.3.1 ประเภทของคอมพิวเตอรตามหลักการประมวลผล 1.3.2 ประเภทของคอมพิวเตอรตามวัตถุประสงคของการใชงาน 1.3.3 ประเภทของคอมพิวเตอรตามความสามารถของระบบ 1.3.1 ประเภทของคอมพิวเตอรตามหลักการประมวลผล จําแนกไดเปน 3 ประเภท คือ

1. คอมพิวเตอรแบบอนาล็อก (Analog Computer) หมายถึง เครื่องมือประมวลผลขอมูลที่อาศัยหลักการวัด (Measuring Principle) ทํางานโดยใชขอมูลที่มีการเปลี่ยนแปลงแบบตอเนื่อง (Continuous Data) แสดงออกมาในลักษณะสัญญาณที่เรียกวา Analog Signal เครื่องคอมพิวเตอรประเภทนี้มักแสดงผลดวยสเกลหนาปด และเข็มชี้ เชน การวัดคาความยาว โดยเปรียบเทียบกับสเกลบนไมบรรทัด การวัดคาความรอนจากการขยายตัวของปรอทเปรียบเทียบกับสเกลขางหลอดแกว

นอกจากนี้ยังมีตัวอยางของ Analog Computer ที่ใชการประมวลผลแบบเปนขั้นตอน เชน เครื่องวัดปริมาณการใชน้ําดวยมาตรวัดน้ํา ที่เปล่ียนการไหลของน้ําใหเปนตัวเลขแสดงปริมาณ อุปกรณวัดความเร็วของรถยนตในลักษณะเข็มช้ี หรือเครื่องตรวจคลื่นสมองที่แสดงผลเปนรูปกราฟ เปนตน

2. คอมพิวเตอรแบบดิจิทัล (Digital Computer) ซึ่งก็คือคอมพิวเตอรที่ใชในการทํางานทั่วๆ ไปนั่นเอง เปนเครื่องมือประมวลผลขอมูลที่อาศัยหลักการนับ ทํางานกับขอมูลที่มีลักษณะการเปลี่ยนแปลงแบบไมตอเนื่อง (Discrete Data) ในลักษณะของสัญญาณไฟฟา หรือ Digital Signal อาศัยการนับสัญญาณขอมูลที่เปนจังหวะดวยตัวนับ (Counter) ภายใตระบบฐานเวลา (Clock Time) มาตรฐาน ทําใหผลลัพธเปนที่นาเชื่อถือ ทั้งสามารถนับขอมูลใหคาความละเอียดสูง เชนแสดงผลลัพธเปนทศนิยมไดหลายตําแหนง เปนตน เนื่องจาก Digital Computer ตองอาศัยขอมูลที่เปนสัญญาณไฟฟา (มนุษยสัมผัสไมได) ทําใหไมสามารถรับขอมูลจากแหลงขอมูลตนทางไดโดยตรง จึงจําเปนตองเปลี่ยนขอมูลตนทางที่รับเขา (Analog Signal) เปนสัญญาณไฟฟา (Digital Signal) เสียกอน เมื่อประมวลผลเรียบรอยแลวจึงเปลี่ยนสัญญาณไฟฟากลับไปเปน Analog Signal เพื่อส่ือความหมายกับมนุษยตอไป

โดยสวนประกอบสําคัญที่เรียกวา ตัวเปลี่ยนสัญญาณขอมูล (Converter) คอยทําหนาที่ในการเปลี่ยนรูปแบบของสัญญาณขอมูล ระหวาง Digital Signal กับ Analog Signal

-9- มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี

Page 10: Chepter1

ระบบคอมพิวเตอร

3. คอมพิวเตอรแบบลูกผสม (Hybrid Computer) เครื่องประมวลผลขอมูลที่อาศัยเทคนิคการทํางานแบบผสมผสาน ระหวาง Analog Computer และ Digital Computer โดยทั่วไปมักใชในงานเฉพาะกิจ โดยเฉพาะงานดานวิทยาศาสตร เชน เครื่องคอมพิวเตอรในยานอวกาศ ที่ใช Analog Computer ควบคุมการหมุนของตัวยาน และใช Digital Computer ในการคํานวณระยะทาง เปนตน การทํางานแบบผสมผสานของคอมพิวเตอรชนิดนี้ ยังคงจําเปนตองอาศัยตัวเปลี่ยนสัญญาณ (Converter) เชนเดิม

1.3.2 ประเภทของคอมพิวเตอรตามวัตถุประสงคของการใชงาน จําแนกไดเปน 2 ประเภท 1. เครื่องคอมพิวเตอรเพ่ืองานเฉพาะกิจ (Special Purpose Computer) หมายถึง เครื่อง

ประมวลผลขอมูลที่ถูกออกแบบตัวเครื่องและโปรแกรมควบคุม ใหทํางานอยางใดอยางหนึ่งเปนการเฉพาะ (Inflexible) โดยทั่วไปมักใชในงานควบคุม หรืองานอุตสาหกรรมที่เนนการประมวลผลแบบรวดเร็ว เชนเครื่องคอมพิวเตอรควบคุมสัญญาณไฟจราจร คอมพิวเตอรควบคุมลิฟต หรือคอมพิวเตอรควบคุมระบบอัตโนมัติในรถยนต เปนตน

2. เครื่องคอมพิวเตอรเพ่ืองานอเนกประสงค (General Purpose Computer) หมายถึง เครื่องประมวลผลขอมูลที่มีความยืดหยุนในการทํางาน (Flexible) โดยไดรับการออกแบบใหสามารถประยุกตใชในงานประเภทตางๆ ไดโดยสะดวก โดยระบบจะทํางานตามคําส่ังในโปรแกรมที่เขียนขึ้นมา และเมื่อผูใชตองการใหเครื่องคอมพิวเตอรทํางานอะไร ก็เพียงแตออกคําส่ังเรียกโปรแกรมที่เหมาะสมเขามาใชงาน โดยเราสามารถเก็บโปรแกรมไวหลายโปรแกรมในเครื่องเดียวกันได เชน ในขณะหนึ่งเราอาจใชเครื่องนี้ในงานประมวลผลเกี่ยวกับระบบบัญชี และในขณะหนึ่งก็สามารถใชในการออกเช็คเงินเดือนได เปนตน

1.3.3 ประเภทของคอมพิวเตอรตามความสามารถของระบบ จําแนกออกไดเปน 4 ชนิด โดย

พิจารณาจาก ความสามารถในการเก็บขอมูล และ ความเร็วในการประมวลผล เปนหลัก ดังนี้ 1. ซุปเปอรคอมพิวเตอร (Super Computer) หมายถึง เครื่องประมวลผลขอมูลที่มีความ

สามารถในการประมวลผลสูงที่สุด โดยทั่วไปสรางขึ้นเปนการเฉพาะเพื่องานดานวิทยาศาสตรที่ตองการการประมวลผลซับซอน และตองการความเร็วสูง เชน งานวิจัยขีปนาวุธ งานโครงการอวกาศสหรัฐ (NASA) งานสื่อสารดาวเทียม หรืองานพยากรณอากาศ เปนตน

2. เมนเฟรมคอมพิวเตอร (Mainframe Computer) หมายถึง เครื่องประมวลผลขอมูลที่มีสวนความจําและความเร็วนอยลง สามารถใชขอมูลและคําส่ังของเครื่องรุนอื่นในตระกูล (Family) เดียวกันได โดยไมตองดัดแปลงแกไขใดๆ นอกจากนั้นยังสามารถทํางานในระบบเครือขาย (Network) ไดเปนอยางดี โดยสามารถเชื่อมตอไปยังอุปกรณที่เรียกวา เครื่องปลายทาง (Terminal) จํานวนมากได สามารถทํางานไดพรอมกันหลายงาน (Multi Tasking) และใชงานไดพรอมกันหลายคน (Multi User) ปกติเครื่องชนิดนี้นิยมใชในธุรกิจขนาดใหญ มีราคาตั้งแตสิบลานบาทไปจนถึงหลายรอยลานบาท ตัวอยางของเครื่องเมนเฟรมที่ใชกันแพรหลายก็คือ คอมพิวเตอรของธนาคารที่เชื่อมตอไปยังตู ATM และสาขาของธนาคารทั่วประเทศนั่นเอง

3. มินิคอมพิวเตอร (Mini Computer) ธุรกิจและหนวยงานที่มีขนาดเล็กไมจําเปนตองใชคอมพิวเตอรขนาดเมนเฟรมซึ่งมีราคาแพง ผูผลิตคอมพิวเตอรจึงพัฒนาคอมพิวเตอรใหมีขนาดเล็กและมีราคาถูกลง เรียกวา เครื่องมินิคอมพิวเตอร โดยมีลักษณะพิเศษในการทํางานรวมกับอุปกรณประกอบรอบขางที่มี

-10- มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี#อ.มะลิวรรณ ระหูภา#

Page 11: Chepter1

ระบบคอมพิวเตอร

ความเร็วสูงได มีการใชแผนจานแมเหล็กความจุสูงชนิดแข็ง (Harddisk) ในการเก็บรักษาขอมูล สามารถอานเขียนขอมูลไดอยางรวดเร็ว หนวยงานและบริษัทที่ใชคอมพิวเตอรขนาดนี้ ไดแก กรม กอง มหาวิทยาลัย หางสรรพสินคา โรงแรม โรงพยาบาล และโรงงานอุตสาหกรรมตางๆ

4. ไมโครคอมพิวเตอร (Micro Computer) หมายถึง เครื่องประมวลผลขอมูลขนาดเล็ก มีสวนของหนวยความจําและความเร็วในการประมวลผลนอยที่สุด สามารถใชงานไดดวยคนเดียว จึงมักถูกเรียกวา คอมพิวเตอรสวนบุคคล (Personal Computer: PC) ปจจุบัน ไมโครคอมพิวเตอรมีประสิทธิภาพสูงกวาในสมัยกอนมาก อาจเทากับหรือมากกวาเครื่องเมนเฟรมในยุคกอน นอกจากนั้นยังราคาถูกลงมาก ดังนั้นจึงเปนที่นิยมใชมาก ทั้งตามหนวยงานและบริษัทหางราน ตลอดจนตามโรงเรียน สถานศึกษา และบานเรือน บริษัทที่ผลิตไมโครคอมพิวเตอรออกจําหนายจนประสบความสําเร็จเปนบริษัทแรก คือ บริษัทแอปเปลคอมพิวเตอร เครื่องไมโครคอมพิวเตอร จําแนกออกไดเปน 2 ประเภทใหญๆ คือ

- แบบติดตั้งใชงานอยูกับที่บนโตะทํางาน (Desktop Computer) - แบบเคลื่อนยายได (Portable Computer) สามารถพกพาติดตัว อาศัยพลังงานไฟฟาจาก

แบตเตอรี่จากภายนอก สวนใหญมักเรียกตามลักษณะของการใชงานวา Laptop Computer หรือ Notebook Computer

11..44 องคประกอบของคอมพิวเตอรองคประกอบของคอมพิวเตอร

ในความเปนจริงแลว ตัวเครื่องคอมพิวเตอรที่เราเห็นๆ กันอยูนี้เปนเพียงองคประกอบสวนหนึ่งของระบบคอมพิวเตอรเทานั้น แตถาตองการใหเครื่องคอมพิวเตอรแตละเครื่องสามารถทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพตามที่เราตองการนั้น จําเปนตองอาศัยองคประกอบพื้นฐาน 4 ประการมาทํางานประสานงานรวมกัน ซึ่งองคประกอบพื้นฐานของระบบคอมพิวเตอรประกอบไปดวย

1.4.1 ฮารดแวร (Hardware) 1.4.2 ซอฟตแวร (Software) 1.4.3 บุคลากร (Peopleware) 1.4.4 ขอมูล (Data) 1.4.1 ฮารดแวร (Hardware) หมายถึง อุปกรณตางๆ ที่ประกอบขึ้นเปนเครื่องคอมพิวเตอร มีลักษณะ

เปนโครงรางสามารถมองเห็นดวยตาและสัมผัสได (รูปธรรม) เชน จอภาพ คียบอรด เครื่องพิมพ เมาส เปนตน ซึ่งสามารถแบงออกเปนสวนตางๆ ตามลักษณะการทํางาน ได 4 หนวย คือ หนวยรับขอมูล (Input Unit) หนวยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit: CPU) หนวยแสดงผล (Output Unit) หนวยเก็บขอมูลสํารอง (Secondary Storage) โดยอุปกรณแตละหนวยมีหนาที่การทํางานแตกตางกัน

-11- มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี

Page 12: Chepter1

ระบบคอมพิวเตอร

รูปที่ 1.13 แสดงรูปฮารดแวร

หนวยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) ซึ่งเปนชิปซิลิกอน หรือวงจรรวม (Integrated

circuit หรือ IC) ประกอบดวยสวนสําคัญ 2 สวน คือ หนวยควบคุม (Control Unit) และหนวยคํานวณและตรรกะ (Arithmetic/Logic Unit หรือ ALU) CU ทําหนาที่ควบคุมการทํางานของคอมพิวเตอรทุกสวน เชน สวนรับขอมูล ประมวลผล แสดงผล การจัดเก็บขอมูล สวนนี้ถือเปนหัวใจหลักของระบบคอมพิวเตอร ALU ทําหนาที่คํานวณทางคณิตศาสตร (บวก ลบ คูณ หาร) และเปรียบเทียบทางตรรกะของขอมูล (มากกวา นอยกวา หรือเทากับ) การทํางานของหนวยประมวลกลาง จะมีรีจิสเตอร (Register) ซึ่งเปนแหลงเก็บขอมูลชั่วคราวที่ชวยใหซีพียูสามารถดึงขอมูลไปประมวลผลไดเร็วกวาหนวยความจําธรรมดา หนวยความจําหลัก เปนวงจรรวมหรือชิปที่ใชบันทึกโปรแกรมและขอมูล หนวยความจําหลักจะบรรจุอยูบนเมนบอรด หรือแผงวงจรหลัก หนวยความจําบางประเภทก็ถูกออกแบบใหอยูในชิปซีพียูเลย

หนวยความจําหลักที่เปนที่รูจักกันอยางกวางขวาง มี 3 ประเภท คือ RAM ROM และ CMOS 1. RAM (Random Access memory)เปนอุปกรณหรือแผงวงจรที่ทําหนาที่เก็บขอมูลและโปรแกรม

คอมพิวเตอร ซึ่งบางครั้งเรียกวา หนวยความจําชั่วคราว (Volatile) เนื่องจากโปรแกรมหรือขอมูลที่ถูกเก็บในหนวยความจําแรมจะถูกลบหายไปเมื่อปดเครื่องคอมฯ หรือไฟดับ

-12- มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี#อ.มะลิวรรณ ระหูภา#

Page 13: Chepter1

ระบบคอมพิวเตอร

รูปที่ 1.14 แสดงหนวยความจําแรม RAM ที่ นิยมใช ในปจจุบันนี้ แบ งเปน 2 ประเภทคือ Static RAM (SRAM) และ Dynamic RAM

(DRAM) SRAM เปนหนวยความจําที่นิยมใชเปนหนวยความจําแคช (cache memory) 1 เพราะ SRAM มี

ความเร็วสูงกวา DRAM DRAM หนวยความจําที่นํามาใชงานกันในปจจุบันสวนใหญจะเปน DRAM ซึ่งเปนหนวยความจําที่มี

ความเร็วอยู ระหวาง 10-100 nanoseconds ซึ่งชนิดของ DRAM เชน EDO RAM (extended data output RAM) SDRAM (Synchronous DRAM)

2. ROM (read only memory) เปนหนวยความจําที่บันทึกขอสนเทศและคําส่ังเริ่มตน (Start up)

ของระบบ คุณสมบัติที่เดนคือ ขอมูลและคําส่ังจะไมถูกลบหายไป ถึงแมจะปดเครื่อง หรือไมมีกระแสไฟฟาหลอเล้ียงแลวก็ตาม ซึ่งขอมูลหรือคําส่ังที่จัดเก็บในหนวยความจํารอม สวนใหญจะถูกบันทึกมาจากโรงงานผูผลิตเครื่องคอมฯ และขอมูลเหลานี้จะไมสามารถลบหรือแกไขได แตสามารถอานได เรียกวา PROM (Programmable read only memory)

3. CMOS :complementary metal-oxide semiconductor เปนหนวยความจําที่ใชเก็บขอสนเทศที่ใชเปนประจําของระบบคอมพิวเตอร เชน ประเภทของแปนพิมพ เมาส จอภาพ และเครื่องอานแผนดิสก CMOS จะใชกระแสไฟจากแบตเตอรี่ ดังนั้นเมื่อปดเครื่อง ขอสนเทศใน CMOS จึงไมสูญหาย ลักษณะเดนคือ ขอสนเทศที่บันทึกใน CMOS สามารถเปลี่ยนแปลงไดเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงอุปกรณใหกับเครื่องคอมพิวเตอร เชน การเพิ่ม RAM และฮารดแวรอื่นๆ

หนวยความจําสํารอง (SECONDARY STORAGE UNIT)

- จานแมเหล็ก (magnetic disk storage) - floppy disks - hard disks - ออปติคัลดิสก (optical disks) - เทปแมเหล็ก (magnetic tape) - คารทริดจเทป (cartridge tape) สํารองขอมูลมีความจุ 120 MB –5 GB - มวนเทปแมเหล็ก (magnetic tape reels)

-13- มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี

1 หนวยความจําแคช คือ หนวยความจําแรมที่ชวยเพิ่มความเร็วใหกับอุปกรณคอมพิวเตอร เชน เครื่องพิมพ

Page 14: Chepter1

ระบบคอมพิวเตอร

หนวยรับขอมูล หนวยรับขอมูลในระบบคอมพิวเตอร มีหนาที่ในการรับขอมูลและโปรแกรมเขาสูระบบผานทางอุปกรณรับขอมูลอุปกรณรับขอมูล

รูปที่ 1.15 ตัวอยางอุปกรณที่ทํางานในหนวยรับขอมูล

อุปกรณรับขอมูล สามารถจําแนกไดดังนี้

- อุปกรณแบบกด (Keyed device) ไดแก keyboard ซึ่งมีทั้งแปนพิมพที่ใชกับเครื่องคอมฯทั่วไปและแปนพิมพแบบไรสาย (wireless) ทีสามารถทํางานกับคอมฯผานแสงอินฟาเรด และมีปุมเมาสอยูบนแปนพิมพดวย

- อุปกรณช้ีตําแหนงและวาดรูป (pointing and drawing devices) ไดแก 1. Mouse 2. ลูกกลมควบคุม (Trackball) 3. แทงชี้ควบคุม (Trackpoint) 4. แผนสัมผัส (Touchpad) 5. Joystick 6. ระบบปากกา (Pen based system) เชน - ปากกาแสง (light pen) นิยมใชกับงานดานออกแบบอุปกรณ เชน ไมโครโปรเซสเซอร

และชิ้นสวนของเครื่องบิน - เครื่องอานพิกัด (Digitizing tablet) - จอภาพสัมผัส (Touch screen) - สมุดบันทึกดิจิตอล (Digital notebook)

- อุปกรณกวาดขอมูล (Scanning Devices) ไดแก

1. สแกนเนอร (image scanner) 2. เครื่องอานรหัสบารโคัด (bar code reader) 3. เครื่องอานเครื่องหมายดวยแสง (optical mark recognition)

-14- มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี#อ.มะลิวรรณ ระหูภา#

Page 15: Chepter1

ระบบคอมพิวเตอร

4. เครื่องอานอักขระดวยแสง (optical character recognition) 5. เอ็มไอซีอาร (MICR) 6. อุปกรณอานลายมือเขียน (handwriting recognition)

- อุปกรณรับขอมูลมัลติมีเดีย - อุปกรณรับขอมูลเสียง - อุปกรณรับขอมูลประเภทเสียงพูด - กลองดิจิตอล - อุปกรณรับขอมูลจากวิดีโอ

หนวยแสดงผล ทําหนาที่ในการแสดงผลลัพธที่ไดจากการประมวลผลขอมูล

รูปที่ 1.15 ตัวอยางอุปกรณที่ทํางานในหนวยแสดงผลลัพธ

อุปกรณที่ทําหนาที่แสดงผล จําแนกไดดังนี้ 1. จอภาพคอมพิวเตอร (Monitor) 2. จอภาพชนิดแบน (Flat panel displays) 3. เครื่องพิมพ (printers)

ก. เครื่องพิมพแบบกระทบ (impact printers) - แบบจุด(dot matrix printer) - แบบแถบ (band printer) ข. เครื่องพิมพแบบไมกระทบ (non -impact printers) - เครื่องพิมพฉีดหมึก - เครื่องพิมพเลเซอร - เครื่องพิมพความรอน

4. เครื่องพลอตเตอร (plotters) - ปากกา

-15- มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี

Page 16: Chepter1

ระบบคอมพิวเตอร

- ฉีดหมึก - ไฟฟาสถิต - ความรอน

5. เครื่องฉายภาพ (Projectors) 1.4.2 ซอฟทแวร หมายถึง สวนที่มนุษยสัมผัสไมไดโดยตรง (นามธรรม) เปนโปรแกรมหรือชุดคําส่ังที่ถูกเขียนขึ้นเพื่อส่ังใหเครื่องคอมพิวเตอรทํางาน ซอฟตแวรจึงเปนเหมือนตัวเชื่อมระหวางผูใชเครื่องคอมพิวเตอรและเครื่องคอมพิวเตอร ถาไมมีซอฟตแวรเราก็ไมสามารถใชเครื่องคอมพิวเตอรทําอะไรไดเลย ซอฟตแวรสําหรับเครื่องคอมพิวเตอรสามารถแบงออกไดเปน

ซอฟตแวรใชงานเฉพาะ ซอฟตแวรสําเร็จ ตัวแปลภาษา ระบบปฏิบัติการ

ซอฟตประยุกต (application software)

ซอฟตแวรระบบ (system software)

ซอฟตแวร(software)

รูปที่ 1.16 การแบงชนิดของซอฟตแวร

1. ซอฟตแวรสําหรับระบบ (System Software) คือ ชุดของคําส่ังที่เขียนไวเปนคําส่ังสําเร็จรูป ซึ่งจะทํางานใกลชิดกับคอมพิวเตอรมากที่สุด เพื่อคอยควบคุมการทํางานของฮารดแวรทุกอยาง และอํานวยความสะดวกใหกับผูใชในการใชงาน ซอฟตแวรหรือโปรแกรมระบบที่รูจักกันดีก็คือ DOS, Windows, Unix, Linux รวมทั้งโปรแกรมแปลคําส่ังที่เขียนในภาษาระดับสูง เชน ภาษา Basic, Fortran, Pascal, Cobol, C เปนตน นอกจากนี้โปรแกรมที่ใชในการตรวจสอบระบบเชน Norton’s Utilities ก็นับเปนโปรแกรมสําหรับระบบดวยเชนกัน

2. ซอฟตแวรประยุกต (Application Software) คือ ซอฟตแวรหรือโปรแกรมที่ทําใหคอมพิวเตอรทํางานตางๆ ตามที่ผูใชตองการ ไมวาจะดานเอกสาร บัญชี การจัดเก็บขอมูล เปนตน ซอฟตแวรประยุกตเปนโปรแกรมสําหรับงานเฉพาะดาน คือ โปรแกรมซึ่งเขียนขึ้นเพื่อการทํางานเฉพาะอยางที่เราตองการ บางที่เรียกวา User’s Program เชน โปรแกรมการทําบัญชีจายเงินเดือน โปรแกรมระบบเชาซื้อ โปรแกรมการทําสินคาคงคลัง เปนตน ซึ่งแตละโปรแกรมก็มักจะมีเงื่อนไข หรือแบบฟอรมแตกตางกันออกไปตามความตองการ หรือกฎเกณฑของแตละหนวยงานที่ใช ซึ่งสามารถดัดแปลงแกไขเพิ่มเติม (Modifications) ในบางสวนของโปรแกรมได เพื่อใหตรงกับความตองการของผูใช และซอฟตแวรประยุกตที่เขียนขึ้นนี้โดยสวนใหญมักใชภาษาระดับสูงเปนตัวพัฒนา

-16- มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี#อ.มะลิวรรณ ระหูภา#

Page 17: Chepter1

ระบบคอมพิวเตอร

3. ซอฟตแวรสําเร็จรูป เปนโปรแกรมประยุกตที่มีผูจัดทําไว เพื่อใชในการทํางานประเภทตางๆ ทั่วไป โดยผูใชคนอื่นๆ สามารถนําโปรแกรมนี้ไปประยุกตใชกับขอมูลของตนได แตจะไมสามารถทําการดัดแปลง หรือแกไขโปรแกรมได ผูใชไมจําเปนตองเขียนโปรแกรมเอง ซึ่งเปนการประหยัดเวลา แรงงาน และคาใชจายในการเขียนโปรแกรม นอกจากนี้ ยังไมตองเวลามากในการฝกและปฏิบัติ ซึ่งโปรแกรมสําเร็จรูปนี้ มักจะมีการใชงานในหนวยงานที่ขาดบุคลากรที่มีความชํานาญเปนพิเศษในการเขียนโปรแกรม ดังนั้น การใชโปรแกรมสําเร็จรูปจึงเปนส่ิงที่อํานวยความสะดวกและเปนประโยชนอยางยิ่ง ตัวอยางโปรแกรมสําเร็จรูปที่นิยมใชไดแก MS-Office, Lotus, Adobe Photoshop, SPSS, Internet Explorer เปนตน

4. ซอฟตแวรใชงานเฉพาะมักเปนซอฟตแวรที่ผูพัฒนาตองเขาไปศึกษารูปแบบการทํางานหรือความตองการของธุรกิจนั้นๆ แลวจัดทําขึ้น โดยทั่วไปจะเปนซอฟตแวรที่มีหลายสวนรวมกันเพื่อรวมกันทํางาน ซอฟตแวรใชงานเฉพาะที่ใชกันในทางธุรกิจ เชน ระบบงานทางดานบัญชี ระบบงานจัดจําหนาย ระบบงานในโรงงานอุตสาหกรรม บริหารการเงิน และการเชาซื้อ เปนตน

ซอฟตแวรใชงานเฉพาะอาจจะอยูในรูปแบบของซอฟตแวรเกม ซึ่งเปนที่นิยมกันทั่วโลกทั้งในกลุมของเด็กและผูใหญ รูปแบบของซอฟตแวรเกมมีอยูอยางหลากหลาย ซอฟตแวรเกมบางประเภทสามารถตอกับอุปกรณพิเศษเพื่อเพิ่มความสะดวกในการใชงาน เชน กานควบคุม ซอฟตแวรเกมแตละชนิดก็มีความเหมาะสมและไมเหมาะสมที่แตกตางกัน ดังนั้นการเลือกใชงานซอฟตแวรเกมจึงจําเปนอยางยิ่งที่ตองมีการพิจารณาใหรอบคอบ และควรปรึกษาผูปกครองถึงความเหมาะสมดวย

1.4.3 บุคลากร หมายถึง บุคลากรในงานดานคอมพิวเตอร ซึ่งมีความรูเกี่ยวกับคอมพิวเตอร สามารถใชงาน ส่ังงานเพื่อใหคอมพิวเตอรทํางานตามที่ตองการ แบงออกได 4 ระดับ ดังนี้

1.

2.

3.

4.

ผูจัดการระบบ (System Manager) คือ ผูวางนโยบายการใชคอมพิวเตอรใหเปนไปตามเปาหมายของหนวยงาน นักวิเคราะหระบบ (System Analyst) คือ ผูที่ศึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหมและทําการวิเคราะหความเหมาะสม ความเปนไปไดในการใชคอมพิวเตอรกับระบบงาน เพื่อใหโปรแกรมเมอรเปนผูเขียนโปรแกรมใหกับระบบงาน โปรแกรมเมอร (Programmer) คือ ผูเขียนโปรแกรมสั่งงานเครื่องคอมพิวเตอรเพื่อใหทํางานตามความตองการของผูใช โดยเขียนตามแผนผังที่นักวิเคราะหระบบไดเขียนไว ผูใช (User) คือ ผูใชงานคอมพิวเตอรทั่วไป ซึ่งตองเรียนรูวิธีการใชเครื่อง และวิธีการใชงานโปรแกรม เพื่อใหโปรแกรมที่มีอยูสามารถทํางานไดตามที่ตองการ

-17- มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี

Page 18: Chepter1

ระบบคอมพิวเตอร

เนื่องจากเปนผูกําหนดโปรแกรมและใชงานเครื่องคอมพิวเตอร มนุษยจึงเปนตัวแปรสําคัญในอันที่จะทําใหผลลัพธมีความนาเชื่อถือ เนื่องจากคําส่ังและขอมูลที่ใชในการประมวลผลไดรับจากการกําหนดของมนุษย (Peopleware) ทั้งส้ิน

1.4.4 ขอมูล ขอมูลเปนองคประกอบที่สําคัญอยางหนึ่งในระบบคอมพิวเตอร เปนส่ิงที่ตองปอนเขาไป

ในคอมพิวเตอร พรอมกับโปรแกรมที่นักคอมพิวเตอรเขียนขึ้นเพื่อผลิตผลลัพธที่ตองการออกมา ขอมูลที่สามารถนํามาใชกับคอมพิวเตอรได มี 5 ประเภท คือ ขอมูลตัวเลข (Numeric Data) ขอมูลตัวอักษร (Text Data) ขอมูลเสียง (Audio Data) ขอมูลภาพ (Images Data) และขอมูลภาพเคลื่อนไหว (Video Data)

ในการนําขอมูลไปใชนั้น เรามีระดับโครงสรางของขอมูลดังนี้ 1. คารแรคเตอร (Character) ไดแก รหัสที่เปนตัวเลข (Numeric Character) ตัวอักษร (Alphabetic

Character ) และเครื่องหมายตาง ๆ (Special Character) 2. เขตขอมูล (field) หมายถึง คารแรคเตอรตั้งแต 1 ตัว ขึ้นไป ที่รวมกันเปนกลุม ประกอบกันขึ้นเพื่อ

ใหมีความหมายมากขึ้น 3. ระเบียนขอมูล (record) หมายถึง เขตขอมูลหรือชุดขอมูลตั้งแตหนึ่งชุดขึ้นไป ประกอบขึ้นเปนกลุม 4. แฟมขอมูล ( File ) ไดแก ระเบียนขอมูลหนึ่งชุดขึ้นไปรวมกันเปนหมวดหมู เชน แฟมขอมูลของ

พนักงาน จะประกอบดวย ระเบียนประวัติบุคคล 5. ฐานขอมูล (Database) เปนการรวบรวมแฟมขอมูลหลายๆ แฟม ที่มีความสัมพันธกันมาเก็บไวที่

เดียวกัน เชน ฐานขอมูลพนักงาน ประกอบดวยแฟมประวัติพนักงาน แฟมเงินเดือน แฟมตําแหนง เปนตน

การวัดขนาดหนวยของขอมูลที่จัดเก็บในหนวยความจําเรียกวาไบต ซึ่ง 1 ไบต จะประกอบดวย 8 บิต

หนวยความจุของขอมูลในหนวยความจําสรุปไดดังนี้ 8 bits = 1 byte 1024 byte = 1 Kilobyte (KB) 1024 KB = 1 megabyte (MB) 1024 MB = 1 Kilobyte (GB) 1024 GB = 1 Terabyte (TB)

-18- มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี#อ.มะลิวรรณ ระหูภา#