Top Banner
เอกสารประกอบการชี้แจง การสร้างวัฒนธรรมการมีส่วนร่วมในองค์กร วันที่ ๒๒ เมษายน ๒๕๕๔ ห้องประชุม ๙ ชั้น ๘ อาคาร ๓ สานักงานใหญ่ แจ้งวัฒนะ ที่มาและความสาคัญของนโยบายการสร้างวัฒนธรรมการมีส่วนร่วม สืบเนื่องจากแผนยุทธศาสตร์ ทีโอที พ.ศ.๒๕๕๓-๒๕๕๖ ภายใต้ ยุทธศาสตร์ที่ ๓ ของ ทีโอที ยกระดับคุณภาพบริการเพื่อสร้างความพึงพอใจสูงสุดแก่ลูกค้าสายงานทรัพยากรบุคคล (ก.) จึงได้จัดทาโครงการการสร้างวัฒนธรรมการให้บริการลูกค้า มาตั้งแต่ปี ๒๕๕๒ และดาเนินการต่อเนื่องมาจนถึงปี ๒๕๕๔ โดยในปี ๒๕๕๔ ได้ดาเนินการร่วมกับสายงานขายและบริการ ลูกค้านครหลวง (น.) สายงานขายและบริการลูกค้าภูมิภาค (ภ.) สายงานการตลาดและพัฒนาผลิตภัณฑ์ (ล.) และ สายงานประสิทธิผลองค์กร (อ.) มีวัตถุประสงค์เพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมการให้บริการ เพื่อสร้างความ พีงพอสูงสุดแก่ลูกค้า จากการดาเนินงานในปีท่ผ่านมา พบว่า ความสาเร็จในการสร้างความพึงพอใจแก่ลูกค้า จะเกิดขึ้นได้ต้อง อาศัยการดาเนินงานสอดประสานกันในทุกส่วนงานของสายโซ่บริการ (Value Chain) นั่นหมายความว่า ความพึง พอใจของลูกค้า ไม่ได้สร้างขึ้นจากการให้บริการของศูนย์บริการลูกค้าหรือพนักงานติดตั้งตรวจแก้ที่เป็นจุดสัมผัส ลูกค้า (Touch Point) เท่านั้น แต่ยังรวมถึงการดาเนินงานของส่วนงานอื่นๆที่เป็นงานสนับสนุน (Back Office) ด้วย ดังนั้น ในปี ๒๕๕๔ สายงาน ก. จึงริเริ่มการปรับเปลี่ยนในวงกว้างทั่วทั้งองค์กร เพื่อให้ลูกค้ารับรู้ได้ถึงการ เปลี่ยนแปลงของ ทีโอที ผ่านการสร้างวัฒนธรรมการมีส่วนร่วมในองค์กร ให้เกิดขึ้นกับผู้บริหารและพนักงานส่วน สนับสนุนของ ทีโอที นอกเหนือไปจากโครงการปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมการให้บริการ (Service Excellence) ที่เป็น การพัฒนาคุณภาพการให้บริการของศูนย์บริการลูกค้า และช่างติดตั้งตรวจแก้ และโครงการยกระดับคุณภาพ บริการ (Quality Excellence) ที่เป็นการปรับปรุงคุณภาพกระบวนการทางาน สาหรับการให้บริการ การสร้างวัฒนธรรมการมีส่วนร่วมประกอบด้วย ๒ โครงการหลัก ได้แก่ โครงการบริการฉับไวใส่ใจใกล้ บ้าน และโครงการเพื่อสังคมของ ทีโอที (TOT CSR)
14

CHANGE 2554

Mar 25, 2016

Download

Documents

การสร้างวัฒนธรรมการมีส่วนร่วมในองค์กร
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: CHANGE 2554

เอกสารประกอบการชี้แจง การสร้างวัฒนธรรมการมีส่วนร่วมในองค์กร

วันที่ ๒๒ เมษายน ๒๕๕๔ ห้องประชุม ๙ ชั้น ๘ อาคาร ๓ ส านักงานใหญ่ แจง้วัฒนะ

ที่มาและความส าคัญของนโยบายการสร้างวัฒนธรรมการมีส่วนร่วม สืบเนื่องจากแผนยุทธศาสตร์ ทีโอที พ.ศ.๒๕๕๓-๒๕๕๖ ภายใต้ ยุทธศาสตร์ที่ ๓ ของ ทีโอที

“ยกระดับคุณภาพบริการเพื่อสร้างความพึงพอใจสูงสุดแก่ลูกค้า”

สายงานทรัพยากรบุคคล (ก.) จึงได้จัดท าโครงการการสร้างวัฒนธรรมการให้บริการลูกค้า มาตั้งแต่ปี ๒๕๕๒ และด าเนินการต่อเนื่องมาจนถึงปี ๒๕๕๔ โดยในปี ๒๕๕๔ ได้ด าเนินการร่วมกับสายงานขายและบริการลูกค้านครหลวง (น.) สายงานขายและบริการลูกค้าภูมิภาค (ภ.) สายงานการตลาดและพัฒนาผลิตภัณฑ์ (ล.) และสายงานประสิทธิผลองค์กร (อ.) มีวัตถุประสงค์เพ่ือให้เกิดการปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมการให้บริการ เพ่ือสร้างความพีงพอสูงสุดแก่ลูกค้า จากการด าเนินงานในปีที่ผ่านมา พบว่า ความส าเร็จในการสร้างความพึงพอใจแก่ลูกค้า จะเกิดขึ้นได้ต้องอาศัยการด าเนินงานสอดประสานกันในทุกส่วนงานของสายโซ่บริการ (Value Chain) นั่นหมายความว่า ความพึงพอใจของลูกค้า ไม่ได้สร้างขึ้นจากการให้บริการของศูนย์บริการลูกค้าหรือพนักงานติดตั้งตรวจแก้ที่เป็นจุดสั มผัสลูกค้า (Touch Point) เท่านั้น แต่ยังรวมถึงการด าเนินงานของส่วนงานอ่ืนๆที่เป็นงานสนับสนุน (Back Office) ด้วย ดังนั้น ในปี ๒๕๕๔ สายงาน ก. จึงริเริ่มการปรับเปลี่ยนในวงกว้างทั่วทั้งองค์กร เพ่ือให้ลูกค้ารับรู้ได้ถึงการเปลี่ยนแปลงของ ทีโอที ผ่านการสร้างวัฒนธรรมการมีส่วนร่วมในองค์กร ให้เกิดขึ้นกับผู้บริหารและพนักงานส่วนสนับสนุนของ ทีโอที นอกเหนือไปจากโครงการปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมการให้บริการ (Service Excellence) ที่เป็นการพัฒนาคุณภาพการให้บริการของศูนย์บริการลูกค้า และช่างติดตั้งตรวจแก้ และโครงการยกระดับคุณภาพบริการ (Quality Excellence) ที่เป็นการปรับปรุงคุณภาพกระบวนการท างาน ส าหรับการให้บริการ การสร้างวัฒนธรรมการมีส่วนร่วมประกอบด้วย ๒ โครงการหลัก ได้แก่ โครงการบริการฉับไวใส่ใจใกล้บ้าน และโครงการเพ่ือสังคมของ ทีโอที (TOT CSR)

Page 2: CHANGE 2554

วัตถุประสงค์ของการสร้างวัฒนธรรมการมีส่วนร่วม

เพ่ือสร้างความพึงพอใจของลูกค้า ลด Churn Rate ของบริการ Fixed Line และ ADSL เพ่ือรักษาฐานลูกค้าเดิม/เพ่ิมลูกค้ารายใหม่ และสร้างการเติบโตของรายได้ ทีโอที โดยให้พนักงานและผู้บริหารสร้างความสัมพันธ์อันดีกับลูกค้าประดุจญาติมิตร ด้วยการเป็นตัวแทน ทีโอที ในการดูแล ประสานงาน/แก้ปัญหาให้กับลูกค้าท่ีเป็นเพื่อน ญาติ และลูกค้าท่ีอยู่ใกล้บ้าน นอกจากนั้น

เพ่ือสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมที่เป็นการตอบแทนสิ่งที่ดีกลับสู่สังคม แสดงความรับผิดชอบต่อสังคม และสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับ ทีโอที

ตัวชี้วัดความส าเร็จของการสร้างวัฒนธรรมการมีส่วนร่วมในองค์กร

ส่วนงานที่รับผิดชอบ : ทุกสายงานใน ทีโอท ี

วิธีวัด

พิจารณาจากการที่พนักงานและผู้บริหารมีส่วนร่วมในโครงการบริการฉับไวใส่ใจใกล้บ้าน และ/หรือโครงการ TOT CSR

ค านวณคะแนนจากจ านวนลูกค้าที่ดูแล + คะแนนจากสินค้า/บริการที่ขายได้ + คะแนนจากการเข้าร่วมกิจกรรม TOT CSR

เป้าหมายระดับพนักงานและผู้บริหาร ระดับ ๑ : มีส่วนร่วมในการดูแลลูกค้า และ/หรือ ขายสินค้า/บริการ และ/หรือ เข้าร่วมกิจกรรม

TOT CSR รวมจ านวน ๐ คะแนน (ราย/เลขหมาย/ชิ้น/บาท/ครั้ง)

ระดับ ๒ : มีส่วนร่วมในการดูแลลูกค้า และ/หรือ ขายสินค้า/บริการ และ/หรือ เข้าร่วมกิจกรรม TOT CSR รวมจ านวน ๒ คะแนน (ราย/เลขหมาย/ชิ้น/บาท/ครั้ง)

ระดับ ๓ : มีส่วนร่วมในการดูแลลูกค้า และ/หรือ ขายสินค้า/บริการ และ/หรือ เข้าร่วมกิจกรรม TOT CSR รวมจ านวน ๔ คะแนน (ราย/เลขหมาย/ชิ้น/บาท/ครั้ง)

ระดับ ๔ : มีส่วนร่วมในการดูแลลูกค้า และ/หรือ ขายสินค้า/บริการ และ/หรือ เข้าร่วมกิจกรรม TOT CSR รวมจ านวน ๖ คะแนน (ราย/เลขหมาย/ชิ้น/บาท/ครั้ง)

ระดับ ๕ : มีส่วนร่วมในการดูแลลูกค้า และ/หรือ ขายสินค้า/บริการ และ/หรือ เข้าร่วมกิจกรรม TOT CSR รวมจ านวน ๘ คะแนน (ราย/เลขหมาย/ชิ้น/บาท/ครั้ง)

Page 3: CHANGE 2554

โครงการบริการฉับไวใส่ใจใกล้บ้าน ขั้นตอนการมีส่วนร่วม

๑. ผส. ก าหนดเกณฑ์การวัดผล

๒. หารายชื่อลูกค้าที่ต้องการดูแล โดยประสานงานกับ น. และ ภ.

๓. พนักงานบันทึกเลขหมายลูกค้าที่ดูแลและแจ้ง ผส.ต้นสังกัด

๔. พบลูกค้า ทักทาย และให้ค าแนะน า–กรณลีูกค้าเกิดปัญหา ให้ติดต่อ TOT Call Center โทร.1100 หากล่าช้าผู้ดูแลลูกค้าติดตามงานจากหน่วยงานภายในที่เกี่ยวข้องให้ลูกค้า

๕. ผู้บังคับบัญชาตรวจสอบ และ ใช้เป็นข้อมูลในการประเมินผลงาน

การเลือกลูกค้าและกิจกรรมการดูแลลูกค้า

พนักงานผู้ดูแลลูกค้าสามารถเลือกลูกค้าที่เป็นเพ่ือนบ้าน ญาติพ่ีน้อง หรือเพ่ือนสนิท ที่พนักงานสามารถเข้าถึงหรือท าการติดต่อได้ง่าย เพ่ือที่จะรับฟังปัญหา และประสานงานให้ลูกค้าได้อย่างทันท่วงที มีรายละเอียดกิจกรรม ดังนี้

๑. การติดตามผลการขอใช้/ปรับปรุง ผลิตภัณฑ์หรือบริการ

๒. การติดตามผลการแก้ไขเหตุเสีย

๓. การติดตามผลการร้องเรียน

๔. การสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้าด้วยการเยี่ยม หรือโทรหาลูกค้า

๕. อ่ืนๆ

กลุ่มลูกค้าที่เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มลูกค้าที่เข้าร่วมโครงการ ได้แก่ กลุ่มลูกค้าบ้านพักอาศัย ประเภททั่วไป (Residential) หมายถึง ลูกค้ารายบุคคลทั่วไปที่สมัครใช้สินค้าและบริการของ ทีโอที

Page 4: CHANGE 2554

ค าแนะน าในการดูแลลูกค้า

ให้เลขหมายโทรศัพท์ หรือช่องทางการติดต่ออ่ืนๆ ที่ลูกค้าจะสามารถติดต่อพนักงานได้อย่างสะดวก ได้แก่ การแจ้งเหตุเสีย โทร. 1177 กรณีอ่ืน ๆ โทร. 1100 และกรุณา งด ให้เลขหมายโทรศัพท์ภายใน ทีโอที อ่ืนๆกับลูกค้า เช่น Contact Point ของหน่วยงานต่าง ๆ ใน TOT InTouch

เพ่ือให้การดูแลลูกค้าเป็นเรื่องที่ท าได้ง่าย ให้เริ่มดูแลลูกค้าท่ีเป็นกลุ่มญาติพ่ีน้อง เพื่อนฝูง เพื่อนบ้าน ก่อน

กรณีท่ีต้องการหาลูกค้าท่ีใช้บริการ ทีโอที ในพ้ืนที่ สามารถติดต่อขอข้อมูลศูนย์บริการลูกค้าในพื้นที่นั้น ๆ

ระหว่าง มี.ค.-พ.ค.๕๔ ให้พนักงานท าการบันทึกข้อมูลลงในแบบฟอร์มที่ก าหนดก่อน เมื่อระบบงาน (InTouch) พร้อมใช้งาน ให้ท าการบันทึกข้อมูลเข้าระบบงาน (InTouch) เพ่ือจองเลขหมายในการดูแลลูกค้า ซึ่งคาดว่าจะสามารถบันทึกและใช้ข้อมูลในการดูแลลูกค้าเข้าในระบบงาน (InTouch) TOT Care ได้ในวันที่ ๔ พฤษภาคม ๒๕๕๔

สามารถ Download แบบฟอร์มการบันทึกข้อมูลได้ที่ web ของฝ่ายกิจการสัมพันธ์ (http://10.0.102.43/h2r) หรือ Click เลือก Banner TOT InTouch ระบบรองรับตัวชี้วัดการมีส่วนร่วมในวัฒนธรรมองค์กร หน้าแรกใน Intranet

เงื่อนไขในการนับคะแนน

เลขหมายทีเ่ข้าร่วมโครงการ ต้องไม่เป็น เลขหมายที่ใช้สิทธิ์พนักงาน และไม่เป็นเลขหมายที่เปิดใช้ด้วยชื่อพนักงาน

ก าหนดให้มีการท ากิจกรรม/ปฏิสัมพันธ์กับลูกค้า เช่น การแจ้งโปรโมชั่นใหม่ให้กับลูกค้า การสอบถามการใช้งาน ฯลฯ โดยมีกิจกรรมไม่น้อยกว่า ๒ ครัง้/ปี/ราย/เลขหมาย

เลขหมายที่เข้าโครงการต้องไม่รื้อถอนภายใน ๓๑ ธ.ค. ๕๔

การขายสินค้า/บริการ ทีโอที ก าหนดเฉพาะกลุ่มบริการโทรศัพท์ประจ าที่ บริการสื่อสารดิจิตอลความเร็วสูง บริการตู้สาขา บริการเสริม บริการสื่อสารไร้สาย บริการคู่สายเช่าวงจรเช่า บริการจากโครงข่าย บริการ Interconnect/Access บัตรโทรศัพท์ และบริการด้านอิเล็กทรอนิกส์ โดยต้องมีส าเนาใบเสร็จ หรือเลขที่ใบเสร็จ หรือเลขที่ค าขอประกอบ

ก าหนดให้การดูแลลูกคา้ ๑ ราย/เลขหมาย เท่ากับ ๑ คะแนน โดยสามารถน ามานับรวมคะแนน การขายสินค้า/บริการ ๑ ชิ้น หากเป็นสินค้ากลุ่มบัตรโทรศัพท์ต่างๆและบริการเสริม คิดมูลค่าที่ขายได้จ านวน ๑,๐๐๐ บาท เทียบเท่าดูแลลูกค้า ๑ ราย/เลขหมาย (เท่ากับ ๑ คะแนน) และการเข้าร่วมโครงการ TOT CSR ๑ ครั้ง เทียบเท่าดูแลลูกค้า ๑ ราย/เลขหมาย (เทา่กับ ๑ คะแนน)

การสะสมคะแนนนับตั้งแต่วันที่ ๒๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔

Page 5: CHANGE 2554

โครงการเพื่อสังคมของ ทีโอที (TOT CSR) ขั้นตอนการมีส่วนร่วม

๑. ปจ. ก าหนดแผนและกิจกรรม CSR

๒. ปจ. สื่อสารแผน/กิจกรรม ที่ ปจ. ด าเนินการ ให้ทุกส่วนงานทราบ

๓. ผส. ประสานกับ ปจ.เพ่ือเข้าร่วมกิจกรรม และก าหนดเกณฑ์การวัดผล

๔. พนักงานเข้าร่วมกิจกรรม

๕. บันทึก ผลการเข้าร่วมกิจกรรมและรายงานผลผู้บังคับบัญชา

๖. ผู้บังคับบัญชา ตรวจสอบ และใช้ เป็นข้อมูลในการ ประเมินผลงาน

TOT CSR หมายถึง กิจกรรมเพ่ือสังคม ส่งเสริมภาพลักษณ์ ตามท่ี ปจ. ก าหนดโดยจะประชาสัมพันธ์ให้ทราบล่วงหน้าอย่างน้อย ๑ เดือน (ข้อมูลเพ่ิมเติมติดต่อ ปจ.)

ค าแนะน าในการเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อสังคม

พนักงานสามารถน าการเข้าร่วมกิจกรรมเพ่ือสังคม TOT CSR มานับเป็นคะแนนได้เพียงแค่ ๑ ครั้งต่อปีทั้งนี้ พนักงานควรให้ความส าคัญในเรื่องของการดูแลลูกค้ามาเป็นอันดับแรก

เงื่อนไขการเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อสังคม

พนักงานต้องได้รับความเห็นชอบในการเข้าร่วมกิจกรรมจากผู้จัดการส่วน ก่อนที่ ให้ส่วนงานส่งรายชื่อเพ่ือให้ ปจ. พิจารณาคัดเลือก

Page 6: CHANGE 2554

ระดับการประเมินผลตัวชี้วัดความส าเร็จของการสร้างวัฒนธรรมการมีส่วนร่วมในองค์กร

พนักงานจะต้องรวบรวมคะแนนจากท้ัง ๓ กิจกรรมย่อย (ดูแลลูกค้า ขายสินค้า/บริการ และกิจกรรมเพ่ือสังคม TOT CSR) ให้ได้ครบ ๘ คะแนน เพ่ือที่จะได้การประเมินผลในระดับ ๕ ตามระดับ ดังตารางแสดงข้างล่าง

คะแนน ๐ ๒ ๔ ๖ ๘ ระดับการประเมินผล

๑ ๒ ๓ ๔ ๕

ค าอธิบายเพิ่มเติม

๐ คะแนน = ระดับ ๑ ๑ คะแนน = ระดับ ๑.๕ ๒ คะแนน = ระดับ ๒

๓ คะแนน = ระดับ ๒.๕ ๔ คะแนน = ระดับ ๓ ๕ คะแนน = ระดับ ๓.๕

๖ คะแนน = ระดับ ๔ ๗ คะแนน = ระดับ ๔.๕ ๘ คะแนน = ระดับ ๕

แบบฟอร์มการดูแลลูกค้า การขาย และ TOT CSR

R5401 แบบฟอร์มการเก็บข้อมูลส าหรับพนักงานและผู้บริหาร

R5402 แบบฟอร์มสรุปข้อมูล ระดับส่วน

R5403 แบบฟอร์มสรุปข้อมูล ระดับฝ่าย

R5404 แบบฟอร์มสรุปข้อมูล ระดับส านัก

R5405 แบบฟอร์มสรุปข้อมูล ระดับสายงาน

Page 7: CHANGE 2554

R5401

แบบฟอร์มการเก็บข้อมูลส าหรับพนักงานและผู้บริหาร

Page 8: CHANGE 2554

R5402 แบบฟอร์มสรุปข้อมูล ระดับส่วน

Page 9: CHANGE 2554

R5403 แบบฟอร์มสรุปข้อมูล ระดับฝ่าย

Page 10: CHANGE 2554

๑๐

R5404 แบบฟอร์มสรุปข้อมูล ระดับส านัก

Page 11: CHANGE 2554

๑๑

R5405 แบบฟอร์มสรุปข้อมูล ระดับสายงาน

Page 12: CHANGE 2554

๑๒

การบันทึกและรายงานผลการสร้างวัฒนธรรมการมีส่วนร่วมในองค์กร

Page 13: CHANGE 2554

๑๓

การใช้งานผ่านระบบ TOT InTouch

ระบบสนับสนุนการสร้างวัฒนธรรมการมีส่วนร่วม หรือ TOT InTouch ประกอบด้วยระบบย่อยทั้งหมด ๔ ระบบ ดังภาพ

Page 14: CHANGE 2554

๑๔

การเปิดใช้ระบบ

ระบบ TOT InTouch จะเปิดให้ท าการบันทึกข้อมูลและใช้ข้อมูลในการดูแลลูกค้าได้ผ่าน TOT Care วันท่ี ๔ พฤษภาคม ๒๕๕๔ และ TOT Sale&Service, TOT CSR และ TOT Visit จะสามารถเปิดใช้งานได้ภายในพฤษภาคม ๒๕๕๔

โดยพนักงานทุกท่านสามารถเลือก “TOT InTouch” จากเมนู “ระบบงาน” ใน Intranet

**********************************

Change…Do it Now