Top Banner
บทที1 ลําดับและอนุกรม ( 18 ชั่วโมง ) ลําดับและอนุกรมที่จะกลาวถึงในบทนีจะเปนเรื่องเกี่ยวกับการหาพจนทั่วไปของ ลําดับที่สามารถหาพจนทั่วไปไดงาย ลําดับเลขคณิต ลําดับเรขาคณิต อนุกรมเลขคณิต และอนุกรมเรขาคณิต รวมทั้งโจทยที่แสดงใหเห็นการนําความรูในเรื่องที่กลาวมาไปใช ในการแกปญหาที่เกี่ยวของกับชีวิตประจําวัน ผลการเรียนรูที่คาดหวัง 1. เขาใจความหมายของลําดับ และหาพจนทั่วไปของลําดับจํากัดที่กําหนดใหได 2. เขาใจความหมายของลําดับเลขคณิตและลําดับเรขาคณิต หาพจนตาง ของลําดับ เลขคณิตและลําดับเรขาคณิตได 3. เขาใจความหมายของผลบวก n พจนแรกของอนุกรมเลขคณิต และอนุกรมเรขาคณิต 4. หาผลบวก n พจนแรกของอนุกรมเลขคณิต และอนุกรมเรขาคณิต โดยใชสูตรและ นําไปใชได ผลการเรียนรูดังกลาวเปนผลการเรียนรูที่สอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรู ชวงชั้นทางดานความรู ในการเรียนการสอนทุกครั้งผูสอนตองคํานึงถึงมาตรฐานการเรียนรู ทางดานทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรที่จําเปนและสอดแทรกกิจกรรมปญหา หรือคําถามที่เสริมสรางทักษะกระบวนการเหลานั้นดวย นอกจากนั้นควรปลูกฝงใหผูเรียน ทํางานอยางเปนระบบ มีระเบียบวินัย รอบคอบ มีความรับผิดชอบมีวิจารณญาณและมี ความเชื่อมั่นในตัวเอง
77

Basic m5-1-chapter1

May 28, 2015

Download

Education

Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: Basic m5-1-chapter1

บทที่ 1ลําดับและอนุกรม

( 18 ชั่วโมง )

ลําดับและอนุกรมที่จะกลาวถึงในบทนี้ จะเปนเรื่องเกี่ยวกับการหาพจนทั่วไปของลําดับที่สามารถหาพจนทั่วไปไดงาย ลําดับเลขคณิต ลําดับเรขาคณิต อนุกรมเลขคณิตและอนุกรมเรขาคณิต รวมทั้งโจทยที่แสดงใหเห็นการนําความรูในเรื่องที่กลาวมาไปใชในการแกปญหาที่เกี่ยวของกับชีวิตประจําวัน

ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง1. เขาใจความหมายของลําดับ และหาพจนทั่วไปของลําดับจํากัดที่กําหนดใหได2. เขาใจความหมายของลําดับเลขคณิตและลําดับเรขาคณิต หาพจนตาง ๆ ของลําดับ

เลขคณิตและลําดับเรขาคณิตได3. เขาใจความหมายของผลบวก n พจนแรกของอนุกรมเลขคณิต และอนุกรมเรขาคณิต4. หาผลบวก n พจนแรกของอนุกรมเลขคณิต และอนุกรมเรขาคณิต โดยใชสูตรและ

นําไปใชได

ผลการเรียนรูดังกลาวเปนผลการเรียนรูที่สอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูชวงชั้นทางดานความรู ในการเรียนการสอนทุกครั้งผูสอนตองคํานึงถึงมาตรฐานการเรียนรูทางดานทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรที่จําเปนและสอดแทรกกิจกรรมปญหาหรือคําถามที่เสริมสรางทักษะกระบวนการเหลานั้นดวย นอกจากนั้นควรปลูกฝงใหผูเรียนทํางานอยางเปนระบบ มีระเบียบวินัย รอบคอบ มีความรับผิดชอบมีวิจารณญาณและมีความเชื่อมั่นในตัวเอง

Page 2: Basic m5-1-chapter1

2

ขอเสนอแนะ

1. การกําหนดลําดับอาจจะกําหนดโดยพจนทั่วไปหรือกําหนดโดยการแจงพจนการกําหนดลําดับโดยการแจงพจนแลวใหหาพจนทั่วไปของลําดับนั้น อาจหาพจนทั่วไปไดตางกันและทําใหลําดับนั้นเปนลําดับที่ตางกันดวย กลาวคือ ลําดับที่ตางกันอาจจะมีพจนตน ๆเหมือนกัน เชน

(1) 1, 21 ,

31 , ...,

n1 , ...

เมื่อ n = 4 จะไดพจนที่ 4 เทากับ 41

และ 1, 21 ,

31 , ...,

6n12n6n123 −+−

, ...

เมื่อ n = 4 จะไดพจนที่ 4 เทากับ 110

(2) 1 1 1, ,2 4 8

, ..., n

12

, ...

เมื่อ n = 4 จะไดพจนที่ 4 เทากับ 116

และ 1 1 1, ,2 4 8

, ..., 2

6(n 1)(n n 6)+ − +

, ...

เมื่อ n = 4 จะไดพจนที่ 4 เทากับ 115

ในหนังสือเรียนไดกลาวถึงการหาพจนทั่วไปของลําดับเมื่อกําหนดลําดับโดยการแจงพจน เนื่องจากตองการใหผูเรียนไดฝกการสรุปกฎเกณฑดังนั้นในการออกขอสอบใหหาพจนทั่วไป ถาผูสอนกําหนดใหหาพจนทั่วไปของลําดับอนันตจะตองระวังวาคําตอบอาจจะตางกันแตเปนคําตอบที่ถูกตองทั้งหมด

Page 3: Basic m5-1-chapter1

3

2. การหาพจนทั่วไปของลําดับที่กําหนดเฉพาะพจนตน ๆ ให แลวจึงหาพจนทั่วไปโดยการพิจารณาความสัมพันธระหวาง an กับ n แลวสรุปเปนกฎเกณฑ ผูสอนควรเริ่มจากลําดับที่สามารถสังเกตเห็นความสัมพันธระหวาง an กับ n ไดงายโดยอาจเริ่มตนจากตัวอยางดังนี้

(1) กําหนดลําดับ 2, 4, 8, 16, ... ใหเปลี่ยนรูปแตละพจนเพื่อหาความสัมพันธระหวาง an และ n ไดดังนี้

a1 = 2 = 21

a2 = 4 = 22

a3 = 8 = 23

a4 = 16 = 24

จะได an = 2n

(2) กําหนดลําดับ 1, 3, 7, 15, ... ใหเปลี่ยนรูปแตละพจนเพื่อหาความสัมพันธระหวาง an กับ n ไดดังนี้

a1 = 1 = 2 – 1 = 21 – 1a2 = 3 = 4 – 1 = 22 – 1a3 = 7 = 8 – 1 = 23 – 1a4 = 15 = 16 – 1 = 24 – 1

จากความสัมพันธขางตน จะได an = 2n – 1

(3) กําหนดลําดับ 1, 21 , 61 ,

241 , ... ให

เปลี่ยนรูปแตละพจนเพื่อหาความสัมพันธระหวาง an กับ n ดังนี้a1 = 1 =

11

a2 =21 =

211⋅

a3 =61 =

3211⋅⋅

a4 =241 =

43211⋅⋅⋅

จากความสัมพันธขางตน จะได an = n...321

1⋅⋅⋅⋅

Page 4: Basic m5-1-chapter1

4

จากตัวอยางที่กลาวมาจะเห็นวา การหาพจนทั่วไปของลําดับที่กําหนดใหจะเปนตัวอยางที่ไมซับซอน เนื่องจากไมไดใหความสําคัญของการหาพจนทั่วไป เพียงแตตองการใหผูสอนเห็นตัวอยางการสอนที่ทําใหผูเรียนสามารถหาพจนทั่วไปของลําดับที่กําหนดใหไดเทานั้น ทั้งนี้ ผูสอนไมควรเนนวิธีการที่กลาวมาโดยการหาตัวอยางที่ซับซอนมากเกินไปเพียงแตหาโจทยที่เหมาะกับความสามารถของผูเรียนเพื่อใหผูเรียนฝกการสรุปกฎเกณฑโดยอาศัยการสังเกตจากพจนในลําดับที่กําหนดใหเทานั้น

สําหรับผูเรียนที่มีความถนัดในวิชาคณิตศาสตรอาจมีขอสงสัยวา ถาลําดับที่กําหนดใหไมสามารถหาพจนทั่วไปตามวิธีการที่กลาวมาไดจะมีวิธีการหาพจนทั่วไปของลําดับไดอยางไร ผูสอนอาจนําเสนอความรูเพิ่มเติมเรื่องการหาฟงกชันพหุนาม เพื่อนํามาเชื่อมโยงกับการหาพจนทั่วไปของลําดับได เนื่องจากลําดับก็เปนฟงกชันเชนกัน ดังนี้

ตัวอยางที่ 1 ให f(x) = 5x + 3พิจารณาคาของ f(x) และผลตางของ f(x) เมื่อ x = 0, 1, 2, 3, 4, 5 ดังนี้

x 0 1 2 3 4 5f(x) 3 8 13 18 23 28

ผลตางของคา f(x) 5 5 5 5 5

จากตัวอยางขางตน จะเห็นวา f เปนฟงกชันพหุนามดีกรี 1 และมีผลตางครั้งที่หนึ่งเปนคาคงตัวที่เทากับ 5 ซึ่งไมเทากับศูนย

Page 5: Basic m5-1-chapter1

5

ตัวอยางที่ 2 ให f(x) = x2 + x + 3พิจารณาคาของ f(x) และผลตางของ f(x) เมื่อ x = -1, 0, 1, 2, 3, 4, 5 ดังนี้

x -1 0 1 2 3 4 5f(x) 3 3 5 9 15 23 33

ผลตางครั้งที่ 1 0 2 4 6 8 10

ผลตางครั้งที่ 2 2 2 2 2 2

จากตัวอยาง จะเห็นวา ฟงกชันที่กําหนดใหเปนฟงกชันพหุนามดีกรี 2 และมีผลตางครั้งที่สองเปนคาคงตัวซึ่งไมเทากับศูนย

ตัวอยางที่ 3 ให f(x) = 2x3 + x - 10พิจารณาคาของ f(x) และผลตางของ f(x) เมื่อ x = 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6 ดังนี้

x 0 1 2 3 4 5 6f(x) -10 -7 8 47 122 245 428

ผลตางครั้งที่ 1 3 15 39 75 123 183

ผลตางครั้งที่ 2 12 24 36 48 60ผลตางครั้งที่ 3 12 12 12 12

จากตัวอยาง จะเห็นวา ฟงกชันที่กําหนดใหเปนฟงกชันพหุนามดีกรี 3 และผลตางครั้งที่สามเปนคาคงตัวที่เทากับ 12 ซึ่งไมเทากับศูนย

ในกรณีทั่วไป เชน เมื่อ f เปนฟงกชันพหุนามดีกรี 2

Page 6: Basic m5-1-chapter1

6

ให f(x) = ax2 + bx + c ผลตางครั้งที่ (1) ผลตางครั้งที่ (2)

จะได f(1) = a + b + cf(2) = 4a + 2b + cf(3) = 9a + 3b + cf(4) = 16a + 4b + cf(5) = 25a + 5b + c

จากตัวอยางขางตน จะเห็นวา ฟงกชันพหุนามกําลังสองมีผลตางของ f(x)ครั้งที่ 2 เปนคาคงตัวที่ไมเทากับศูนย สําหรับฟงกชันพหุนามอื่นที่มีดีกรีไมเทากับสองก็มีสมบัติขางตนที่เกี่ยวกับผลตางของคาของฟงกชันพหุนามเชนเดียวกัน

สรุปวา เมื่อ f เปนฟงกชันพหุนามดีกรี n เมื่อ n ∈ {1, 2, 3, ...} ผลตางของคาของฟงกชัน f ครั้งที่ n จะเปนคาคงตัวและไมเทากับศูนย ขอสรุปที่กลาวมานี้มีที่มาจากทฤษฎีบทที่มีชื่อวา Polynomial Difference Theorem ซึ่งกลาววา “ฟงกชัน f จะเปนฟงกชันพหุนามดีกรีที่ n ก็ตอเมื่อ มีคา x ที่ทําใหผลตางของคาของฟงกชันครั้งที่ n เปนคาคงตัวที่ไมเทากับศูนย ซึ่งสวนมากจะใช x ที่เปนจํานวนที่เรียงถัดกัน เชน 1, 2, 3, 4, …”

ตอไปจะพิจารณาคาของ f(x) ที่กําหนดให เพื่อพิจารณาวา f เปนฟงกชันพหุนามหรือไม โดยใชขอสรุปจากทฤษฎีที่กลาวมาขางตน ดังตัวอยางตอไปนี้

ตัวอยางที่ 4 ให f เปนฟงกชัน จากคา x และ f(x) ที่กําหนดใหจงพิจารณาวา f เปนฟงกชันพหุนามหรือไม โดยหาวา มีผลตางของคาของฟงกชัน f ที่เปนคาคงตัวที่ไมเทากับศูนยหรือไม

x 1 2 3 4 5f(x) 3 -3 -13 -27 -45

ผลตางครั้งที่ 1 -6 -10 -14 -18

ผลตางครั้งที่ 2 -4 -4 -4

จะไดวา ผลตางครั้งที่สองของคาของฟงกชัน f เปนคาคงตัวและไมเทากับศูนยสรุปไดวา f เปนฟงกชันพหุนามดีกรี 2

3a + b

5a + b7a + b9a + b

2a

2a2a

Page 7: Basic m5-1-chapter1

7

ตัวอยางที่ 5 จากตาราง จงพิจารณาวา y เปนคาของฟงกชันพหุนามหรือไม และถาเปน จงหาดีกรีของฟงกชันพหุนามนั้น

x 1 2 3 4 5 6 7 8y 2 12 36 80 150 252 392 576

วิธีทํา จากตารางพิจารณาคาของ y และผลตางคาของ y ดังนี้x 1 2 3 4 5 6 7 8y 2 12 36 80 150 252 392 576

ผลตางครั้งที่ 1 10 24 44 70 102 140 184

ผลตางครั้งที่ 2 14 20 26 32 38 44

ผลตางครั้งที่ 3 6 6 6 6 6

จะพบวา ผลตางครั้งที่สามของคา y เปนคาคงตัวที่ไมเทากับศูนยสรุปไดวา y เปนคาของฟงกชันพหุนามดีกรี 3จากตัวอยางที่กลาวมา จะเห็นไดวา จากคา x และ f(x) ที่กําหนดให

ถาพบวา ผลตางของคา f(x) ครั้งที่ n เปนคาคงตัวที่ไมเทากับศูนยแลว f จะเปนฟงกชันพหุนามดีกรี n แตจะยังไมสามารถบอกไดวา f คือ ฟงกชันใด ตัวอยางตอไปนี้จะแสดงวิธีการหาฟงกชัน f จากคา x และ f(x) ที่กําหนดให เมื่อไดขอสรุปวา f เปนฟงกชันพหุนามดีกรี n

ตัวอยางที่ 6 กําหนดคาของ x และ f(x) ดังตาราง

x 1 2 3 4 5 6f(x) 1 4 10 20 35 56

Page 8: Basic m5-1-chapter1

8

จากคาที่กําหนดให หาผลตางของ f(x) ไดดังนี้x 1 2 3 4 5 6f(x) 1 4 10 20 35 56

ผลตางครั้งที่ 1 3 6 10 15 21

ผลตางครั้งที่ 2 3 4 5 6

ผลตางครั้งที่ 3 1 1 1

จะเห็นวา ผลตางครั้งที่สามของ f(x) เปนคาคงตัวที่ไมเทากับศูนยสรุปไดวา f เปนฟงกชันพหุนามดีกรี 3จากขอสรุปขางตน จะหาฟงกชันพหุนาม f ไดโดยให f(x) = ax3 + bx2 + cx + dจะหาคาของ a, b, c และ d ซึ่งเปนคาคงตัวไดดังนี้

เมื่อ x = 4 จะได f(4) = 20นั่นคือ 64a + 16b + 4c + d = 20 ------------- (1)

x = 3 จะได f(3) = 10นั่นคือ 27a + 9b + 3c + d = 10 ------------- (2)

x = 2 จะได f(2) = 4นั่นคือ 8a + 4b + 2c + d = 4 ------------- (3)

x = 1 จะได f(1) = 1นั่นคือ a + b + c + d = 1 ------------- (4)

(3) - (4) 7a + 3b + c = 3 ------------- (5)

(2) - (3) 19a + 5b + c = 6 ------------- (6)

(1) - (2) 37a + 7b + c = 10 ------------- (7)

(7) - (6) 18a + 2b = 4 ------------- (8)

(6) - (5) 12a + 2b = 3 ------------- (9)

Page 9: Basic m5-1-chapter1

9

จาก (8) - (9) จะได 6a = 1 หรือ a = 16

แทนคา a = 16

จะไดวา b = 12

, c = 13

และ d = 0นั่นคือ f(x) = 1

612

13

3 2x x x+ +

สําหรับการหาพจนทั่วไปของลําดับที่กําหนดใหอาจทําไดโดยการใชสมบัติของฟงกชันพหุนามที่กลาวมาโดยสมมติพจนทั่วไปในรูปฟงกชันพหุนามใหดังนี้an + b เมื่อผลตางของคาของฟงกชันครั้งที่ 1 เปนคาคงตัวที่ไมเทากับศูนยan2 + bn + c เมื่อผลตางของคาของฟงกชันครั้งที่ 2 เปนคาคงตัวที่ไมเทากับศูนยan3 + bn2 + cn + d เมื่อผลตางของคาของฟงกชันครั้งที่ 3 เปนคาคงตัวที่ไมเทากับศูนย

สําหรับการตัดสินใจวา จะใชพหุนามดีกรีเทาใดขึ้นอยูกับการหาผลตางระหวางพจนในลําดับดังตัวอยางตอไปนี้

ตัวอยางที่ 7 จงหาพจนทั่วไปของลําดับจํากัดตอไปนี้1) 2, 4, 6, 8, 102) 1, 3, 7, 13

วิธีทํา 1) จากลําดับที่กําหนดหาผลตางระหวางสองพจนติดกันไดดังนี้2 4 6 8 10

ผลตางครั้งที่ 1 2 2 2 2

ผลตางครั้งที่หนึ่งเปนคาคงตัวที่เทากับ 2 ในกรณีนี้จะหาพจนทั่วไปของลําดับที่กําหนดให โดยให an = an + b จากนั้นจึงหา a และ b โดยแทนคาของn และ an ไดดังนี้

a1 = 2 = a + b ---------- (1)a2 = 4 = 2a + b ---------- (2)a3 = 6 = 3a + b ---------- (3)a4 = 8 = 4a + b ---------- (4)a5 = 10 = 5a + b ---------- (5)

Page 10: Basic m5-1-chapter1

10

จากสมการ (1) และ (2) จะได a = 2, b = 0 และ an = 2nเมื่อทดลองแทน a, b ดวย 2 และ 0 ตามลําดับ ในสมการ (1) ถึง (5) ตามลําดับจะพบวา สมการดังกลาวเปนจริง

จะไดพจนทั่วไปของลําดับ 2, 4, 6, 8, 10 คือ an = 2n

2) จากลําดับที่กําหนดหาผลตางระหวางสองพจนติดกันไดดังนี้1 3 7 13

ผลตางครั้งที่ 1 2 4 6

ผลตางครั้งที่ 2 2 2

จะไดวา ผลตางครั้งที่สองคือ 2 เปนคาคงตัวที่ไมเทากับศูนยให an = an2 + bn + cแทน n ในพจนทั่วไปดวย 1, 2, 3, 4 ไดดังนี้

1 = a + b + c ---------- (1)3 = 4a + 2b + c ---------- (2)7 = 9a + 3b + c ---------- (3)13 = 16a + 4b + c ---------- (4)

แกระบบสมการเพื่อหา a, b และ c ไดดังนี้(2) – (1) 2 = 3a + b ---------- (5)(3) – (2) 4 = 5a + b ---------- (6)(6) – (5) 2 = 2a หรือ a = 1แทน a = 1 ใน (5) จะได b = –1แทน a และ b ดวย 1 และ –1 ตามลําดับ ใน (1) จะได c = 1ดังนั้น an = n2 – n + 1ตรวจสอบโดยแทน n ดวย 1, 2, 3 และ 4 จะได a1, a2, a3 และ a4

ตามที่กําหนด แสดงวา พจนทั่วไปที่หาไดถูกตอง

Page 11: Basic m5-1-chapter1

11

3. ในหนังสือเรียนไดกลาวถึงรายละเอียดของลําดับที่มีชื่อเฉพาะไวสองชนิดคือ ลําดับเลขคณิตและลําดับเรขาคณิต นอกจากลําดับทั้งสองชนิดนี้แลวยังมีลําดับอื่นที่มีชื่อเฉพาะซึ่งอาจจะตั้งชื่อตามลักษณะของลําดับนั้น ๆ หรือต้ังตามชื่อของนักคณิตศาสตรที่เปนผูคนพบลําดับนั้น ซึ่งนักเรียนจะไดพบในการเรียนคณิตศาสตรระดับสูงตอไปตัวอยางของลําดับที่มีชื่อเฉพาะเหลานั้นไดแก

ลําดับฮารโมนิก (Harmonic sequence) คือ ลําดับซึ่งสวนกลับของพจนทุกพจนเปนลําดับเลขคณิต เชน1, 21 , 31 ,

41 , ...,

n1 , ... เปนลําดับฮารโมนิก เพราะวา 1, 2, 3, 4, ..., n, ... เปนลําดับเลขคณิต

ลําดับสลับ (alternating sequence) คือ ลําดับซึ่งพจนที่ n กับพจนที่ n + 1 มีเครื่องหมายตรงขามกัน เชน

1, –1, 1, –1, ..., (–1)n–1 , ...–1,

21 ,

31− ,

41 , ...,

n)1( n− , ...

ลําดับฟโบนักชี (Fibonacci sequence) เปนลําดับของจํานวนเต็มบวก ซึ่งมีสมบัติวา an = an–2 + an–1, n ≥ 3 เชน

1, 1, 2, 3, 5, ...1, 3, 4, 7, 11, ...

ลําดับโคชี (Cauchy sequence) คือ ลําดับซึ่ง an – an–1 มีคาเขาใกลหรือเทากับศูนย เมื่อ n มีคามากขึ้นโดยไมมีที่สิ้นสุด เชน

1, 21 , 41 , 81 , ..., 1n2

1− , ...

1, 21 , 31 , 41 , ...,

n1 , ...

1, 1, 1, 1 , ..., 1 , ...

ผูสอนอาจยกตัวอยางของลําดับที่กลาวมาเพิ่มเติมโดยพิจารณาจากความสามารถของผูเรียนเปนสําคัญ

Page 12: Basic m5-1-chapter1

12

กิจกรรมเสนอแนะ

สําหรับผูเรียนที่มีความสามารถในการเรียนวิชาคณิตศาสตรนอย ผูสอนอาจตองใชกิจกรรมที่มีรูปภาพประกอบเพื่อชวยใหผูเรียนสามารถหาขอสรุปในการหาพจนทั่วไปไดงายข้ึนดังนี้

กิจกรรมที่ 1เนื้อหา การหาพจนทั่วไปของลําดับจุดประสงค เพื่อใหผูเรียนรูจักวิธีคิดและมีทักษะในการหาพจนทั่วไปของลําดับลักษณะกิจกรรม ผูสอนใหผูเรียนเรียนรูและสรุปความหมายของลําดับและสามารถหาพจนถัดไปจากลําดับที่กําหนดใหจากตัวอยางและคําถามของผูสอน โดยผูสอนใชปญหานําเขาสูเนื้อหา เพื่อใหผูเรียนหาคําตอบสุดทายไดกิจกรรม

1. ผูสอนใหผูเรียนชวยกันหาจํานวนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสจากรูปที่กําหนดใหตอไปนี้

รูปที่ (1) (2) (3) (4) (5)

2. ผูสอนอาจใหขอแนะโดยใชคําถามตอไปนี้ 1) รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสในรูปที่กําหนดใหมีขนาดใดบาง 2) รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสแตละขนาดมีอยางละกี่รูป

4. ผูสอนใหผูเรียนหาผลรวมของจํานวนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสของแตละรูปโดยใชตารางตอไปนี้

Page 13: Basic m5-1-chapter1

13

ขนาด ตร. หนวย จํานวนรูปสี่เหล่ียมจัตุรัสแตละขนาดรูปที่ 1 4 9 16 25

จํานวนรูปสี่เหล่ียมจัตุรัสทั้งหมด

1 1 - - - - 1 2 4 1 - - - 1 + 4 = 5 3 9 4 1 - - 1 + 4 + 9 = 14 4 16 9 4 1 - 1 + 4 + 9 + 16 = 30 5 25 16 9 4 1 1 + 4 + 9 + 16 + 25 = 55

ตารางที่ 1

5. ผูสอนใหผูเรียนบอกความสัมพันธของจํานวนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีขนาด1 ตารางหนวย กับความยาวของดานของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสแตละรูป ซึ่งผูเรียนควรบอกไดวา

รูปที่ ความยาวของดานของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส (หนวย)

จํานวนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีขนาด 1 ตารางหนวย (ตร.หนวย)

12345

12345

1 หรือ 12

4 หรือ 22

9 หรือ 32

16 หรือ 42

25 หรือ 52

ตารางที่ 2

ใหผูเรียนเขียนแทนจํานวนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสทั้งหมดของแตละรูปจากตารางที่ 1 ใหอยูในรูปของผลบวกที่อยูในรูปของกําลังสองสมบูรณ ดังนี้จํานวนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสของรูปที่ 1 เทากับ 12 = 1จํานวนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสของรูปที่ 2 เทากับ 12 + 22 = 5จํานวนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสของรูปที่ 3 เทากับ 12 + 22 + 32 = 14จํานวนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสของรูปที่ 4 เทากับ 12 + 22 + 32 + 42 = 30จํานวนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสของรูปที่ 5 เทากับ 12 + 22 + 32 + 42 + 52 = 55

จากแนวคิดในการหารูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสขางตน ผูสอนใหผูเรียนหาจํานวนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสทั้งหมด เมื่อรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสมีขนาด 6 × 6 , 7 × 7 ,

8 × 8, 9 × 9 และ 10 × 10 ตารางหนวย

Page 14: Basic m5-1-chapter1

14

กิจกรรมเพิ่มเติม

1) ผูสอนใหผูเรียนหาจํานวนรูปสามเหลี่ยมทั้งหมดในรูปตอไปนี้

(1) (2) (3) (4) (5)

2) ผูสอนใหผูเรียนหาจํานวนรูปสี่เหลี่ยมทั้งหมดในรูปตอไปนี้

(1) (2) (3) (4) (5)

กิจกรรมที่ 2ในการเรียนการสอนเรื่องลําดับและอนุกรม ผูสอนอาจใชใบงานในการจัดกิจกรรม

เชน ในตัวอยางกิจกรรมที่จะกลาวถึงตอไปนี้จะใชใบงานสามใบ โดยที่แตละใบงานมีจุดประสงคดังนี้

ใบงานที่ 1 และ 2 เพื่อใหผูเรียนเกิดทักษะในการหาพจนทั่วไปของลําดับจํากัดใบงานที่ 3 เพื่อใหผูเรียนรูจักเชื่อมโยงความรูในเรื่องลําดับและอนุกรม และ

สามารถนํามาใชในการแกปญหาไดในการใชใบงานผูสอนควรพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตรไปดวย

เชน ในบางกรณีที่ผูเรียนมีคําตอบที่แตกตางกันผูสอนควรใหโอกาสผูเรียนไดนําเสนอวิธีการคิดพรอมทั้งแสดงความสามารถในการใหเหตุผล

Page 15: Basic m5-1-chapter1

15

ใบงานที่ 1

1. พิจารณาแบบรูปตอไปนี้ และจงเขียนรูปที่ (4), (5) และ (6)

(1) (2) (3)

2. จงเติมจํานวนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสในตารางตอไปนี้

รูปที่ จํานวนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส

ความสัมพันธของรูปที่ (n) และจํานวนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสในแตละรูป

1 1 12 5 1 + 4 = 1 + (4 × 1)3 9 1 + 8 = 1 + (4 × 2)456

3. จากแบบรูปที่กําหนดให จงหาวา รูปที่ (10) และ (20) ควรจะมีจํานวนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสเทาใดในแตละรูป

4. จงหาจํานวนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสของรูปที่ (n)

Page 16: Basic m5-1-chapter1

16

ใบงานที่ 2

(1) (2) (3)

ในรูปที่ (1) มีจํานวนจุด 3 จุด และมีจํานวนเสนที่เชื่อมจุดเทากับ 3 เสน

1. จงเติมจํานวนจุดและเสนในตารางที่กําหนดใหตอไปนี้ พรอมทั้งหาความสัมพันธ

2. จงหาจํานวนจุดและจํานวนเสนที่เชื่อมระหวางจุดในรูปที่ (10) และรูปที่ (25)

3. จงหาจํานวนจุดและจํานวนเสนเชื่อมระหวางจุดในรูปที่ (n)

รูปที่ จน.จุด ความสัมพันธระหวางรูปที่ กําหนดและจํานวนจุด

1 3 1+2 = 1+2 (1)2 5 1+4 = 1+2(2)3 7 1+6 = 1+2(3)456

รูปที่จน. เสนเชื่อมระหวางจุด

ความสัมพันธระหวางรูปที่กําหนดและจํานวนเสนเชื่อมจุด

1 3 3 × 12 6 3 × 23 9 3 × 3456

Page 17: Basic m5-1-chapter1

17

ใบงานที่ 3

(1) (2)

ให S(1) แทนผลบวกที่กําหนดใหในตารางที่ (1) S(2) แทนผลบวกที่กําหนดใหในตารางที่ (2)

1. จงหาผลบวกในตารางที่ (1) และ (2)

2. จงอธิบายวา ผลบวก S(1) และ S(2) มีความสัมพันธกันอยางไร

3. 1, 2, 3, 4, ..., 10 เปนลําดับเลขคณิตหรือไม

4. จงหาผลบวกของ 10 พจนแรกของอนุกรม 1 + 2 + 3 + 4 + ... + 10

5. จงหาผลบวกของอนุกรม 13 + 23 + 33 + 43 + ... + 103 โดยใชความสัมพันธในขอ 2

6. ถา 13+ 23+ 33+ 43+ ... + n3 = 44,100จงหาคาของ 1 + 2 + 3 + 4 + ... + n

ในการหาพจนถัดไปของลําดับที่กําหนดใหโดยใชการสังเกตความสัมพันธของพจนผูสอนอาจใชวิธีการในกิจกรรมตอไปนี้เพื่อชวยใหผูเรียนสามารถหาพจนถัดไปของลําดับที่กําหนดใหไดงายขึ้นดังนี้

อนุกรม S(1)1 11 + 2 31 + 2 + 3 61 + 2 + 3 + 41 + 2 + 3 + 4 + 51 + 2 + 3 + 4 + 5 + 6

อนุกรม S(2)13 113+ 23 913+ 23+ 33 3613+ 23+ 33+ 43

13+ 23+ 33+ 43+ 53

13+ 23+ 33+ 43+ 53 + 63

Page 18: Basic m5-1-chapter1

18

กิจกรรมที่ 3เนื้อหา ความหมายของลําดับ และการหาพจนทั่วไปของลําดับจุดประสงค เพื่อใหผูเรียนเขาใจความหมายของลําดับและรูจักวิธีการหาพจนทั่วไป

ของลําดับจํากัดความหมายของลําดับ

ผูสอนใหผูเรียนเขียนจํานวนตอไปนี้1) จํานวนนับ 1 , 2 , 3 , 4 , 5 , ...2) จํานวนเต็มบวกที่เปนจํานวนคู 2 , 4 , 6 , 8 , 10 , ...3) จํานวนเต็มบวกที่เปนจํานวนคี่ 1 , 3 , 5 , 7 , 9 , ...4) จํานวนเต็มบวกที่เขียนไดในรูปกําลังสองสมบูรณ 1 , 4 , 9 , 16 , 25 , ...

ผูสอนแนะนําวาจํานวนที่เขียนอยูในแบบรูปขางตนเรียกวา ลําดับของจํานวน และแตละจํานวนในลําดับเรียกวา พจน

5) ผูสอนใหผูเรียนหาจํานวนถัดไปของลําดับตอไปนี้ พรอมทั้งบอกเหตุผลประกอบ1) 5 , 10 , 15 , 20

คําตอบ : จํานวนถัดไปคือ 25 เหตุผล : ผลตางของแตละจํานวนเทากับ 5 และ 20 + 5 = 252) 1 , 8 , 27 , 64

คําตอบ : จํานวนถัดไปคือ 125 เหตุผล : แตละจํานวนเขียนอยูในรูปกําลังสามของจํานวนเต็ม

จํานวนถัดไปคือ พจนที่ 5 ซึ่งมีคาเทากับ 53

ผูสอนใหผูเรียนหาจํานวนถัดไปของลําดับตอไปนี้ พรอมทั้งใหเหตุผลประกอบคําตอบ1) 7 , 14 , 21 , 28 5) 8 , 64 , 216 , 5122) 4 , 16 , 36 , 64 6) 4 , 9 , 25 , 493) 1 , 27 , 125 , 343 7) 11 , 22 , 33 , 444) 1 , 3 , 9 , 27 8) 1 , 9 , 36 , 100

Page 19: Basic m5-1-chapter1

19

ในกรณีที่ผูเรียนไมสามารถหาคําตอบได ผูสอนอาจแนะนําวิธีการสังเกต โดยการยกตัวอยางที่หลากหลายเพื่อใหผูเรียนหาขอสรุปและคําตอบที่ตองการไดดังนี้

พิจารณาผลตางของจํานวนในพจนที่อยูถัดไปแตละคูวา ผลตางดังกลาวมีคาเพิ่มขึ้นหรือลดลง

ในกรณีที่พจนถัดไปมีคาเพิ่มขึ้น พจนที่อยูถัดไปอาจจะไดจากการบวกหรือคูณพจนกอนหนานั้นดวย จํานวนใดจํานวนหนึ่ง

ในกรณีที่พจนถัดไปมีคานอยลง พจนที่อยูถัดไปอาจจะไดจากการลบหรือหารพจนกอนหนานั้นดวยจํานวนใดจํานวนหนึ่ง

จากการสังเกตดวยวิธีการที่กลาวมาจะชวยทําใหไดขอสรุปที่งายขึ้นดังตัวอยางตอไปนี้

จงหาพจนถัดไปของลําดับตอไปนี้1) 1 , 4 , 7 , 10

พิจารณาผลตางของพจนแตละคูในลําดับ 1 , 4 , 7 , 10

1 4 7 10

3 3 3 3

พบวาลําดับของผลตางมีคาเพิ่มขึ้นคงที่เทากับ 3นั่นคือพจนที่อยูถัดไปจะไดจากการนํา 3 ไปบวกกับจํานวนที่อยูในพจนกอนหนานั้นดังนั้น พจนถัดไปคือ 10 + 3 หรือ 13

2) 100 , 99 , 97 , 94พิจารณาผลตางของแตละพจนในลําดับ 100 , 99 , 97 , 94

100 99 97 94

-1 -2 -3 -4

พบวาลําดับของผลตางมีคาลดลงทีละ 1 ไปเรื่อย ๆ และพจนถัดจาก 94ควรจะมีคาลดลงจาก 94 เทากับ 4 นั่นคือ มีคาเทากับ 94 – 4 หรือ 90

Page 20: Basic m5-1-chapter1

20

จงหาพจนถัดไปของลําดับตอไปนี้อีก 2 พจน

1) 1 , 3 , 7 , 13

คําตอบ 1 3 7 13 21 31

2 4 6 8 10

พจนถัดไปจะไดจากการบวกพจนกอนหนานั้นดังนี้ 13 + 8 = 21 และ 21 + 10 = 31

2) 16 , 8 , 4 , 2คําตอบ 16 8 4 2 1 1

2

÷2 ÷2 ÷2 ÷2 ÷2พจนถัดไปจะไดจากผลหารของพจนกอนหนานั้นดวย 2

3) 2 , 20 , 200 , 2000คําตอบ 2 20 200 2000 20000 200000

×10 ×10 ×10 ×10 ×10พจนถัดไปจะไดจากผลคูณของพจนกอนหนานั้นดวย 10

เมื่อผูเรียนมีความเขาใจในวิธีการหาพจนทั่วไปของลําดับจํากัดจากตัวอยางที่ผูสอนนําเสนอแลว ผูสอนอาจใหโจทยเพิ่มเติม โดยพิจารณาจากความสามารถของผูเรียน เพื่อใหผูเรียนไดฝกทักษะดังนี้

Page 21: Basic m5-1-chapter1

21

จงหาพจนถัดไปของลําดับตอไปนี้1) 2 , 6 , 10 , 14 10) 20 , 10 , 5 , 2.52) 200 , 195 , 190 , 185 11) 2 , 3 , 6 , 113) 1 , 4 , 16 , 64 12) 3 , 5 , 9 , 154) 729 , 243 , 81 , 27 13) 4 , 7 , 12 , 195) 2 , 7 , 17 , 32 14) 50 , 49 , 47 , 446) 5 , 10 , 30 , 120 15) 60 , 58 , 54 , 487) 5 , 4 , 1 , -4 16) 5 , 9 , 17 , 298) 100 , 98 , 94 , 88 17) 8 , 13 , 23 , 389) 7 , 7 , 14 , 42 18) 78 , 75 , 69 , 60คําตอบ 1) 18 2) 180 3) 256 4) 9 5) 52

6) 600 7) –11 8) 80 9) 168 10) 1.2511) 18 12) 23 13) 28 14) 40 15) 4016) 45 17) 58 18) 48

สําหรับบางชั้นเรียนที่ผูเรียนมีความสนใจในเรื่องการหาพจนทั่วไปของลําดับ ผูสอนอาจเพิ่มการหาพจนถัดไปจากลําดับที่กําหนดใหโดยวิธีพิจารณาจากผลตางของพจนจากตัวอยางที่กลาวมาแลว ซึ่งบางครั้งอาจยังไมสามารถสรุปคําตอบได

ในกรณี เชนนี้อาจจะใชวิธีพิจารณาลําดับของผลตางที่ไดอีกครั้ง ดังตัวอยางตอไปนี้

ตัวอยาง จงหาพจนถัดไปของลําดับ 3 , 9 , 19 , 37 , 67พิจารณาผลตางของลําดับ 3 , 9 , 19 , 37 , 67

3 9 19 37 67

6 10 18 30

Page 22: Basic m5-1-chapter1

22

พบวาผลตางมีคาเพิ่มขึ้น แตยังไมสามารถหาพจนถัดจาก 67 ไดเพราะไมสามารถบอกไดวา พจนถัดไปของลําดับ 6, 10, 18, 30คือจํานวนใดพิจารณาผลตางของลําดับ 6 , 10 , 18 , 30

6 10 18 30

4 8 12พบวา ผลตางของลําดับมีคาเพิ่มขึ้นครั้งละ 4 นั่นคือจากพจนแรกคือ 4 พจนถัดไปไดจากผลบวกของพจนแรกคือ 4 บวกกับ 4ซึ่งเทากับ 8 และพจนถัดไปคือ 8 + 4 ซึ่งเทากับ 12 ในทํานองเดียวกันพจนถัดไปของ 12 จะเทากับ 12 + 4 หรือ 16*

3 9 19 37 67

6 10 18 30

4 8 12 16 *

จาก 16 * จะสามารถหาพจนถัดไปของลําดับของผลตางครั้งแรกคือ 30 พจนถัดไปไดจากผลบวกของ 30 + 16 ซึ่งเทากับ 46**

3 9 19 37 67

6 10 18 30 46 **

4 8 12 16 *

และจาก 46** เราสามารถหาพจนถัดไปของลําดับ 3, 9, 19, 37, 67พจนถัดไปไดจาก 67 + 46 ซึ่งเทากับ 113

Page 23: Basic m5-1-chapter1

23

3 9 19 37 67 113

6 10 18 30 46 **

4 8 12 16 *

และดวยวิธีการเดียวกันนี้ จะสามารถหาพจนถัดไปของลําดับ 3, 9, 19, 37, 67ไดอีกดังนี้ลําดับของผลตางครั้งที่สอง คือ 4 , 8 , 12 , 16 , 20 , 24ลําดับของผลตางครั้งที่หนึ่ง คือ 6 , 10 , 18 , 30 , 46 , 66 , 90จากผลตางครั้งที่ 1 และ 2 หาพจนถัดไปของลําดับ 3, 9, 19, 37, 67, 113ไดดังนี้

3 9 19 37 67 113 179 269

6 10 18 30 46 66 90

4 8 12 16 20 24

จะไดลําดับ 3 , 9 , 19 , 37 , 67 , 113 , 179 , 269

สําหรับลําดับที่กําหนดใหบางลําดับอาจจะตองใชวิธีเดียวกับที่กลาวมาขางตนหาผลตางครั้งที่ 3 หรือมากกวานั้นเพื่อหาพจนถัดไป ดังตัวอยางตอไปนี้

ตัวอยาง จงหาพจนถัดไปที่กําหนดให โดยใชวิธีพิจารณาผลตางของพจนที่อยูถัดกัน

1 1 2 3 5 8 13 21 34

0 1 1 2 3 5 8 13

1 0 1 1 2 3 5

-1 1 0 1 1 2

Page 24: Basic m5-1-chapter1

24

ลําดับของผลตางครั้งที่ 1 คือ 0 , 1 , 1 , 2 , 3 , 5 , 8 , 13ลําดับของผลตางครั้งที่ 2 คือ 1 , 0 , 1 , 1 , 2 , 3 , 5ลําดับของผลตางครั้งที่ 3 คือ -1 , 1 , 0 , 1 , 1 , 2มีขอสังเกต จากลําดับของผลตางครั้งที่ 3 ซึ่งเทากับ -1, 1, 0, 1, 1, 2 ดังนี้พจนที่ 3 คือ 0 ไดจาก ผลบวกของจํานวนในพจนที่ 1 และ 2 -1 +1 = 0พจนที่ 4 คือ 1 ไดจาก ผลบวกของจํานวนในพจนที่ 2 และ 3 1 + 0 = 1พจนที่ 5 คือ 1 ไดจาก ผลบวกของจํานวนในพจนที่ 3 และ 4 0 + 1 = 1พจนที่ 6 คือ 2 ไดจาก ผลบวกของจํานวนในพจนที่ 4 และ 5 1 + 1 = 2

ผูสอนใหผูเรียนหาพจนถัดไปของลําดับที่กําหนดใหดังนี้จากลําดับผลตางครั้งที่ 3 พจนถัดไปของลําดับ -1, 1, 0, 1, 1, 2 คือ 3*

และจะไดพจนถัดไปของลําดับของผลตางครั้งที่ 2 เทากับ 8**

พจนถัดไปของลําดับของผลตางครั้งที่ 1 เทากับ 21***

นั่นคือพจนถัดไปของลําดับ 1 , 1 , 2 , 3 , 5 , 8 , 13 , 21 , 34เทากับ 21 + 34 หรือ 55

1 1 2 3 5 8 13 21 34 55

0 1 1 2 3 5 8 13 21***

1 0 1 1 2 3 5 8**

-1 1 0 1 1 2 3*

Page 25: Basic m5-1-chapter1

25

โจทยเพิ่มเติม

จงหาพจนถัดไปของลําดับที่กําหนดใหตอไปนี้1) 2 , 11 , 26 , 47, 74 5) 2 , 9 , 20 , 37 , 622) 3 , 12 , 23 , 37 , 55 6) 2 , 6 , 15 , 34 , 683) 1 , 9 , 18 , 30 , 47 7) 3 , 3 , 6 , 9 , 154) 4 , 7 , 12 , 19 , 28 8) 4 , 6 , 10 , 16 , 26

คําตอบ 1) 107 2) 78 3) 71 4) 395) 97 6) 122 7) 24 8) 42

Page 26: Basic m5-1-chapter1

26

ตัวอยางแบบทดสอบประจําบท

1. จงเขียนพจนที่ 1, 2 และ 3 ของลําดับตอไปนี้1) an =

n2 2) an = 2 – 3n

3) an = n(n – 1)

2. จงหาพจนที่ 5 ของลําดับที่กําหนดใหตอไปนี้1) 1, 6, 11, 16 2)

31 ,

54 ,

79 ,

916

3. จงหาวา 64 เปนพจนที่เทาใดของลําดับ an = 5n + 4

4. จงหาพจนทั่วไปของลําดับตอไปนี้1) 0, 1, 2, 32)

21 ,

32 ,

43 ,

54

5. จงหาผลตางรวมและพจนที่ n ของลําดับเลขคณิตตอไปนี้1) 1, 4, 7, 10, ...2) 14, 8, 2, –4, ...

6. จงหาอัตราสวนรวมและพจนที่ n ของลําดับเรขาคณิตตอไปนี้1)

21 ,

25 ,

225 ,

2125 , ...

2) 10, 5, 25 ,

45 , ...

7. จงหาวาลําดับที่กําหนดใหตอไปนี้ มีลําดับใดเปนลําดับเลขคณิต ลําดับใดเปนลําดับเรขาคณิต1) 15, 30, 60, 120, ...2) 15, 30, 45, 60, ...3) 15, 30, 90, 360, ...

Page 27: Basic m5-1-chapter1

27

8. ในชั้นเรียนหนึ่งมีนักเรียนทั้งหมด 35 คน ถานักเรียนคนที่ 1, 2, 3, 4, ..., 35 นับ 3, 6,9, 12, ... เรื่อย ๆ ไป ถามวา คนที่ 35 จะนับจํานวนใด

9. ถา 3 และ 127

เปนพจนที่ 1 และพจนที่ 5 ในลําดับเรขาคณิตจงหาพจนที่ 2, 3 และ 4 ของลําดับเรขาคณิตนี้

10. จงหาผลบวกของจํานวนคูทั้งหมดที่มีคาอยูระหวาง 41 และ 101

11. จงหาผลบวกของ 7 พจนแรกของอนุกรมที่กําหนดใหดังนี้4 + 4⋅31 + 4⋅32 + 4⋅33 + … + 4⋅36

12. ถาในการแขงฟุตบอลของโรงเรียนระดับประเทศครั้งหนึ่ง มีผูเขาแขงขันทั้งหมด 64 ทีมโดยในการแขงขันแตละครั้ง (ครั้งละ 2 ทีม) ทีมที่ชนะจะไดแขงขันในรอบตอไป ถามวาจะตองจัดการแขงขันทั้งหมดกี่ครั้ง จึงจะไดทีมที่ชนะเลิศตัวอยางเชน ถามีทั้งหมด 8 ทีม จะตองจัดการแขงขันทั้งหมด ดังนี้

จากแผนภาพพบวา จะตองจัดการแขงขันทั้งหมด 4 + 2 + 1 = 7 ครั้ง

1 ครั้ง2 ครั้ง

4 ครั้ง

ทีมที่ชนะเลิศ

Page 28: Basic m5-1-chapter1

28

เฉลยตัวอยางแบบทดสอบประจําบท

1. 1) an = 2n

a1 = 21

= 2

a2 = 22

= 1

a3 = 23

2) an = 2 – 3na1 = 2 – 3(1) = –1a2 = 2 – 3(2) = –4a3 = 2 – 3(3) = –7

3) an = n(n – 1)a1 = 1(1 – 1) = 0a2 = 2(2 – 1) = 2a3 = 3(3 – 1) = 6

2. 1) 21 2) 2511

3. จาก an = 5n + 4จะได 64 = 5n + 4

5n = 60n = 12

จะไดวา 64 เปนพจนที่ 12 ของลําดับ an = 5n + 4ตรวจสอบคําตอบ a12 = 5(12) + 4 = 64

Page 29: Basic m5-1-chapter1

29

4. 1) an = n – 1 2) an = nn 1+

5. 1) ผลตางรวมของลําดับ 1, 4, 7, 10, ... เทากับ 3จาก an = a1 + (n – 1)d เมื่อ a1 = 1 และ d = 3จะได an = 1 + (n – 1)3

= 3n – 2

2) ผลตางรวมของลําดับ 14, 8, 2, –4, ... เทากับ –6จาก an = a1 + (n – 1)d เมื่อ a1 = 14 และ d = –6จะได an = 14 + (n – 1)(–6)

= 14 – 6n + 6= 20 – 6n

6. 1) อัตราสวนรวมของลําดับ 1 5 25 125, , ,2 2 2 2

หาไดจาก5 12 2÷ = 25 5

2 2÷ = 125 25

2 2÷ = 5

จาก an = a1rn–1 เมื่อ a1 = 12

และ r = 5

จะได an = n 11 (5)2

2) อัตราสวนรวมของลําดับ 10, 5, 52

, 54

, ... หาไดจาก510

= 5 52÷ = 5 5

4 2÷ = 1

2

จาก an = a1rn–1 เมื่อ a1 = 10 และ r = 12

จะได an = n 1110( )2

Page 30: Basic m5-1-chapter1

30

7. 1) ลําดับเรขาคณิตที่มีอัตราสวนรวมเทากับ 22) ลําดับเลขคณิตที่มีผลตางรวมเทากับ 153) ไมเปนทั้งลําดับเลขคณิตและลําดับเรขาคณิต

8. พิจารณาลําดับ 3, 6, 9, 12, ... พบวา ลําดับดังกลาวเปนลําดับเลขคณิตที่มีผลตางรวมเทากับ 3จาก an = a1 + (n – 1)d เมื่อ a = 3 และ d = 3จะได a35 = 3 + (35 – 1)(3)

= 105ดังนั้น คนที่ 35 จะตองนับ 105

9. พิจารณาลําดับเรขาคณิต 3, a2, a3, a4, 127จาก an = a1rn–1

จะได 127

= 3r5–1

r4 = 4

13

= 41( )3

r = 13

จะได an = n 113( )3

a1 = 3 a2 = 1 a3 = 1

3

a4 = 19

และ a5 = 127

นั่นคือ 1, 13

, 19

เปนพจนสามพจนในลําดับเรขาคณิตที่เรียงอยูระหวาง 1

และ 127

Page 31: Basic m5-1-chapter1

31

10. พิจารณาลําดับของจํานวนคูที่มีคาอยูระหวาง 41 และ 101 จะไดลําดับ42, 44, 46, ..., 100

เนื่องจากลําดับขางตนเปนลําดับเลขคณิตที่มีผลตางรวมเทากับ 2จาก an = a1 + (n – 1)dจะได 100 = 42 + (n – 1)2

100 = 2n + 40และ n = 30จาก Sn = n

2(a1 + an)

จะได S30 = 302

(42 + 100)= 15(142)= 2130

นั่นคือ ผลบวกของจํานวนคูที่มีคาอยูระหวาง 41 และ 101 จะมีคาเปน 2130

11. จากอนุกรม 4 + 4⋅31 + 4⋅32 + … + 4⋅36 ซึ่งเปนอนุกรมเรขาคณิตที่มีa1 = 4 , r = 3

และ sn =n

1a (r 1)r 1

−−

จะได s7 =74(1 3 )

1 3−−

= 2(37 – 1)= 4372

Page 32: Basic m5-1-chapter1

32

12. ถามีทีมทั้งหมด 64 ทีม จะตองจัดการแขงขันครั้งแรกเทากับ 64 ÷ 2 = 32 หรือ 25 ครั้งนั่นคือ จะตองจัดการแขงขันทั้งหมด 1 + 21 + 22 + 23 + 24 + 25 ครั้งซึ่งผลบวกขางตนอยูในรูปอนุกรมเรขาคณิตที่มี a1 = 1 , r = 2 และ n = 5จาก sn =

n1a (r 1)r 1

−−

จะได s5 =51(2 1)2 1−−

= 63ดังนั้น จะตองจัดการแขงขันทั้งหมด 63 ครั้ง จึงจะไดทีมที่ชนะเลิศ

ทีมที่ชนะเลิศ

1 ครั้ง21 ครั้ง

22 ครั้ง23 ครั้ง

24 ครั้ง25 ครั้ง

Page 33: Basic m5-1-chapter1

26

ตัวอยางแบบทดสอบประจําบท

1. จงเขียนพจนที่ 1, 2 และ 3 ของลําดับตอไปนี้1) an =

n2 2) an = 2 – 3n

3) an = n(n – 1)

2. จงหาพจนที่ 5 ของลําดับที่กําหนดใหตอไปนี้1) 1, 6, 11, 16 2)

31 ,

54 ,

79 ,

916

3. จงหาวา 64 เปนพจนที่เทาใดของลําดับ an = 5n + 4

4. จงหาพจนทั่วไปของลําดับตอไปนี้1) 0, 1, 2, 32)

21 ,

32 ,

43 ,

54

5. จงหาผลตางรวมและพจนที่ n ของลําดับเลขคณิตตอไปนี้1) 1, 4, 7, 10, ...2) 14, 8, 2, –4, ...

6. จงหาอัตราสวนรวมและพจนที่ n ของลําดับเรขาคณิตตอไปนี้1)

21 ,

25 ,

225 ,

2125 , ...

2) 10, 5, 25 ,

45 , ...

7. จงหาวาลําดับที่กําหนดใหตอไปนี้ มีลําดับใดเปนลําดับเลขคณิต ลําดับใดเปนลําดับเรขาคณิต1) 15, 30, 60, 120, ...2) 15, 30, 45, 60, ...3) 15, 30, 90, 360, ...

Page 34: Basic m5-1-chapter1

27

8. ในชั้นเรียนหนึ่งมีนักเรียนทั้งหมด 35 คน ถานักเรียนคนที่ 1, 2, 3, 4, ..., 35 นับ 3, 6,9, 12, ... เรื่อย ๆ ไป ถามวา คนที่ 35 จะนับจํานวนใด

9. ถา 3 และ 127

เปนพจนที่ 1 และพจนที่ 5 ในลําดับเรขาคณิตจงหาพจนที่ 2, 3 และ 4 ของลําดับเรขาคณิตนี้

10. จงหาผลบวกของจํานวนคูทั้งหมดที่มีคาอยูระหวาง 41 และ 101

11. จงหาผลบวกของ 7 พจนแรกของอนุกรมที่กําหนดใหดังนี้4 + 4⋅31 + 4⋅32 + 4⋅33 + … + 4⋅36

12. ถาในการแขงฟุตบอลของโรงเรียนระดับประเทศครั้งหนึ่ง มีผูเขาแขงขันทั้งหมด 64 ทีมโดยในการแขงขันแตละครั้ง (ครั้งละ 2 ทีม) ทีมที่ชนะจะไดแขงขันในรอบตอไป ถามวาจะตองจัดการแขงขันทั้งหมดกี่ครั้ง จึงจะไดทีมที่ชนะเลิศตัวอยางเชน ถามีทั้งหมด 8 ทีม จะตองจัดการแขงขันทั้งหมด ดังนี้

จากแผนภาพพบวา จะตองจัดการแขงขันทั้งหมด 4 + 2 + 1 = 7 ครั้ง

1 ครั้ง2 ครั้ง

4 ครั้ง

ทีมที่ชนะเลิศ

Page 35: Basic m5-1-chapter1

28

เฉลยตัวอยางแบบทดสอบประจําบท

1. 1) an = 2n

a1 = 21

= 2

a2 = 22

= 1

a3 = 23

2) an = 2 – 3na1 = 2 – 3(1) = –1a2 = 2 – 3(2) = –4a3 = 2 – 3(3) = –7

3) an = n(n – 1)a1 = 1(1 – 1) = 0a2 = 2(2 – 1) = 2a3 = 3(3 – 1) = 6

2. 1) 21 2) 2511

3. จาก an = 5n + 4จะได 64 = 5n + 4

5n = 60n = 12

จะไดวา 64 เปนพจนที่ 12 ของลําดับ an = 5n + 4ตรวจสอบคําตอบ a12 = 5(12) + 4 = 64

Page 36: Basic m5-1-chapter1

29

4. 1) an = n – 1 2) an = nn 1+

5. 1) ผลตางรวมของลําดับ 1, 4, 7, 10, ... เทากับ 3จาก an = a1 + (n – 1)d เมื่อ a1 = 1 และ d = 3จะได an = 1 + (n – 1)3

= 3n – 2

2) ผลตางรวมของลําดับ 14, 8, 2, –4, ... เทากับ –6จาก an = a1 + (n – 1)d เมื่อ a1 = 14 และ d = –6จะได an = 14 + (n – 1)(–6)

= 14 – 6n + 6= 20 – 6n

6. 1) อัตราสวนรวมของลําดับ 1 5 25 125, , ,2 2 2 2

หาไดจาก5 12 2÷ = 25 5

2 2÷ = 125 25

2 2÷ = 5

จาก an = a1rn–1 เมื่อ a1 = 12

และ r = 5

จะได an = n 11 (5)2

2) อัตราสวนรวมของลําดับ 10, 5, 52

, 54

, ... หาไดจาก510

= 5 52÷ = 5 5

4 2÷ = 1

2

จาก an = a1rn–1 เมื่อ a1 = 10 และ r = 12

จะได an = n 1110( )2

Page 37: Basic m5-1-chapter1

30

7. 1) ลําดับเรขาคณิตที่มีอัตราสวนรวมเทากับ 22) ลําดับเลขคณิตที่มีผลตางรวมเทากับ 153) ไมเปนทั้งลําดับเลขคณิตและลําดับเรขาคณิต

8. พิจารณาลําดับ 3, 6, 9, 12, ... พบวา ลําดับดังกลาวเปนลําดับเลขคณิตที่มีผลตางรวมเทากับ 3จาก an = a1 + (n – 1)d เมื่อ a = 3 และ d = 3จะได a35 = 3 + (35 – 1)(3)

= 105ดังนั้น คนที่ 35 จะตองนับ 105

9. พิจารณาลําดับเรขาคณิต 3, a2, a3, a4, 127จาก an = a1rn–1

จะได 127

= 3r5–1

r4 = 4

13

= 41( )3

r = 13

จะได an = n 113( )3

a1 = 3 a2 = 1 a3 = 1

3

a4 = 19

และ a5 = 127

นั่นคือ 1, 13

, 19

เปนพจนสามพจนในลําดับเรขาคณิตที่เรียงอยูระหวาง 1

และ 127

Page 38: Basic m5-1-chapter1

31

10. พิจารณาลําดับของจํานวนคูที่มีคาอยูระหวาง 41 และ 101 จะไดลําดับ42, 44, 46, ..., 100

เนื่องจากลําดับขางตนเปนลําดับเลขคณิตที่มีผลตางรวมเทากับ 2จาก an = a1 + (n – 1)dจะได 100 = 42 + (n – 1)2

100 = 2n + 40และ n = 30จาก Sn = n

2(a1 + an)

จะได S30 = 302

(42 + 100)= 15(142)= 2130

นั่นคือ ผลบวกของจํานวนคูที่มีคาอยูระหวาง 41 และ 101 จะมีคาเปน 2130

11. จากอนุกรม 4 + 4⋅31 + 4⋅32 + … + 4⋅36 ซึ่งเปนอนุกรมเรขาคณิตที่มีa1 = 4 , r = 3

และ sn =n

1a (r 1)r 1

−−

จะได s7 =74(1 3 )

1 3−−

= 2(37 – 1)= 4372

Page 39: Basic m5-1-chapter1

32

12. ถามีทีมทั้งหมด 64 ทีม จะตองจัดการแขงขันครั้งแรกเทากับ 64 ÷ 2 = 32 หรือ 25 ครั้งนั่นคือ จะตองจัดการแขงขันทั้งหมด 1 + 21 + 22 + 23 + 24 + 25 ครั้งซึ่งผลบวกขางตนอยูในรูปอนุกรมเรขาคณิตที่มี a1 = 1 , r = 2 และ n = 5จาก sn =

n1a (r 1)r 1

−−

จะได s5 =51(2 1)2 1−−

= 63ดังนั้น จะตองจัดการแขงขันทั้งหมด 63 ครั้ง จึงจะไดทีมที่ชนะเลิศ

ทีมที่ชนะเลิศ

1 ครั้ง21 ครั้ง

22 ครั้ง23 ครั้ง

24 ครั้ง25 ครั้ง

Page 40: Basic m5-1-chapter1

33

เฉลยแบบฝกหัด 1.1.1

1. 1) จาก an = 2n + 5จะได a1 = 2(1) + 5 = 7

a2 = 2(2) + 5 = 9a3 = 2(3) + 5 = 11a4 = 2(4) + 5 = 13

ดังนั้น 4 พจนแรกของลําดับนี้คือ 7, 9, 11, 13

2) จาก an =n

21

จะได a1 =1

21

= 2

1

a2 =2

21

=

41

a3 =3

21

=

81

a4 =4

21

=

161

ดังนั้น 4 พจนแรกของลําดับนี้คือ 21 ,

41 ,

81 ,

161

3) จาก an = (–2)n

จะได a1 = (–2)1 = –2a2 = (–2)2 = 4a3 = (–2)3 = –8a4 = (–2)4 = 16

ดังนั้น 4 พจนแรกของลําดับนี้คือ –2, 4, –8, 16

4) จาก an =n1n +

จะได a1 =111+ = 2

a2 =212+ =

23

Page 41: Basic m5-1-chapter1

34

a3 =313+ =

34

a4 =414+ =

45

ดังนั้น 4 พจนแรกของลําดับนี้คือ 2, 23 ,

34 ,

45

5) จาก an =n)1(1 n−+

จะได a1 =1)1(1 1−+ = 0

a2 =2)1(1 2−+ = 1

a3 =3)1(1 3−+ = 0

a4 =4)1(1 4−+ =

21

ดังนั้น 4 พจนแรกของลําดับนี้คือ 0, 1, 0, 21

6) จาก an = n

n

32

จะได a1 =1

123

=32

a2 = 2

2

32 = 9

4

a3 = 3

3

32 = 27

8

a4 = 4

4

32 = 81

16

ดังนั้น 4 พจนแรกของลําดับนี้คือ 32 , 9

4 , 278 , 81

16

7) จาก an = (n – 1)(n + 1)จะได a1 = (1 – 1)(1 + 1) = 0

a2 = (2 – 1)(2 + 1) = 3a3 = (3 – 1)(3 + 1) = 8a4 = (4 – 1)(4 + 1) = 15

ดังนั้น 4 พจนแรกของลําดับนี้คือ 0, 3, 8, 15

Page 42: Basic m5-1-chapter1

35

8) จาก an = n(n – 1)(n – 2)จะได a1 = 1(1 – 1)(1 – 2) = 0

a2 = 2(2 – 1)(2 – 2) = 0a3 = 3(3 – 1)(3 – 2) = 6a4 = 4(4 – 1)(4 – 2) = 24

ดังนั้น 4 พจนแรกของลําดับนี้คือ 0, 0, 6, 24

2. 1) 2 , 6 , 10 , 14 , 18 , 22 +4 +4 +4 +4 +4

2) 200 , 195 , 190 , 185 , 180 , 175 –5 –5 –5 –5 –5

3) 1 , 4 , 16 , 64 , 256 , 1024 ×4 ×4 ×4 ×4 ×4

4) 729 , 243 , 81 , 27 , 9 , 3 ÷3 ÷3 ÷3 ÷3 ÷3

5) 2 , 7 , 17 , 32 , 52 , 77 +5 +10 +15 +20 +25

6) 5 , 10 , 30 , 120 , 600 , 3600 ×2 ×3 ×4 ×5 ×6

7) 5 , 4 , 1 , –4 , –11 , –20 –1 –3 –5 –7 –9

8) 100 , 98 , 94 , 88 , 80 , 70 –2 –4 –6 –8 –10

Page 43: Basic m5-1-chapter1

36

เฉลยแบบฝกหัด 1.1.2

1. 1) an = 4n – 2a1 = 4(1) – 2 = 2a2 = 4(2) – 2 = 6a3 = 4(3) – 2 = 10a4 = 4(4) – 2 = 14

2) an = n(n – 1)a1 = 1(1 – 1) = 0a2 = 2(2 – 1) = 2a3 = 3(3 – 1) = 6a4 = 4(4 – 1) = 12

3) an = 2nn 1+

a1 = 2(1)1 1+

= 1

a2 = 2(2)2 1+

= 43

a3 = 2(3)3 1+

= 32

a4 = 2(4)4 1+

= 85

4) an =n1

2

a1 =11

2

= 12

a2 =21

2

= 14

a3 =31

2

= 18

a4 =41

2

= 116

Page 44: Basic m5-1-chapter1

37

5) an = (–1)n

a1 = (–1)1 = –1a2 = (–1)2 = 1a3 = (–1)3 = –1a4 = (–1)4 = 1

2. 1) 1, 12

, 14

, 18

an = n 1

12 −

2) 1, 3, 9, 27an = 3n–1

3) 24, 8, 83

, 89

an = n 1124

3

− ×

4) 2 3 4 5, , ,3 4 5 6

an = n 1n 2++

5) 0.4, 0.04, 0.004, 0.0004an = n

410

Page 45: Basic m5-1-chapter1

38

3. 1) พิจารณาลําดับ 1, 3, 5, 7, 9, ...จะเห็นวา a1 = 1 = 2(1) – 1

a2 = 3 = 2(2) – 1a3 = 5 = 2(3) – 1a4 = 7 = 2(4) – 1a5 = 9 = 2(5) – 1

ดังนั้น พจนทั่วไป an = 2n – 1

2) พิจารณาลําดับ 4, 8, 12, 16, 20, ...จะเห็นวา a1 = 4 = 4(1)

a2 = 8 = 4(2)a3 = 12 = 4(3)a4 = 16 = 4(4)a5 = 20 = 4(5)

ดังนั้น พจนทั่วไป an = 4n

3) พิจารณาลําดับ 3, 7, 11, 15, 19, ...จะเห็นวา a1 = 3 = 4(1) – 1

a2 = 7 = 4(2) – 1a3 = 11 = 4(3) – 1a4 = 15 = 4(4) – 1a5 = 19 = 4(5) – 1

ดังนั้น พจนทั่วไป an = 4n – 1

Page 46: Basic m5-1-chapter1

39

4) พิจารณาลําดับ 7, 12, 17, 22, 27, ...จะเห็นวา a1 = 7 = 5(1) + 2

a2 = 12 = 5(2) + 2a3 = 17 = 5(3) + 2a4 = 22 = 5(4) + 2a5 = 27 = 5(5) + 2

ดังนั้น พจนทั่วไป an = 5n + 2

5) พิจารณาลําดับ 1, 6, 11, 16, 21, ...จะเห็นวา a1 = 1 = 5(1) – 4

a2 = 6 = 5(2) – 4a3 = 11 = 5(3) – 4a4 = 16 = 5(4) – 4a5 = 21 = 5(5) – 4

ดังนั้น พจนทั่วไป an = 5n – 4

6) พิจารณาลําดับ 0, –1, –2, –3, –4, ...จะเห็นวา a1 = 0 = 1 – 1

a2 = –1 = 1 – 2a3 = –2 = 1 – 3a4 = –3 = 1 – 4a5 = –4 = 1 – 5

ดังนั้น พจนทั่วไป an = 1 – n

Page 47: Basic m5-1-chapter1

40

7) พิจารณาลําดับ 1, –1, –3, –5, –7, ...จะเห็นวา a1 = 1 = 3 – 2(1)

a2 = –1 = 3 – 2(2)a3 = –3 = 3 – 2(3)a4 = –5 = 3 – 2(4)a5 = –8 = 3 – 2(5)

ดังนั้น พจนทั่วไป an = 3 – 2n

8) พิจารณาลําดับ 3, 0, –3, –6, –9, ...จะเห็นวา a1 = 3 = 6 – 3(1)

a2 = 0 = 6 – 3(2)a3 = –3 = 6 – 3(3)a4 = –6 = 6 – 3(4)a5 = –9 = 6 – 3(5)

ดังนั้น พจนทั่วไป an = 6 – 3n

9) พิจารณาลําดับ 3, 1, –1, –3, –5, ...จะเห็นวา a1 = 3 = 5 – 2(1)

a2 = 1 = 5 – 2(2)a3 = –1 = 5 – 2(3)a4 = –3 = 5 – 2(4)a5 = –5 = 5 – 2(5)

ดังนั้น พจนทั่วไป an = 5 – 2n

Page 48: Basic m5-1-chapter1

41

10) พิจารณาลําดับ –5, –3, –1, 1, 3, ...จะเห็นวา a1 = –5 = 2(1) – 7

a2 = –3 = 2(2) – 7a3 = –1 = 2(3) – 7a4 = 1 = 2(4) – 7a5 = 3 = 2(5) – 7

ดังนั้น พจนทั่วไป an = 2n – 7

11) พิจารณาลําดับ31 ,

61 ,

91 ,

121 ,

151 , ...

จะเห็นวา a1 =31 =

)1(31

a2 =61 =

)2(31

a3 = 91 =

)3(31

a4 =121 =

)4(31

a5 =151 =

)5(31

ดังนั้น พจนทั่วไป an = n31

12) พิจารณาลําดับ 1, 41 , 9

1 , 161 ,

251 , ...

จะเห็นวา a1 = 1 = 11

a2 =41 = 2

12

a3 = 91 = 2

13

a4 =161 = 2

14

a5 =251 = 2

15

ดังนั้น พจนทั่วไป an = 2n1

Page 49: Basic m5-1-chapter1

42

13) พิจารณาลําดับ21 ,

32 ,

43 ,

54 ,

65 , ...

จะเห็นวา a1 =21 =

111+

a2 =32 =

122+

a3 =43 = 3

3 1+

a4 =54 = 4

4 1+

a5 =65 = 5

5 1+

ดังนั้น พจนทั่วไป an = 1nn+

14) พิจารณาลําดับ52 ,

74 ,

98 ,

1116 ,

1332 , ...

จะเห็นวา a1 =52 =

3)1(221

+

a2 =74 =

3)2(222

+

a3 =98 =

3)3(223

+

a4 =1116 =

3)4(224

+

a5 =1332 =

3)5(225

+

ดังนั้น พจนทั่วไป an = 3n2

2n

+

15) พิจารณาลําดับ 0, 21 ,

32 ,

43 ,

54 , ...

จะเห็นวา a1 = 0 =111−

a2 =21 =

212−

a3 =32 =

313−

a4 =43 =

414−

a5 =54 =

515−

ดังนั้น พจนทั่วไป an = n1n −

Page 50: Basic m5-1-chapter1

43

เฉลยแบบฝกหัด 1.1.3

1. 1) จาก a1 = 2, d = 4จะได a2 = a1 + d = 2 + 4 = 6

a3 = a1 + 2d = 2 + 2(4) = 10a4 = a1 + 3d = 2 + 3(4) = 14

ดังนั้น 4 พจนแรกของลําดับเลขคณิตนี้คือ 2, 6, 10, 14

2) จาก a1 = 3, d = 5จะได a2 = a1 + d = 3 + 5 = 8

a3 = a1 + 2d = 3 + 2(5) = 13a4 = a1 + 3d = 3 + 3(5) = 18

ดังนั้น 4 พจนแรกของลําดับเลขคณิตนี้คือ 3, 8, 13, 18

3) จาก a1 = –3, d = 3จะได a2 = a1 + d = –3 + 3 = 0

a3 = a1 + 2d = –3 + 2(3) = 3a4 = a1 + 3d = –3 + 3(3) = 6

ดังนั้น 4 พจนแรกของลําดับเลขคณิตนี้คือ –3, 0, 3, 6

4) จาก a1 = –4, d = 2จะได a2 = a1 + d = –4 + 2 = –2

a3 = a1 + 2d = –4 + 2(2) = 0a4 = a1 + 3d = –4 + 3(2) = 2

ดังนั้น 4 พจนแรกของลําดับเลขคณิตนี้คือ –4, –2, 0, 2

Page 51: Basic m5-1-chapter1

44

5) จาก a1 = 5, d = –2จะได a2 = a1 + d = 5 + (–2) = –3

a3 = a1 + 2d = 5 + 2(–2) = 1a4 = a1 + 3d = 5 + 3(–2) = –1

ดังนั้น 4 พจนแรกของลําดับเลขคณิตนี้คือ 5, 3, 1, –1

6) จาก a1 = –3, d = –4จะได a2 = a1 + d = –3 + (–4) = –7

a3 = a1 + 2d = –3 + 2(–4) = –11a4 = a1 + 3d = –3 + 3(–4) = –15

ดังนั้น 4 พจนแรกของลําดับเลขคณิตนี้คือ –3, –7, –11, –15

7) จาก a1 = 21 , d =

21

จะได a2 = a1 + d = 21

21 + = 1

a3 = a1 + 2d =

+212

21 =

23

a4 = a1 + 3d =

+213

21 = 2

ดังนั้น 4 พจนแรกของลําดับเลขคณิตนี้คือ 21 , 1,

23 , 2

8) จาก a1 = 25 , d =

23−

จะได a2 = a1 + d =

−+23

25 = 1

a3 = a1 + 2d =

−+232

25 =

21−

a4 = a1 + 3d =

−+233

25 = –2

ดังนั้น 4 พจนแรกของลําดับเลขคณิตนี้คือ 25 , 1,

21− , –2

Page 52: Basic m5-1-chapter1

45

2. 1) จาก an = a1 + (n – 1)d เมื่อ a1 = 4, d = 3จะได a3 = 4 + (3 – 1)3

a3 = 4 + 6a3 = 10

2) จาก an = a1 + (n – 1)d เมื่อ a1 = –4, d = –5จะได a8 = –4 + (8 – 1)(–5)

a8 = –4 – 35a8 = –39

3) จาก an = a1 + (n – 1)d เมื่อ a1 = –5, d = 2จะได a9 = –5 + (9 – 1)2

a9 = 11

4) จาก an = a1 + (n – 1)d เมื่อ a1 = 7, d = –3จะได a12 = 7 + (12 – 1)(–3)

a12 = –26

5) จาก an = a1 + (n – 1)d เมื่อ a1 = 54 , d = –1

จะได a20 = 54 + (20 – 1)(–1) = 4 19

5−

a12 = 915

6) จาก an = a1 + (n – 1)d เมื่อ a1 = 21− , d = –2

จะได a15 = 21− + (15 – 1)(–2) = 1 28

2− − = 1( 28)

2− +

a15 = 1282

Page 53: Basic m5-1-chapter1

46

7) จาก an = a1 + (n – 1)d เมื่อ a1 = 4, d = 21

จะได a11 = 4 + (11 – 1)( 12

)a11 = 9

8) จาก an = a1 + (n – 1)d เมื่อ a1 = 34 , d =

31

จะได a15 = 43

+ (15 – 1)( 13

) = 4 143 3+

a15 = 6

3. 1) จากลําดับเลขคณิต 11, 13, 15, 17, 19, ... ที่มี a1 = 11 และ d = 2จะได an = 11 + (n – 1)2

= 2n + 9ดังนั้น พจนที่ n หรือ an = 2n + 9

2) จากลําดับเลขคณิต 7, 10, 13, 16, 19, ... ที่มี a1 = 7 และ d = 3จะได an = 7 + (n – 1)3

= 3n + 4ดังนั้น พจนที่ n หรือ an = 3n + 4

3) จากลําดับเลขคณิต 2, –1, –4, –7, –10, ... ที่มี a1 = 2 และ d = –3จะได an = 2 + (n – 1)(–3)

= 5 – 3nดังนั้น พจนที่ n หรือ an = 5 – 3n

4) จากลําดับเลขคณิต 4, 2, 0, –2, –4, ... ที่มี a1 = 4 และ d = –2จะได an = 4 + (n – 1)(–2)

= 6 – 2nดังนั้น พจนที่ n หรือ an = 6 – 2n

Page 54: Basic m5-1-chapter1

47

5) จากลําดับเลขคณิต 0, 21 , 1,

23 , 2, ... ที่มี a1 = 0 และ d =

21

จะได an = 0 + (n – 1)(21 )

=21n−

ดังนั้น พจนที่ n หรือ an = 21n−

6) จากลําดับเลขคณิต 23 , 2,

25 , 3,

27 , ... ที่มี a1 =

23 และ d =

21

จะได an =23 + (n – 1)(

21 )

= 12n+

ดังนั้น พจนที่ n หรือ an = 12n+ หรือ n 2

2+

4. จาก an = –n – 3จะได a20 = –20 – 3 = –23

a50 = –50 – 3 = –53

5. จากลําดับเลขคณิต 3, 8, 13, 18, 23, ... ที่มี a1 = 3 และ d = 5จาก an = a1 + (n – 1)dจะได a15 = 3 + (15 – 1)(5)

a15 = 73

6. กําหนดให a6 = 12 และ a10 = 16จะได a1 + 5d = 12 --------- (1)และ a1 + 9d = 16 --------- (2)(2) – (1) 4d = 4

d = 1แทน d = 1 ใน (1) จะได a1 = 7ดังนั้น พจนแรกของลําดับเลขคณิตนี้คือ 7

Page 55: Basic m5-1-chapter1

48

7. ให a3 = 20 และ a7 = 32จะได a1 + 2d = 20 --------- (1)และ a1 + 6d = 32 --------- (2)(2) – (1) 4d = 12

d = 3แทน d = 3 ใน (1) จะได a1 = 14จาก an = a1 + (n – 1)dจะได a25 = 14 + (25 – 1)(3)

a25 = 86

8. ให a2 = 16 และ a12 = 116จะได a1 + d = 16 --------- (1)และ a1 + 11d = 116 --------- (2)(2) – (1) 10d = 100

d = 10แทน d = 10 ใน (1) จะได a1 = 6จาก an = a1 + (n – 1)d

= 6 + (n – 1)(10)= 10n – 4

จะไดวา an = 10n – 4 และ d = 10

9. ลําดับ –1, –6, –11, ... เปนลําดับเลขคณิตที่มี a1 = –1 และ d = –5จาก an = a1 + (n – 1)dจะได –176 = –1 + (n – 1)(–5)

–175 = (n – 1)(–5)35 = n – 136 = n

ดังนั้น –176 เปนพจนที่ 36 ของลําดับเลขคณิต –1, –6, –11, ...

Page 56: Basic m5-1-chapter1

49

10. จํานวนสามจํานวนแรกซึ่งอยูระหวาง 100 ถึง 1000 ที่หารดวย 13 ลงตัว คือ 104,117, 130 จํานวนสุดทายซึ่งอยูระหวาง 100 ถึง 1000 ที่หารดวย 13 ลงตัว คือ 988เขียนจํานวนขางตนเปนลําดับไดดังนี้ 104, 117, 130, ..., 988จะเห็นวาลําดับดังกลาวเปนลําดับเลขคณิตที่มี a1 = 104 และ d = 13จาก an = a1 + (n – 1)dจะได 988 = 104 + (n – 1)(13)

884 = 13n – 1313n = 897n = 69

จะไดวา จํานวนซึ่งอยูระหวาง 100 กับ 1000 ที่หารดวย 13 ลงตัว มีทั้งหมด 69 จํานวน

11. ให a1, a2, a3, ... เปนลําดับเลขคณิตที่มี a1 = 39 และ a3 = 51จะได a1 + 2d = 51

39 + 2d = 512d = 12

d = 6และ a2 = a1 + d = 39 + 6 = 45ดังนั้น จํานวนที่อยูระหวาง 39 และ 51 ที่ทําใหสามจํานวนนี้อยูในลําดับเลขคณิตคือ 45

12. ให a1 = 5 และ a7 = 29 เปนพจนที่ 1 และพจนที่ 7 ในลําดับเลขคณิตจะได a1 + 6d = 29

5 + 6d = 296d = 24

d = 4ดังนั้น 5 พจนซึ่งเรียงอยูระหวาง 5 กับ 29 คือ 5 + 4, 5 + 2 (4), 5 + 3(4) และ 5 + 4(4)หรือ 9, 13, 17, 21, 25

Page 57: Basic m5-1-chapter1

50

13. ให a1 = 20, a2 = 16 และ a3 = 12 เปนพจนสามพจนในลําดับเลขคณิตจาก 20, 16, 12... จะได d = –4จาก an = a1 + (n – 1)d

–96 = 20 + (n – 1)(–4)4n = 96 + 20 + 4n = 120

4n = 30

ดังนั้น –96 เปนพจนที่ 30 ของลําดับเลขคณิต 20, 16, 12, ...

14. ให a1 เปนราคาที่บริษัทรับซื้อคืนสําหรับรถยนตที่ใชแลว 1 ป a5 เปนราคาที่บริษัทรับซื้อคืนสําหรับรถยนตที่ใชแลว 5 ปโดยที่ a1 = 900,000 และ d = –70,000จาก a5 = a1 + 4d

= 900,000 + 4(–70,000)= 620,000

ดังนั้น เมื่อครบ 5 ป บริษัทที่ขายรถยนตคันนี้จะรับซื้อคืนในราคา 620,000 บาท

15. ให a1 = 52 และ an = 7 โดยที่ d = –1จาก an = a1 + (n – 1)dจะได 7 = 52 + (n – 1)(–1)

53 – n = 7n = 46

ดังนั้น มีไมทั้งหมด 46 ชั้นนั่นคือ ความสูงของไมกองนี้ เทากับ 46 × 3 หรือ 138 เซนติเมตร

Page 58: Basic m5-1-chapter1

51

เฉลยแบบฝกหัด 1.1.4

1. 1) ลําดับ 2, 4, 8, 16, ...อัตราสวนรวมคือ 4

2 = 2

2) ลําดับ 18, 6, 2, 23

, ...

อัตราสวนรวมคือ 618

= 13

3) ลําดับ 75, 15, 3, 35

, ...

อัตราสวนรวมคือ 1575

= 15

4) ลําดับ –8, –0.8, –0.08, –0.008, ...อัตราสวนรวมคือ 0.8

8−−

= 110

5) ลําดับ –1, 1, –1, 1, ...อัตราสวนรวมคือ 1

1− = –1

6) ลําดับ 23

, 43

, 83

, 163

, ...

อัตราสวนรวมคือ 4 23 3÷ =

43

× 32

= 2

7) ลําดับ 1x

, 2

1x

, 3

1x

, ...

อัตราสวนรวมคือ 2

1 1x x

÷ = 2

1x

× x = 1x

8) ลําดับ 5, 5a2

, 25a4

, 35a8

...

อัตราสวนรวมคือ 5a 52÷ = 5a

2× 15

= a2

2. 1) จากลําดับเรขาคณิต 1, 7, 49, 343, ... ที่มี a1 = 1 และ r2 = 7จะได a5 = a1r4 = 74 = 2401

a6 = a1r5 = 75 = 16807a7 = a1r6 = 76 = 117649

ดังนั้น สามพจนถัดไปคือ 2401, 16807, 117649

Page 59: Basic m5-1-chapter1

52

2) จากลําดับเรขาคณิต –1, 2, –4, 8, ... ที่มี a1 = –1 และ r2 = –2จะได a5 = (–1)(–2)4 = –16

a6 = (–1)(–2)5 = 32a7 = (–1)(–2)6 = –64

ดังนั้น สามพจนถัดไปคือ –16, 32, –64

3) จากลําดับเรขาคณิต 3, 1, 13

, 19

, ... ที่มี a1 = 3 และ r = 13

จะได a5 = 413

3

= 127

a6 =513

3

= 181

a7 =613

3

= 1243

ดังนั้น สามพจนถัดไปคือ 127

, 181

, 1243

3. จากลําดับเรขาคณิต 2, 4, 8, 16, ... ที่มี a1 = 2 และ r = 2จาก an = a1rn–1

จะได a9 = 2(2)8

a9 = 512

4. จากลําดับเรขาคณิต 2, –10, 50, –250, ... ที่มี a1 = 2 และ r = –5จาก an = a1rn–1

จะได a11 = 2(–5)10

a11 = 2(510)

5. จากลําดับเรขาคณิต 1, a2

, 2a4

, 3a8

, ... ที่มี a1 = 1 และ r = a2

จาก an = a1rn–1

จะได a10 =9a1

2

=9a

512

Page 60: Basic m5-1-chapter1

53

6. จากลําดับเรขาคณิต 12

, 16

, 118

, 154

, ... ที่มี a1 = 12

และ r = 13

จาก an = a1rn–1

จะได a8 =71 1

2 3

a8 = 14374

7. 1) จากลําดับเรขาคณิต 1, 3, 9, ... ที่มี a1 = 1 และ r = 3จาก an = a1rn–1

จะได an = 1(3)n–1

= 3n–1

2) จากลําดับเรขาคณิต 25, 5, 1, ... ที่มี a1 = 25 และ r = 15

จาก an = a1rn–1

จะได an = 25n 11

5

= 53–n

3) จากลําดับเรขาคณิต 1, –1, 1, –1 ที่มี a1 = 1 และ r = –1จาก an = a1rn–1

จะได an = 1(–1)n–1

= (–1)n–1

4) จากลําดับเรขาคณิต –2, 4, –8, ... ที่มี a1 = –2 และ r = –2จาก an = a1rn–1

จะได an = (–2)(–2)n–1

= (–2)n

Page 61: Basic m5-1-chapter1

54

5) จากลําดับเรขาคณิต 1x

, 21x

, 31x

, ... ที่มี a1 = 1x

และ r = 1x

จาก an = a1rn–1

จะได an =n 11 1

x x

= n1x

6) จากลําดับเรขาคณิต 1, 0.3, 0.09, 0.027, ... ที่มี a1 = 1 และ r = 0.3จาก an = a1rn–1

จะได an = 1(0.3)n–1

= (0.3)n–1

7) จากลําดับเรขาคณิต –8, –0.8, –0.08, –0.008, ... ที่มี a1 = –8 และ r = 110

จาก an = a1rn–1

จะได an = (–8)n 11

10

= n 18

10 −−

8) จากลําดับเรขาคณิต 2, 2 3 , 6, ... ที่มี a1 = 2 และ r = 3

จาก an = a1rn–1

จะได an = 2( 3 )n–1

8. ให a5 = 323

และ r = 2

จะได a1r4 = 323

a1(24) = 323

a1 = 32 13 16×

ดังนั้น พจนแรกของลําดับคือ 23

Page 62: Basic m5-1-chapter1

55

9. ให a3 = 12 และ a6 = 96จะได a3 = a1r2 = 12 ---------- (1)และ a6 = a1r5 = 96 ---------- (2)(2) ÷ (1) จะได r3 = 8

r = 2ดังนั้น อัตราสวนรวมของลําดับนี้คือ 2

10. ให a2 = 38 และ a5 = 64

81

จะได a1r = 83

---------- (1)

และ a1r4 = 6481

---------- (2)

(2) ÷ (1) จะได r3 = 827

r = 23

ดังนั้น อัตราสวนรวมของลําดับนี้คือ 23

11. ให ar

, a, ar เปนสามพจนแรกของลําดับเรขาคณิต

จะได ar

+ a + ar = –3 ---------- (1)

และ ar

(a)(ar) = 8

a3 = 8a = 2

แทน a = 2 ใน (1) จะได 2r

+ 2 + 2r = –32 + 2r + 2r2 = – 3r

2r2 + 5r + 2 = 0(2r + 1)(r + 2) = 0

r = 12

− , –2

Page 63: Basic m5-1-chapter1

56

ถา a = 2, r = 12

− จะไดลําดับเรขาคณิต –4, 2, –1, 12

, ....ถา a = 2, r = –2 จะไดลําดับเรขาคณิต –1, 2, –4, 8, ...เมื่อตรวจสอบคําตอบจะพบวา ลําดับเรขาคณิตขางตนมีผลบวกและผลคูณของสามพจนแรกเทากับ –3 และ 8 ตามลําดับ

12. 1) ให a1 = 5 และ a3 = 20จะได a1r2 = 20

5r2 = 20r = ±2

ถา r = 2 จํานวนที่อยูระหวาง 5 และ 20 คือ 10ถา r = –2 จํานวนที่อยูระหวาง 5 และ 20 คือ –10

2) ให a1 = 8 และ a3 = 12จะได a1r2 = 12

8r2 = 12r = 3

ถา r = 32

จํานวนที่อยูระหวาง 8 และ 12 คือ 4 6

ถา r = 32

− จํานวนที่อยูระหวาง 8 และ 12 คือ 4 6−

13. ลําดับเรขาคณิต 2, –6, 18, ... ที่มี a1 = 2 และ r = –3จาก an = a1rn–1

จะได 162 = 2(–3)n–1

81 = (–3)n–1

(–3)4 = (–3)n–1

n – 1 = 4n = 5

ดังนั้น 162 เปนพจนที่ 5 ของลําดับเรขาคณิต 2, –6, 18, ...

Page 64: Basic m5-1-chapter1

57

14. ในป พ.ศ. 2540 มีประชากร 60,000 คน และแตละปมีประชากรเพิ่มขึ้น 2%ถาเดิมมีประชากร 60000 คน สิ้นปแรกจะมีประชากร 60000 × 1.02 คนถาเดิมมีประชากร 60000 × 1.02 คน สิ้นปจะมีประชากร 60000 × (1.02)2 คนถาเดิมมีประชากร 60000 × (1.02)2 คน สิ้นปจะมีประชากร 60000 × (1.02)3 คนดังนั้น จํานวนประชากรในอีก n ป ขางหนานับจากป พ.ศ. 2540 คือ

60000 × (1.02)n คนในป พ.ศ. 2555 หรืออีก 15 ปตอไป จะมีประชากรเทากับ 60000 × (1.02)15 คน

≈ 80,752 คน

15. 1) ลําดับ 7, 9, 11, 13, ...,เปนลําดับเลขคณิต มีผลตางรวมเปน 2

2) ลําดับ 6, –6, 6, –6, ...,เปนลําดับเรขาคณิต มีอัตราสวนรวมเปน –1

3) ลําดับ 4, 2, 0, –2, ...,เปนลําดับเลขคณิต มีผลตางรวมเปน –2

4) ลําดับ 3, 1, 31 ,

91 , ...,

เปนลําดับเรขาคณิต มีอัตราสวนรวมเปน 13

5) ลําดับ 14

− , 25

− , 12

− , 47

− , ...,ไมเปนทั้งลําดับเลขคณิตและลําดับเรขาคณิต

เฉลยแบบฝกหัด 1.2.1

1. ลําดับเลขคณิต 5, 7, 9, 11, 13, ... มี a1 = 5 และ d = 2จาก Sn = n

2{2a1 + (n – 1)d}

จะได S50 = 502

{2(5) + (50 – 1)2}= 25(108)= 2,700

Page 65: Basic m5-1-chapter1

58

2. ลําดับเลขคณิต 0, 2, 4, 6, 8, ... มี a1 = 0 และ d = 2จาก Sn = n

2{2a1 + (n – 1)d}

จะได S30 = 302

{2(0) + (30 – 1)2}= 15(58)= 870

3. ลําดับเลขคณิต 2, 6, 10, 14, 18, ... มี a1 = 2 และ d = 4จาก Sn = n

2{2a1 + (n – 1)d}

จะได S40 = 402

{2(2) + (40 – 1)4}= 20(160)= 3,200

4. ลําดับเลขคณิต –2, 3, 8, 13, 18, ... มี a1 = –2 และ d = 5จาก Sn = n

2{2a1 + (n – 1)d}

จะได S60 = 602

{2(–2) + (60 – 1)5}= 30(291)= 8,730

5. ลําดับเลขคณิต 5, 2, –1, –4, –7, ... มี a1 = 5 และ d = –3จาก Sn = n

2{2a1 + (n – 1)d}

จะได S75 = 752

{2(5) + (75 – 1)(–3)}

= 752

(–212)= –7,950

Page 66: Basic m5-1-chapter1

59

6. ลําดับเลขคณิต 12

, 1, 32

, 2, 52

, ... มี a1 = 12

และ d = 12

จาก Sn = n2

{2a1 + (n – 1)d}

จะได S50 = 502

{2 12

+ (50 – 1) 12

}

= 25 512

= 12752

7. ลําดับเลขคณิต 13

− , 13

, 1, 53

, 73

, ... มี a1 = 13

− และ d = 23

จาก Sn = n2

{2a1 + (n – 1)d}

จะได S100 = 1002

{2 13

+ (100 – 1) 23

}

= 50 1963

= 98003

8. 1) ลําดับ 6, 9, 12, 15, ..., 99 เปนลําดับเลขคณิต ที่มี a1 = 6 และ d = 3จาก an = a1 + (n – 1)dจะได 99 = 6 + (n – 1)3

n = 32และ S32 = 6 + 9 + 12 + 15 + ... + 99จาก Sn = 1 n

n (a a )2

+

S32 = 322

(6 + 99)= 16 (105)= 1,680

Page 67: Basic m5-1-chapter1

60

2) เนื่องจากลําดับ –7, –10, –13, –16, ..., –109 เปนลําดับเลขคณิตที่มี a1 = –7 และ d = –3จาก an = a1 + (n – 1)d

–109 = (–7) + (n – 1)(–3)จะได n = 35และ S35 = (–7) + (–10) + (–13) + (–16) + ... + (–109)

= 352

{(–7)+(–109)}= 35(–58)= –2030

3) เนื่องจากลําดับ –7, –4, –1, 2, ..., 131 เปนลําดับเลขคณิตที่มี a1 = –7 และ d = 3จาก an = a1 + (n – 1)d

131 = –7 + (n – 1)3จะได n = 47และ S47 = (–7) + (–4) + (–1) + 2 + ... + 131

= 472

{(–7) + 131}= 47(62)= 2914

9. ให a1 = 6, d = 4 และ an = 26จาก an = a1 + (n – 1)d

26 = 6 + (n – 1)4n = 6

จาก Sn = n2

(a1 + an)

จะได S6 = 62

(6 + 26)= 3(32)= 96

Page 68: Basic m5-1-chapter1

61

10. ใหผลบวกของจํานวนเต็มคี่บวก 100 จํานวนแรกเขียนแทนดวยอนุกรม1 + 3 + 5 + 7 + 9 + ... + 199 ซึ่งจะเห็นวา อนุกรมขางตนเปนอนุกรมเลขคณิตที่มีa1 = 1 และ an = 199จาก Sn = n

2(a1 + an)

จะได S100 = 1002

(1 + 199)= 50(200)= 10,000

11. ใหผลบวกของจํานวนเต็มบวก 20 จํานวนแรกที่เปนพหุคูณของ 3เขียนแทนดวยอนุกรม 3 + 6 + 9 + ... + 60จะเห็นวา อนุกรมขางตนเปนอนุกรมเลขคณิตที่มี a1 = 3 และ an = 60จาก Sn = n

2(a1 + an)

จะได S20 = 202

(3 + 60)= 10(63)= 630

12. ใหผลบวกของจํานวนคี่ตั้งแต 17 ถึง 379 เขียนแทนดวยอนุกรม 17 + 19 + 21 + ... + 379จะเห็นวา อนุกรมขางตนเปนอนุกรมเลขคณิต ที่มี a1 = 17 และ d = 2จาก an = a1 + (n – 1)d

379 = 17 + (n – 1)2จะได n = 182จาก Sn = n

2(a1 + an)

จะได S182 = 1822

(17 + 379)= 91(396)= 36,036

Page 69: Basic m5-1-chapter1

62

13. กําหนดให a10 = 20, a5 = 10จะได a1 + 9d = 20 ---------- (1)และ a1 + 4d = 10 ---------- (2)(2) – (1) 5d = 10

d = 2แทนคา d = 2 ใน (1) จะได a1 = 2เพราะวา a7 = 2 + (7 – 1)(2) = 14

a15 = 2 + (15 – 1)(2) = 30จาก Sn = n

2(a1 + an)

เนื่องจากผลบวกพจนที่ 8 ถึง 15 = S15 – S7

= 152

(2 + 30) – 72

(2 + 14)= 15(16) – 7(8)= 184

14. ใหเงินเดือนที่ชายคนนี้ไดรับตั้งแตป พ.ศ. 2540 เขียนแทนดวยลําดับเลขคณิตดังนี้9500, 10200, 10900, 11600, ... ลําดับขางตนเปนลําดับเลขคณิตที่มี a1 = 9500และ d = 700จาก an = a1 + (n – 1)dเมื่อ n = 11จะได a11 = 9500 + (11 – 1)700

= 9500 + 10(700)= 16,500

นั่นคือ ในป พ.ศ. 2550 เขาจะไดรับเงินเดือนเดือนละ 16,500 บาท

Page 70: Basic m5-1-chapter1

63

15. ใหจํานวนเงินที่ทิมเก็บออมตั้งแตวันแรกเขียนแทนดวยอนุกรม1 + 2 + 3 + ... + 30 อนุกรมขางตนเปนอนุกรมเลขคณิตที่มี a1 = 1, a30 = 30จาก Sn = n

2(a1 + an)

S30 = 302

(1 + 30)= 15(31)= 465

นั่นคือ ครบ 30 วัน ทิมมีเงินออมทั้งหมด 465 บาท

เฉลยแบบฝกหัด 1.2.2

1. 1) กําหนดให n = 4, a1 = 3, r = 2จาก Sn =

n1a (r 1)r 1

−−

จะได S4 =43(2 1)2 1

−−

= 3(15)= 45

2) กําหนดให n = 7, a1 = 5, r = 4จาก Sn =

n1a (r 1)r 1

−−

จะได S7 =75(4 1)4 1

−−

= 5(16383)3

= 27305

Page 71: Basic m5-1-chapter1

64

3) กําหนดให n = 9, a1 = –3, r = 5จาก Sn =

n1a (r 1)r 1

−−

จะได S9 =9( 3)(5 1)

5 1− −

= 93 (5 1)4

− −

= –1,464,843

4) กําหนดให n = 11, a1 = –7, r = 3จาก Sn =

n1a (r 1)r 1

−−

จะได S11 =11( 7)(3 1)

3 1− −

= 117 (3 1)2

− −

= –620,011

5) กําหนดให n = 14, a1 = –5, r = –2จาก Sn =

n1a (r 1)r 1

−−

จะได S14 =14( 5)(( 2) 1)]

2 1− − −

− −

= 53

(16383)= 27,305

2. อนุกรมเรขาคณิต 2 + 6 + 18 + 54 + ... มี a1 = 2 และ r = 3จาก Sn =

n1a (r 1)r 1

−−

จะได S9 =92(3 1)3 1

−−

= 19,682

Page 72: Basic m5-1-chapter1

65

3. อนุกรมเรขาคณิต 9 + 12 + 16 + 643

+ ... มี a1 = 9 และ r = 43

จาก Sn =n

1a (r 1)r 1

−−

จะได S8 =849 ( ) 1

34 13

= 8427 ( ) 13

= 58975243

4. อนุกรมเรขาคณิต 2 4 8 16 ...3 9 27 81+ + + + มี a1 = 2

3 และ r = 2

3

จาก Sn =n

1a (r 1)r 1

−−

=n

1a (1 r )1 r−−

จะได S10 =102 2(1 ( ) )

3 3213

= 2(1 – (32 )10)

= 116,05059,049

5. 1) อนุกรมเรขาคณิต 9 + 27 + 81 + ... + 729 มี a1 = 9, r = 3, an = 729จาก an = a1rn–1

จะได 729 = 9(3)n–1

81 = 3n–1

34 = 3n–1

n – 1 = 4n = 5

Page 73: Basic m5-1-chapter1

66

จาก Sn =n

1a (r 1)r 1

−−

จะได S5 =59(3 1)3 1−−

= 9(242)2

= 1,089

2) อนุกรมเรขาคณิต 2 + 8 + 32 + ... + 8192 มี a1 = 2, r = 4, an = 8192จาก an = a1rn–1

จะได 8192 = 2(4)n–1

4096 = 4n–1

46 = 4n–1

n – 1 = 6n = 7

จาก Sn =n

1a (r 1)r 1

−−

จะได S7 =72(4 1)4 1

−−

= 10,922

3) อนุกรมเรขาคณิต 4 + 2 + 1 + ... + 1512

มี a1 = 4, r = 12

, an = 1512

จาก an = a1rn–1

จะได 1512

= 4n 11

2

12048

=n 11

2

1112

=n 11

2

n – 1 = 11n = 12

Page 74: Basic m5-1-chapter1

67

จาก Sn =n

1a (1 r )1 r−−

จะได S12 =1214(1 ( ) )

2112

= 1218(1 )2

= 4095512

4) อนุกรมเรขาคณิต 16 + 8 + 4 + ... + 132

มี a1 = 16, r = 12

, an = 132

จาก an = a1rn–1

จะได 132

= 16n 11

2

1512

=n 11

2

912

=n 11

2

n = 10จาก Sn =

n1a (1 r )1 r−−

จะได S10 =10116(1 ( ) )

2112

= 10132(1 )2

= 102332

Page 75: Basic m5-1-chapter1

68

5) อนุกรมเรขาคณิต 1 + (–2) + 4 + ... + 256 มี a1 = 1, r = –2, an = 256จาก an = a1rn–1

จะได 256 = 1(–2)n–1

28 = (–2)n–1

(–2)8 = (–2)n–1

n – 1 = 8n = 9

จาก Sn =n

1a (1 r )1 r−−

จะได S9 =91(1 ( 2) )

1 ( 2)− −− −

= 171

6) อนุกรมเรขาคณิต (–1) + 3 + (–9) + ... + (–729) มี a1 = –1, r = –3,an = –729จาก an = a1rn–1

จะได –729 = (–1)(–3)n–1

729 = (–3)n–1

36 = (–3)n–1

(–3)6 = (–3)n–1

n = 7จาก Sn =

n1a (1 r )1 r−−

จะได S7 =7( 1)(1 ( 3) )

1 ( 3)− − −

− −

= –546.5

Page 76: Basic m5-1-chapter1

69

6. ใหเงินที่พลเก็บออมตั้งแตวันแรกเขียนแทนดวยอนุกรมเรขาคณิต1 + 2 + 4 + 8 + ... + 214 ที่มี a1 = 1, r = 2, n = 15จาก Sn =

n1a (r 1)r 1

−−

จะได S15 =151(2 1)2 1

−−

= 215 – 1= 32,767

นั่นคือ เมื่อครบ 15 วัน พลจะมีเงินออมทั้งหมด 32,767 บาท

7. ซื้อรถยนตมาในราคา 1,000,000 บาท ในแตละปราคารถยนตคันนี้ลดลง 20%รถยนตราคา 1,000,000 หรือ 106 บาท เมื่อสิ้นป (ครบ 1 ป) ราคารถยนตจะเทากับ6 8010100

× บาท

รถยนตราคา 6 8010100 ×

บาท เมื่อสิ้นป (ครบปที่ 2) ราคารถยนตจะเทากับ2

6 8010100 ×

บาท

รถยนตราคา 2

6 8010100 ×

บาท เมื่อสิ้นป (ครบปที่ 3) ราคารถยนตจะเทากับ3

6 8010100 ×

บาท

ดังนั้น เมื่อครบ 5 ป รถยนตคันนี้มีมูลคาทางบัญชี 5

6 8010100 ×

บาท

=5

6 81010 ×

=6

55

10 810

×

= 510 8×

= 327,680 บาท

Page 77: Basic m5-1-chapter1

70

8. เมื่อวางแผนยอดขายเทากับ 300,000 บาท แตละไตรมาสตองการใหยอดขายเพิ่มขึ้น 3%ยอดขาย 300,000 ครบไตรมาสแรก ยอดขายจะเทากับ 300,000 × 103

100 บาท

ยอดขาย 300,000 ×103100

ครบไตรมาสที่สอง ยอดขายจะเทากับ 300,000× 2103

100

บาท

ยอดขาย 300,000 ×2103

100

ครบไตรมาสที่สาม ยอดขายจะเทากับ 300,000×3103

100

บาท

ดังนั้น เมื่อครบ 2 ป (8 ไตรมาส) ยอดขายจะเทากับ 300,000 × 8103

100

บาท

≈ 300,000 × (1.26677)≈ 380,031

9. ถังน้ําจุ 5,832 ลิตร แตละวันจะใชน้ําไป 13

ของปริมาณน้ําในถังที่มีอยู

วันแรกมีน้ํา 5832 ลิตร เมื่อใชน้ําแลวมีน้ําเหลืออยู 5832 × 23

ลิตร

วันที่สองมีน้ํา 5832 × 23

ลิตร เมื่อใชน้ําแลวมีน้ําเหลืออยู 5832 × 22

3

ลิตร

วันที่สามมีน้ํา 5832 × 22

3

ลิตร เมื่อใชน้ําแลวมีน้ําเหลืออยู 5832 × 32

3

ลิตร

ดังนั้น เมื่อครบ 6 วัน จะมีน้ําเหลืออยูในถัง 5832 × 62

3

ลิตร = 512 ลิตร

10. ถังใบหนึ่งมีน้ําอยู 20 ลิตร ตักน้ําออกจากถังครึ่งหนึ่ง แลวแทนดวยของเหลวจากนั้นตักน้ําที่มีสวนผสมของของเหลวออกมาครึ่งถัง แสดงวาแตละครั้งเมื่อตักแลวปริมาณน้ําจะลดลง 50%เดิมมีน้ํา 20 ลิตร ตักน้ําออกจากถังครั้งที่ 1 จะมีน้ําเหลืออยู 20 × 1

2 ลิตร

เดิมมีน้ํา 20 × 12

ลิตร เมื่อตักออกครั้งที่ 2 จะมีน้ําเหลืออยู 20 × 21

2

ลิตร

เดิมมีน้ํา 20 × 12ลิตร เมื่อตักออกครั้งที่ 3 จะมีน้ําเหลืออยู 20 ×

312

ลิตร

ดังนั้น เมื่อครบ 8 ครั้ง จะมีน้ําเหลืออยูในถัง 20 × 81

2

ลิตร = 564

ลิตร