Top Banner
การผลิตวัคซีนและวิธีการใช วัคซีน (Vaccine) หมายถึงสารที่ใหเขาไปในรางกายแลวสามารถชักนําหรือกระตุนใหรางกายสราง ภูมิคุมกันโรคที่จําเพาะตอสารนั้น ชนิดของวัคซีน (Types of Vaccine) ปจจุบันแบงวัคซีนไดออกเปน 2 ชนิด คือ 1. วัคซีนชนิดชีววิทยา ( Biological types of vaccine) 2. วัคซีนชนิดชีวเคมี (Biological types of vaccine) 1. วัคซีนชนิดชีววิทยา ( Biological types of vaccine) แบงออกไดเปน 3 ชนิด คือ 1.1 วัคซีนที่เตรียมจากเชื้อที่ยังมีชีวิตหรือวัคซีนเชื้อเปน (Living antigen vaccine หรือ live attenuated vaccine) วัคซีนชนิดนี้เปนวัคซีนที่เตรียมจากเชื้อหรือจุลชีพที่ยังมีชีวิตซึ่งถูกนํามาทําใหหมดคุณสมบัติ ในการกอโรค โดยอาจใชความรอน สารเคมีในระดับที่ไมทําใหเชื้อนั้นตายหรือการลดความรุนแรงของ เชื้อนั้น 1.2 วัคซีนที่เตรียมจากเชื้อที่ตายแลวหรือวัคซีนเชื้อตาย (Non-living antigen vaccine หรือ Killed vaccine หรือ Inactivated vaccine) วัคซีนชนิดนี้เปนวัคซีนที่เตรียมจากเชื้อหรือจุลชีพที่ตายแลว โดย อาจใชความรอน สารเคมีหรือสวนประกอบของเชื้อที่ไมสามารถเพิ่มจํานวนในรางกายได 1.3 Toxoid เปนวัคซีนที่ทําจาก toxin ของแบคทีเรียที่ทําใหออนฤทธิ์ลงแลว เหมาะกับโรคที่ทําใหเกิด toxin เชน tetaus toxoid 2. วัคซีนชนิดชีวเคมี (Biological types of vaccine) 2.1 Component Vaccines เปนวัคซีนที่ผลิตจากเชื้อแบคทีเรียที่ประกอบดวยสวนสําคัญที่เกี่ยวของกับ ภูมิตานทานตอจุลชีพนั้นๆ ทําใหรางกายตอบสนองไดอยางจําเพาะมากขึ้น เชน surface antigen ของ hepatitis B virus เปนตน 2.2 Subunit Vaccines เปนวัคซีนที่ผลิตจากเชื้อไวรัสที่เปนสวนสําคัญในการกระตุนใหเกิดความตานทาน เชน Subunit influenza vaccine 2.3 Synthetic Vaccines เปนวัคซีนสังเคราะหจากการเรียงตัวกันของ amino acid ที่สําคัญในการสราง ภูมิคุมกันตอจุลชีพบน polypeptide chain เชน Hepatitis B surface antigen produces in yeast 2.4 Recombinant Vaccine เปนวัคซีนที่ผลิตจากเชื้อไวรัสโดยการตัดเอา gene หรือ DNA ของจุลชีพทีสรางแอนติเจนมาตอเขาใน DNA ของเซลลอื่นๆ เพื่อใสรางแอนติเจนนั้นๆ แลวจึงนํามาทําใหบริสุทธิกอนมาทําเปนวัคซีน เชน Hepatitis ในคน Pseudorabies vaccine
28

การผลิตวัคซีนและว ิธีการใช · vaccine, live viral vaccine และ component vaccine โดย Recombinant DNA technique...

Aug 23, 2020

Download

Documents

dariahiddleston
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: การผลิตวัคซีนและว ิธีการใช · vaccine, live viral vaccine และ component vaccine โดย Recombinant DNA technique แสดงในรูปที่

การผลิตวัคซีนและวิธีการใช

วัคซีน (Vaccine) หมายถึงสารที่ใหเขาไปในรางกายแลวสามารถชักนําหรือกระตุนใหรางกายสรางภูมิคุมกันโรคที่จําเพาะตอสารนั้น

ชนิดของวัคซีน (Types of Vaccine) ปจจุบันแบงวัคซีนไดออกเปน 2 ชนิด คือ 1. วัคซีนชนิดชีววิทยา ( Biological types of vaccine) 2. วัคซีนชนิดชีวเคมี (Biological types of vaccine)

1. วัคซีนชนิดชีววิทยา ( Biological types of vaccine) แบงออกไดเปน 3 ชนิด คือ 1.1 วัคซีนที่เตรียมจากเชื้อที่ยังมีชีวิตหรือวัคซีนเชื้อเปน (Living antigen vaccine หรือ live attenuated

vaccine) วัคซีนชนิดนี้เปนวัคซีนที่เตรียมจากเชื้อหรือจุลชีพที่ยังมีชีวิตซึ่งถูกนํามาทําใหหมดคุณสมบัติในการกอโรค โดยอาจใชความรอน สารเคมีในระดับที่ไมทําใหเชื้อนั้นตายหรือการลดความรุนแรงของเชื้อนั้น

1.2 วัคซีนที่เตรียมจากเชื้อที่ตายแลวหรือวัคซีนเชื้อตาย (Non-living antigen vaccine หรือ Killed vaccine หรือ Inactivated vaccine) วัคซีนชนิดนี้เปนวัคซีนที่เตรียมจากเชื้อหรือจุลชีพที่ตายแลว โดยอาจใชความรอน สารเคมีหรือสวนประกอบของเชื้อที่ไมสามารถเพิ่มจํานวนในรางกายได

1.3 Toxoid เปนวัคซีนที่ทําจาก toxin ของแบคทีเรียที่ทําใหออนฤทธิ์ลงแลว เหมาะกับโรคที่ทําใหเกิด toxin เชน tetaus toxoid

2. วัคซีนชนิดชีวเคมี (Biological types of vaccine) 2.1 Component Vaccines เปนวัคซีนที่ผลิตจากเชื้อแบคทีเรียที่ประกอบดวยสวนสําคัญที่เกี่ยวของกับ

ภูมิตานทานตอจุลชีพนั้นๆ ทําใหรางกายตอบสนองไดอยางจําเพาะมากขึ้น เชน surface antigen ของ hepatitis B virus เปนตน

2.2 Subunit Vaccines เปนวัคซีนที่ผลิตจากเชื้อไวรัสที่เปนสวนสําคัญในการกระตุนใหเกิดความตานทาน เชน Subunit influenza vaccine

2.3 Synthetic Vaccines เปนวัคซีนสังเคราะหจากการเรียงตัวกันของ amino acid ที่สําคัญในการสรางภูมิคุมกันตอจุลชีพบน polypeptide chain เชน Hepatitis B surface antigen produces in yeast

2.4 Recombinant Vaccine เปนวัคซีนที่ผลิตจากเชื้อไวรัสโดยการตัดเอา gene หรือ DNA ของจุลชีพที่สรางแอนติเจนมาตอเขาใน DNA ของเซลลอื่นๆ เพื่อใสรางแอนติเจนนั้นๆ แลวจึงนํามาทําใหบริสุทธิ์กอนมาทําเปนวัคซีน เชน Hepatitis ในคน Pseudorabies vaccine

Page 2: การผลิตวัคซีนและว ิธีการใช · vaccine, live viral vaccine และ component vaccine โดย Recombinant DNA technique แสดงในรูปที่

2

ตารางที่ 1 แสดงชนดิของวัคซีนที่ใชในสตัว

ขบวนการผลิตวัคซีน การผลิตวัคซีนแตละชนิดจะขึ้นกับชนิดของวัคซีนที่ตองการ ขบวนการผลิตวัคซีนชนิด inactivated vaccine, live viral vaccine และ component vaccine โดย Recombinant DNA technique แสดงในรูปที่ 1,2 และ 3 1. วัสดุที่ใชผลิตวัคซีน ก. สายพันธของเชื้อที่นํามาเตรียมวัคซีน (Vaccine Strain) เปนวัคซีนเฉพาะโรคที่แยกไดจากผูปวยหรือสัตวปวยที่นํามาวิเคราะหหาประสิทธิภาพในการเปนแอนติเจน (antigenictiy) หรือแอนติบอดีที่พบในเลือด เชื้อที่นํามาทําเปนวัคซีนเชื้อเปนจะเก็บไวและถายเทไดไมเกิน 5 ครั้ง สําหรับเชื้อมาตรฐานชนิด recombinant DNA vaccine จะเรียกวา master-cell-bank ซึ่งเปน cloned recombinant DNA ที่มี viral antigen ใน DNA ที่ผานการควบคุมคุณภาพแลว ข. อาหารเลี้ยงเซลลและสัตวที่ใชในการเตรียมวัคซีน เชื้อกอโรคจะตองเลี้ยงใหมีปริมาณมากพอในการผลิตวัคซีน อาหารเลี้ยงเชื้อจะไดจากการสังเคราะหการเพาะเลี้ยงเชื้อ (cell cuture) หรือเซลลสัตวที่ใชเล้ียงเชื้อไวรัสซ่ึงตองผานการควบคุมคุณภาพ โดยเฉพาะเซลลสัตวจะตองไมมีเชื้อจุลชีพปนเปอน ไมส่ียงตอการมี wild virus และ tumorigenic mutation ซึ่งไมเหมาะในการนําไปผลิตวัคซีน ปจจุบันมีการนําเซลลของโฮสตมาเล้ียงภายใตสภาวะที่เหมาะสม เชน live varicelle vaccine ที่ผลิตจาก human diploid cell line ทั้งนี้ cell line ที่ใชจะตองผานการถายเทเชื้อไมเกิน 30 ครั้ง ไมมี chromosomal mutation และ tumorigenictiy อาหารเลี้ยงเซลลจะตองมี fetal calf serum และ trypain ที่ไดจากตับออนของหมู ซึ่งอาจจะปนเปอนไวรัสจึงตองทดสอบและควบคุมคุณภาพกอนทุกครั้ง เพราะยังไมมีวิธีการทําลายหรือกําจัดเชื้อในขบวนการผลิต 2. การเพาะเลี้ยงเซลล (Cell culture) เซลลสัตวหลายชนิดที่นํามาใชในการผลิตไวรัสวัคซีนอาจมีการปนเปอนของเชื้อดังนั้นจึงตองเติมยาปฏิชีวนะ ลงใน อาหารเลี้ยงเชื้อในปริมาณ 0.0001% w/u เพื่อหลีกเลี่ยงการปนเปอนของเชื้อแบคทีเรียในเซลลที่เพาะเลี้ยง 3. การทําใหบริสุทธิ์ (Purification)

Page 3: การผลิตวัคซีนและว ิธีการใช · vaccine, live viral vaccine และ component vaccine โดย Recombinant DNA technique แสดงในรูปที่

3

วัคซีนทําใหบริสุทธิ์ไดโดยการกําจัดสารอื่นๆ เชน host cell component หรือ media component เพื่อลดผลขางเคียงของวัคซีน การกําจัดเซลลของโฮสตออกจากวัคซีนเชื้อเปน อาจทําโดยการกรอง นําไปปนเหวี่ยง ถาเปนวัคซีนเชื้อตายที่ผลิตจากไขไกฟก (chick embryos) หรือ สมองหนู (mouse brains) จะตองผานขั้นตอนในการทใหบริสุทธิ์หลายๆ ครั้ง โดยการตกตะกอนดวยเหลือ, ethanol, gradient centrifugation, กรอง หรือใชหลายๆ วิธีรวมกัน เนื่องจากการเตรัยมวัคซีนจากสัตวมักมีปญหาในเรื่องการปนเปอนของจุลชีพของเชื้ออื่น ดังนั้นวัคซีนที่เตรียมไดควรมีการทดสอบการปนเปอนและควบคุมคุณภาพเพื่อใหไดวัคซีนที่บริสุทธิ์มากขึ้น การเตรียม component vaccine ไดจากการพัฒนาขบวนการแยก การทําใหบริสุทธิ์ และการวิเคราะหในระหวางขบวนการผลิต ถาสามารถแยก protective antigens ออกมาไดจะทําใหไดวัคซีนที่มีผลขางเคียงนอยลง เชน acellular pertussis vaccine ซึ่งมีแอนติเจนที่สามารถลดการเกิดไขไดมาก Recombinant technique ใชในการแยก DNA coding ของแอนติเจนที่สนใจมาแทรกลงไปใน plasmid ของเซลลอื่น เชน แบคทีเรีย ยีสต เพื่อใหสรางโปรตีนที่ตองการ การทํา gene cloning เพื่อสรางแอนติเจนสําหรับวัคซีนปองกันโรคปากเปอยเทาเปอย แอนติเจนที่ตองการคือ VP1 โดยการ map ยีนที่มีรหัสสําหรับแอนติเจน VP1 แลวแยก RNA genome ของเชื้อไวรสัชนิดนี้เพื่อ transoribe เขาไปใน DNA โดยใชเอนไซม reverse transcriptase gene ตัดสาย DNA ออกดวยเอ็นไซม restrictionendonuclease เพื่อใหมีเฉพาะยีนสําหรับ VP1 แลวนําไปใสใน plasmid ของ E. coli ไดแบคทีเรียที่เรียกวา recombinant bacteria แลวนําไปอบในอาหารเลี้ยงเชื้อเพื่อใหสังเคราะห VP1 ใหมีปริมาณมากพอที่จะนํามาทําใหบริสุทธิ์เพียวพอที่จะนํามาเตรียมเปนวัคซีน อยางไรก็ตามประสิทธิภาพในการทําใหเกิดภูมิคุมกันที่เตรียมไดจากวิธีนี้จะต่ํากวาวัคซีนที่เตรียมจากไวรัสเชื้อตาย ปจจุบันวัคซีนสัตวที่มีจําหนายในรูป recombinant vaccine ไดแก feline leukemia virus (FeLV) โปรตีนที่หุมไวรัส FeLV เปนชนิด gp70 (glycoprotein 70kDa) สรางภูมิคุมกันแมว เตรียมโดยนํายีน gp70 รวมกับ linked protein ชนิด p15E

หลักทั่วไปสําหรับการตรวจสอบคุณภาพวัคซีนที่ใชในสัตว 1. การตรวจสอบคุณสมบัติทั่วไป (Property test) เปนการตรวจสอบคุณสมบัติทางกายภาพของวัคซีนและภาชนะบรรจุ เชน การตรวจสภาพขวดวัคซีน สัของวัคซีน เนื้อชีวภัณฑ ส่ิงแปลกปลอมในขวด กล่ิน pH และ การละลาย 2. การตรวจสอบสภาพสุญญากาศ (Vacuum extent test) ถาอากาศภายในขวดที่บรรจุวัคซีนชนิดทําแหง (freeze-dried vaccines) มีความชื้นสูง เนื่องจากภายในขวดบรรจุไมเปนสุญญากาศ เนื้อวัคซีนจะฝอและเก็บรักษาไดไมนาน ดังนั้นวัคซีนที่ผลิตจึงตองถูกตรวจสภาพความเปนสุญญากาศดวยเครื่องตรวจสอบสุญญากาศ (vacuum treasure) ที่มีความดี่คล่ืนสูง ขวดตัวอยางที่ภายในมีสภาพเปนสุญญากาศจะเรืองแสงสีมวง/เขียวออน 3. การตรวจสอบปริมาณความชื้น (Moisture content) วัคซีนชนิดทําแหงจะตองมีปริมาณความชื้นไมเกิน 4% การตรวจหาปริมาณความชื้นในวัคซีนทําแหงโดยวิธีไตเตรชันหาปริมาณน้ํามีอยูในวัคซีนดวยน้ํายา Karl Firscher ในเครื่องครวจหาความชื้น แลวนําคา Karl Fischer ที่ไดไปคํานวณหาปริมาณความชื้น 4. สภาพการคงตัว (Homogenicity)

Page 4: การผลิตวัคซีนและว ิธีการใช · vaccine, live viral vaccine และ component vaccine โดย Recombinant DNA technique แสดงในรูปที่

4

4.1 วัคซีนทําแหงตองเปนของแข็งคงรูป (Solid friable pellet ) และเมื่อละลายดวยน้ํายาเจือจาง วัควินที่ไดตองเขาเปนเนื้อเดียวกัน 4.2 วัคซีน ชนิดน้ํามัน (oil emulsion) ควรมีสภาพเปนเนื้อเดียวกันเมื่อเขยา 5. การตรวจสอบเชื้อปนเปอน (Sterility test) 5.1 การสุมตัวอยาง (Sample size) สุมตัวอยางวัคซีนที่ผลิตขึ้นในแตละ lot จํานวน 1% ของจํานวนที่ผลิตอยางนอย 3 ขวด แตไมเกิน 10 ขวด ถาเปนวัคซีนชนิดน้ํามัน Oil adjuvant vaccine) ใหทําการทดสอบดวยอาหารเลี้ยงเชื้อที่ผสม 1% TritonX-100 เพื่อ emulsify น้ํามัน 5.2 การตรวจสอบเชื้อแบคทีเรีย (Test for bacterial) 5.2.1 อาหารเลี้ยงเชื้อ (Culture media)

a) Thioglycollate Broth (TB) b) Soybean Casein Digest Broth c) Trypticase soy broth (TSB)

5.2.2 สภาพการเพาะเลี้ยง (Culture conditions) ละลายวัคซีนตามขอแนะนําการใชัวัคซีนนั้นๆ และนําตัวอยางไมนอยกวา 1 มิลลิลิตร ใสลงในอาหารเลี้ยงเชื้อเหลวและในปริมาณไมควรเกิน 10% ของปริมาตรอาหารเลี้ยงเชื้อนําไปอบที่อุณหภูมิ 30-37 C อยางนอย 7 วัน สวน TSB ควรอบภายใตสภาพที่ปราศจากออกซิเจน (anaerorbic conditions) สารชีววัตถุที่ใหเขาสูรางกายโดยวิธีที่ไมใชการฉีด (non-parenteral biologic) ควรใช Heart infusion Agar เปนอาหารเลี้ยงเชื้อเพื่อตรวจสอบ 5.2.3 การอานผล สารชีววัตถุไมควรมีแบคทีเรียปนเปอน หรือถาเปนสารชีววัตถุใหเขาสูรางกายโดยวิะที่ไมใชการฉีด อาจมีกลุม saprophytic bacteria ไมเกิน 1 โคโลนีตอขนาดที่ให

Page 5: การผลิตวัคซีนและว ิธีการใช · vaccine, live viral vaccine และ component vaccine โดย Recombinant DNA technique แสดงในรูปที่

5

รูปที่ 1 การผลติวัคซีนเชื้อเปนจากไวรัส ( Live viral Vaccine )

Page 6: การผลิตวัคซีนและว ิธีการใช · vaccine, live viral vaccine และ component vaccine โดย Recombinant DNA technique แสดงในรูปที่

6

รูปที่ 2 การผลิต Inactivated Vaccine หรือ Toxoids

Page 7: การผลิตวัคซีนและว ิธีการใช · vaccine, live viral vaccine และ component vaccine โดย Recombinant DNA technique แสดงในรูปที่

7

รูปที่ 3 การผลิต Cecombinent Vaccine โดยใช recombinant DNA techniques

Page 8: การผลิตวัคซีนและว ิธีการใช · vaccine, live viral vaccine และ component vaccine โดย Recombinant DNA technique แสดงในรูปที่

8

รูปแบบของวัคซีน วัคซีนปองกันโรคตางๆ ที่ใชในสัตวมี 2 ชนิด คือ

1. วัคซีนบรรจุขวดชนิดน้ําพรอมฉีด วัคซีนชนิดนี้กอนใชตองเขยาขวดเพื่อใหวัคซีนผสมเปนเนื้อเดียวกันกอนฉีดใหสัตว เชนวัคซีนแบลคเลค (Black Leg), วัคซีนปองกันโรคพิษสุนัขบา (Rabies Vaccine) เปนตน

2. วัคซีนชนิดที่ตองผสมกอนใช วัคซีนชนิดนี้จะมี 2 สวนแยกขวดกัน คือสวนที่เปนวัคซีนซ่ึงจะมีลักษณะแหงเปนผงหรือกอนและน้ํายาละลาย ซ่ึงตองผสมใหเขากันกอนฉีดใหสัตว เชนวัคซีนอหิวาตสุกร ( Lapinized Swine Fever Vaccine), วัคซีนรวม 5 โรค (Canine Coronavirus Vaccine) เปนตน

รูปที่ 9 วัคซีนบรรจุขวดชนิดน้ําพรอมฉีด รูปที่ 10 วัคซีนชนิดทีต่องผสมกอนใช

การเก็บรักษาวัคซีน โดยทั่วไปควรเก็บวัคซีนไวที่ 5±1 องศาเซลเซียส ในภาชนะที่ปองกันแสง ในทางปฏิบัติไมควรเก็บวัคซีนทุกชนิดโดยการแชแข็ง ยกเวนในกรณีที่ผูผลิตระบุไว

วิธีการใหวัคซีนในสัตว (Route of Injection) วิธีการใหวัคซีนในสัตวโดยทั่วไปสามารถฉีดเขาไดหลายตําแหนงเชน ฉีดเขากลาม

(Interamuscular ,I/M), ฉีดเขาใตผิวหนัง (Intrasubcutanous,I/S), ฉีดเขาหนัง (Intradermal, (I/D) และฉีดเขาเสนเลือด (Intravenous, I/V) โค กระบือ สุกร

1. การฉีดวัคซีนเขากลามเนื้อ มักจะฉีดบริเวณที่มีกลามเนื้อที่มีไขมันนอยหรือบริเวณกลามเนื้อหนาๆ สวนมากนิยมฉีด 2 บริเวณ คือ 1.1 บริเวณที่เห็นเปนสามเหลี่ยมที่คอใตสันกระดูกดานหนาของขาหนาดานซายหรือขวา 1.2 บริเวณตะโพกที่ขาหลังดานซายหรือขวา

2. การฉีดวัคซีนเขาใตผิวหนัง มักจะฉีดบริเวณที่มีการเคลื่อนไหวมากๆ สวนมากฉีด 2 บริเวณ คือ 2.1 บริเวณที่เห็นเปนสามเหลี่ยม ที่คอใตสันกระดูกดานหนาของขาหนาดานซายหรือขวา 2.2 บริเวณดานหลังของขาหนาดานซายหรือขวา

รูปที่ 4 ตําแหนงที่ฉดีวัคซีนใหโค กระบือ

Page 9: การผลิตวัคซีนและว ิธีการใช · vaccine, live viral vaccine และ component vaccine โดย Recombinant DNA technique แสดงในรูปที่

9

รูปที่ 5 ตําแหนงที่ฉีดวัคซีนใหสกุร

สัตวปก การใหวัคซีนในสัตวปกมี 5 วิธี คือ

1. การผสมน้ําใหสัตวดื่ม กอนใหวัคซีนควรงดการใหน้ําด่ืมแกสัตวอยางนอย 2 ช่ัวโมงกอนใหวัคซีน 2. การพน (Aerosol spray) ทําไดโดยทําการเจือจางวัคซีนดวยน้ําบริสุทธิ์แลวนําไปฉีดพนใหทั่วตัวสัตว 3. การใหโดยการหยอดจมูก (Intranasal) หรือหยอดตา (Intraocular) ทําไดโดยเจือจางวัคซีนใหไดความ

เขมขนที่ตองการกอนนําไปหยอด

รูปที่ 6 การใหวัคซีนโดยการหยอดจมูกในสัตวปก

4. การฉีด สามารถฉีดเขาไดที่กลามเนื้อหนาขาหรือที่บริเวณคอดานหลังของสัตวปกหรือฐานคอ และฉีดเขาใตผิวหนังซ่ึงแลวแตชนิดของวัคซีนถาเปนสารละลายสามารถฉีดเขาใตผิวหนัง

รูปที่ 7 การใหวัคซีนโดยการฉีดในสัตวปก

Page 10: การผลิตวัคซีนและว ิธีการใช · vaccine, live viral vaccine และ component vaccine โดย Recombinant DNA technique แสดงในรูปที่

10

5. การแทงปกหรือเทา กรณีนี้จะใชกับวัคซีนฝดาษไก (Fowl pox vaccine) โดยการจุมเข็มลงในวัคซีนแลวแทงใต

ปกไกโดยไมใหถูกเสนเลือด กระดูก กลามเนื้อหรือขน การใหวัคซีนที่เทามักใชกับ Duck virus hepatitis โดยการแทงเข็มเขาไปที่พังผืดของตีนเปดแลวคอยๆ ดึงออกมาอยางชาๆ

รูปที่ 8 การใหวคัซีนโดยการแทงปกในสัตวปก

ขอควรปฏิบัติกอนการทําวคัซีนในสัตว

1. ศึกษารายละเอียดการใชวัคซีนตางๆ - โปรแกรม ควรใหวัคซีนตามคําแนะนําของสัตวแพทยเทานั้น โดยเฉพาะอยางยิ่งในกรณีทีม่ีโรคระบาดเกิดขึ้น

แลวหรือเกิดโรคระบาดในบริเวณใกลเคียง สวนมากแลวสัตวจะมีความคุมโรคไดภายหลังการทําวัคซีนประมาณ 15 วัน และควรใหวัคซีนซํ้าเมื่อหมดระยะความคุมโรคของวัคซีนแตละชนิด

- ขนาดและวิธีใช ควรใหวัคซีนในขนาดและครบตามขนาดที่กําหนดไว - ขอหามและขอควรระวัง อยาใหวัคซีนถูกความรอนและแสงแดดและวัคซีนที่เหลือจากการใชควรทิ้งเสีย เพื่อ

หลีกเลี่ยงการปนเปอนดวยเชื้อโรคอื่น ซ่ึงจะทําใหคุณภาพวัคซีนลดลงและเปนอันตรายในการนําไปใชในครั้งตอไปนอกจากนั้นไมควรใหวัคซีนในสัตวที่จะนําไปฆา

2. ตรวจสอบวัคซีนกอนใช - สภาพของวัคซีน ตองใชวัคซีนกอนวันหมดอายุที่ระบุไวขางขวด - วันหมดอายุของวัคซีน ไมควรนําวัคซีนที่เสื่อมสภาพ หมดอายุ มีการปนเปอน หรือสีของวัคซีนเปลี่ยนไปมา

ใช - การเก็บรักษาวัคซีน ศึกษารายละเอียดการเกบรักษาและการทําวัคซีนตามคําแนะนําเฉพาะของวัคซีนแตละ

ชนิด เพื่อใหวัคซีนมีประสิทธิภาพดีที่สุดและสามารถเก็บรักษาไดนาน 3. การเตรียมอุปกรณและการเตรียมสัตว

- อุปกรณการฉีดตองสะอาดปราศจากเชื้อ ขวดบรรจุวัคซีนหรือภาชนะที่ใชในการผสมวัคซีนเมื่อใชควรตมหรือเผากอนทําลายเช้ือกอนทิ้ง โดยเฉพาะวัคซีนที่เปนเช้ือเปน

- ตรวจสุขภาพทั่วไปของสัตว ควรทําวัคซีนใหแกสัตวที่มีสุขภาพแข็งแรง และไมเปนโรคเทานั้นเพื่อใหสัตวมีความสมบูรณพอที่จะสรางภูมิตานทานโรคแตละชนิด

- ระมัดระวังการจับสัตวและการควบคุมสัตว 4. การเตรียมวัคซีน

- วัคซีนเช้ือตายตองเขยาขวดกอนใชทุกครั้ง - วัคซีนเช้ือเปนจะตองไมถูกความรอนและแสงแดดโดยตรง - วัคซีนทําแหงตองผสมน้ํายาและละลายเขยาใหเขากัน - วัคซีนเช้ือเปนละลายน้ํากินตองลางใหสะอาดไมมีสารคลอรีน

Page 11: การผลิตวัคซีนและว ิธีการใช · vaccine, live viral vaccine และ component vaccine โดย Recombinant DNA technique แสดงในรูปที่

11

- ควรทําความสะอาดทุกขั้นตอนในการแทงเข็มดูดน้ํายาวัคซีน 5. ขอปฏิบัติขณะฉีด

- ควรฉีดเขารางกายตามคําแนะนํา - ความฉีดปริมาณวัคซีนตามคําแนะนํา - ควรทําความสะอาดบริเวณฉีด - ควรเปลี่ยนเข็มทุกครั้งเมื่อมีฉีดสัตวตัวตอไป - ขวดที่บรรจุวัคซีนทั้งเช้ือเปน เช้ือตาย ไมควรตั้งทิ้งไวใหถูกแสงแดดโดยตรง - ควรใชใหหมดภายใน1-2 ช่ัวโมง โดยเฉพาะวัคซีนแบบที่ตองผสมน้ํายาละลายเมื่อผสมแลวตองใชใหหมด

ภายใน 2 ช่ัวโมง ระหวางนั้นตองเก็บไวในกระติกน้ําแข็ง 6. ขอควรระวงัหลงัการฉีด

- หลังการฉีดควรใหสัตวไดพัก เพื่อสังเกตอาการหลังการฉีดประมาณ ครึ่งถึงหนึ่งช่ัวโมง เตรียมยาแกแพไวใหพรอมอยูเสมอ สตัวบางตัวอาจเกิดอาการแพหลังฉีดวัคซีน ดังนั้นจึงควรรอสังเกตอาการภายหลังฉีดวัคซีนแลวประมาณ 30 นาที ถาเกิดอาการแพขึ้นใหรักษาโดยใช Adrenaline และ Antihistamine

ตัวอยางผลิตภัณฑวัคซีนที่ใชกับสัตว

Equine Influenza Vaccine Fluvac Innovator - Pro Vet EEFT Equine Influenza Vaccine Killed Virus INDICATIONS: Fluvac Plus is recommended for vaccination of healthy horses, 9 months of age or older, as an aid in the prevention of equine influenza due to types A1 and A2 viruses. COMPOSITION: This vaccine is prepared with types A1and A2 (Kentucky 92) equine influenza viruses. Fluvac Plus is grown and prepared on a stable cell line substrate. The MetaStim™ adjuvant is added to enhance the immune response and to promote the proper rate of absorption following inoculation. ADMINISTRATION AND DOSAGE: Horses, inject one 1 mL dose intramuscularly using aseptic technique. Administer a second 1 mL dose 2 to 4 weeks after the first dose.

Tetanus Antitoxin For cattle, sheep and swine. Can be used as a treatment for Tetanus or to give immediate but temporary protection to animals recently exposed. Should not be confused with tetanus toxoid. Anaphylactoid reactions may occur. Antidote

Page 12: การผลิตวัคซีนและว ิธีการใช · vaccine, live viral vaccine และ component vaccine โดย Recombinant DNA technique แสดงในรูปที่

12

A combination vaccine "The Puppyshot" A combination vaccine for immunizing puppies and dogs against canine distemper, hepatitis, corona virus, parainfluenza, parvovirus and respiratory disease caused by adenovirus type 2. Contains killed corona virus and modified live distemper, parainfluenza, parvovirus and adenovirus type 2. Administer subcutaneously or intramuscularly.

Feline Leukemia Vaccine

Initially it is given to kittens after 9 weeks of age, and reboostered 2-4 weeks later. If the second vaccine in the 2 vaccine series is given greater than 4 weeks after the first, an additional vaccine needs to be administered 2-3 weeks later. After the initial series, yearly boosters are given. If your cat goes outside frequently, we recommend yearly FeLV testing along with vaccination.

Tetradog Descripción Vacunación asociada de los perros contra Parvovirosis, Moquillo, Hepatitis, Tos de las perreras y Leptospirosis. Beneficios Esta vacuna resulta particularmente indicada en todas aquellas condiciones en las cuales por la situación epidemiológica se hace aconsejable aumentar la protección contra las cinco enfermedades. Dosificación 1 ml por vía subcutánea o intramuscular. Vacunar a partir de la 7ma semana de edad, y reforzar a las 3-4 semanas después. Aplicar refuerzos anuales. En caso de riesgo importante, revacunar cada 6 meses. Método de aplicación Inyectable. Presentaciones Caja por 10 dosis de TRIVIROVAC y 10 dosis de LEPTODOG. Restricciones de uso Se recomienda no vacunar a hembras gestantes. Almacenamiento Entre 2º C y 8º C. Proteger de la luz. No congelar. Consulte a su veterinario para mayor información.

Page 13: การผลิตวัคซีนและว ิธีการใช · vaccine, live viral vaccine และ component vaccine โดย Recombinant DNA technique แสดงในรูปที่

13

Parvovirus vaccine

Descripción Previene la enfermedades causadas por el parvovirus y el coronavirus canino. Dosificación 1 ml por vía subcutánea o intramuscular. Vacunar a los cachorros desde la 7ta semana de vida, y repetir cada 2 - 4 semanas hasta las 16 - 18 semanas de vida, luego revacunar una vez al año. Método de aplicación Inyectable. Presentaciones Caja conteniendo 25 dosis liofilizadas y 25 ampollas diluyente. Restricciones de uso Se recomienda no vacunar a hembras gestantes. Almacenamiento 0Entre 2º C y 8º C. Proteger de la luz. No congelar. Consulte a su veterinario para mayor información.

วัคซีนโรคปากและเทาเปอย (FOOT AND MOUTH DISEASE VACCINE) สวนประกอบของวัคซีน : วัคซีนประกอบดวยเชื้อไวรัสที่เพาะเลี้ยงไดนํามาทําใหหมดฤทธิ์ (Inactivated) ดวย B.E.I. ที่อุณภูมิและระยะเวลาที่กําหนด ทําใหยังคงมีคุณสมบัติสรางภูมิคุมโรคได ผสมกับอลูมิเนียมเยล, ซาโปนิน, และไกรโคคอลบับเฟอร เพื่อทําใหการดูดซึมเขาสูรางกายชา ๆ และกระตุนใหสรางภูมิคุมโรคไดดี การตรวจสอบคุณภาพวัคซีน ; วัคซีนทุกชนิดจะตองผานการตรวจสอบคุณภาพ ความบริสุทธิ์ความปลอดภัย และการสรางภูมิคุมโรค ตามมาตรฐานกอนนําออกใช การเก็บวัคซีน : ตองเก็บในที่เย็นอุณหภูมิ ๒-๔ ซ. เชนในตูเย็นหรือแชน้ําแข็งหามเก็บในชองทําน้ําแข็งหรือตูแชน้ําแข็งใสเกลือ ไมควรใหถูกแสงแดดโดยตรง วัคซีนปกติเก็บในไดนาน ๑ ป หลังจากวันผลิตในอุณหภูมิ ๒-๔ ซ.

Page 14: การผลิตวัคซีนและว ิธีการใช · vaccine, live viral vaccine และ component vaccine โดย Recombinant DNA technique แสดงในรูปที่

14

การใชวัคซีน : - กระบอกฉีดยาและเข็มฉีดยาตองตม อบ หรือนึ่งฆาเช้ือกอนนํามาใช หามใชน้ํายาฆาเช้ือทําความสะอาดกระบอกฉีดยาเข็มฉีดยากอนใช - ตรวจสภาพขวด จุก สี และปริมาณของวัคซีนถาพบวาผิดจากสภาพปกติไมควรนําไปใช - ใชน้ํายาฆาเช้ือเช็ดจุกยางใหสะอาดทิ้งใหแหงกอนใชเข็มจุกยาง และไมควรใชเข็มที่ใชฉีดสัตวแลว มาดูดวัคซีนจากขวด - ฉีดวัคซีนเขาใตผิวหนังที่เหนียง (Dewlap) บริเวณเหนือกระดูกอก (Sternum) หรือบริเวณแผงคอ สําหรับสุกร ฉีดที่บริเวณหู - ควรระมัดระวัง ฉีดอยาใหลึกเกินไปจนเขากลาม เพราะจะทําใหบวมได - ควรฉีดโค กระบือที่มีอายุ ๖ เดือนขึ้นไป สําหรับสุกรควรมีอาย ๒ เดือนขึ้นไป สัตวที่ยิ่งมีอายุนอยยิ่งใหภูมิคุมโรคสั้น สัตวทองระยะแรกๆ และระยะกอนคลอด ควรระมัดระวังเปนพิเศษในการจับฉีดวัคซีน - โค กระบือ จะใหภูมิคุมโรคสูงสุดหลังฉีด ๒๑ วัน ภูมิคุมโรคในสัตวรุนอาจไมนานกวา ๓-๔ เดือน จึงควรฉีดซํ้าครั้งที่สองหลังจากฉีดครั้งแรก ๓-๔ เดือน หลังจากนั้นจึงฉีดทุก ๆ ๖ เดือน - ในสุกรควรฉีดครั้งที่สองหลังจากฉีดครั้งแรก ๑-๒ อาทิตยหลังจากนั้นจึงฉีดทุกๆ ๔ เดือน ขนาดฉีด ตัวละ ๕ ซีซี. ขนาดบรรจุ : มี ๒ ขนาด คือ ขนาดบรรจุ ๑๐๐ ซีซี. ฉีดสัตวได ๒๐ ตัวและขนาดบรรจุ ๒๕๐ ซีซี. ฉีดสัตวได ๕๐ ตัว ขอควรระวงั : สัตวที่ไดรับการฉีดวัคซีนบางตัวอาจเกิดอาการแพหลังฉีดวัคซีนได ซ่ึงรักษาไดดวย adrenaline และ antithistamine

วัคซีนฝดาษไก (FOWL POX VACCINE) วัคซีนนี้เปนวัคซีนไวรัสเช้ือเปน ชนิดออน ไมเปนอันตรายตอไก เปนวัคซีนแหง บรรจุในหลอดสูญญากาศ การเก็บรักษา : เก็บในตูเย็น อุณหภูมิ ๒-๕ องศาเซลเซียส หรือในกระติกน้ําแข็ง ขนาดและวิธีใช : ๑. เตรียมเข็มแทงปก และกระบอกฉีดยาที่สะอาดโดยนึ่งหรือตมในน้ําเดือดฆาเช้ือ ๑๐–๑๕ นาที ๒. ละลายวัคซีนดวยน้ํายาละลาย โดยใชเข็มขนาดใหญ เชนเบอร ๑๘–๑๖ มิฉะนั้นจะละลายวัคซีนคอนขางยาก เนื่องจากน้ํายาละลายที่ใชมีลักษณะหนืด ดูดน้ําละลายจากหลอดใสในหลอดวัคซีนเล็กนอย แลวใชปลายเข็มกวนใหวัคซีนละลาย แลวดูดไปผสมกับน้ํายาละลายที่เหลือ ผสมวัคซีนใหละลายเปนเนื้อเดียวกัน ๓. ใชเข็มคู (เข็มแทงปกที่มีจําหนายในรานขายยาสัตวหรืออาหารสัตว) จุมในขวดแลวแทงลงไปที่พังผืดของปก (Wing Wed) อยาใหถูกเสนเลือด ทําตัวละ ๑-๒ ครั้ง ๔. วัคซีนที่ผสมแลวควรใชทันที หากใชไมหมดอาจจะเก็บไวใชภายใน ๕-๖ ช่ัวโมง โดยตองแชไวในน้ําแข็ง

Page 15: การผลิตวัคซีนและว ิธีการใช · vaccine, live viral vaccine และ component vaccine โดย Recombinant DNA technique แสดงในรูปที่

15

๕. วัคซีนนี้ใชไดกับไกทุกขนาด อายุต้ังแต ๑ วันขึ้นไป ความคุมโรค : ไกจะมีความคุมโรคหลังจากไดรับวัคซีนแลวประมาณ ๒ อาทิตยและจะมีความคุมโรคไดนานประมาณ ๑ ป การบรรจ ุ: บรรจุหลอดละ ๒๐๐ ตัว พรอมน้ํายาละลาย ๕ ซีซี.

วัคซีนเฮโมรายิกเซพติซีเมีย (HAEMORRHAGIC SEPICAEMIA VACCINE) วัคซีนเฮโมรายิกเซพติซีเมีย เปนวัคซีนแบคทีเรียเช้ือตาย ใชปองกันโรคเฮโมรายิกเซพติซีเมีย ในโค กระบือ และโรค pasteurellosis ในแพะ-แกะ

วัคซีนนี้ผลิตจากเช้ือ Pasteurella Multocida type 6:B สเตรนทองถิ่น โดยฆาเช้ือดวยฟอรมาลิน และใช Aluminium Hydroxide gel เปน Adjuvant การเก็บวัคซีน : เก็บในที่มืดและเย็น วิธีใชวัคซีน : เขยาวัคซีนกอนใช ทําความสะอาดจุกยางและคอขวดดวยสําลีชุบแอลกอฮอล แลวดูดวัคซีนดวยเข็มและกระบอกฉีดยา ที่ไดนึ่งหรือตมฆาเช้ือโรคแลววัคซีนนี้ใชฉีดสัตวหลังหยานมแลว และควรฉีดกอนตนฤดูฝนเพราะโรคนี้มักระบาดในฤดูฝน การเคลื่อนยายสัตวทางไกล ควรฉีดวัคซีนนี้กอนประมาณ ๒ อาทิตย ทุกครั้ง ขนาดฉีด : โค กระบือ ฉีดตัวละ ๓ ซีซี. เขาใตผิวหนัง (ควรเปนบริเวณคอสัตว) แพะ แกะ ฉีดตัวละ ๒ ซีซี. เขาใตผิวหนัง (ควรเปนบริเวณคอสัตว) ความคุมโรค : สัตวจะมีความคุมโรคไดหลังฉีดวัคซีนแลว ประมาณ ๑๕ วันและจะมีความคุมอยูไดนาน ๔-๖ เดือน แลวแตสภาพเฉพาะตัว และอายุของสัตว ขอควรระวงั : สัตวที่ไดรับการฉีดวัคซีนบางตัว อาจจะแสดงอาการแพวัคซีนหลังฉีดวัคซีนแลว ประมาณ ๕–๓๐ นาที โดยมีอาการน้ําลายไหลกระวนกระวาย ขนลุก ตัวสั่น และหายใจไมออก ฉะนั้น สัตวแพทยผูฉีดควรสังเกตอาการของสัตวหลังฉีดวัคซีน ประมาณ ๑ ช่ัวโมง หากสัตวแพวัคซีนใหรักษาดวยแอดรีนาลิน หรือแอนติฮีสตามิน ขนาดบรรจุ : บรรจุขวดละ ๙๐ ซีซี.

Page 16: การผลิตวัคซีนและว ิธีการใช · vaccine, live viral vaccine และ component vaccine โดย Recombinant DNA technique แสดงในรูปที่

16

วัคซีนบรูเซลโลซีส (โรคแทงติดตอ) (BRUCELLOSIS VACCINE)

วัคซีนนี้เปนวัคซีนแบคทีเรียเช้ือเปน ใชปองกันการแทงลูกเนื่องจากโรคบรูเซลโลซีส ผลิตจากเชื้อ Brucella Abortus สเตรน ๑๙ การเก็บรักษา : เก็บไวในตูเย็นอุณหภูมิ ๒-๔ องศาเซลเซียส วิธีใชวัคซีน : ละลายวัคซีนดวยน้ํายาละลาย โดยเข็มและกระบอกฉีดยาที่ไดนึ่งหรือตมฆาเช้ือโรคแลวเขยาใหวัคซีนละลายเขากัน วัคซีนชนิดนี้เมื่อละลายเขากันแลว ตองใชภายใน ๒ ช่ัวโมง ขนาดฉีด : ฉีดเขาใตผิวหนัง ตัวละ ๒ ซีซี. ชนิดของสัตวที่ควรฉีดวัคซีน : วัคซีนนี้ใชฉีดในลูกโคเพสเมีย อายุระหวาง ๓-๘ เดือนเทานั้น และใชไดกับลูกโคที่เกิดจากแมที่เปนโรคและไมเปนโรค ความคุมโรค : เมื่อฉีดวัคซีนนี้กับลูกโคเพียงครั้งเดียว จะใหความคุมโรคไดนานประมาณ ๗ ป และไมควรฉีดวัคซีนบรูเซลโลซีส ทั้งชนิดนี้และชนิดอื่นซํ้าอีก ขอควรระวงั : ๑. วัคซีนที่ละลายแลวใชไมหมอ หามเก็บไวใชในคราวตอไป ๒. วัคซีนที่เหลือใช ขวดบรรจุวัคซีน เข็มและกระบอกฉีดยาที่ใช ใหตมฆาเช้ือกอนทิ้งหรือนําไปลาง ๓. อยาฉีดวัคซีนใหกับลูกโคภายใน ๒๑ วัน กนอนําไปฆา ๔. หลังฉีดวัคซีนควรกักบริเวณลูกโคไวในที่รม และดูแลอยางใหลชิดประมาณ ๑ ช่ัวโมง หากสัตวแสดงอาการแพวัคซีน ใหแกดวยการฉีดแอดรีนาลิน (แอดรีนาลีน ๑/๑๐๐๐ ฉีดเขาใตผิวหนัง ๑ ซีซี.) การบรรจุ : ขนาดบรรจุสําหรับโค ๕ ตัว พรอมน้ํายาละลาย ๑๐ ซีซี.

วัคซีนแอนแทรกซ (โรคกาล)ี (ANTHRAX SPORE VACCINE NON ENCAPSULATED) วัคซีนแอนแทรกซเปนวัคซินแบคทีเรียเช้ือเปน ใชปองกันโรคแอนแทรกซในโค กระบือ แพะ แกะ และชาง

Page 17: การผลิตวัคซีนและว ิธีการใช · vaccine, live viral vaccine และ component vaccine โดย Recombinant DNA technique แสดงในรูปที่

17

วัคซีนนี้ผลิตจากสปอรของเชื้อ Bacillus Anthracis สเตรน 34 F2 การเก็บวัคซีน : เก็บในที่มืดและเย็น วิธีใชวัคซีน : ๑. ใชเข็มและกระบอกฉีดยาที่สะอาด โดยนึ่งและตมฆาเชื ๒. กอนใชใหเขยาวัคซีนอยางแรง และนานไมนอยกวาครึ่งนาที เพราะวัคซีนที่ต่ังทิ้งไวนาน สปอรจะแตกและเกาะที่พื้นขวด สวนผสมของวัคซีนจะมีลักษณะหนืดเล็กนอย ๓. ทาํความสะอาดจุกยางและคอขวดดวยสําลีชุบแอลกอฮอล ๔. หลังจากฉีดวัคซีนแลว ใหตมเข็มและกระบอกฉีดยาอีกครั่งหนึ่ง ขวดบรรจุวัคซีนใหเผาหรือตมฆาเช้ือ (เปดจุกออก) กอนทิ้งเพือ่ปองกันการแพรกระจายของเชื้อวัคซีน ๕. วัคซีนนี้ใชฉีดสัตวอายุต่ังแตหยานมขึ้นไป ควรฉีดวัคซีนซํ้าทุกป ในเขตที่เคยมีการระบาดของโรคนี้ ใหฉีดซํ้าทุก ๖ เดือน ขนาดฉีด : แพะ แกะ ตัวละ ๐.๕ ซีซี. เขาใตผิวหนัง โค กระบือ ตัวละ ๑ ซีซี. เขาใตผิวหนัง ชาง ตัวละ ๒ ซีซี เขาใตผิวหนัง ความคุมโรค : สัตวจะมีความคุมโรคหลังฉีดวัคซีนแลวประมาณ ๒-๓ สัปดาหและจะมีความคุมอยูไดนาน ๑ ป ปฏิกิริยาหลังฉีด : หลังจากฉีดวัคซีนแลว อาจจะมีอาการบวมเล็กนอยตรงบริเวณที่ฉีด และสัตวจะมีไขเล็กนอย ๒-๓ วัน ไมควรฉีดสัตวกําลังทองเพราะอาจทําใหแทงได ขนาดบรรจุ : บรรจุขวดละ ๒๐ ซีซี.

วัคซีนแบลคเลก (โรคไขขา) (BLACKLEC VACCINE, ALUM PRECIPITATED) วัคซีนแบลคเลก เปนวัคซีนแบคทีเรียเช้ือตาย ใชฉีดปองกันโรคแบลคเลกในโค กระบือ แพะ แกะ วัคซีนนี้ผลิตจากเชื้อ Clostridium Chauvoei ฆาเช้ือดวยฟอรมาลิน และทําใหแอนติเยนตกตะกอนดวยสารสม การเก็บวัคซีน : เก็บในที่มืดและเย็น วิธีใชวัคซีน : เขยาวัคซีนกอนใช ทําความสะอาดจุกยางและคอขวด ดวยสําลีชุบแอลกอฮอลแลวดูดวัคซีนดวยเข็มและกระบอกฉีดยาที่ไดนึ่ง หรือตมฆาเช้ือโรคแลว วัคซีนนี้ใหใชในสัตวหลังหยานมขึ้นไป และใชเฉพาะในทองที่ที่เคยมโรคนี้ระบาดอยู ขนาดฉีด : โค กระบือ ตัวละ ๕ ซีซี. เขาใตผิวหนัง แกะ ตัวละ ๒.๕ ซีซี. เขาใตผิวหนัง ความคุมโรค : สัตวจะมีความคุมโรคหลังจากฉีดวัคซีนแลวประมาณ ๑๒ วันและจะคุมโรคอยูไดนานประมาณ ๖ เดือน

Page 18: การผลิตวัคซีนและว ิธีการใช · vaccine, live viral vaccine และ component vaccine โดย Recombinant DNA technique แสดงในรูปที่

18

ในลูกสัตวที่ฉีดวัคซีนกอนอายุ ๖ เดือน ใหฉีดวัควินซํ้าอีกครั้งหนึ่งเมื่ออายุได ๖ เดือน แตใหหางจากการฉีดครั้งแรกไมนอยกวา ๑ เดือน ขอควรระวงั : โรคที่มีอาการคลายกับโรคแบลคเลกมาก คือโรคแบลคเลกเทียม หรือโรคแกสแกงกรีนซ่ึงเกิดจากเชื้อ Clostridium Septicum และโรคนี้อาจจะเกิดรวมกับโรคแบลคเลกก็ได สัตวแพทยจึงควรวินิจฉัยใหแนนอนวา สัตวเปนโรคขนิดใดแน เพราะวัคซีนนี้ไมสามารถใหความคุมโรคแบลคเลกเทียมได ขนาดบรรจ ุ: บรรจุขวดละ ๑๐๐ ซีซี.

วัคซีนอหิวาตสุกร (LAPINIZED SWINE FEVER VACCINE) วัคซีนอหิวาตสุกร เปนวัคซีนไวรัสเช้ือเปนผานกระตาย. สเตรนไชนาซ่ึงเปนเช้ือชนิดออน ไมเปนอันตรายตอสุกรที่ไดรับวัคซีนนี้ และมีคุณสมบัติในการใหเความคุมโรคอหิวาตสุกรไดอยางดี วัคซีนนี้ประกอบดวย มาม ตอมน้ําเหลือง. เลือดของกระตายและเปนวัคซีนแหงบรรจุในหลอดหรือขวดภายใตสูญญากาศ การเก็บวัคซีน : เก็บในตูเย็น อุณหภูมิ ๒-๕ องศาเซลเซียส หากไมมีตูเย็นใหเก็บในกระติกน้ําเข็ง วิธีใชวัคซีน : ๑. เตรียมเข็มและกระบอกฉีดยา โดยการนึ่งฆาเช้ือหรือตมในน้ําเดือด ๑๐–๑๕ นาที หามแชในน้ํายาฆาเช้ือกอนใช ๒. ละลายวัคซีนดวยน้ํายาละลาย เขยาใหละลายใหหมดแลวใชฉีดเขากลามเนื้อหรือใตผิวหนัง ๓. วัคซีนที่ละลายแลวตองใชภายใน ๒ ช่ัวโมง วัคซีนที่ใชไมหมดภายใน ๒ ช่ัวโมง หามเก็บไวใชในคราวตอไป ๔. วัคซีนที่ละลายแลว ควรแชในน้ําแข็งตลอดเวลาและตองระมัดระวังไมใหวัคซีนถูกแสงแดดโดยตรง ๕. วัคซีนนี้ไมจําเปนตองฉีดซีรัมควบ ขนาดฉีด ตัวละ ๑ ซีซี. อายุของสุกรที่ควรฉีดวัคซีน : ๑. ฉีดเมื่ออายุ ๒ เดือนขึ้นไป ในกรณีที่ลูกสุกรเกิดจากแมสุกร ซ่ึงเคยไดรีบการฉีดวัคซีนอหิวาตสุกรมากอน โดยเฉพาะคอกซึ่งไดใชวัคซีนอหิวาตสุกรอยูเปนประจํา หากฉีดเมื่ออายุนอยกวา ๒ เดือน ควรฉีดวัคซีนซํ้าอีกครั้งหนึ่ง หางจากครั้งแรก ๒-๓ เดือน ๒. ฉีดเมื่ออายุ ๑ เดือนขึ้นไป สําหรับลูกสุกรซ่ึงเกิดจากแมซ่ึงไมเคยไดรับวัคซีนอหิวาตสุกรมากอน

Page 19: การผลิตวัคซีนและว ิธีการใช · vaccine, live viral vaccine และ component vaccine โดย Recombinant DNA technique แสดงในรูปที่

19

ความคุมโรค : วัคซีนนี้ใหความคุมโรคไดหลังจากฉีดวัคซีนแลว ๑ อาทิตยและจะมีความคุมโรคไดไมนอยกวา ๑ ป แมสุกรที่ความคุมโรคอหิวาตสุกร สามารถถายทอดความคุมโรคไปยังลูกทางน้ํานมได ถาลูกสุกรนั้นไดรับนมแมภายใน ๔๘ ช่ัวโมง หลังคลอด ความคุมโรคนี้สามารถปองกันไมใหลูกสุกรติดโรคอหิวาตสุกรได และจะหมดไปภายใน ๒-๓ เดือน ปฏิกิริยาหลังฉัดวัคซีน ปฏิกิริยาหลังฉัดวัคซีนนี้มีนอยมาก แตอยางไรก็ตามภายในระยะ ๑๐ วัน หลังฉีดวัคซีนควรตองดูแลเปนพิเศษ เพื่อสังเกตุอาการและความผิดปกติ สุกรบางตัวอาจจะซึมและมไขเล็กนอย เปนอยู ๒-๓ วัน แลวจะหายไปเองหากไมมีโรคแทรกซอน ขอควรระวงั : ๑. ฉีดวัคซีนใหแกสุกรที่มีสุขภาพดีเทานั้น ๒. ใชวัคซีนตามคําแนะนําขางตน เพื่อใหวัคซีนมีประสิทธิภาพดีที่สุด ๓. ใชวัคซีนตามคําแนะนําของสัตวแพทยเทานั้น โดยเฉพาะอยางยิ่งในกรณทีี่มีโรคระบาดเกิดขึ้นแลว หรือเกิดในบริเวณใกลเคียง ขนาดบรรจ ุ: บรรจุหลอดหรือขวดละ ๑๐ ตัว พรอมน้ํายาละลาย ๑๐ ซีซี.

วัคซีนพิษสุนัขบา (RABIES VACCINE) วัคซีนโรคพิษสุนัขบาที่ผลิตกองผลิตชีวภัณฑ กรมปศุสัตวเปนวัคซีนเช้ือเปน (Modified Live Virus) ใชฉีดปองกันโรค

พิษสุนัขบาใน สุนัข, แมว, โค-กระบือ, แพะ, แกะและมา วัคซีนนี้ผลิตโดยวิธีเลี้ยงเชื้อโรคพิษสุนัขบาในขวดแกว (Trssue Culture) แลวนํามาทําเปนวัคซีน การเก็บ : วัคซีนสด เก็บในตูเย็นอุณหภูมิ ๒-๔ ซ. วัคซีนแหง เก็บไดทั้งในตูเย็น ๒-๔ ซ. และตูแชแข็ง (Freezer) (เหมาะสําหรับวัคซีนที่บรรจุในหลอดแกว ถาบรรจุขวดอาจเกิดการรั่วของอากาศที่จุกยาง) วิธีใช : ๑. ใชเข็มและกระบอกฉีดยาที่สะอาดโดยการนึ่งหรือตม (หามใชสารเคมี) ๒. ทําความสะอาดจุกยางและคอขวดดวยแอลกอฮอลแลวปลอยใหแหง ๓. วัคซีนสด ดูดใชไดทันที วัคซีนแหง ผสมน้ํายาละลายวัคซีน ๒ ซีซี. เขยาเบา ๆ แลวใชได (ไมควรผสมวัคซีนไวจนกวาจะถึงเวลาที่ตองการใช) ๔. อายุสัตวที่ฉีดได สุนัขและแมวฉีดไดต้ังแต ๓ เดือนขึ้นไป ถาฉีดอายุนอยกวานี้ควรฉีดซํ้าเมื่ออายุ ๔ เดือน โค-กระบือ, แพะ, แกะ, มา ฉีดไดต้ังแตอายุ ๔-๖ เดือนขึ้นไป ถาฉีดอายุตํ่ากวา ๖ เดือน ควรฉีดซํ้าเมื่อสัตวอายุ ๖ เดือนขึ้นไป

Page 20: การผลิตวัคซีนและว ิธีการใช · vaccine, live viral vaccine และ component vaccine โดย Recombinant DNA technique แสดงในรูปที่

20

ขนาดฉีด : สุนัข, แมว, โค-กระบือ, แพะ, แกะ, และมา ใชขนาด ๒ ซีซี. ฉีดเขากลาเนื้อ และทําการฉีดวัคซีนทุก ๆ ป ความคุมโรค : สัตวจะตองมีความคุมโรคหลังจากฉีดวัคซีนแลวประมาณ ๒-๓ สัปดาห และจะมีความคุมโรคอยูไดนานอยางนอย ๑ ป ปฏิกิริยาหลังฉีด : ไมม ีขนาดบรรจ ุ: บรรจุตามขนาดของขวดในแตละครั้งของการผลิต

วัคซีนกาฬโรคเปด (DUCK PLAGUE VACCINE) วัคซีนกาฬโรคเปด เปนวัคซีนไวรัสเช้ือเปน ชนิดผานไขหรือผานเซลคัลเจอรเปนเช้ือชนิดออน ไมทําใหเปดเปนโรค แตสามารถทําใหเกิดความคุมโรคกาฬโรคเปดไดเปนอยางดี วัคซีนกาฬโรคเปดเปนวัคซีนแหงบรรจุในขวดสูญญากาศ การเก็บรักษา : เก็บในตูเย็น ๒-๕ องศาเซลเซียส หากไมมีตูเย็นใหเก็บในกระติกน้ําแข็งที่มีน้ําแข็งปนเกลือตลอดเวลา ควรระวังอยาใหวัคซีนเสื่อมคุณภาพได วิธีใชวััคซีน : ๑. เตรียมเข็มและกระบอกฉีดยา ที่สะอาดผานการนึ่งฆาเช้ือหรือตมในน้ําเดือด ๑๐–๑๕ นาที ๒. ละลายวัคซีนดวยน้ํายาละลาย เขยาใหละลายใหหมด แลวใชทันที ควรแชในน้ําแข็ง และใชภายใน ๒ ช่ัวโมง หามเก็บวัคซีนที่เหลือไวใชในคราวตอไป ขนาดฉีด ฉีดเขากลามเนื้อ (ที่ขาหรือหนาอก) ตัวละ ๑ ซีซี. ความคุมโรค : เปดจะมีภูมิคุมกันตานทานโรคกาฬโรคเปดไดสูง หลังจากไดรับวัคซีนแลวประมาณ ๑๔ วัน และเปดที่มีสุขภาพสมบูรณเทานั้น จึงจะมีภูมิคุมกันโรคไดดี เปดอายุ ๑๕ อาทิตยขึ้นไป จะมีภูมิคุมโรคอยูนานประมาณ ๖ เดือน การใหวัคซีนตั้งแตลูกเปดอายุ ๒-๓ วัน นั้นพบวาภูมิคุมจะตํ่า ควรตองใหซํ้าอีกเมื่ออายุได ๓-๔ อาทิตย ระยะการใหวัคซีน : ควรฉีดวัคซีนเมื่อเปดอายุได ๓-๔ อาทิตย ฉีดครั้งที่ ๒ เมื่ออายุได ๑๐–๑๒ อาทิตย ฉีดครั้งที่ ๓ เมื่ออายุ ๖ เดือน และตอไปฉีดทุก ๆ ๖ เดือน หรือกอนการเก็บไขฟก จะทําใหเปดหรือลูกเปดที่เกิดมามีภูมิคุมกันโรคไดดี ขอพึงปฏิบัติ : ๑. ตองเก็บรักษาและใชวัคซีนตามคําแนะนํา ๒. รักษาความสะอาดทั้งในขณะผสมและฉีดวัคซีน ๓. ควรฉีดวัคซีนใหกับเปดทุกตัว เมื่อถึงเวลากําหนด ๔. หลอดบรรจุวัคซีนหรือภาชนะที่ใชในการผสมวัคซีน เมื่อใชแลวควรตมทําลายเชื้อกอนทิ้งหรือเก็บไว ขนาดบรรจ ุ ขนาดบรรจุขวดละ ๒๐๐ ตัว พรอมน้ํายาละลาย (น้ําเกลือหรือน้ํายาเคซิโตน) ๒๐๐ ซีซี.

Page 21: การผลิตวัคซีนและว ิธีการใช · vaccine, live viral vaccine และ component vaccine โดย Recombinant DNA technique แสดงในรูปที่

21

วัคซีนอหิวาต เปด-ไก(FOWL CHOLERA VACCINE) วัคซีนอหิวาตเปด-ไก เปนวัคซีนแบคทีเรียเช้ือตาย ใชอปองกันโรคอหิวาตในสัตวปก ไดแก เปด ไก และหาน วัคซีนนี้ผลิตจากเชื้อ Pasteurlla Multocida Type 5:A สเตรนทองถิ่น ฆาเช้ือดวยฟอรมาลิน การเก็บรักษา : เก็บไวในที่มือและเย็น วิธีใชวัคซีน : ทําความสะอาดจุกยางและคอขวดดวยสําลีชุบแอลกอฮอล แลวดูดวัคซีนออกใชดวยเข็มและกระบอกฉีดยาที่ไดนึ่งหรือตมฆาเช้ือโรคแลว วัคซีนนี้ใหใชสําหรับฉีดสัตวที่มีอายุต้ังแต ๑ เดือนขึ้นไป และควรฉีดวัคซีนทุกๆ ๓ เดือน ขนาดฉีด : เปด ไก และหาน ตัวละ ๒ ซีซี. เขากลามเนื้อหรือผิวหนัง ความคุมโรค : สัตวจะมีความคุมโรคหลังฉีดวัคซีนแลวประมาณ ๑๕ วัน และจะมีความคุมโรคไดประมาณ ๓ เดือน ขอควรระวงั : ประสิทธิภาพในดานใหความคุมโรคของวัคซีนอหิวาตเปด-ไกโดยทั่วๆ ไป มีประมาณ ๗๐% เทานั้น และขึ้นอยูกับความรุนแรงของการระบาดของโรคดวย การใชวัคซีนเปนเพียงสวนหนึ่งของมาตรการในการปองกันโรค มาตรการสําคัญในการปองกันโรคนี้ไดแกการสุขาภิบาลสัตวที่ดี และการปองกันการติดโรคจากแหลงที่มีโรคโดยทุกทาง ขนาดบรรจ ุ: ขนาดบรรจุขวดละ ๑๐๐ ซีซี.

Page 22: การผลิตวัคซีนและว ิธีการใช · vaccine, live viral vaccine และ component vaccine โดย Recombinant DNA technique แสดงในรูปที่

22

วัคซีนหลอดลมอกัเสบติดตอในไก (INFECTIOUS BRONCHITIS VACCINE) วัคซีนนี้เปนวัคซีนเช้ือเปน ชนิดผานไข เปนเช้ือชนิดออนไมทําใหไกเปนโรค แตสามารถใหความคุมโรคหลอดลมอักเสบไดดี การเก็บรักษา ตองเก็บไวในที่เย็นจัด เชนเก็บในตูแชแข็ง ในชองน้ําแข็งของตูเย็นธรรมดาหรือในกระติกน้ําแข็งที่มีน้ําแข็งปนเกลือ โดยเฉพาะอยางยิ่งถาเปนวัคซีนชนิดสด ตองเก็บไวในสภาพที่เปนน้ําแข็งอยูตลอดเวลากอนนําออกใช มิฉะนั้นวัคซีนอาจเสื่อมสภาพได ขนาดและวิธีใช : ๑. เตรียมเข็มและกระบอกฉีดยา สําหรับวัคซีนและเข็มหยอดจมูกโดยการนึ่งเช้ือหรือตมในน้ําเดือด ๑๐–๑๕ นาที ทิ้งไวใหเย็น ๒. ละลายวัคซีนดวยน้ํายาละลายวัคซีน (วัคซีน ๑ หลอด น้ํายาละลาย ๕ ซีซี.) เขยาใหเขากัน ๓. นําไปหยอดจมูกหรือหยอดตาตัวละ ๒ หยด ๔. วัคซีนที่ละลายแลวตองใชครั้งเดียว ภายใน ๒ ช่ัวโมง หามเก็บไวใชในคราวตอไป ๕. วัคซีนนี้ใชไดกับไกทุกขนาด แตหามใชวัคซีนนี้พรอมกับวัคซีนปองกันโรคนิวคาสเซิล ควรใหวัคซีน ๒ ชนิดนี้หางกันไมนอยกวา ๑ อาทิตย ความคุมโรค : ไกจะมีความคุมโรคหลังจากไดรับวัคซีนแลวประมาณ ๓ อาทิตยและควรใหวัคซีนซํ้าทุก ๆ ๓ เดือน การบรรจ ุ: บรรจุหลอดละ ๑๐๐ ตัว พรอมน้ํายาละลาย ๕ ซีซี.

วัคซีนนิวคาสเซิล สเตรน เอฟ. (NEWCASTLE DISEASE VACCINE, STRRRAIN F) วัคซีนนี้เปนวัคซีนเช้ือเปน ที่ผลิตมาจากเชื้อไวรัสนิวคาสเซิลสเตรน เอฟ. โดยการเพาะเลี้ยงเช้ือในไขไก วัคซีนสเตรน

เอฟ. นี้มีคุณสมบัติใหภูมิคุมโรคนิวคาสเซิลไดเปนอยางดี ใชไดกับไกทุกอายุ ทั้งสามารถใชหยอดจมูกหรือหยอดตาก็ได การเก็บรักษา : ตองเก็บไวในที่เย็นจัด เชนเก็บไวในตูแชแข็ง ในชองน้ําแข็งของตูเย็นธรรมดา หรือในกระติกน้ําแข็งที่มีน้ําแข็งปนเกลือ โดยเฉพาะอยางยิ่งถาเปนวัคซีนสอตองเก็บวัคซีนไวในสภาพที่เปนน้ําแข็งอยูตลอดเวลาดอนนําออกใช มิฉะนั้นวัคซีนอาจเสื่อมคุณภาพได ขนาดและวิธีใช ผสมวัคซีนและน้ํายาละลายตามขนาดที่กําหนด (วัคซีน ๑ หลอด ๑๐๐ ตัว ผสมน้ํายาละลาย ๕ ซีซี.) เขยาใหเขากัน วัคซีนที่ผสมแลวตองนําไปใชทันที โดยการหนอดจมูกหรือหยอดตาตัวละ ๒ หยด (ใชเข็มฉีดยาเบอร ๒๐ หรือเข็มหยอดจมูกที่มีจําหนายทั่วไป) และตองแนใจวาไกที่ทําวัคซีนนั้นไดรับวัคซีนถูกตองทุกตัว เครื่องมือที่ใชตองตมใหเดือดแลวทิ้งไวใหเย็นกอนใช

Page 23: การผลิตวัคซีนและว ิธีการใช · vaccine, live viral vaccine และ component vaccine โดย Recombinant DNA technique แสดงในรูปที่

23

ความคุมโรค : ไกจะมีภูมิคุมกันตานทานโรคนิวคาสเซิลได หลังจากไดรับวัคซีนแลวประมาณ ๑๔ วัน และไกที่มีสุขภาพสมบูรณเทานั้น จึงจะมีภูมิคุมกันโรคไดดี ไกอายุ ๑๕ อาทิตยขึ้นไป จะมีภูมิคุมโรคอยูนาน ๓-๔ เดือน การใหวัคซีนชนิดนี้แกลูกไกที่มีอายุนอยๆ กอนที่ภูมิคุมกันโรคที่ไดรับจากแมจะหมดไปนั้น (ประมาณ ๓ อาทิตย) ลูกไกนั้นจะมีภูมิคุมโรคไดไมสูงพอ จึงจําเปนตองใหวัคซีนแกลูกไกเหลานั้นอีกครั้งหนึ่ง ลูกไกเหลานั้นจึงจะมีภูมิคุมโรคไดดียิ่งขึ้น และควรระมัดระวังการติดโรคในระยะกอนที่ลกูไกหลานั้นจะสรางภูมิคุมโรคไดดีพออีกดวย ระยะเวลาการใหวัคซีน : ไกกระทง ใหวัคซีนในระหวางสัปดาหแรกเกิด ใหวัคซีนครั้งที่ ๒ เมื่ออายุ ๓-๔ สัปดาห ไกไขหรือไกพนัธุ ใหวัคซีนในระหวางสัปดาหแรกเกิด ใหวัคซีนครั้งที่ ๒ เทื่ออายุ ๓-๔ สัปดาห ใหวัคซีนครั้งที่ ๓ เมื่ออายุ ๘ สัปดาห และตอไปใหทุก ๆ ๓-๔ เดือน ขอพึงปฏิบัติ : ๑. ตองเก็บรักษาและใชวัคซีนตามคําแนะนํา ๒. หามใชวัคซีนนี้รวมกับวัคซีนปองกันโรคหลอดลมอักเสบติดตอในนไกโดยเด็ดขาด และควรใหวัคซีนทั้ง ๒ ชนิดนี้หางกันไมนอยกวา ๗ วัน ๓. ตองใชวัคซีนกอนวันหมดอายุที่แจงไวขางหลอด ๔. วัคซีนที่ผสมแลว ตองใชภายใน ๒ ช่ัวโมง หามเก็บไวใชตอไปอีก ๕. หลอดบรรจุวัคซีน หรือภาขนะที่ใชในการผสมวัคซีนเมื่อใชแลวควรตมทําลายเชื้อกอนทิ้งหรือเก็บไว การบรรจ ุ: ขนาดบรรจุหลอดละ ๑๐๐ ตัว พรอมน้ํายาละลาย ๕ ซีซี.

วัคซีนบรูเซลโลซีส (โรคแทงติดตอ) (BRUCELLOSIS VACCINE)

วัคซีนนี้เปนวัคซีนแบคทีเรียเช้ือเปน ใชปองกันการแทงลูกเนื่องจากโรคบรูเซลโลซีส ผลิตจากเชื้อ Brucella Abortus สเตรน ๑๙ การเก็บรักษา : เก็บไวในตูเย็นอุณหภูมิ ๒-๔ องศาเซลเซียส วิธีใชวัคซีน : ละลายวัคซีนดวยน้ํายาละลาย โดยเข็มและกระบอกฉีดยาที่ไดนึ่งหรือตมฆาเช้ือโรคแลวเขยาใหวัคซีนละลายเขากัน วัคซีนชนิดนี้เมื่อละลายเขากันแลว ตองใชภายใน ๒ ช่ัวโมง ขนาดฉีด : ฉีดเขาใตผิวหนัง ตัวละ ๒ ซีซี. ชนิดของสัตวที่ควรฉีดวัคซีน : วัคซีนนี้ใชฉีดในลูกโคเพสเมีย อายุระหวาง ๓-๘ เดือนเทานั้น และใชไดกับลูกโคที่เกิดจากแมที่เปนโรคและไมเปนโรค

Page 24: การผลิตวัคซีนและว ิธีการใช · vaccine, live viral vaccine และ component vaccine โดย Recombinant DNA technique แสดงในรูปที่

24

ความคุมโรค : เมื่อฉีดวัคซีนนี้กับลูกโคเพียงครั้งเดียว จะใหความคุมโรคไดนานประมาณ ๗ ป และไมควรฉีดวัคซีนบรูเซลโลซีส ทั้งชนิดนี้และชนิดอื่นซํ้าอีก ขอควรระวงั : ๑. วัคซีนที่ละลายแลวใชไมหมอ หามเก็บไวใชในคราวตอไป ๒. วัคซีนที่เหลือใช ขวดบรรจุวัคซีน เข็มและกระบอกฉีดยาที่ใช ใหตมฆาเช้ือกอนทิ้งหรือนําไปลาง ๓. อยาฉีดวัคซีนใหกับลูกโคภายใน ๒๑ วัน กนอนําไปฆา ๔. หลังฉีดวัคซีนควรกักบริเวณลูกโคไวในที่รม และดูแลอยางใหลชิดประมาณ ๑ ช่ัวโมง หากสัตวแสดงอาการแพวัคซีน ใหแกดวยการฉีดแอดรีนาลิน (แอดรีนาลีน ๑/๑๐๐๐ ฉีดเขาใตผิวหนัง ๑ ซีซี.) การบรรจุ : ขนาดบรรจุสําหรับโค ๕ ตัว พรอมน้ํายาละลาย ๑๐ ซีซี.

วัคซีนรินเดอรเปสต (RINDERPEST VACCINE)

วัคซีนรินเดอรเปสต เปนวัคซีนเช้ือเปน ผลิตจากเชื้อไวรัสเตรนนากามูระ ๓ แบงออกเปน ๒ ชนิด คือ ๑. วัคซีนรินเดอรเปสต ชนิดเลือดพิษกระตาย สําหรับฉัดปองกันโรค แก โค กระบือ หามใชฉีดสุกร ๒. วัคซีนรินเดอรเปสต ชนิดเลือดพิษกระตายผานไขสําหรับปองกันโรคแกสุกรและใชฉีดโค กระบือ ไดดวย

๑ . วัคซีนรินเดอรเปสตชนิดเลือดพิษกระตาย (LAPINIZED RINDERPEST VACCINE) วัคซีนนี้ผลิตจากสวนผสมของมาม ตอมน้ําเหลือง และเลือดกระตาย ซ่ึงไดรับการฉีดเช้ือไวรัส ชนิดดเลือดพิษกระตายไวแลว นํามาบรรจุหลอด และทําแหงภายใตสูญญากาศ การเก็บวัคซีน : เก็บในตูเย็นแข็ง (-๒๐ องศาเซลเซียส) วิธีใชวัคซีน : ละลายวัคซีนหนึ่งหลอดดวยน้ํายาละลาย ๘๐ ซีซี. ดวยเข็มและกระบอกฉีดยาที่นึ่งหรือตมฆาเช้ือแลว โดยดูดน้ํายาละลาย ๓-๔ ซีซี. ใสในหลอดบรรจุวัคซีน แลวละลายใหเขากันดูดวัคซีนที่ละลายแลวผสมลงในขวดน้ํายาที่เหลือ เขยาใหเขากัน วัคซีนที่ละลายแลว ตองแชในน้ําแข็ง และใชภายใน ๒ ช่ัวโมง และระวังไมใหถูกความรอนหรือแสงแดด ขนาดฉีด : ฉีดเขาใตผิวหนังกระบือ ตัวละ ๑ ซีซี. โค ตัวละ ๒ ซีซี.

Page 25: การผลิตวัคซีนและว ิธีการใช · vaccine, live viral vaccine และ component vaccine โดย Recombinant DNA technique แสดงในรูปที่

25

ความคุมโรค : วัคซีนนี้ใชฉีดสัตวหลังหยานมแลว สัตวจะมีความคุมโรคหลังจากไดรับวัคซีนแลว ประมาณ ๑๕ วัน และจะคุมโรคไดนานประมาณ ๒ ป ขอหาม : หามใชวัคซีนชนิดเลือดพิษกระตายฉีดสุกร เพราะสุกรจะแพวัคซีนชนิดนี้รุนแรง อาจถึงตายได โดยเฉพาะอยางยิ่งในสุกรพันธุพื้นเมือง การบรรจ ุ: บรรจุหลอดละ ๘๐ ตัว (สําหรับกระบือ) พรอมดวยน้ํายาละลาย ๘๐ ซีซี.

๒. วัคซีนรินดอรเปสตชนิดเลือดพษิกระตายผานไข(LAPINIZED AVIANIZED RINDERPEST VACCINE) วัคซีนนี้ผลิตจากคัพภะลูกไกอายุ ๑๗ วัน ซ่ึงไดฉีดเช่ือไวรัสชนิดเลือดพิษกระตายผานไขไว นําคัพภะดังกลาวมาปนใหละเอียด ผสมน้ํายากลูโคส ๑% ลงไปในอัตราสวนเทากัน (๑ ตอ ๑ นน./ปริมาตร) นําไปปนใหตกตะกอน เก็บสวนน้ําไปทําวัคซีน โดยบรรจุหลอดและนําไปทําแหงภายไตสูญญากาศ การเก็บวัคซีน : เก็บในตูเย็นแข็ง (-๒๐ องศาเซลเซียส) วิธีใชวัคซีน : วัคซีนหนึ่งหลอดละลายดวยน้ํายาละลาย ๔๐ ซีซี. ดวยเข็มและกระบอกฉีดยาที่นึ่งหรือตมฆาเช้ือแลว โดยดูดน้ํายา ๓-๔ ซีซี. ใสในหลอดบรรจุวัคซีนและละลายใหเขากัน แลวดูดวัคซีนกลับลงไปผสมในขวดน้ํายาที่เหลือ เขยาใหเขากัน วัคซีนที่ละลายแลว ตองแชใหน้ําแข็ง และใชภายใน ๒ ช่ัวโมงระวังอยาใหถกุความรอนหรือแสงแดด ขนาดฉีด : ฉีดเขาใตผิวหนังโค. กระบือ และสุกร ตัวละ ๒ ซีซี. ความคุมโรค : วัคซีนนี้ใชฉีดสัตวหลังหยานมแลว สัตวจะมีความคุมโรคภายใน ๑๕ วัน หลังฉีดและจะคุมโรคไดประมาณ ๒ ป การบรรจ ุ: บรรจุหลอดละ ๒๐ ตัว พรอมทั้งน้ํายาละลาย ๔๐ ซีซี.

Page 26: การผลิตวัคซีนและว ิธีการใช · vaccine, live viral vaccine และ component vaccine โดย Recombinant DNA technique แสดงในรูปที่

26

เอกสารอางอิง

Reference เอกสารคําแนะนําการใชวัคซีนตางๆ. 2525. กองผลิตชีวภัณฑ กรมปศุสัตว บัณฑิตการพิมพ กรุงเทพฯ. วัชรี คุณกิตติ (2542) เทคนิคการตั้งตํารับยาสัตว ภาควิชาเภสัชอุตสาหกรรม คณะเภสัชศาสตร

มหาวิทยาลัยขอนแกน. Thai Veterinary Biological Index, 2001. Food and drug Administration Thailand.

Page 27: การผลิตวัคซีนและว ิธีการใช · vaccine, live viral vaccine และ component vaccine โดย Recombinant DNA technique แสดงในรูปที่

27

713 321 เภสัชกรรมทางสัตวแพทย (Veterinary Pharmacy)

จรีรัตน เอี่ยมสะอาด ภาควิชาเภสัชวิทยาและพิษวิทยา

คณะสัตวแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

Page 28: การผลิตวัคซีนและว ิธีการใช · vaccine, live viral vaccine และ component vaccine โดย Recombinant DNA technique แสดงในรูปที่

28

สารบัญ

หนา

ชนิดของวัคซีน 1 ขบวนการผลิตวัคซีน 2 หลักทั่วไปสําหรับการตรวจสอบคุณภาพวัคซีนที่ใชในสัตว 3 รูปแบบของวัคซีน 8 การเก็บรักษาวัคซีน 8 การใหวัคซีนในสัตว 8 ขอควรปฏิบัติกอนการทําวัคซีน 10 ตัวอยางผลิตภัณฑวัคซีนที่ใชกับสัตว 11