Top Banner
ภาคผนวก ภาคผนวก ผลการวิเคราะหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมี
44

ภาคผนวก ก ผลการวิเคราะห...

Oct 14, 2020

Download

Documents

dariahiddleston
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: ภาคผนวก ก ผลการวิเคราะห ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00371/Appendix.pdf ·

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก

ผลการวิเคราะหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมี

Page 2: ภาคผนวก ก ผลการวิเคราะห ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00371/Appendix.pdf ·

64

ตาราง 5 แสดงคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมี เร่ืองพันธะเคมี ทดสอบกอนเรียน (Pre- test) และ ทดสอบหลังเรียน (Posttest) ของนักเรียนกลุมควบคุม

คนที่ กอนเรียน (Pretest) (30 คะแนน)

หลังเรียน (Posttest) (30 คะแนน)

ความแตกตางระหวางคะแนนแตละคน ( D )

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24

9 12 10 8 12 9 9 6 11 7 13 6 5 10 9 11 9 9 10 8 8 6 9 5

18 15 14 14 13 7 6 15 16 12 12 21 11 16 12 15 20 18 7 13 11 11 11 13

9 3 4 6 1 -2 -3 9 5 5 -1 15 6 6 3 4 11 9 -3 5 3 5 2 8

Page 3: ภาคผนวก ก ผลการวิเคราะห ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00371/Appendix.pdf ·

65

คนที่ กอนเรียน (Pretest)

(30 คะแนน) หลังเรียน (Posttest)

(30 คะแนน) ความแตกตางระหวางคะแนนแตละคน ( D )

25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47

5 8 8 9 8 10 11 13 13 7 6 10 8 5 5 9 7 11 7 6 13 5 8

13 12 13 9 7 11 10 12 18 9 6 9 9 7 8 4 9 15 12 10 16 9 9

8 4 5 0 -1 1 -1 -1 5 2 0 -1 1 2 3 -5 2 4 5 4 3 4 1

Page 4: ภาคผนวก ก ผลการวิเคราะห ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00371/Appendix.pdf ·

66

ตาราง 6 แสดงคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมี เร่ืองพันธะเคมี ทดสอบกอนเรียน (Pre- test) และ ทดสอบหลังเรียน (Posttest) ของนักเรียนกลุมทดลอง

คนที่ กอนเรียน (Pretest) (30 คะแนน)

หลังเรียน (Posttest) (30 คะแนน)

ความแตกตางระหวางคะแนนแตละคน ( D )

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24

5 11 7 7 15 6 6 2 7 9 8 5 11 7 12 8 4 7 4 9 7 6 8 7

10 10 10 10 10 9 11 14 16 16 9 9 11 14 15 14 16 16 18 13 13 10 11 12

5 -1 3 3 -5 3 5 12 9 7 1 4 0 7 3 6 12 9 14 4 6 4 3 5

Page 5: ภาคผนวก ก ผลการวิเคราะห ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00371/Appendix.pdf ·

67

คนที่ กอนเรียน (Pretest)

(30 คะแนน) หลังเรียน (Posttest)

(30 คะแนน) ความแตกตางระหวางคะแนนแตละคน ( D )

25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47

10 9 7 11 15 12 4 8 9 8 6 8 10 12 10 7 8 12 9 7 8 7 6

17 15 14 13 19 10 10 20 13 13 14 15 14 10 14 12 16 18 18 15 10 14 13

7 6 7 2 4 -2 6 12 4 5 8 7 4 -2 4 5 8 6 9 8 2 7 7

Page 6: ภาคผนวก ก ผลการวิเคราะห ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00371/Appendix.pdf ·

68

ภาคผนวก ข

แผนการสอนการเรียนแบบรวมมือ วิชาเคมี เร่ือง พันธะเคมี แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเคมี เร่ือง พันธะเคมี

Page 7: ภาคผนวก ก ผลการวิเคราะห ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00371/Appendix.pdf ·

69

แผนการสอน 1 การใชกระบวนการกลุมสัมพันธในการสอนการเรียนแบบรวมมือ เวลา 2 คาบ (100 นาที )

สาระสําคัญ การเรียนแบบรวมมือ คือ วิธีการเรียนแบบหนึ่งซึ่งนักเรียนทํางานเปนกลุมเล็ก ๆ และการจัดกลุมตองคํานึงถึง ความสามารถของนักเรียนใหมีผสมทั้งนักเรียน ที่มีความสามารถสูง ปานกลาง และต่ําในกลุมเดียวกัน นักเรียนทุกคนในกลุมจะตองคํานึงถึงหลักการพื้นฐานดังนี้

1. มีความเกี่ยวพันธกันในทางบวก 2. การติดตอปฏิสัมพันธโดยตรง 3. ความรับผิดชอบของสมาชิกในหนาที่ 4. มีทักษะในความสัมพันธกับกลุมเล็กและผูอ่ืน 5. มีกระบวนการกลุม ในการเรียนแบบรวมมือนั้น คนทุกคนในกลุมมีความสําคัญตอกลุมทั้งนั้น ไมวาบุคคล

นั้นจะมีความสามารถมากหรือนอยเพียงใด เนื่องจากสวนรวมนั้นประกอบดวยสวนยอยหลาย สวน ถาสวนรวมขาดความรวมมือจากสวนยอยใด ๆ ไมวาสวนยอยนั้นจะเล็กหรือใหญ มีความสําคัญมากหรือนอยเพียงใดก็ตาม ก็ยอมทําใหสวนรวมนั้นขาดความสมบูรณไป จุดประสงคการเรียนรู

1. เพื่อใหนักเรียนไดฝกทักษะการเรียนแบบความรวมมือ จากกิจกรรมการใชกระบวนการกลุมสัมพันธที่กําหนดให

2. เพื่อใหนักเรียนตระหนักวา ทุกคนเปนสวนหนึ่งของกลุม ซ่ึงมีความสําคัญตอกลุม ความสําเร็จของกลุมขึ้นอยูกับความรวมมือจากทุกคน และปฏิบัติตนไดเหมาะสมกับหนาที่ที่ไดรับมอบหมาย

กิจกรรมการเรียนการสอน 1. ครูจัดใหนักเรียนนั่งเปนกลุมยอย กลุมละ 4 คน เมื่อนักเรียนนั่งเรียบรอยแลว ครู

อธิบายนักเรียนวาจะใหทํากิจกรรมหนึ่งอยาง ดังนี้ 1.1 งานที่จะใหกลุมทํา คือ การหา สูตรโมเลกุล การเขียนสูตรโมเลกุล การ

คํานวณมวลโมเลกุลของสาร พรอมอานชื่อสารประกอบ 1.2 แตกอนที่กลุมจะทํางานนี้ไดจะตองหาลายแทงจากโจทยนี้ใหไดเสียกอน ลาย

แทงจะอยูในซอง ซ่ึงครูจะใหกลุมละ 1 ชุด ในซองลายแทงจะมีช้ินสวนอยู 15 ช้ิน

Page 8: ภาคผนวก ก ผลการวิเคราะห ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00371/Appendix.pdf ·

70

1.3 เมื่อครูใหสัญญาณวาเริ่มทํางานได ใหสมาชิกในกลุมเดิม ชวยกันนําชิ้นสวนมาตอใหเปนรูปสี่เหล่ียมที่มีขนาดเทากัน จํานวน 5 รูป

1.4 แลวใหนักเรียนแยกถือรูปสี่เหล่ียม ที่สมบูรณไวกับตนเอง คนละ 1 รูป จึงถือวาไดลายแทงอยางสมบูรณ

1.5 เมื่อไดลายแทงแลวใหแยกจากกลุมเดิม ไปรวมกับเพื่อนนักเรียนที่มี ช้ินสวนของรูปสี่เหล่ียมที่เหมือนกันจากกลุมอื่น ๆ ซ่ึงเรียกวากลุมผูเชี่ยวชาญ

1.6 ใหกลุมผูเชี่ยวชาญชวยกัน การหา สูตรโมเลกุล การเขียนสูตรโมเลกุล การคํานวณมวลโมเลกุลของสาร พรอมอานชื่อสารประกอบ ที่อยูในลายแทงนั้น

1.7 เมื่อคิดเสร็จแลวใหกลับไปสูกลุมเดิม เพื่อบอกวิธีการหา สูตรโมเลกุล การเขียนสูตรโมเลกุล การคํานวณมวลโมเลกุลของสาร พรอมอานชื่อสารประกอบ ที่ไดใหสมาชิกในกลุมเดิม

2. ครูแจกซองลายแทงใหกับกลุม แลวใหสัญญาณทุกกลุมเริ่มทํางาน 3. เมื่อทุกกลุมทํางานเสร็จแลว ครูซักถามสมาชิกแตละกลุมเกี่ยวกับสิ่งที่ตนไดสังเกต 4. ใหนักเรียนอภิปรายวากิจกรรมนี้สอนอะไรบาง 5. หลังจากนักเรียนอภิปรายผลแลว ครูเพิ่มเติมความคิดรวบยอดที่ตั้งไว โดยเปรียบ

เทียบใหนักเรียนเห็นจากรูปสี่เหล่ียม 5 รูป ถาชิ้นสวนใดขาดหายไป แมจะเปนชิ้นเล็กที่เล็กเพียงใด งานของกลุมก็จะไมสําเร็จ และการรวมมือกันควรรวมมือกันไดทุกระดับตั้งแตกลุมยอย กลุมใหญ หองเรียน ระดับโรงเรียน ฯลฯ

6. ครูใหนักเรียนสรุปกันวา ตอไปถาทํางานกลุมกันอีก นักเรียนควรจะทําอยางไร จึงจะทําใหสมาชิกกลุมรวมมือกันทํางานอยางพรอมเพรียง พรอมกับการบันทึกไว

7. นักเรียนแตละกลุมลงมือเลนเกมตามขั้นตอน 8. ครูถามผลการเลนในแตละกลุม และใหผูสังเกตการณเลาบรรยากาศการเลนในแต

ละกลุม 9. ครูและนักเรียนชวยกันสรุปขอคิดที่ไดจากการเลนเกมวา การเรียนในระบบโรง

เรียนนั้น จะแบงผูเรียนได 3 แบบ คือ • แบบการแขงขัน ซ่ึงจะมีทั้งผูชนะและผูแพ • แบบการทํางานคนเดียว เพื่อใหสัมฤทธิ์ผลตามเปาหมายที่ตนวางไว • แบบการทํางานรวมกัน เพื่อใหบรรลุเปาหมายของกลุม

จะพบวามีการเรียนแบบแขงขันกันมากที่สุด แตถาพิจารณาใหลึกซึ้งแลวจะพบวา

Page 9: ภาคผนวก ก ผลการวิเคราะห ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00371/Appendix.pdf ·

71

การเรียนแบบแขงขัน แตเพียงอยางเดียวไมกอใหเกิดประโยชนเทาที่ควรทั้งยังทําให เยาวชนไทยไมประสบผลสําเร็จในการทํากิจกรรมเปนทีม ซ่ึงตองอาศัยความรวมมือ ซ่ึงกันและกันอีกดวย 10.ครูสรุปเรื่องการเรียนแบบรวมมือ และการแบงหนาที่ของสมาชิกในกลุมตามการ เรียนแบบรวมมือ ส่ือการเรียนการสอน

1. ซองลายแทง มีช้ินสวนรูปสี่เหล่ียมหารูป 1 ชุดตอ 1 กลุมยอย รูปสี่เหล่ียมหารูปนี้ เมื่อตัดแยกออกเปนชิ้น ๆ จะไดจํานวน 15 ช้ิน

O

C

H12

C

M OM

O K

O C

C

N

CH

การวัด และประเมินผล 1. สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการรวมกันแลกเปลี่ยนความคิดเห็น อภิปราย และ

สรุปการเรียนรูที่ไดจากกิจกรรม 2. ตรวจบันทึกของนักเรียน เร่ือง การวางแนวทางในการทํางานกลุมตอไป นักเรียน

ควรจะทําอยางไร จึงจะทําใหสมาชิกกลุมรวมมือกันทํางานอยางพรอมเพรียง

Page 10: ภาคผนวก ก ผลการวิเคราะห ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00371/Appendix.pdf ·

72

แผนการสอนที่ 2 เร่ือง แรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาคของสาร เวลา 1 คาบ (50 นาที ) สาระสําคัญ โมเลกุลของสารจะประกอบดวยอะตอมตั้งแตสองอะตอมขึ้นไปมารวมกัน ยกเวนกาซเฉื่อย การทําใหโมเลกุลสลายตัวเปนอะตอมตองใชพลังงาน แสดงวาภายในโมเลกุลจะตองมีแรงยึดเหนี่ยวระหวางอะตอมที่เปนองคประกอบ แรงยึดเหนี่ยวระหวางอะตอมคูหนึ่ง ๆ ในโมเลกุล เรียกวา พันธะเคมี จุดประสงคการเรียนรู

1. บอกชนิดของแรงยึดเหนี่ยวระหวางอะตอมในโมเลกุล 2. แบงกลุมของสารตัวอยาง ตามสมบัติบางประการของสาร

กิจกรรมการเรียนการสอน 1. ครูอธิบายความหมายของพันธะเคมีใหนักเรียนทราบ 2. ครูยกตัวอยาง สมบัติบางประการของสารบางชนิด เชน เหล็ก , กํามะถัน

โซเดียมคลอไรด 3. นักเรียนแตละกลุมศึกษาหนังสือเรียนวิชาเคมี 1 หนา 91 ในตาราง 3.1 แลววาง

แผนแบงกลุมสารตามสมบัติบางประการของสาร ที่คลายกัน 4. เมื่อนักเรียนแบงกลุมสารเปนกลุม ๆ พรอมยกตัวอยางสารในแตละกลุม พรอม

เขียนผลการทํางานบนแผนใส 5. นักเรียนแตละกลุมนําเสนอผลงานใหนักเรียนทั้งหองเรียนทราบ 6. ครูรวมกับนักเรียน สรุปการแบงกลุมสารตามสมบัติบางประการที่คลายกัน 7. ครูคัดเลือกผลงานบางชิ้นของนักเรียน สําหรับนําเขาสูบทเรียนในครั้งตอไป

ส่ือการเรียนการสอน 1. หนังสือเรียนวิชาเคมี 1 ว 432 2. แผนใส

การวัดและประเมินผล 1. สังเกตการอภิปรายในชั้นเรียน 2. สังเกตพฤติกรรมการเรียนแบบรวมมือ

หมายเหตุ ใชวิธีการเรียนแบบรวมมือ แบบ Group Investigation (GI)

Page 11: ภาคผนวก ก ผลการวิเคราะห ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00371/Appendix.pdf ·

73

แผนการสอนที่ 3 เร่ือง การเกิดพันธะไอออนิก เวลา 2 คาบ (100 นาที )

สาระสําคัญ พันธะไอออนิก เกิดจากการให หรือ รับ (Transfer) หนึ่งอิเล็กตรอน หรือมากกวา จากอะตอมหนึ่งไปยังอะตอมหนึ่ง อะตอมทั้งสองกลายเปนไอออนบวก และไอออนลบ เกิดแรงดึงดูดระหวางประจุ สารประกอบที่เกิดจากพันธะไอออนิก เรียกวาสารประกอบไอออนิก จุดประสงคการเรียนรู

1. อธิบายการเกิด ไอออน และ พันธะไอออนิก 2. ยกตัวอยางสารประกอบไอออนิก

กิจกรรมการเรียนการสอน 1. ครูทบทวนความรูจากคาบเรียนที่แลวดวยแผนใสของนักเรียน เร่ืองสมบัติการนํา

ไฟฟาของสารประกอบไอออนิก 2. นักเรียนเขียนการจัดเรียงอิเล็กตรอนของธาตุ Ne , Ar และKr 3. ครูอธิบายการ ให และ รับ อิเล็กตรอนจากแผนภาพ แสดงการเกิดสารประกอบ

โซเดียมคลอไรด และ สารประกอบแคลเซียมคลอไรด 4. นักเรียนในกลุมจับคูกัน แลวแจกใบงานที่ 1 ใหนักเรียนอธิบายการเกิดสาร

ประกอบโซเดียมคลอไรด และ สารประกอบแคลเซียมคลอไรด 5. เมื่อนักเรียนทําเสร็จใหเปลี่ยนกันตรวจจากเฉลยที่ครูจัดไวให 6. นักเรียนทําแบบทดสอบที่ 1 แสดงการเกิดสารประกอบโซเดียมออกไซด และ

แมกนีเซียมคลอไรด 7. เมื่อนักเรียนทําเสร็จใหเปลี่ยนกันตรวจจากเฉลยที่ครูเตรียมไวให ถาทําถูกทั้งสอง

ขอใหผาน ถาทําผิดหรือ ถูกหนึ่งขอ ใหทําใบงานที่ 2 การเกิดสารประกอบโพแทสเซียมออกไซด และสารประกอบแคลเซียมไอโอไดด ขณะทําใบงานที่ 2 นักเรียนสามารถปรึกษานักเรียนที่ผานแบบทดสอบที่ 1 ได

8. เมื่อนักเรียนทําใบงานที่ 2 เสร็จแลวใหนํามาผลัดกันตรวจจากเฉลยที่ครูเตรียมไวให

9. นักเรียนทําแบบทดสอบที่ 2 แสดงการเกิดสารประกอบลิเทียมออกไซด และสารประกอบแมกนีเซียมไอโอไดด

Page 12: ภาคผนวก ก ผลการวิเคราะห ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00371/Appendix.pdf ·

74

10. เมื่อนักเรียนทําแบบทดสอบที่ 2 เสร็จแลวใหนํามาผลัดกันตรวจจากเฉลยที่ครูเตรียมไวให

ส่ือการเรียนการสอน 1. หนังสือเรียน วิชาเคมี 1 ว 432 2. แผนใส 3. แผนภาพ แสดงการเกิดสารประกอบโซเดียมคลอไรด และ สารประกอบแคลเซียม

คลอไรด 4. ใบความรู เร่ือง กฎออกเตด 5. ใบงานที่ 1 พันธะไอออนิก 1 6. ใบงานที่ 2 พันธะไอออนิก 2 7. แบบทดสอบที่ 1 พันธะไอออนิก 1 8. แบบทดสอบที่ 2 พันธะไอออนิก 2

การวัดและประเมินผล 1. สังเกตการอภิปรายในชั้นเรียน 2. การทําใบงานและแบบทดสอบ 3. พฤติกรรมการเรียนแบบรวมมือ

หมายเหตุ ใชวิธีการเรียนแบบรวมมือ แบบ Team Assisted Individualization (TAI)

Page 13: ภาคผนวก ก ผลการวิเคราะห ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00371/Appendix.pdf ·

75

ใบงานที่ 1 เร่ือง พันธะไอออนิก 1

การเกิดสารประกอบโซเดียมคลอไรด คําอธิบาย

1. ใหนักเรียนเลือกแทนอะตอมของโซเดียม และอะตอมของคลอรีน 2. เขียนการจัดเรียงเวเลนซอิเล็กตรอนของอะตอมโซเดียม และอะตอมของคลอรีน 3. เขียนรูปการ ให และ รับ อิเล็กตรอนระหวางอะตอม 4. นักเรียนเลือกแทนโซเดียมไอออน และคลอไรดไอออน พรอมกับเขียนระบุไอออน

บวก และ ไอออนลบ + -

โซเดียมอะตอม คลอรีนอะตอม โซเดียมไอออน คลอไรด ไอออน

ee

e

ee

ee

e

eeee

ee

e e e e e

e e e e

e

Page 14: ภาคผนวก ก ผลการวิเคราะห ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00371/Appendix.pdf ·

76

ใบงานที่ 2 เร่ือง พันธะไอออนิก 2

การเกิดสารประกอบโพแทสเซียมออกไซด คําอธิบาย

1. ใหนักเรียนเลือกแทนอะตอมของโซเดียม และอะตอมของออกซิเจน 2. เขียนการจัดเรียงเวเลนซอิเล็กตรอนของอะตอมโซเดียม และอะตอมของออกซิเจน 3. เขียนรูปการ ให และ รับ อิเล็กตรอนระหวางอะตอม 4. นักเรียนเลือกแทนโซเดียมไอออน และออกไซดไอออน พรอมกับเขียนระบุไอออน

บวก และ ไอออนลบ โซเดียมอะตอม

e

e eeee +

ee

ee

ee

ee ee ee e e

2e e

e ee

e

eee

+

eee

e

โซเดียม ออกซิเจน โซเดียมไอออน ออกไซดไอออน อะตอม อะตอม

Page 15: ภาคผนวก ก ผลการวิเคราะห ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00371/Appendix.pdf ·

77

แบบทดสอบที่ 1 เร่ือง การเกิดพันธะไอออนิก 1

คําสั่ง ใหนักเรียนเขียนแผนภาพ และ อธิบายการเกิดสารประกอบไอออนิกตอไปนี้ 1. ใหนักเรียนเขียนแผนภาพการเกิดสารประกอบ โซเดียมออกไซด พรอมอธิบาย การให และรับ อิเล็กตรอนของอะตอมการเกิดสารประกอบโซเดียมออกไซด การให และรับอิเล็กตรอนของอะตอมอธิบายไดวา ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ใหนักเรียนเขียนแผนภาพการเกิดสารประกอบ แมกเนเซียมคลอไรด พรอมอธิบาย การให และรับ อิเล็กตรอนของอะตอมการเกิดสารประกอบแมกเนเซียมคลอไรด การ ให และรับอิเล็กตรอนของอะตอมอธิบายไดวา ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

Page 16: ภาคผนวก ก ผลการวิเคราะห ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00371/Appendix.pdf ·

78

แบบทดสอบที่ 2 เร่ือง การเกิดพันธะไอออนิก 2

คําสั่ง ใหนักเรียนเขียนแผนภาพ พรอมอธิบายการเกิดสารประกอบไอออนิกตอไปนี้ 1. ใหนักเรียนเขียนแผนภาพการเกิดสารประกอบ ลิเทียมออกไซด พรอมอธิบาย การให และรับ อิเล็กตรอนของอะตอมการเกิดสารประกอบลิเทียมออกไซด การ ให และรับอิเล็กตรอนของอะตอมอธิบายไดวา ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ใหนักเรียนเขียนแผนภาพการเกิดสารประกอบ แมกเนเซียมไอโอไดด พรอม อธิบายการให และรับ อิเล็กตรอนของอะตอมการเกิดสารประกอบแมกเนเซียม ไอโอไดด การ ให และรับอิเล็กตรอนของอะตอมอธิบายไดวา ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

Page 17: ภาคผนวก ก ผลการวิเคราะห ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00371/Appendix.pdf ·

79

แผนการสอนที่ 4 เร่ือง การเขียนสูตร และเรียกชื่อสารประกอบไอออนิก เวลา 1 คาบ (50 นาที ) สาระสําคัญ การเขียนสูตรสารประกอบไอออนิก จะเขียนไอออนบวกนําหนา และตามดวยไอออนลบ ถาจํานวนไอออนบวกหรือไอออนลบ มากกวา 1 หมู ตองระบุจํานวนไอออนไวดวย ในกรณีไอออนเปนหมูธาตุ และมีมากกวา 1 หมู ใหใสวงเล็บแสดงจํานวนหมูของไอออน ดวยการเรียกชื่อสารประกอบไอออนิก เรียกชื่อไอออนบวก และไอออนลบ เรียงกันตามลําดับ จุดประสงคการเรียนรู

เขียนสูตร และเรียกชื่อสารประกอบไอออนิก กิจกรรมการเรียนการสอน

1. นักเรียนสํารวจอัตราสวน ระหวางไอออนบวก และไอออนลบ ที่รวมตัวเกิดเปนสารประกอบไอออนิก จากในใบงานที่ 1 และ 2 และแบบทดสอบที่ 1 และ 2 ทําลงในใบงานที่ 3

2. ครูใหความรู เร่ืองการเขียนสูตร และการเรียกชื่อสารประกอบไอออนิก 3. นักเรียนในกลุมจับคูกันทําแบบฝกหัด การเขียนสูตร และเรียกชื่อสารประกอบ ไอออนิก จากหนังสือเรียนวิชาเคมี 1 ว 432 หนา 96 ตาราง 3.3 จํานวนอยาง นอย 20 ช่ือ 4. ใหนักเรียนสลับคูกันในกลุม เพื่อตรวจสอบ เพิ่มเติมสูตรและเรียกชื่อสารประกอบ

ไอออนิก 5. ครูใหความรู การเขียนสูตร และการเรียกชื่อสารประกอบไอออนิกบางชนิดที่เกิด

จากโลหะแทรนซิช่ัน ส่ือการเรียนการสอน

1. หนังสือเรียน วิชาเคมี 1 ว 432 2. ใบงานที่ 3 อัตราสวนระหวางไอออนบวก และไอออนลบ ที่เกิดเปนสารประกอบ

ไอออนิก 3. แบบฝกหัดที่ 1 การเขียนสูตร และเรียกชื่อสารประกอบไอออนิก

Page 18: ภาคผนวก ก ผลการวิเคราะห ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00371/Appendix.pdf ·

80

การวัดและประเมินผล 1. สังเกตการอภิปรายในชั้นเรียน 2. การทําใบงานที่ 3 3. การทําแบบฝกหัดที่ 1 4. การทําแบบฝกหัด ที่ 3.1 5. พฤติกรรมการเรียนแบบรวมมือ

หมายเหตุ ใชวิธีการเรียนแบบรวมมือ แบบ Think - pair - Share

Page 19: ภาคผนวก ก ผลการวิเคราะห ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00371/Appendix.pdf ·

81

ใบงานที่ 3 เร่ือง อัตราสวนระหวางไอออนบวกและอออนลบ ที่เกิดเปนสารประกอบไอออนิก

คําอธิบาย จากใบงานที่ 1 ,2 และแบบทดสอบที่ 1, 2 ใหนักเรียนเติมสูตร , ไอออนบวก , ไอออนลบ และอัตราสวนของจํานวนไอออนลงในตารางใหสมบูรณ

ช่ือสารประกอบ ไอออนิก

สูตร อยางงาย

สูตร ไอออนบวก

สูตร ไอออนลบ

อัตราสวนของ ไอออนบวก : ไอออนลบ

โซเดียมคลอไรด แคลเซียมคลอไรด โซเดียมออกไซด แมกนีเซียมคลอไรด โพแทสเซียมออกไซด แคลเซียมไอโอไดด ลิเทียมออกไซด แมกนีเซียมไอโอไดด อลูมิเนียมออกไซด

Page 20: ภาคผนวก ก ผลการวิเคราะห ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00371/Appendix.pdf ·

82

แบบฝกหัดที่ 1 เร่ือง การเขียนสูตร และเรียกชื่อ สารประกอบไอออนิก

คําสั่ง ใหนักเรียนจับคูกันภายในกลุม ทําการเขียนสูตร และเรียกชื่อสารประกอบไอออนิก จาก หนังสือเรียนวิชาเคมี 1 ว 432 หนา 96 ตาราง 3.3 จํานวนอยางนอย 20 ช่ือ

สูตรสารประกอบไอออนิก ช่ือสารประกอบไอออนิก 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20

Page 21: ภาคผนวก ก ผลการวิเคราะห ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00371/Appendix.pdf ·

83

แผนการสอนที่ 5 เร่ือง โครงสรางของสารประกอบไอออนิก เวลา 1 คาบ (50 นาที ) สาระสําคัญ โครงสรางของสารประกอบไอออนิก เปนแบบจําลองแทนไอออนในโครงสรางของสรางประกอบไอออนิก จุดประสงคการเรียนรู

อธิบายเหตุผลที่สารประกอบไอออนิกไมมีสูตรโมเลกุล กิจกรรมการเรียนการสอน

1. ครูนําแบบจําลองโครงสรางของผลึกโซเดียมคลอไรด มาใหนักเรียนดู 2. นักเรียนปนดินน้ํามันแทนไออนโซเดียม และคลอไรด แลวใชไมจิ้มฟนตอแทน

พันธะไอออนิก 3. นักเรียนนับจํานวนไอออนลบที่อยูรอบไอออนบวก และไอออนบวกที่อยูรอบ

ไอออนลบ แลวหาอัตราสวนระหวางไอออนบวกกับไอออนลบ 4. ครูใหความรูเร่ืองโครงสรางสารประกอบไอออนิก

ส่ือการเรียนการสอน 1. หนังสือเรียน วิชาเคมี 1 ว 432 2. แบบจําลองโครงสรางผลึกโซเดียมคลอไรด 3. ดินน้ํามัน และไมจิ้มฟน 4. ใบความรูที่ 1 เร่ือง โครงสรางสารประกอบไอออนิก

การวัดและประเมินผล 1. สังเกตการอภิปรายในชั้นเรียน 2. การอภิปราย และตอบคําถาม 3. พฤติกรรมการเรียน

หมายเหตุ ใชวิธีการเรียนแบบรวมมือ แบบ Learning Together (LT)

Page 22: ภาคผนวก ก ผลการวิเคราะห ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00371/Appendix.pdf ·

84

ใบความรู ที่ 1 เร่ือง โครงสรางของสารประกอบไอออนิก

โครงสรางของสารประกอบไอออนิก ประกอบดวยไอออนบวก (แคทไอออน) รวมอยู (ดึงดูด , ยึดเหนี่ยว) กับไอออนลบ (แอนไอออน) ตอเนื่องกัน และสลับกันไปไมมีส้ินสุด แบบสามมิติ โดยไมสามารถแยกเปนโมเลกุล มีลักษณะ โครงผลึกของโซเดียมคลอไรด มีโซเดียมไอออน ลอมรอบดวย คลอไรด ไอออน 6 ไอออน ทํานองเดียวกัน คลอไรด ไอออน ลอมรอบดวย โซเดียมไอออน 6 ไอออน สูตรของสารประกอบไอออนิก จึงเปนเพียงสูตรอยางงาย ใชแสดงอัตราสวนอยางต่ําของไอออนที่เปนองคประกอบเทานั้น สารประกอบไอออนิกไมมีสูตรโมเลกุล ดังนั้น พันธะไอออนิก เปนแรงดึงดูดระหวางไอออน

สมบัติของสารประกอบไอออนิก

เนื่องจากสารประกอบไอออนิก ประกอบดวยไอออนบวก เรียงสลับกับไอออนลบไป เร่ือย ๆ ไมมีขอบเขตแนนอน ดังนั้นจึงไมสามารถจํากัดลงไปไดวา 1 โมเลกุลประกอบดวยกี่ไอออน เพราะเสมือนกับผลึกทั้งผลึกเปน 1 โมเลกุล ดังนั้น สารประกอบประเภทนี้จึงไมมี สูตรโมเลกุล มีเฉพาะสูตรอยางงาย จึงอนุโลมใหใชสูตรอยางงายแทนสูตรโมเลกุล โดยทั่วไป สารประกอบไอออนิกจะแข็งแตเปราะ จุดเดือด จุดหลอมเหลวสูง พลังงานโครงผลึกสูง เพราะแรงยึดเหนี่ยวเปนแรงทางไฟฟาซึ่งมีคาสูงมาก และแรงทางไฟฟานี้กระจายไปทั่วทั้งผลึกอยางสมดุล แตถาทุบ หรือบิดใหเปล่ียนรูป จะทําใหไอออนชนิดเดียวกันมาอยูใกลกันเกิดแรงผลักขึ้น ผลึกจึงแตกไดงายกวาในสภาพปกติ สารไอออนิกอยูในสถานะของแข็งที่มีแรงยึดเหนี่ยวสูง ไอออนหรืออิเล็กตรอนไมมีการเคลื่อนที่ จึงไมนําไฟฟา แตเมื่อหลอมเหลว หรือละลายเปนสารละลาย ไอออนสามารถเคลื่อนที่ไดจึงนําไฟฟา

Page 23: ภาคผนวก ก ผลการวิเคราะห ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00371/Appendix.pdf ·

85

แผนการสอนที่ 6 เร่ือง สมบัติบางประการของสารประกอบไอออนิก เวลา 1 คาบ (50 นาที ) สาระสําคัญ การละลายของสารประกอบไอออนิกในน้ํา มีทั้งการเปลี่ยนแปลงพลังงานในรูปของการคายความรอน และดูดความรอน แสดงวาในการละลายน้ําของสารประกอบไอออนิก มีการสลายพันธะ และการเกิดพันธะ จุดประสงคการเรียนรู

บอกไดวาการละลายของสารประกอบไอออนิก มีการเปลี่ยนแปลงพลังงานแบบดูดความรอน หรือ คายความรอน

กิจกรรมการเรียนการสอน 1. ทบทวนเรื่องแรงยึดเหนี่ยว ระหวางอนุภาคของสารประกอบไอออนิก 2. ใหนักเรียนกลุมเดิม (Home Team) ศึกษาการทดลอง 3.1 โดยครูเพิ่มการทดลองการ

ละลายแคลเซียมคารเนต 3. นักเรียนแยกไปเขากลุมผูเชี่ยวชาญ (Expert Team) จํานวน 4 กลุม เพื่อทดลองดัง

นี้ ทดสอบการละลายของคอปเปอร(II)ซัลเฟต (CuSO4 ) ทดสอบการละลายของแอมโมเนียมคลอไรด (NH4 Cl) ทดสอบการละลายของโซเดียมคลอไรด (NaCl) ทดสอบการละลายของแคลเซียมคารบอเนต (CaCO3 )

กําหนดใหแตละกลุมทําการทดลองอยางนอย 2 คร้ัง 4. เมื่อทดลองเสร็จแลวใหนักเรียนนําผลการทดลองกลับไปยังกลุมเดิม เพื่ออภิปราย

ผลการทดลอง และเขียนรายงายการทดลอง ส่ือการเรียนการสอน

อุปกรณ และสารเคมี ตามการทดลอง 3.1 การวัดและประเมินผล

1. สังเกตการอภิปรายผลการทดลองในชั้นเรียน 2. พฤติกรรมการเรียนแบบรวมมือ

หมายเหตุ ใชวิธีการเรียนแบบรวมมือ แบบ Jigsaw II

Page 24: ภาคผนวก ก ผลการวิเคราะห ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00371/Appendix.pdf ·

86

แผนการสอนที่ 7 เร่ือง การเกิดพันธะโคเวเลนต เวลา 1 คาบ (50 นาที )

สาระสําคัญ อะตอมจะยึดเหนี่ยวกันเปนโมเลกุล จะมีแรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาคของสาร เรียกวาพันธะเคมี ในพันธะเคมีมีการเปลี่ยนแปลงพลังงาน ไดขอสรุปดังนี้

1. เมื่อ ไฮโดรเจนอะตอม เขาใกลกันเปนโมเลกุลได เพราะมีแรงยึดเหนี่ยว ระหวางโปรตอน ในนิวเคลียส กับ อิเล็กตรอน อีกอะตอมหนึ่ง เพิ่มเติมจากการเกิดแรงยึดเหนี่ยวระหวางนิวเคลียส กับอิเล็กตรอน ที่มีอยูแลวในอะตอมเดียวกัน เนื่องจากการเกิดแรงยึดเหนี่ยว จะมีการคายพลังงาน มีผลทําใหพลังงานของโมเลกุล ต่ํากวาพลังงานรวมของอะตอมเดี่ยว 2 อะตอม

2. อิเล็กตรอนทั้งสอง ในโมเลกุลไฮโดรเจน เปนอิเล็กตรอนของ ไฮโดรเจนอะตอมทั้งสองอะตอม การที่ไฮโดรเจนอะตอมใช อิเล็กตรอนคูรวมพันธะ เรียกวาเกิดพันธะ

โคเวเลนต 3. นิวเคลียสของไฮโดรเจนอะตอม ทั้งสองจะเขาใกลกันในระยะจํากัดระยะหนึ่ง คือ

74 พิโคเมตร ซ่ึงทําใหแรงดึงดูด และแรงผลักสมดุลกัน จุดประสงคการเรียนรู

อธิบายการเกิดแรงยึดเหนี่ยวระหวางอะตอมในโมเลกุล กิจกรรมการเรียนการสอน

1. นักเรียนศึกษาใบความรู เร่ือง พันธะโคเวเลนตของไฮโดรเจน 2. นักเรียนดูรูป 3.6 กลุมหมอกอิเล็กตรอนของไฮโดรเจนอะตอม และไฮโดรเจน

โมเลกุล ในหนังสือเรียน วิชาเคมี 1 หนา 106 ประกอบคําอธิบาย ในขอ 1 3. นักเรียนดูแผนภาพการจําลองแรงผลัก และแรงดึงดูด ระหวาง ไฮโดรเจน ทั้งสอง

อะตอม 4. นักเรียนดูแผนภาพ 3.7 กราฟแสดงการเปลี่ยนแปลงพลังงานในการเกิดไฮโดรเจน

โมเลกุล ในหนังสือเรียน วิชาเคมี หนา 107 5. ครูอธิบาย กราฟแสดงการเปลี่ยนแปลงพลังงานในการเกิดไฮโดรเจนโมเลกุล 6. นักเรียนเขียนภาพ ความสัมพันธของ ไฮโดรเจนอะตอม และไฮโดรเจนโมเลกุล

กับ กราฟแสดงการเปลี่ยนแปลงพลังงานในการเกิดไฮโดรเจนโมเลกุล

Page 25: ภาคผนวก ก ผลการวิเคราะห ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00371/Appendix.pdf ·

87

ส่ือการเรียนการสอน 1. หนังสือเรียน วิชาเคมี 1 ว.432 2. ใบความรูที่ 3 เร่ือง กลุมหมอกอิเล็กตรอนของไฮโดรเจนอะตอม และไฮโดรเจน

โมเลกุล 3. แผนภาพ การจําลองแรงผลัก และแรงดึงดูด ระหวางพันธะของไฮโดรเจน ทั้งสอง

อะตอม การวัดและประเมินผล

1. สังเกตการอภิปราย และการตอบคําถามในชั้นเรียน 2. การเขียนภาพ ความสัมพันธของ ไฮโดรเจนอะตอม และไฮโดรเจนโมเลกุล กับ

กราฟแสดงการเปลี่ยนแปลงพลังงานในการเกิดไฮโดรเจนโมเลกุล

หมายเหตุ ใชวิธีการเรียนแบบรวมมือ แบบ Learning Together (LT)

Page 26: ภาคผนวก ก ผลการวิเคราะห ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00371/Appendix.pdf ·

88

ใบความรูที่ 3 เร่ือง พันธะโคเวเลนต ของไฮโดรเจน

การเกิดแรงยึดเหนี่ยวระหวางไฮโดรเจนอะตอม ในไฮโดรเจนโมเลกุล มีลักษณะดังนี้

1. ไฮโดรเจน 2 อะตอมเขาใกลกันเกิดเปนโมเลกุลได เพราะมีแรงยึดเหนี่ยวระหวางนิวเคลียส (โปรตอน) กับอิเล็กตรอนของตางอะตอมกัน เพิ่มเติมจากแรงยึดเหนี่ยว ระหวางนิวเคลียสกับอิเล็กตรอน ที่มีอยูแลวในอะตอมเดียวกัน มีผลทําใหพลังงานของโมเลกุลต่ํากวาพลังงานรวมของอะตอมเดี่ยว 2 อะตอม ระบบที่เปนโมเลกุลจึงเสถียรกวาระบบที่เปนอะตอม

2. อิเล็กตรอนจะดึงดูดนิวเคลียสทั้งสองใหเขาใกลกันได ก็ตอเมื่ออิเล็กตรอนอยูในบริเวณระหวางนิวเคลียสทั้งสอง

3. นิวเคลียสทั้งสองเขาใกลกันได ระยะจํากัดระยะหนึ่งที่ทําใหแรงดึงดูดและแรงผลักสมดุลกัน หลังจากนั้นจะไมเขามาชิดกัน เพราะการสมดุลนั้นมีคามากกวาแรงผลัก ระหวางนิวเคลียสกับนิวเคลียส และระหวางอิเล็กตรอนกับอิเล็กตรอนตางอะตอมกัน ระยะระหวางนิวเคลียสทั้งสองที่เหมาะเทากับ 74 พิโคเมตร

4. แมอิเล็กตรอนจะถูกใชเมื่อสรางพันธะแลว อิเล็กตรอนทั้งสองในโมเลกุลไฮโดรเจนก็ยังเคลื่อนที่ได แตสวนใหญจะเคลื่อนที่อยูในบริเวณระหวางนิวเคลียสทั้งสอง จึงถือวาอิเล็กตรอนทั้งสองเปนอิเล็กตรอนของไฮโดรเจนทั้งสองอะตอม

e แรงดึงดูด + + แรงผลัก e

Page 27: ภาคผนวก ก ผลการวิเคราะห ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00371/Appendix.pdf ·

89

แผนการสอนที่ 8 เร่ือง ชนิดของพันธะโคเวเลนต เวลา 2 คาบ (100 นาที )

สาระสําคัญ พันธะโคเวเลนต แบงไดเปน 3 ชนิด ดังนี้

1. พันธะเดี่ยว เปนพันธะที่ใชอิเล็กตรอนคูรวมกัน 1 คู 2. พันธะคู เปนพันธะที่ใชอิเล็กตรอนคูรวมกัน 2 คู 3. พันธะสาม เปนพันธะที่ใชอิเล็กตรอนคูรวมกัน 3 คู

จุดประสงคการเรียนรู 1. บอกจํานวนพันธะ และจํานวนอิเล็กตรอนคูรวมพันธะในโมเลกุลโคเวเลนต 2. เขียนสูตรแบบจุด และสูตรแบบเสน ของสารประกอบโคเวเลนต

กิจกรรมการเรียนการสอน 1. ครูใหความรูเร่ืองการเขียนสูตรแบบจุด (Electron - dot Formula ) และสูตรแบบ

เสน (Graphic Formula) ของสารประกอบโคเวเลนต 2. นักเรียนศึกษาหาความรู เร่ือง กฎออกเตต 3. ครูอธิบายความหมาย และตัวอยางของชนิดของพันธะโคเวเลนต 4. นักเรียนในกลุมจับคูกันทําแบบฝกหัด 5. ครูแจกแบบฝกหัดใหนักเรียนทําแบบฝกหัด การเขียนสูตรของพันธะโคเวเลนต แบบ จุด และ แบบเสน และระบุชนิดของพันธะโคเวเลนต 6. เมื่อนักเรียนทําแบบฝกหัดเสร็จ ใหเปล่ียนคูกันตรวจความถูกตอง 7. ครูและนักเรียนชวยกันสรุปความรูที่เรียนมา

ส่ือการเรียนการสอน 1. หนังสือเรียน วิชาเคมี 1 ว 432 2. ใบความรูที่ 4 เร่ือง การเขียนสูตรแบบจุด (Electron - dot Formula ) และสูตรแบบ

เสน (Graphic Formula) ของสารประกอบโคเวเลนต 3. แบบฝกหัดที่ 2 เร่ือง การเขียนสูตรของพันธะโคเวเลนต แบบ จุด และ แบบเสน

และระบุชนิดของพันธะโคเวเลนต การวัดและประเมินผล

1. สังเกตการอภิปรายในชั้นเรียน

Page 28: ภาคผนวก ก ผลการวิเคราะห ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00371/Appendix.pdf ·

90

2. การทําแบบฝกหัด เร่ือง การเขียนสูตรของพันธะโคเวเลนต แบบ จุด และ แบบเสน และระบุชนิดของพันธะโคเวเลนต

3. พฤติกรรมการเรียนแบบรวมมือ

หมายเหตุ ใชวิธีการเรียนแบบรวมมือ แบบ Think - Pair - Share

Page 29: ภาคผนวก ก ผลการวิเคราะห ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00371/Appendix.pdf ·

91

ใบความรูที่ 4 เร่ือง การเขียนสูตรแบบจุด (Electron - dot formula ) และสูตรแบบเสน (Graphic Formula)

ของสารประกอบโคเวเลนต

สูตรเคมีของสารประกอบโคเวเลนต จะเขียนเปนสูตรโครงสราง เพื่อแสดงพันธะ โคเวเลนต ซ่ึงเกี่ยวของกับเวเลนซอิเล็กตรอน มี 2 แบบคือ

การเขียนสูตรแบบจุด (Electron - dot formula ) เปนสูตรที่ใชจุด (.) แทนเวเลนซอิเล็ก ตรอนโดย จุด 1 จุด แทนอิเล็กตรอน 1 ตัว เมื่อเขียนสัญลักษณของธาตุ แลวเขียนจุดรอบสัญลักษณของธาตุตามจํานวนเวเลนซอิเล็กตรอน สําหรับอิเล็กตรอนคูรวมพันธะ ใหเขียนเปนจุดอยูระหวางอะตอมคูรวมพันธะ

ตัวอยาง

O O Cl Be Cl

สูตรแบบเสน (Graphic Formula) เปนสูตรที่ใชเสน (-) แทนอิเล็กตรอนคูรวมพันธะ

โดยเสน 1 เสน แทนอิเล็กตรอนคูรวมพันธะ 1 คู เมื่อเขียนสัญลักษณของธาตุที่เปนอะตอมคูรวมพันธะ แลวใหเขียนเสนอยูระหวางสัญลักษณของธาตุ สวนเวเลนซอิเล็กตรอนที่ไมใชสรางพันธะ จะเขียน หรือ ไมเขียนไวในสูตรแบบเสนก็ได แตถาเขียนไวในสูตรแบบเสนจะตองใชจุดแทนอิเล็กตรอน

ตัวอยาง

O O Cl Be Cl

หรือ

O O Cl Be Cl

Page 30: ภาคผนวก ก ผลการวิเคราะห ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00371/Appendix.pdf ·

92

แบบฝกหัดที่ 2 เร่ือง การเขียนสูตรของพันธะโคเวเลนต แบบ จุด และ แบบเสน

และระบุชนิดของพันธะโคเวเลนต

สาร สูตรแบบจุด สูตรแบบเสน จํานวนพันธะมีในสูตร พันธะเดี่ยว พันธะคู พันธะสาม

Br 2

C 2 H 2

H 2 O

S8

NH3

CS 2

N 2

C 2 H4

CCl4

HCN

Page 31: ภาคผนวก ก ผลการวิเคราะห ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00371/Appendix.pdf ·

93

แผนการสอนที่ 9 เร่ือง ความยาวพันธะ และพลังงานพันธะ เวลา 2 คาบ (100 นาที ) สาระสําคัญ พลังงานพันธะ คือ พลังงานที่ใชในการสลายอะตอมคูหนึ่ง ในภาวะกาซออกเปนอะตอมเดี่ยว พลังงานพันธะเปนคาพลังงานพันธะเฉลี่ย ความยาวพันธะ คือ ระยะหางระหวางนิวเคลียสของอะตอมคูหนึ่ง ๆ ที่มีพันธะตอกัน เปรียบเทียบความยาวพันธะ สําหรับธาตุคูหนึ่ง ๆ พบวา ความยาวพันธะเดี่ยว > พันธะคู > พันธะสาม และความแข็งแรงของพันธะ พันธะเดี่ยว < พันธะคู < พันธะสาม จุดประสงคการเรียนรู

1. บอกความหมายของพลังงานพันธะ และความยาวพันธะ 2. บอกความสัมพันธระหวางชนิดของพันธะโคเวเลนต กับพลังงานพันธะ และ ความ

ยาวพันธะ กิจกรรมการเรียนการสอน

1. ครูแจกใบความรู และแนะนําการศึกษา เร่ืองความยาวพันธะ และพลังงานพันธะใหกับนักเรียนในกลุม (Home Team) ศึกษารายละเอียด

2. ครูใหนักเรียนกลุมเดิม (Home Team) แตละกลุมแยกออกไปศึกษา กับกลุมผูเชี่ยวชาญ (Expert Team) ในเรื่องตอไปนี้

ความยาวพันธะ พลังงานพันธะ ความสัมพันธระหวางชนิดพันธะโคเวเลนตกับพลังงานพันธะ ปรากฏการณเรโซแนนซ 3. นักเรียนเขากลุมศึกษากับกลุมผูเชี่ยวชาญ (Expert Team) ในเรื่องที่ไดรับมอบ

หมาย เพื่อนําไปเสนอใหความรูแกกลุมเดิม 4. เมื่อนักเรียนในกลุมผูเชี่ยวชาญ (Expert Team) ไดศึกษาเรื่องที่ไดรับมอบหมาย

เรียบรอยแลว กลับมาถายทอดความรูใหกับสมาชิกในกลุมเดิม (Home Team) 5. สมาชิกในกลุมเดิมรวมกันซักถาม และ อภิปรายความรูที่รวมกันศึกษา 6. ครูอธิบาย การคํานวณพลังงานที่ใชในการสลายพันธะ และขั้นตอนการคํานวณพลัง

งานพันธะของปฏิกริยาเคมี

Page 32: ภาคผนวก ก ผลการวิเคราะห ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00371/Appendix.pdf ·

94

ส่ือการเรียนการสอน 1. หนังสือเรียน วิชาเคมี 1 ว 432 2. ใบความรูที่ 6 เร่ือง ความยาวพันธะ และพลังงานพันธะ

การวัดและประเมินผล 1. สังเกตการอภิปรายในชั้นเรียน 2. พฤติกรรมการเรียนแบบรวมมือ

หมายเหตุ ใชวิธีการเรียนแบบรวมมือ แบบ Jigsaw II

Page 33: ภาคผนวก ก ผลการวิเคราะห ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00371/Appendix.pdf ·

95

ใบความรูที่ 6 เร่ือง พลังงานพันธะ และความยาวพันธะ

เมื่ออะตอมสองอะตอมยึดเหนี่ยวกันดวยพันธะโคเวเลนตในโมเลกุลโคเวเลนต ถาตองการแยกอะตอมทั้งสอง ออกจากกันกลายเปนอะตอมอิสระตองใหพลังงาน แกโมเลกุลเพื่อทําลายแรงยึดเหนี่ยวระหวางอะตอม หรือสลายพันธะโคเวเลนต พลังงานที่ใหแกโมเลกุลนี้เรียกวา พลังงานพันธะ พลังงานพันธะ (Bond Energy) คือปริมาณพลังงานที่ใชในการสลายพันธะเคมี ระหวางอะตอมคูใดคูหนึ่ง ในโมเลกุลใหกลายเปนอะตอมอิสระ ในสถานะกาซ แตพันธะระหวางอะตอมคูเดียวกันแตอยูในโมเลกุลตางกัน จะมีคาพลังงานพันธะไมเทากัน เชน พันธะ C - H ในโมเลกุลตาง ๆ มีคาไมเทากัน แตมีคาตางกันไมมาก การหาพลังงานพันธะของอะตอมคูเดียวกัน ตองใชคาพลังงานเทากันทุกโมเลกุล ดังนั้นจึงใชคาพลังงานพันธะเฉลี่ย พลังงานพันธะเฉลี่ยของ H - H เทากับ 436 kJ/mol อธิบายไดวาถาตองการสลายพันธะของ H - H 1 โมล ตองใชพลังงาน 436 kJ พันธะของอะตอมคูเดียวกันแตชนิดของพันธะตางกัน เชน พันธะ C - C , C = C , C = C พันธะแตละชนิดมีคาพลังงานพันธะตางกัน โดยพันธะสามมีคาพลังงานมากที่สุด สวนพันธะเดี่ยวมีคาพลังงานนอยที่สุด แสดงวาการสลายพันธะสามตองใชพลังงานมากที่สุด จึงสลายพันธะยากที่สุด และแข็งแรงมากที่สุด การเปรียบเทียบพลังงานของพันธะทั้ง 3 ชนิด พันธะสาม > พันธะคู > พันธะเดี่ยว การสลายพันธะของอะตอมคูรวมพันธะตองใชพลังงาน เชน H - H + 436 kJ 2H

จากสมการนี้พันธะเดี่ยวระหวางไฮโดรเจน สองอะตอม ในโมเลกุล H 2 เมื่อไดรับพลังงานเทากับพลังงานพันธะ จะสลายพันธะกลายเปนอะตอมของ H จํานวน 2 อะตอม แสดงวาโมเลกุลของ H ดูดพลังงานแลวกลายเปนอะตอมของ H จํานวน 2 อะตอม คาพลังงานของ H จํานวน 2 อะตอมจะมีพลังงานสูงกวาโมเลกุลของ H 1 โมเลกุล การเปลี่ยนแปลงพลังงานของ (∆H) ของสมการนี้ใชเครื่องหมาย (+)

2

2

H 2 ( 2H( )g )g ∆H = + 436 kJ

Page 34: ภาคผนวก ก ผลการวิเคราะห ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00371/Appendix.pdf ·

96

ในทางกลับกันถาไฮโดรเจน จํานวน 2 อะตอม สรางพันธะโคเวเลนต แลวกลายเปนโมเลกุลของ H จะคายพลังงานใหแกส่ิงแวดลอม การเปลี่ยนแปลงพลังงานในลักษณะนี้จะ ใชเครื่องหมายลบ (-) โดยคาพลังงานในการสรางพันธะของอะตอมคูเดียวกัน

2

2H( H )g 2 ( )g ∆H = - 436 kJ ความยาวพันธะ (Bond leangth) อะตอมสองอะตอมสรางพันธะกันกลายเปนโมเลกุลไดนั้น อะตอมทั้งสองอะตอมตองอยูใกลกันในระยะที่พอเหมาะที่จะทําใหแรงดึงดูดและแรงผลักระหวางอะตอมทั้งสองสมดุลกัน และเกิดพลังงานต่ําที่สุดจึงจะเสถียร จึงกลายเปนโมเลกุลโควาเลนต ระยะที่พอเหมาะระหวางอะตอมสองอะตอมที่สรางพันธะกัน เรียกวา ความยาวพันธะ มีหนวยเปน พิโคเมตร (pm) หรือ อังสตรอม (A) 1 พิโคเมตร (pm) = 10−12 เมตร (m) อะตอมคูรวมพันธะคูเดียวกันเมื่ออยูในโมเลกุลตางชนิดกันอาจมีความยาวพันธะตางกันเล็กนอย จึงตองใชพันธะเฉลี่ย เมื่อพิจารณาความยาวพันธะของอะตอมคูรวมพันธะชนิดเดียวกัน แตละชนิดของพันธะตางกัน เชน C - C , C = C , C = C จะพบวาพันธะเดี่ยวจะมีความยาวพันธะมากที่สุด สวนพันธะสามมีความยาวพันธะนอยที่สุด การเปรียบเทียบความยาวพันธะของพันธะชนิดตาง ๆ พันธะเดี่ยว > พันธะคู > พันธะสาม ปรากฎการณเรโซแนนซ (resonance) ความยาวพันธะของอะตอมคูรวมพันธะในบางโมเลกุล เชน กาซซัลเฟอรไดออกไซด (SO 2 ) สามารถเขียนสูตรโครงสรางได 2 แบบ แต ละแบบ ประกอบดวยพันธะคู 1 พันธะ และ พันธะเดี่ยว 1 พันธะ ดังรูป S S O O O O ความยาวพันธะทั้งสองจะตองมีความยาวพันธะไมเทากัน คือ พันธะ S = O มีความ ยาวพันธะมากกวา S - O แตจากการศึกษาความยาวพันธะในโมเลกุลของ SO พบวาความยาวพันธะของ S = O และ S - O มีคาเทากัน คือ 143 พิโคเมตร ซ่ึงมีคามากกวาความยาวพันธะของ S = O แตมีคานอยกวาความยาวพันธะของ S - O แสดงวาความยาวพันธะของ S และ O ใน SO 2 เปนคาเฉลี่ยระหวางพันธะคู (S = O) และพันธะเดี่ยว (S - O) ซ่ึงอธิบายไดวา อิเล็กตรอนคู

2

Page 35: ภาคผนวก ก ผลการวิเคราะห ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00371/Appendix.pdf ·

97

พันธะ 1 คู เคลื่อนที่ไปมาระหวางพันธะทั้งสองพันธะระหวาง S กับ O จะใชอิเล็กตรอนรวมกัน 1 คู 1

2

Page 36: ภาคผนวก ก ผลการวิเคราะห ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00371/Appendix.pdf ·

98

แผนการสอนที่ 10 เร่ือง การเขียนสูตร และเรียกชื่อสารโคเวเลนต เวลา 1 คาบ (50 นาที ) สาระสําคัญ การเขียนสูตรสารประกอบโควาเลนต เปนการเขียนสูตรเคมีของสารประกอบโคเวเลนต เพื่อแสดงพันธะโคเวเลนต ซ่ึงเกี่ยวของกับเวเลนซอิเล็กตรอน การเรียกชื่อสารประกอบโคเวเลนต ใชหลักตามระบบ IUPAC โดยเรียกชื่อตาม สูตรโมเลกุล จุดประสงคการเรียนรู

เขียนสูตรแบบตาง ๆ ของสารประกอบโคเวเลนต ที่อะตอมรวมกันตามกฎออกเตต พรอมทั้งการเรียกชื่อสารประกอบโคเวเลนต

กิจกรรมการเรียนการสอน 1. ครูอธิบาย การเขียนสูตร และการเรียกชื่อสารประกอบโคเวเลนต ใหนักเรียน 2. นักเรียนในกลุมจับคู เพื่อชวยกันเขียนสูตร และเรียกชื่อสารประกอบโคเวเลนต

จากหนังสือเรียน วิชาเคมี 1 หนา 117 แบบฝกหัด 3.2 ขอ 1 , 4 3. นักเรียนเปลี่ยนจับคูใหม เพื่อตรวจสอบแกไขความบกพรองการทําแบบฝกหัด3.2 4. นักเรียนที่จับคูตาม ขอ 3 ชวยกันหาสารประกอบโคเวเลนต และเขียนสูตร และ

เรียกชื่อ สารประกอบโคเวเลนต เพิ่มเติมจาก แบบฝกหัด 3.2 จํานวน 10 สูตร 5. นักเรียนเปลี่ยนจับคูใหม เพื่อตรวจสอบการเขียนสูตร และเรียกชื่อสารประกอบ โคเวเลนต 6. ครูทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ือง พันธะเคมี คร้ังที่ 2

ส่ือการเรียนการสอน 1. หนังสือเรียน วิชาเคมี ว 432

การวัดและประเมินผล 1. การทําแบบฝกหัด 3.2 2. การเขียนสูตร และเรียกชื่อสารประกอบโคเวเลนต เพิ่มเติมจากแบบฝกหัด 3.2 3. พฤติกรรมการเรียนแบบรวมมือ

หมายเหตุ ใชวิธีการเรียนแบบรวมมือ แบบ Think - Pair – Share

Page 37: ภาคผนวก ก ผลการวิเคราะห ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00371/Appendix.pdf ·

99

แผนการสอนที่ 11 เร่ือง รูปรางโมเลกุลโควาเลนต เวลา 1 คาบ (50 นาที )

สาระสําคัญ การพิจารณารูปรางโมเลกุลโควาเลนต ตองปจจัยตอไปนี้ -จํานวนอิเล็กตรอนคูรวมพันธะรอบอะตอมกลาง -จํานวนอิเล็กตรอนคูโดดเดียว -รูปรางโมเลกุล และมุมพันธะ

จุดประสงคการเรียนรู ศึกษาการจัดตัวของลูกโปง เพื่อนําไปอธิบายรูปรางโมเลกุลโคเวเลนต

กิจกรรมการเรียนการสอน 1. ครูอธิบายจุดประสงคการทดลอง 3.2 เร่ืองการจัดเรียงตัวของลูกโปงกับรูปราง

โมเลกุล 2. ครูใหนักเรียนทําการทดลอง 3.2 3. นักเรียนชวยกันอภิปราย และสรุปผลการทดลอง 4. ครูอธิบายการพิจารณารูปรางโมเลกุลโคเวเลนต

ส่ือการเรียนการสอน 1. หนังสือเรียน วิชาเคมี ว 432 2. อุปกรณการทดลอง 3.2

การวัดและประเมินผล 1. สังเกตการอภิปรายในชั้นเรียน 2. การทําการทดลอง และการเขียนรายงานการทดลอง

หมายเหตุ ใชวิธีการเรียนแบบรวมมือ แบบ Learning Together (LT)

Page 38: ภาคผนวก ก ผลการวิเคราะห ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00371/Appendix.pdf ·

100

แผนการสอนที่ 12 เร่ือง สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต เวลา 1 คาบ (50 นาที )

สาระสําคัญ สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนตขึ้นอยูกับสภาพขั้วของพันธะโคเวเลนต และรูปรางโมเลกุล ดังนี้

1. โมเลกุลที่ประกอบดวยอะตอมของธาตุชนิดเดียวกัน เปนพันธะโคเวเลนตไมมีขั้ว และ โมเลกุลไมมีขั้ว

2. โมเลกุลที่ประกอบดวยธาตุ 2 ธาตุ ที่ตางกัน เปนพันธะโคเวเลนตมีขั้ว และ โมเลกุลมีขั้ว

3. อะตอมกลางของโมเลกุลใชเวเลนซอิเล็กตรอนทั้งหมดในการสรางพันธะกับธาตุเพียงชนิดเดียว เปนพันธะโคเวเลนตมีขั้ว และโมเลกุลไมมีขั้ว

4. โมเลกุลที่ประกอบดวยธาตุตางชนิดกัน และมีจํานวนอะตอมในโมเลกุลมากกวาสองอะตอม เปนพันธะโคเวเลนตมีขั้ว สภาพขั้วของโมเลกุล ขึ้นอยูกับรูปรางโมเลกุล

จุดประสงคการเรียนรู 1. อธิบายความหมายของพันธะโคเวเลนตมีขั้ว พันธะโคเวเลนตไมมีขั้วโมเลกุลมีขั้ว

โมเลกุลไมมีขั้ว 2. บอกสภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต เมื่อทราบสภาพขั้วของพันธะโคเวเลนต และ

รูปรางโมเลกุลของสารบางชนิด กิจกรรมการเรียนการสอน

1. ครูใหนักเรียนทบทวนความรู เร่ืองรูปรางโมเลกุลของสารประกอบโคเวเลนต 2. นักเรียนแตละกลุมชวยกันหาความหมายของคําศัพท และยกตัวอยาง กลุมละ หนึ่งคําศัพท จากคําศัพทตอไปนี้

-อิเล็กโตรเนกาติวิตี -พันธะโคเวเลนตไมมีขั้ว -พันธะโคเวเลนตมีขั้ว -อํานาจไฟฟาบวก -อํานาจไฟฟาลบ

Page 39: ภาคผนวก ก ผลการวิเคราะห ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00371/Appendix.pdf ·

101

-ความแรงของสภาพขั้ว -โมเลกุลไมมีขั้ว -โมเลกุลมีขั้ว

3. เมื่อแตละกลุมชวยกันหาศัพทเสร็จแลวเขียนลงในแผนใสเพื่อนําเสนอใหเพื่อนในหองทราบ

4. ครูใหความรู เร่ือง การพิจารณาขั้วของพันธะโคเวเลนต 5. ครูอธิบายวิธีเปรียบเทียบความแรงของสภาพขั้ว 6. นักเรียนทําใบงาน การเปรียบเทียบความแรงของสภาพขั้ว พรอมใสสัญลักษณ

แสดงอํานาจไฟฟาใหถูกตอง ส่ือการเรียนการสอน

1. หนังสือเรียน วิชาเคมี 1 ว 432 2. แผนใส 3. ใบความรูที่ 9 เร่ือง สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต 4. ใบงานที่ 5 เร่ือง ความแรงของสภาพขั้ว

การวัดและประเมินผล 1. สังเกตการอภิปรายในชั้นเรียน 2. การทําใบงานที่ 5 3. พฤติกรรมการเรียนแบบรวมมือ

หมายเหตุ ใชวิธีการเรียนแบบรวมมือ แบบ Group Investigation (GI)

Page 40: ภาคผนวก ก ผลการวิเคราะห ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00371/Appendix.pdf ·

102

ใบงานที่ 5 เร่ือง ความแรงของสภาพขั้ว

คําสั่ง ใหนักเรียนเติมคาอิเล็กโทรเนกาติวิตี (EN) ของธาตุแตละคู และหาคาผลตางของคา อิเล็กโทรเนกาติวิตี พรอมเติมสัญลักษณ δ + δ − และ แสดงอํานาจไฟฟาใหถูกตอง ตัวอยาง H - Cl คา EN. 2.20 3.16 ผลตางของคา EN 0.96 อํานาจไฟฟา บวก ลบ สัญลักษณ δ + δ − 1. H - H คา EN ……… ………… ผลตางของคาEN ………. อํานาจไฟฟา ……… ………… สัญลักษณ 2. Be - Cl คา EN ……… ………… ผลตางของคาEN ………. อํานาจไฟฟา ……… ………… สัญลักษณ 3. N - H คา EN ……… ………… ผลตางของคาEN ………. อํานาจไฟฟา ……… ………… สัญลักษณ 4. C - Cl คา EN ……… ………… ผลตางของคาEN ………. อํานาจไฟฟา ……… ………… สัญลักษณ

Page 41: ภาคผนวก ก ผลการวิเคราะห ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00371/Appendix.pdf ·

103

แผนการสอนที่ 13 เร่ือง แรงยึดเหนี่ยวระหวางโมเลกุล เวลา 1 คาบ (50 นาที )

สาระสําคัญ แรงยึดเหนี่ยวระหวางโมเลกุล โดยทั่วไปเปนแรงแวนเดอรวาลส เปนแรงยึดเหนี่ยวที่ออน แตมีสารประกอบโคเวเลนตบางชนิดมีแรงยึดเหนี่ยวที่สูงกวาปกติ เพราะมีพันธะไฮโดรเจน จุดประสงคการเรียนรู

อธิบายชนิด และลักษณะของแรงยึดเหนี่ยวระหวางโมเลกุล กิจกรรมการเรียนการสอน

1. ครูใหนักเรียนศึกษาหนังสือเรียน วิชาเคมี 1 หนา 130 ตาราง 3.9 จุดเดือด และจุดหลอมเหลวของสารบางชนิด เพื่อใหนักเรียนสืบสวนสอบสวน ความสัมพันธของจุดเดือด และจุดหลอมเหลว กับชนิดของสาร หรือมวลโมเลกุลของสาร

2. ครูใหความรูเร่ืองแรงยึดเหนี่ยวระหวางโมเลกุลโคเวเลนต 3. นักเรียนแตละกลุมนํา เร่ืองแรงยึดเหนี่ยวระหวางโมเลกุล มาแยกเปนหัวขอยอย

เพื่อการเตรียมนําเสนอเปนผลงานกลุมตอไป 4. นักเรียนแตละกลุมดําเนินการศึกษา และเตรียมตัวนําเสนอผลงานการศึกษา ในหอง

เรียนตอไป ส่ือการเรียนการสอน

1. หนังสือเรียน วิชาเคมี 1 ว 432 2. ใบความรูที่ 10 เร่ือง แรงยึดเหนี่ยวระหวางโมเลกุล

การวัดและประเมินผล 1. สังเกตการอภิปรายในกลุม 2. พฤติกรรมการเรียนแบบรวมมือ

หมายเหตุ ใชวิธีการเรียนแบบรวมมือ แบบ Co-op Co-op

Page 42: ภาคผนวก ก ผลการวิเคราะห ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00371/Appendix.pdf ·

104

ใบความรูที่ 10 เร่ือง แรงยึดเหนี่ยวระหวางโมเลกุล

แรงยึดเหนี่ยวระหวางโมเลกุล เปนแรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาคภายในสาร สามารถทํานายแนวโนมของจุดหลอมเหลว จุดเดือด คาความรอนแฝงของการกลายเปนไอ เมื่อทราบมวลโมเลกุล และขณะเดียวกันสามารถบอกความแตกตางของแรงยึดเหนี่ยวระหวางโมเลกุลของสารได เมื่อทราบจุดเดือด และจุดหลอมเหลวของสาร ไดดังนี้ ก. คาความรอนแฝง จุดหลอมเหลว และจุดเดือด เปนขอมูลที่แสดงวาการที่สารอยูรวมกันได เพราะมีแรงยึดเหนียวระหวางกัน ข. จุดหลอมเหลว และจุดเดือด ของสารมีความ สัมพันธโดยตรงกับแรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาค ค. สารประกอบโคเวเลนตมีคาความรอนแฝง จุดหลอมเหลว และ จุดเดือด ต่ํากวาสารประกอบไอออนิก และโลหะ เปนเพราะสารประกอบโคเวเลนต เกิดในรูปของโมเลกุล พลังงานที่ใชในการหลอมเหลวจึงมีเพียงลดแรงยึดเหนี่ยวระหวางโมเลกุล แตในกรณีสาร โควาเลนตกลายเปนไอ ถือไดวาแรงยึดเหนี่ยวระหวางโมเลกุลถูกทําลาย โดยพันธะภายในโมเลกุลไมไดสลาย เชน น้ํากลายเปนไอน้ําก็ยังคงประกอบดวยโมเลกุลของน้ํา (H 2 O) นั่นเอง แตสําหรับสารประกอบไอออนิก หรือโลหะ การทําใหสารประกอบไอออนิก เปนไอ เปนการทําลายพันธะไอออนิก หรือการทําใหโลหะเปนไอ เปนการสลายพันธะโลหะ สารประกอบโคเวเลนตสามารถเปลี่ยนสถานะได และสารแตละชนิดจะมีจุดหลอมเหลว และจุดเดือด เปนคาเฉพาะ แสดงวาในโมเลกุลโคเวเลนตมีแรงยึดเหนี่ยวซ่ึงกันและกัน สารที่มีจุดหลอมเหลว และจุดเดือดต่ํา แสดงวาแรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาคมีนอยกวาสารที่มีจุดหลอมเหลว และจุดเดือดสูง

Page 43: ภาคผนวก ก ผลการวิเคราะห ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00371/Appendix.pdf ·

105

แผนการสอนที่ 14 เร่ือง สารโครงผลึกรางตาขาย เวลา 1 คาบ (50 นาที )

สาระสําคัญ สารโคเวเลนตบางชนิด เชน แกรไฟต เพชร มีจุดหลอมเหลว และจุดเดือดสูง เนื่องจากโครงสรางของคารบอนจัดเรียงตัวเกิดเปนโครงสรางคลายตาขายทั้งสามมิติ เรียกวา โครงผลึกรางตาขาย จึงไมสามารถแสดงสูตรโมเลกุลได เนื่องจากบอกโมเลกุลเร่ิมตนและสิ้นสุดที่ตําแหนงใด จึงเขียนสูตรโครงสรางของแกรไฟต และเพชรดวยสัญลักษณของธาตุ คือ C จุดประสงคการเรียนรู

1. อธิบายความหมายของโครงผลึกรางตาขาย 2. อธิบายสมบัติของสารโคเวเลนตบางชนิดที่มีโครงสรางเปนโครงผลึกรางตาขาย

กิจกรรมการเรียนการสอน 1. ครูใหนักเรียนศึกษาความรูเร่ืองสารโครงผลึกรางตาขาย จากหนังสือเรียน 2. ครูใหนักเรียนแตละกลุมชวยกันอภิปราย และเขียนผลการศึกษา เร่ือง สารโครง

ผลึกรางตาขาย ในหัวขอดังนี้ ความหมายของสารโครงผลึกรางตาขาย สมบัติของสารโครงผลึกรางตาขาย ตัวอยางสารโครงผลึกรางตาขาย สมบัติของสารตัวอยาง ความแตกตางของโครงสรางโมเลกุลของแกรไฟต กับเพชร

3. ครูกําหนดหมายเลขของสมาชิกในแตละกลุม แลวแบงหัวขอยอยในขอที่ 2 ใหสมาชิกแตละกลุมรับผิดชอบ

4. ครูซักถามนักเรียนที่รับผิดชอบหัวขอยอย เปนผูตอบ หรืออธิบายความรูที่กลุมไดศึกษามา

5. ครูและนักเรียนชวยกันอภิปราย และสรุปผลการศึกษา เร่ือง โครงผลึกรางตาขาย ส่ือการเรียนการสอน

หนังสือเรียน วิชาเคมี 1 ว 432 การวัดและประเมินผล

1. รายงานผลการศึกษา เร่ืองสารโครงผลึกรางตาขาย 2. พฤติกรรมการเรียนแบบรวมมือ

หมายเหตุ ใชวิธีการเรียนแบบรวมมือ แบบ Numbered Heads Together

Page 44: ภาคผนวก ก ผลการวิเคราะห ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00371/Appendix.pdf ·

106

แผนการสอนที่ 15 เร่ือง พันธะโลหะ เวลา 1 คาบ (50 นาที )

สาระสําคัญ โลหะที่ เปนของแข็ง มีอนุภาคอยูชิดกันมาก อะตอมของโลหะมีคาพลังงานไอออไน เซชันต่ํา เวเลนซอิเล็กตรอนของอะตอมหลุดออกจากอะตอมไดงาย อิเล็กตรอนจึงเคลื่อนที่ไปยังอะตอมอื่น ๆ ไดทั่วทั้งกอนของโลหะ จุดประสงคการเรียนรู

อธิบายสมบัติของโลหะดวยความรูเร่ืองพันธะโลหะ กิจกรรมการเรียนการสอน

1. ครูใหนักเรียนศึกษาความรูเร่ือง พันธะโลหะ จากหนังสือเรียน 2. ครูใหนักเรียนแตละกลุมชวยกันอภิปราย และเขียนผลการศึกษา เร่ือง พันธะโลหะ

ในหัวขอดังนี้ ความหมาย และลักษณะ ของพันธะโลหะ สูตรโมเลกุล การนําไฟฟา การนําความรอน การดึงโลหะเปนเสน หรือการตีโลหะเปนแผนบาง ๆ จุดหลอมเหลว และจุดเดือด การสะทอนแสง รูปแบบจําลองของพันธะโลหะ

3. ครูกําหนดหมายเลขของสมาชิกในแตละกลุม แลวแบงหัวขอยอยในขอที่ 2 ใหสมาชิกแตละกลุมรับผิดชอบ

4. ครูซักถามนักเรียนที่รับผิดชอบหัวขอยอย เปนผูตอบ หรืออธิบายความรูที่กลุมไดศึกษามา

5. ครูและนักเรียนชวยกันอภิปราย และสรุปผลการศึกษา เร่ือง พันธะโลหะ ส่ือการเรียนการสอน

หนังสือเรียน วิชาเคมี 1 ว 432 การวัดและประเมินผล

1. รายงานการศึกษา เร่ือง พันธะโลหะ 2. พฤติกรรมการเรียนแบบรวมมือ

หมายเหตุ ใชวิธีการเรียนแบบรวมมือ แบบ Numbered Heads Together