Top Banner
บทที2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ การวิจัยเรื่อง การปฏิบัติงานตามกระบวนการบริหารงานบุคลากรของผูบริหารสถาน ศึกษาขั้นพื้นฐาน ในจังหวัดยะลา ผูวิจัยไดศึกษาแนวคิด ทฤษฎี เนื้อหา จากเอกสารทางวิชาการ ตํารา วารสาร บทความทางวิชาการที่เกี่ยวของกับการบริหารงานบุคลากร โดยผูวิจัยได เรียบเรียง เนื้อหา สาระสําคัญ และสรุปประเด็นในการนําเสนอตามลําดับคือ การบริหารสถานศึกษา ความหมายของการบริหาร ลักษณะที่สําคัญของการบริหาร ความหมายการบริหารสถานศึกษา ผูบริหารและกระบวนการบริหาร ทักษะในการบริหาร การบริหารงานบุคลากร ความหมายการบริหารงานบุคลากร วัตถุประสงคของการบริหารงานบุคลากร ความสําคัญของการบริหารงานบุคลากร กระบวนการบริหารงานบุคลากร 1. การสรรหาบุคลากร 2. การพัฒนาบุคลากร 3. การธํารงรักษาบุคลากร 4. การประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร งานวิจัยที่เกี่ยวของ
21

2 ยวของdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00913/Chapter2(8-28).pdf · 2016-10-14 · 5. ความสําเร็จของงานอยู ที่ วมแรงร

May 22, 2020

Download

Documents

dariahiddleston
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: 2 ยวของdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00913/Chapter2(8-28).pdf · 2016-10-14 · 5. ความสําเร็จของงานอยู ที่ วมแรงร

บทท่ี 2

เอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวของ การวิจัยเร่ือง “การปฏิบัติงานตามกระบวนการบริหารงานบุคลากรของผูบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ในจังหวัดยะลา ” ผูวิจัยไดศึกษาแนวคิด ทฤษฎี เนื้อหา จากเอกสารทางวิชาการ ตํารา วารสาร บทความทางวิชาการที่เกี่ยวของกับการบริหารงานบุคลากร โดยผูวิจัยได เรียบเรียงเนื้อหา สาระสําคัญ และสรุปประเด็นในการนําเสนอตามลําดับคือ การบริหารสถานศึกษา ความหมายของการบริหาร ลักษณะที่สําคัญของการบริหาร ความหมายการบริหารสถานศึกษา ผูบริหารและกระบวนการบริหาร ทักษะในการบริหาร การบริหารงานบุคลากร ความหมายการบริหารงานบุคลากร วัตถุประสงคของการบริหารงานบุคลากร ความสําคัญของการบริหารงานบุคลากร กระบวนการบริหารงานบุคลากร

1. การสรรหาบุคลากร 2. การพัฒนาบุคลากร 3. การธํารงรักษาบุคลากร 4. การประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร

งานวิจัยท่ีเกี่ยวของ

Page 2: 2 ยวของdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00913/Chapter2(8-28).pdf · 2016-10-14 · 5. ความสําเร็จของงานอยู ที่ วมแรงร

การบริหารสถานศึกษา

ความหมายของการบริหาร นพพงษ บุญจิตราดุลย (2527 : 3) กลาววา การบริหารเปนกิจกรรมของกลุมบุคคลที่รวมแรงรวมใจกันกระทําการอยางใดอยางหนึ่ง เพื่อใหสําเร็จตามวัตถุประสงคที่กําหนดไว ชารี มณีศรี (2526 : 5) กลาววา การบริหารเปนการดําเนินการตางๆ ที่ประกอบดวยบุคคลตั้งแตสองคนขึ้นไปรวมกันดําเนินงานอยางใดอยางหนึ่ง มีระบบ ระเบียบเพื่อใหงานบรรลุตาม เปาหมายที่กําหนดไว วิจิตร ศรีสะอาน (2523 : 19) กลาววา การบริหารเปนกิจกรรมของกลุมบุคคล มีการรวมมือกันทํากิจกรรมเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงครวมกัน โดยใชกระบวนการและทรัพยากรที่เหมาะสม วัตถุประสงคของการบริหารก็คือการประสานความพยายามของคนเพื่อผลสัมฤทธิ่ของงานตาม เปาหมายที่วางไว Simon และคณะ (1960 : 33) กลาววา การบริหาร หมายถึง การใชทั้งศาสตรและศิลปในการนําทรัพยากรการบริหาร (Administration Resource) มาประกอบตามกระบวนการบริหาร (Process of Administration) ใหบรรลุวัตถุประสงคที่กําหนดไดอยางมีประสิทธิภาพ จากแนวความคิดของนักการศึกษาดังกลาว สามารถสรุปไดวา การบริหาร หมายถึง การจัดระบบที่เอื้อใหเกิดกระบวนการทํางานรวมกันของกลุมบุคคลตั้งแตสองคนขึ้นไป โดยมีวัตถุประสงคในการทํางานรวมกัน ใชทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัดใหเกิดประโยชนสูงสุด งานบรรลุวัตถุประสงคอยางมีประสิทธิภาพ

ลักษณะที่สําคัญของการบริหาร การบริหารมีลักษณะสําคัญดังตอไปนี้

1. มีวัตถุประสงคหรือจุดมุงหมาย 2. มีหลักเกณฑในการดําเนินงาน 3. มุงสรางผลงานใหเกิดขึ้น 4. ประกอบดวยองคประกอบหลายๆ ดานรวมกัน 5. ความสําเร็จของงานอยูที่ความรวมแรงรวมใจของสมาชิก มิใชผูบริหารแตฝายเดียว 6. มีผลกระทบในวงกวาง 7. มีการใชเทคโนโลยี เปนเครื่องมือเพิ่มประสิทธิภาพ และประสิทธิผล 8. มีผูนํากลุม

Page 3: 2 ยวของdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00913/Chapter2(8-28).pdf · 2016-10-14 · 5. ความสําเร็จของงานอยู ที่ วมแรงร

ความหมายการบริหารสถานศึกษา มีนักการศึกษาไดใหความหมายของการบริหารสถานศึกษาไวหลายแนวคิด ดังนี้ สมบูรณ พรรณาภพ (2521 : 8) กลาววา การบริหารสถานศึกษา หมายถึง การดําเนินงานของกลุมบุคคลในสวนที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติหนาที่ความรับผิดชอบของสถานศึกษาใหบรรลุ จุดหมายที่กําหนดไว นิพนธ กินาวงศ (2533 : 12) กลาววา การบริหารสถานศึกษาเปนกระบวนการตางๆ ในการดําเนินงานของกลุมบุคคลซึ่งเรียกวาผูบริหาร โดยมีวัตถุประสงคเพื่อบริหารการศึกษาแกสมาชิกในสังคม การดําเนินการตางๆ เปนไปตามระบบที่สังคมกําหนดไว นพพงษ บุญจิตราดุลย (2527 : 4) กลาววา การบริหารสถานศึกษาเปนกิจกรรมตางๆ ที่บุคคลหลายคนรวมมือกันดําเนินการเพื่อพัฒนาสมาชิกของสังคมในดานตางๆ นับตั้งแตบุคลิกภาพ ความรู ความสามารถ พฤติกรรมและคุณธรรม ใหมีคานิยมตรงกับความตองการของสังคม โดยกระบวนการตางๆ ที่อาศัยการควบคุมส่ิงแวดลอมที่มีบุคคล อาศัยทรัพยากร ตลอดจนเทคนิคตางๆ อยางเหมาะสม เพื่อใหบุคคลพัฒนาไปตรงตามเปาหมายของสังคมที่ตนดําเนินชีวิตอยู วิจิตร (ธีระกุล) วรุตบางกูร และ สุพิชญา ธีระกุล (2523 : 3) กลาววา การบริหารสถานศึกษาเปนกิจกรรมตางๆ ที่บุคคลรวมมือกันดําเนินการใหการบริหารทางการศึกษาแกเยาวชนและ ผูที่สนใจ เพื่อใหเกิดการพัฒนาทางดานความรู ความสามารถ ทัศนคติ พฤติกรรม คานิยม คุณธรรม และเปนสมาชิกที่ดีของสังคม จากแนวคิดนักการศึกษาดังกลาว พอสรุปไดวาการบริหารสถานศึกษา หมายถึง กระบวนการดําเนินงานในการจัดกิจกรรมตางๆ ภายในสถานศึกษาเพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนใหมีความรู ความสามารถ มีทักษะ มีคุณธรรม และนําไปปฏิบัติในการดํารงชีวิตประจําวันไดอยางมีความสุข ผูบริหาร ครู และผูเกี่ยวของดําเนินการรวมกันโดยอาศัยทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัด นํามาใชใหเกิดประโยชนตอการจัดการศึกษาใหไดมากที่สุด

ผูบริหารและกระบวนการบริหาร องคการแตละองคการจะดําเนินการไปในทิศทางใด ประสบความสําเร็จหรือลมเหลว ยอมขึ้นอยูกับผูนํา หรือผูบริหาร ในภาษาอังกฤษมีคําใชอยูหลายคํา เชน Manager, Administrator, Director, Supervisor, Executive คําทั้งหลายเหลานี้มีความหมายในลักษณะเดียวกัน โดยความนิยมแลว ทางราชการจะใชคําวา Administrator สวนธุรกิจจะใชคําวา Manager สําหรับความหมายของผูบริหารนั้นมีทานผูรูไดใหความหมายไวหลากหลาย แตสรุปไดวา ”ผูบริหารคือ บุคคลที่ทําหนาที่ประสานกิจกรรมตางๆ ในองคการใหบรรลุวัตถุประสงคที่กําหนดไว”

Page 4: 2 ยวของdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00913/Chapter2(8-28).pdf · 2016-10-14 · 5. ความสําเร็จของงานอยู ที่ วมแรงร

องคการที่เจริญกาวหนา ประสบความสําเร็จในการดําเนินการ ยอมสืบเนื่องมาจากมีผูนําหรือผูบริหารและทีมงานที่มีประสิทธิภาพ ผูนําที่ดียอมบริหารองคการโดยมีกฎเกณฑ หรือกระบวนการบริหารที่ดีซ่ึงแนวคิดหรือกระบวนการบริหารมีหลายแนวคิด อาทิ กุลลิค (Luther Gulick , อางถึงใน อาภัสสรี ไชยคุนา, 2542 : 1-2) ไดกําหนดขั้นตอนหรือหลักการบริหารไว 7 ประการ เรียกวา “POSDCoRB” มีรายละเอียดดังนี้

1. P การวางแผน (Planning) หมายถึง การวางโครงการแผนปฏิบัติการ รวมทั้งวิธี ปฏิบัติการไวลวงหนา เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคของงาน

2. O การจัดองคการ (Organizing) หมายถึง การจัดโครงสราง อํานาจหนาที่ และ การจัดสายงานเพื่อปฏิบัติงานตามแผนที่วางไว

3. S การจัดบุคลากร (Staffing) หมายถึง การบริหารงานดานบุคลากรอันไดแก การจัด อัตรากําลัง การสรรหา การพัฒนาและการใชบุคลากรใหเกิดประโยชนสูงสุด

4. D การอํานวยการ (Directing) หมายถึง การวินิจฉัยส่ังการ และการควบคุมบุคลากร ใหปฏิบัติงาน

5. Co การประสานงาน (Co-ordinating) หมายถึง การประสานกิจการดานตางๆ ของ หนวยงานเพื่อใหเกิดความรวมมือ และประสานงานที่ดีระหวางผูปฏิบัติงาน เพื่อใหการดําเนินงานไปสูจุดหมายเดียวกัน

6. R การรายงาน (Reporting) หมายถึง การรายงานผลการปฏิบัติงานของหนวยงาน เพื่อใหผูบริหารและสมาชิกของหนวยงานไดทราบความเคลื่อนไหวและความคืบหนาของกิจกรรมอยางสม่ําเสมอ

7. B การงบประมาณ (Budgeting) หมายถึง การจัดทํางบประมาณ การควบคุม กํากับติดตาม และการตรวจสอบดานการเงินและการบริหารสินทรัพยขององคการ คูนซ (Harold D. Koontz, อางถึงใน ประสิทธิ์ แตงรม, 2536 : 303-306) ไดกําหนดกระบวนการบริหารไวเปน 5 ประการ (POSDC) ดังนี้

1. การวางแผน (Planning) เปนหนาที่แรกที่มีความสําคัญมากสําหรับผูบริหาร การวางแผนเปนเรื่องเกี่ยวกับการ

กําหนดวัตถุประสงค นโยบาย โครงสราง และวิธีดําเนินงานเพื่อใหบรรลุผล ผูบริหารตองมีความสามารถในการพยากรณเหตุการณทางเศรษฐกิจ ทางสังคมและทางการเมืองดวย และการวางแผนยังเปนเรื่องที่เกี่ยวกับการตัดสินใจ ถือเปนเรื่องของการตกลงใจเลือกทางเพื่อกําหนดนโยบายการผลิต หรือการตัดสินใจกําหนดวิธีปฏิบัติเปนตน

Page 5: 2 ยวของdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00913/Chapter2(8-28).pdf · 2016-10-14 · 5. ความสําเร็จของงานอยู ที่ วมแรงร

2. การจัดองคกร (Organizing) เปนการจัดระบบ ระเบียบการทํางานขององคการ เพราะในองคการตองมีคนจํานวน

มากมารวมกันทํางาน ถาไมมีการจัดระบบในการทํางาน ก็จะทําใหเกิดความสับสน ไมสามารถปฏิบัติงานอยางมีประสิทธิภาพได การจัดระบบการทํางานนั้น ตองคํานึงถึงการประสานสัมพันธไมไหเกิดความซ้ําซอนกัน หรือหมายถึง การจัดแบงงานออกเปนกลุมๆ กําหนดความรับผิดชอบและอํานาจหนาที่แตละกลุมไวใหแนนอน และใหกิจกรรมตางๆ ประสานสัมพันธกันโดยมุงวัตถุประสงคขององคการเปนสําคัญ

3. การจัดคนเขาทํางาน (Staffing) การจัดคนเขาทํางาน ก็คือการบริหารงานบุคคลนั่นเอง การบริหารบุคคลไมใชส้ินสุด

เพียงการหาคนเขาทํางานในองคการเทานั้น แตตองทําตอเนื่องไปจนกวาบุคคลเหลานั้นจะพนจากองคการ สวนบุคคลในองคการก็ตองมีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา เชน มีการเลื่อน ลด ปลด ยาย ลาออกอยูตลอดเวลา รวมทั้งเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงนโยบายและวัตถุประสงคขององคการก็จะตองมีการเปลี่ยนแปลงตําแหนงงานในหนาที่ใหสัมพันธกันดวย ดังนั้น ในเรื่องการจัดคนเขาทํางานนั้นจึงตองมีความหมายรวมถึงการวางแผนกําลังคน การสรรหาบุคคลเขาทํางาน การคัดเลือกบุคคลที่มีความเหมาะสม การแตงตั้ง โยกยาย การพัฒนาบุคคล การจัดการเกี่ยวกับผลประโยชนตอบแทนเปนตน

4. การอํานวยการ (Directing) การอํานวยการ หมายถึง การที่หัวหนาหรือผูบังคับบัญชาสามารถบริหารงานของ

องคการไดอยางถูกตอง เหมาะสม และบรรลุเปาหมาย เมื่อมีการวางแผนการจัดองคการ และมีคนเขามาทํางานแลวก็ยังไมสามารถทํางานได ในการทํางานจริงๆ แลวตองมีการสั่งการหรืออํานวยการในการทํางาน ผูบังคับบัญชาที่ดีตองสามารถกระตุนหรือจูงใจ ใหผูอยูใตบังคับบัญชามีความกระตือรือรนในการที่จะทํางานใหดีที่สุดเทาที่จะทําได ดังนั้น ผูบริหารจึงตองมีความสามารถในการเปนผูนํา การมีมนุษยสัมพันธที่ดี ตองทราบถึงทฤษฎี และเทคนิคเกี่ยวกับการสื่อสาร การจูงใจ การสรางภาวะผูนํา จึงจะสามารถเปนหัวหนาที่มีประสิทธิภาพในการทํางานได

5. การควบคุม (Controlling) การควบคุม หมายถึง การที่ผูบริหารตรวจตรางานที่ไดมอบหมายใหผูใตบังคับบัญชา

ปฏิบัติ วาดําเนินการไปถูกตองตามขั้นตอนหรือไม ผลงานไดมาตรฐานเพียงใด และทําอยางไรจึงจะทํางานนั้นใหสําเร็จตามเปาหมาย ดังนั้นผูบริหารควรจะตองไดรับรายงานผลการปฏิบัติงานทุกขั้นตอน เพราะถาเกิดมีอะไรแปรเปลี่ยนไปจากเปาหมายที่ตั้งไว จะไดเขาไปชวยแกไขไดทันทวงที และยังหมายถึงการดูแล ใหคําแนะนําชวยเหลือ ที่ตองปฏิบัติอยางเปนระบบ ตอเนื่อง สม่ําเสมอ

Page 6: 2 ยวของdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00913/Chapter2(8-28).pdf · 2016-10-14 · 5. ความสําเร็จของงานอยู ที่ วมแรงร

ระดับและบทบาทของผูบริหารในองคการแตละองคการยอมมีจํานวนบุคลากรมากนอยแตกตางกันไปตามความจําเปนและความเหมาะสม ในองคการขนาดเล็กอาจมีผูบริหารเพียงคนเดียว แตถาเปนองคการขนาดใหญมีสมาชิกในองคการมาก การบริหารกิจการ การประสานงาน การควบคุม ก็จะยุงยากซับซอนตามลําดับ จึงมีความจําเปนที่จะตองหาบุคคลมาชวยแบงเบาภารกิจ โดยกําหนดหนาที่ความรับผิดชอบตามความเหมาะสม สําหรับหนวยงานของรัฐจะมีการกําหนดโครงสราง บทบาท และหนาที่การควบคุม การบังคับบัญชา ตามกรอบอัตรากําลังที่กําหนดไวอยางชัดเจน แนนอน เพราะฉะนั้นจึงไดมีการกําหนดระดับของผูบริหารไว 3 ระดับ ดวยกันคือ

1. ผูบริหารระดับตน ไดแกบรรดาหัวหนางาน หรือบุคคลที่อยูเหนือระดับผูปฏิบัติงาน มีหนาที่ในการติดตอ

ออกคําส่ังจากผูบริหารระดับเหนือกวา ควบคุม ดูแลการปฏิบัติงานใหเปนไปตามระเบียบ กฎเกณฑที่องคการกําหนดไว รับรายงานจากผูปฏิบัติงานโดยตรง มีลักษณะของงานตามแผนงานประจําป ไมมีปญหาซับซอน ไมตองตัดสินใจเกี่ยวกับนโยบาย ผูบริหารระดับตน บางครั้งเรียกวา “ผูอยูระหวางทาง” เพราะเปนผูทําหนาที่ประสานหรือส่ือกลางในการติดตอระหวางผูปฏิบัติงานกับ ผูบริหารระดับสูงซ่ึงมักจะถูกบีบคั้นจากทั้งสองทางเสมอ

2. ผูบริหารระดับกลาง ไดแกผูอํานวยการกอง หัวหนาฝาย หรือผูจัดการในองคการเอกชน มีหนาที่ในการรับ

นโยบายจากผูบริหารระดับสูง เพื่อแปลงเปนแผนปฏิบัติการใหแกผูบริหารระดับตน และเจาหนาที่ฝายปฏิบัติการดําเนินการ และรับรายงานจากผูบริหารระดับตน ควบคุม ดูแล รับผิดชอบงานในฝายของตน

3. ผูบริหารระดับสูง ไดแก อธิบดี รองอธิบดี ปลัดกระทรวง หรือกรรมการบริหาร ประธานกรรมการ

ผูจัดการใหญ มีหนาที่ในการกําหนดนโยบาย วางแผน บริหารงานโดยตรงตลอดทั่วทั้งองคการ

ทักษะในการบริหาร การดําเนินงานใหบรรลุเปาหมายขององคการนั้น ผูบริหารทุกคนตองมีทักษะที่จําเปน 3 ประการดวยกันคือ

1. ทักษะในดานการปฏิบัติงาน (Technical Skill) บางครั้งเรียกวา “เกงงาน” หมายถึง จะ ตองมีความรูในเรื่องวิธีการปฏิบัติงาน การใชเครื่องมือเฉพาะเปนอยางดี เปนผูมีความชํานาญในงานเฉพาะสาขาอาชีพ เชน วิศวกร ศัลยแพทย นักดนตรี นักบัญชี นักคอมพิวเตอร ผูบริหารระดับลางตองมีความรูในเรื่องนี้เปนอยางดี เพื่อที่จะเปนที่ปรึกษาใหคําแนะนําแกผูปฏิบัติได

Page 7: 2 ยวของdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00913/Chapter2(8-28).pdf · 2016-10-14 · 5. ความสําเร็จของงานอยู ที่ วมแรงร

2. ทักษะในเรื่องคน (Human Skill) บางครั้งเรียกวา “เกงคน” หมายถึง ความสามารถใน การทํางานรวมกับผูอ่ืนไดเปนอยางดี ถือเปนผูที่มีมนุษยสัมพันธ มีความรู ความเขาใจในเรื่องการ จูงใจ การสั่งการ การประสานงาน ทั้งรายบุคคลและเปนกลุม ทั้งนี้เพื่อใหเกิดความรวมมือรวมใจในการทํางาน ทักษะนี้มีความจําเปนสําหรับผูบริหารทั้ง 3 ระดับ 3. ทักษะในเรื่องความคิด (Conceptual Skill) บางครั้งเรียกวา “เกงคิด” หมายถึง เปนผูที่มีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการบริหารองคการ สามารถมององคการในภาพรวม มีวิธีการ ตลอดจนแนวคิดในการที่จะพัฒนาใหองคการไปในทิศทางที่กําหนด หรือสามารถที่จะแกปญหาองคการใหอยูรอดเมื่อเกิดเหตุวิกฤติ อันเนื่องมาจากสภาพแวดลอมทางเศรษฐกิจ การเมืองและสังคม อันจะทําใหองคการบรรลุเปาหมายสุดทาย ทักษะทางการบริหารที่กลาวมานี้ เปนสิ่งที่จะตองมีในตัวผูบริหารทุกระดับ แตจะมีมากนอยเพียงใด ขึ้นอยูกับระดับและตําแหนงที่ดํารงอยูในองคการนั้นๆ ทักษะแตละทักษะมีความสําคัญและจําเปนสําหรับผูบริหารในแตละระดับไมเทากัน เชน ทักษะดานการปฏิบัติงานมีความจําเปนมากสําหรับผูบริหารระดับตน และลดนอยลงไปตามความสําคัญในผูบริหารระดับกลางและระดับสูง ทักษะในเรื่องความคิดจําเปนมากสําหรับผูบริหารระดับสูง แตจะลดความสําคัญลงในระดับกลางและระดับตนตามสมควร สําหรับทักษะเกี่ยวกับคนนั้นมีความจําเปนเทาๆ กันสําหรับ ผูบริหารในทุกระดับ

การบริหารงานบุคลากร โดยปกติการบริหารหรือการจัดการทั้งภาครัฐและเอกชนมักจะกลาวถึงทรัพยากรพื้นฐานที่มีความสําคัญในการจัดการหรือการบริหาร 4 ประการ คือ 1) บุคลากร (Man) 2) เงิน (Money) 3) วัสดุ อุปกรณ (Material) 4) การจัดการ (Management) ทรัพยากรบางอยางมีในปริมาณที่จํากัด ดังนั้นผูบริหารมีวิธีการหรือมาตรการอยางไรในการจัดการทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัดทั้งปริมาณและคุณภาพ ในการนํามาใชอยางมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และเกิดประโยชนสูงสุดตอองคกร ทรัพยากรมนุษย (Human Resources) ถือวาเปนทรัพยากรที่มีความสําคัญและจําเปนสูงสุดในการบริหารจัดการ ถือวาเปนตัวจักรสําคัญในการดําเนินการใดๆ ใหเปนไปอยางตอเนื่อง ราบรื่น ไมมีปญหาหรืออุปสรรค และสามารถแกไขสถานการณตางๆ ที่อาจเกิดขึ้นระหวางการดําเนินการ การดําเนินงานกิจการในโรงเรียนประถมศึกษาซึ่งเปนงานที่มีความเกี่ยวของกับการผลิตทรัพยากรมนุษยเขาสูสังคมทุกระดับ มีความจําเปนอยางยิ่งที่จะตองมีการบริหารงานบุคลากรที่มีประสิทธิภาพ ตั้งแตในระดับโรงเรียนขึ้นไปจนถึงระดับกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงอื่นๆ ที่เกี่ยวของ ตลอดจนบุคคลที่เปนรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี และผูนําประเทศ

Page 8: 2 ยวของdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00913/Chapter2(8-28).pdf · 2016-10-14 · 5. ความสําเร็จของงานอยู ที่ วมแรงร

การบริหารงานบุคลากร เปนศัพททางวิชาการที่ไดบัญญัติขึ้น โดยแปลความหมายจากภาษาอังกฤษวา Personnel Administration, Personnel Management, Labor Relations, Industrial Relations และ Manpower Management ซ่ึงคําในภาษาไทยจะใชคําที่แตกตางกัน เชน การบริหารบุคลากร การจัดการงานบุคคล การเจาหนาที่ การบริหารงานเจาหนาที่ การบริหารงานบุคลากร เปนกระบวนการที่เกี่ยวของกับการวางแผนกําลังคน การสรรหาบุคคล การคัดเลือกบุคคลที่เหมาะสมเขาทํางาน จัดคนใหเหมาะสมกับงาน รวมทั้งการธํารงรักษาบุคลากร การพัฒนาบุคลากรและการสรางแรงจูงใจในการทํางานใหบุคลากรอยูในองคกร การประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร ตลอดจนการใหบุคลากรพนจากงาน เปนตน

ความหมายการบริหารงานบุคลากร

มีนักวิชาการและนักการศึกษาทั้งในประเทศและตางประเทศไดเสนอความหมายของการบริหารงานบุคลากรไวมากมายซึ่งจะนําเสนอดังนี้ สมคิด บางโม (2538 : 126) ไดกลาววา กระบวนการบริหารบุคลากร คือการวางแผนกําลังคนและตําแหนง การแสวงหาบุคลากร ไดแก การสรรหา การเลือกสรร การบรรจุ การบํารุงรักษาและการจัดสวัสดิการ การประเมินผลการปฏิบัติงาน การพัฒนาบุคลากร การใหพนจากงาน สุธี สุทธิสมบูรณ และสมาน รังสิโยกฤษฎ (2537 : 33 – 38) ไดกําหนดกระบวนการบริหารบุคลากรไว 11 ประการ คือ การวางนโยบายออกกฎหมาย ระเบียบและขอบังคับเกี่ยวกับตัวบุคคล การวางแผนกําลังคน การกําหนดตําแหนง การกําหนดเงินเดือน การสรรหาบุคคล การบรรจุแตงตั้ง การจัดทําทะเบียนประวัติ การพัฒนาบุคคล การประเมินผลการปฏิบัติงานและการพิจารณาความดีความชอบ วินัยและการดําเนินการตามระเบียบวินัย สวัสดิการและประโยชนเกื้อกูล วรเทพ สวัสดี (2538 : 5) กําหนดวา กระบวนการบริหารงานบุคคล คือ กิจกรรมเกี่ยวกับการวางแผนกําลังคน การกําหนดตําแหนงและอัตราเงินเดือน การสรรหาบุคคล การบรรจุแตงตั้ง การพัฒนาบุคคล การประเมินผลการปฏิบัติงาน วินัย สวัสดิการและประโยชนเกื้อกูลตางๆ สมเกียรติ พวงรอด (2544 : 17 – 20) กลาววา กระบวนการบริหารงานบุคคล เปนกระบวนการในการดําเนินงานเกี่ยวกับบุคลเปนขั้นตอน เพื่อใหไดบุคคลตรงตามที่หนวยงานหรือองคการตองการ เพื่อมาปฏิบัติงานและพัฒนางานในหนาที่ที่รับผิดชอบไดเปนอยางดี อยูในสังคมองคการมีความมั่นคง มีขวัญกําลังใจและมีแรงจูงใจในการปฏิบัติงานเพื่อความสําเร็จขององคการ โดยใชกระบวนการบริหารงานบุคคล

Page 9: 2 ยวของdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00913/Chapter2(8-28).pdf · 2016-10-14 · 5. ความสําเร็จของงานอยู ที่ วมแรงร

อุทัย หิรัญโต (2531 : 2) ไดใหความเห็นวา การบริหารงานบุคคล เปนการปฏิบัติเกี่ยวกับตัวบุคคลหรือเจาหนาที่ในองคการใดองคการหนึ่ง นับตั้งแตการสรรหาคนเขาทํางาน การคัดเลือก การบรรจุแตงตั้ง การโอนการยาย การฝกอบรม การพิจารณาความตองการ การเลื่อนตําแหนง การเล่ือนขั้นเงินเดือน การปกครองบังคับบัญชา การดําเนินการทางวินัย การพนจากงาน และการจายบําเหน็จบํานาญเมื่อออกจากงาน อาภัสสรี ไชยคุนา (2542 : 4) ไดใหคําจํากัดความของการบริหารงานบุคคล คือ การวางแผนกําหนดนโยบาย การดําเนินงานในการบริหารทรัพยากรมนุษยตั้งแตการแสวงหาคนที่มีความรู ความสามารถใชใหเปนประโยชน พัฒนาใหมีคุณภาพและประสิทธิภาพ ธงชัย สันติวงษ (2540 : 3) ไดใหความหมายวา การบริหารงานบุคคลเปนภารกิจของ ผูบริหารทุกคนที่มุงปฏิบัติในกิจกรรมทั้งปวงที่เกี่ยวกับบุคลากรเพื่อใหปจจัยดานบุคคลขององคการเปนทรัพยากรมนุษยที่มีประสิทธิภาพสูงสุดตลอดเวลาที่จะสงผลสําเร็จตอเปาหมายขององคการ ศิริพร พงศศรีโรจน (2540 : 140) ไดใหความหมายวา ศิลปะในการคัดเลือกบุคคลเขาทํางานโดยใหไดบุคคลที่เหมาะสม พัฒนาบุคคลใหมีคุณภาพและใชบุคคลนั้นๆ ปฏิบัติงานใหเกิดประสิทธิผลอยางมีประสิทธิภาพ และบํารุงรักษาทรัพยากรนี้อยางมีคุณคาเพื่อใหไดมาซึ่งผลผลิตหรือการบริการทั้งปริมาณและคุณภาพของงานอยางสูงสุด พยอม วงศสารศรี (2540 : 5) ไดใหความหมายไววา การบริหารทรัพยากรมนุษยเปนกระบวนการที่ผูบริหารใชศิลปะและกลยุทธในการดําเนินการสรรหา คัดเลือก และบรรจุบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมใหปฏิบัติงานในองคการ พรอมทั้งในใจการพัฒนา การธํารงรักษาใหสมาชิกที่ปฏิบัติงานในองคการเพิ่มพูนความรู ความสามารถ มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี ในการทํางานและยังรวมไปถึงการสรรหา การใหพนจากงานดวยเหตุทุพพลภาพ เกษียณอายุหรือเหตุอ่ืนใดในงานใหสามารถดํารงชีวิตอยูในสังคมอยางมีความสุข บุญเลิศ ไพรินทร (2532 : 9) ไดใหความหมายการบริหารงานบุคคลวา เปนกระบวนการที่เกี่ยวของกับตัวบุคคลตั้งแตการเลือกสรรบุคคลเขามาทํางานในองคการ การใชประโยชน และการพัฒนาจนกระทั่งการออกจากองคการไปในที่สุด ชุมศักดิ์ อินทรรักษ (2531 : 6) ไดใหความหมายวา การบริหารงานบุคคลเปนกระบวนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลตอองคการซึ่งเปนกระบวนการที่เกี่ยวของกับการวางแผน การสรรหา การพัฒนา การบูรณาการ และการประเมินบุคลากร ซิคุลา (Sikula, 1981 : 6) ไดใหทัศนะวา การบริหารงานบุคคล คือ การใชทรัพยากรบุคคลภายในองคการ

Page 10: 2 ยวของdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00913/Chapter2(8-28).pdf · 2016-10-14 · 5. ความสําเร็จของงานอยู ที่ วมแรงร

เว็บบ Webb, 1987 : 25) ไดใหความหมายวา การบริหารงานบุคคล หมายถึง กระบวนการวางแผนและการใชบุคคลอยางเปนระบบที่มีประสิทธิภาพเพื่อเสริมสรางบรรยากาศขององคการ ไนโกร (Nigro, 1973 : 37) ไดแสดงความคิดเห็นวา การบริหารงานบุคคล เปนการใชศิลปะในการเลือกสรรคนใหม และใชคนเกาเพื่อใหไดงานที่มีคุณภาพ บีท (Beach, 1980 : 54) ไดใหความหมายวา การบริหารงานบุคคล คือ การดําเนินการตางๆ ที่เกี่ยวกับบุคคล การคัดเลือก การใหการศึกษาอบรม การจายคาตอบแทน การควบคุมอัตรากําลัง การสรางแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน การสรางภาวะผูนําและการสรางมนุษยสัมพันธที่ดีสงผลสําเร็จตอองคการ และ ฟลิปโป (Flippo, 1984 : 4 – 5) ไดเสนอวา การบริหารงานบุคคลหมายถึง การวางแผน การจัดองคการ การแนะนํา การควบคุมในดานการจัดหา การพัฒนา การใหคาตอบแทน การรวมพลัง การธํารงรักษาและการพนจากงานของบุคคล จากความหมายของนักการศึกษาและนักวิชาการที่ไดกลาวมาทั้งหมดสามารถสรุปความหมายของการบริหารงานบุคคลได 2 ประเด็น คือ

1. เปนการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษยอยางมีประสิทธิภาพเพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุด ตอองคการ

2. เปนการดําเนินงานที่เปนกระบวนการตั้งแตการวางแผนกําลังคน การสรรหา การ คัดเลือก การบรรจุแตงตั้ง การบํารุงรักษา การพัฒนาบุคลากร การดําเนินการทางวินัย ตลอดจนการใหพนจากราชการ

วัตถุประสงคการบริหารงานบุคลากร

การบริหารงานบุคลากรในองคการใดก็ตามจะตองดําเนินการตามหลักการ และวัตถุประสงคขององคการ เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพขององคการ โดยการใชบุคลากรใหเปนประโยชนมากที่สุดซึ่งไดมีนักวิชาการและนักการศึกษาหลายทานไดเสนอวัตถุประสงคของการบริหารงานบุคคลสรุปไดดังนี้ สมเกียรติ พวงรอด (2544 : 5) ไดเสนอวัตถุประสงคการบริหารงานบุคลากรไวซ่ึงเปนการใหความสําคัญและมองในลักษณะที่เปนภาพรวมทั้งระบบดังนี้

1. เพื่อสรางตัวปอนที่มีคุณภาพ ควรไดบุคลากรที่มีความรู ความสามารถและมีความ เหมาะสมกับงาน มีคุณสมบัติสอดคลองกับความตองการขององคการ

2. เพื่อพัฒนากระบวนการใหมีประสิทธิภาพ ความตอเนื่องของการบํารุงรักษา การให

Page 11: 2 ยวของdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00913/Chapter2(8-28).pdf · 2016-10-14 · 5. ความสําเร็จของงานอยู ที่ วมแรงร

ขวัญและกําลังใจในขณะทํางาน การฝกฝน สรางความชํานาญ และการประเมินผล ติดตามผลการปฏิบัติงาน พรอมทั้งการปรับปรุงแกไขใหดียิ่งขึ้น

3. เพื่อเพิ่มผลผลิตที่มีคุณภาพ บุคคลที่มีศักยภาพสูง มีการกระตุนบุคลากรเพื่อให คุณภาพของงานเพิ่มขึ้น บุคลากรเกิดความพอในในการทํางาน ชวยใหองคการประสบความสําเร็จ ดนัย เทียนพุฒ (2543 : 16) ไดเสนอวัตถุประสงคของการบริหารทรัพยากรบุคคลไวดังนี้

1. ดานสังคม 1.1 เปนพลเมืองดีของสังคมโดยปฏิบัติตามกฎระเบียบและกฎหมาย 1.2 คืนประโยชนใหกับสังคม 1.3 สรางความสัมพันธที่ดีในการบริหาร

2. ดานสายงาน 2.1 การสนองตอบผูบริหารในการดูแลคน 2.2 การประเมินบุคคลเพื่อเล่ือนตําแหนง 2.3 การประเมินผลการพัฒนาเพื่อความกาวหนาในอาชีพ 2.4 การประเมินผลงานเพื่อพิจารณาคาตอบแทนและประโยชน

3. ดานบุคลากร 3.1 การฝกอบรมและการพัฒนา 3.2 การจายคาตอบแทนหรือสวัสดิการ 3.3 การประเมินผลงาน 3.4 การจัดสรรตําแหนง

ณัฏฐพันธ เขจรนันทน, 2545 (อางถึงใน พยอม วงศสารศรี, 2540 : 8) ไดกลาววา งานทรัพยากรมนุษยไดรับความสําคัญมากมายโดยเฉพาะการทําหนาที่และการธํารงรักษาใหบุคคลอยูรวมงานกับองคการ จึงไดนําเสนอวัตถุประสงคของการบริหารงานบุคคลดังนี้

1. สังคม เพื่อตอบสนองสมาชิกและพัฒนาสังคมใหสงบสุข เพราะมีการสรรหาบุคคลที่ มีความเหมาะสม มีการพัฒนาบุคลากรใหมีความรู ทักษะและความสามารถในการปฏิบัติงานใหมีประสิทธิภาพ

2. องคการ เพื่อใหองคการสามารถดําเนินงานไดอยางมีประสิทธิภาพ และเจริญเติบโตได อยางตอเนื่องโดยมีบุคคลที่มีความรู ทักษะและความสามารถในการปฏิบัติงาน

3. บุคลากร เพื่อตอบสนองความตองการระดับตางๆ ของบุคคล ตั้งแตความตองการ ขั้นพื้นฐานจนถึงระดับสูง เร่ิมจากการรับบุคคลเขามาทํางาน การใหผลประโยชน การฝกอบรมและพัฒนาที่ชวยสงเสริมคุณภาพชีวิตการทํางานใหดีขึ้น

Page 12: 2 ยวของdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00913/Chapter2(8-28).pdf · 2016-10-14 · 5. ความสําเร็จของงานอยู ที่ วมแรงร

ซ่ึงมีความสอดคลองกับ เฟรเดอริค และ เดวิส (Frederick & Davis, 1988 อางถึงใน เกรียงศักดิ์ เขียวยิ่ง, 2542 : 23 – 24) ไดเสนอวัตถุประสงคการบริหารทรัพยากรมนุษยไว 4 ประการ และไดใหความสําคัญของวัตถุประสงคดานหนาที่ มีรายละเอียดดังนี้

1. วัตถุประสงคทางสังคม (Societal Objective) เพื่อใหเกิดจริยธรรม คุณธรรม และ ความรับผิดชอบทางสังคมตอความตองการ เชน สังคมอาจตัดสินใจเกี่ยวกับทรัพยากรมนุษยโดยอาศัยกฎหมายที่แสดงถึงอาชญากรรม ความปลอดภัย และสวนอื่นที่เกี่ยวของกับสังคม

2. วัตถุประสงคทางดานองคการ (Organizational Objective) เพื่อตระหนักวาการ บริหารทรัพยากรมนุษยยังคงมีอยูที่จะใหเกิดประสิทธิผลตอองคการ การบริหารทรัพยากรมนุษยไมใชเปนเปาหมายในตัวมันเอง แตเปนเพียงเครื่องมือหรือแนวทางที่ชวยองคการบรรลุวัตถุประสงคขั้นตน หรือกลาวงายๆ วาเปนหนวยงานที่รับใชสวนตางๆ ขององคการ

3. วัตถุประสงคดานหนาที่ (Functional Objective) เพื่อรักษาไวซ่ึงการทําประโยชน ของหนวยงานในระดับที่เหมาะสมกับความตองการขององคการ

4. วัตถุประสงคทางดานบุคคล (Personal Objective) เพื่อชวยใหพนักงานบรรลุ เปาหมายสวนบุคคล เชน ไดรับการบํารุงรักษาธํารงไวและไดรับการจูงใจ จากวัตถุประสงคการบริหารงานบุคลากรดังที่ไดกลาวมาแลวสามารถสรุปไดวา วัตถุประสงคของการบริหารงานบุคคล ก็คือ เพื่อตอบสนองความตองการของบุคคลในดานตางๆ เชน การปฏิบัติงาน ตามความรูความสามารถและความตองการ การพัฒนาบุคคล การสรางขวัญและกําลังใจเพื่อการปฏิบัติงานในองคการไดอยางมีประสิทธิภาพ การบํารุงรักษาสิทธิประโยชนและ สวัสดิการ การสรางคุณภาพชีวิตที่ดีเพื่อการอยูรวมในสังคมไดอยางมีความสุข

ความสําคัญการบริหารงานบุคลากร

มีนักวิชาการและนักการศึกษาไดเสนอความสําคัญของการบริหารงานบุคลากรไวดังนี้ ธงชัย สันติวงษ (2540 : 18–19) ไดกลาวถึงความสําคัญของการบริหารงานบุคลากร ดังนี้

1. เนื่องจากสภาพองคการทุกวันนี้มีการเปลี่ยนแปลงในดานตางๆตลอดเวลา ไมวาดาน เศรษฐกิจ เทคนิควิทยาการ สังคม มีผลทําใหทัศนคติและคานิยมของคนเปลี่ยนแปลงไป

2. เพื่อเขาใจความตองการทางจิตวิทยาหรือทางใจของพนักงาน 3. เพื่อใหความสนใจกับการวิจัยศึกษาปญหาดานการบริหารงานบุคคลอยางลึกซึ้งเพื่อ

ใหไดขอเท็จจริงหรือความรูมากขึ้นที่จะชวยใหการบริหารงานบุคคลมีคุณภาพ พยอม วงศสารศรี (2540 : 8) ไดเสนอความสําคัญของการบริหารงานบุคลากรไวดังนี้

1. ชวยพัฒนาองคการ การไดบุคคลที่มีความเหมาะสมมาทํางานในองคการ ยอมทําให

Page 13: 2 ยวของdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00913/Chapter2(8-28).pdf · 2016-10-14 · 5. ความสําเร็จของงานอยู ที่ วมแรงร

องคการเจริญเติบโต เพราะการบริหารทรัพยากรมนุษยเปนสื่อกลางในการประสานงานตางๆ 2. ทําใหบุคคลมีขวัญและกําลังใจในการปฏิบัติงาน เกิดความจงรักภักดีตอองคการ

3. สรางความมั่นคงตอสังคมและประเทศชาติ เมื่อการบริหารทรัพยากรมนุษยดําเนินไป

อยางมีประสิทธิภาพ อาภัสสรี ไชยคุนา (2542 : 2 – 3) ไดกลาวถึงคามสําคัญของการบริหารงานบุคคลไวดังนี้

1. บุคลากรเปนองคประกอบที่สําคัญขององคการ เปนทรัพยากรที่สําคัญที่สุดในการ บริหาร การบริหารบุคคลจึงมีความสําคัญที่สุดในองคการ

2. บุคลากรในองคการเปนผูใชทรัพยากรตางๆ ในการสรางผลงาน ดังนี้ถาสามารถเขา มาปฏิบัติงานหรือพัฒนาใหมีคุณภาพเพิ่มขึ้นได บุคลากรดังกลาวก็สามารถใชทรัพยากรไดอยางมีประสิทธิภาพ ลดความสิ้นเปลืองของวัสดุ อุปกรณ งบประมาณและเวลาอันเปนการชวยลดตนทุนในการผลิตลงไปดวย

3. บุคลากรเปนผูผลิตผลงาน ดังนั้นถาสามารถบริหารงานบุคคลไดอยางมีประสิทธิภาพ บุคคลเหลานี้ก็สมารถทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ ผลงานที่ไดก็จะมีประสิทธิผล วรนารถ แสงมณี (2545 : 6 – 12) ไดเสนอความสําคัญของการบริหารงานบุคลากรไว ดังนี้

1. มีการแขงขันมากขึ้น การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทั้งทางสังคม เศรษฐกิจและการเมือง ทําใหมีการเปลี่ยนแปลงบทบาทของบุคลากร บุคลากรไมไดอยูในฐานะที่จะตองทํางานใหกับ องคการใดองคการหนึ่งแตเพียงที่เดียว เขาอาจโยกยายไปทํางานในที่ใดๆ หรือทํางานใหกับองคการใดก็ไดตามสิทธิและความพอใจของเขา เพราะความอยูรอดขององคการขึ้นอยูกับพนักงานดวย ตางฝายตางก็ตองอาศัยซ่ึงกันและกัน ผูบริหารไมไดบริหารงานโดยอาศัยงานเพียงอยางเดียวอีกตอไป แตจะตองอาศัยเกียรติยศและความมั่นคงในการทํางาน การยอมรับในความสําคัญของคน การประสบความสําเร็จในชีวิตและการมีสวนรวมในการทํางานเปนเครื่องจูงใจ

2. เกิดจากกฎเกณฑและขอกําหนดของรัฐ รัฐไดเขามามีบทบาทในการกําหนดเกี่ยวกับ เร่ืองสวัสดิการ รายได สภาพการทํางาน วันหยุดและเงินทดแทนตางๆ

3. ความซับซอนทางดานเทคโนโลยี ระบบการบริหารในสมัยใหมนี้มีลักษณะที่แตกตาง ไปจากระบบเกาอยางมาก เชน มีการแบงงานทําหนาที่ตามความชํานาญเฉพาะดาน ตองการบุคคลที่มีความรูความสามารถสูง จะตองไดรับการฝกอบรมและมีคุณสมบัติที่พรอมจะทําเพื่อใหระบบการทํางานดําเนินไปอยางราบรื่น ผูบริหารจึงตองดูแล ธํารงรักษาคนซึ่งเปรียบเสมือนทรัพยากรอันมีคาขององคการ รวมทั้งจะตองสงเสริม สนับสนุนใหบุคคลเหลานี้มีความกาวหนาในหนาที่การงาน มี

Page 14: 2 ยวของdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00913/Chapter2(8-28).pdf · 2016-10-14 · 5. ความสําเร็จของงานอยู ที่ วมแรงร

รายได และสวัสดิการตางๆ เพื่อใหเขาเกิดความพึงพอใจที่จะทํางานใหไดผลงานมากที่สุดและมี คุณภาพตามที่องคการตองการมากที่สุดดวย จะเห็นไดวาบุคลากรมีความสําคัญมาก จึงมีไดกําหนดการบริหารบุคลากร เปนงานหนึ่งที่มีความสําคัญยิ่งในกระบวนการบริหาร ดังเชน กระบวนการบริหารตามทฤษฎีพอสดคอรบ POSDCoRB ไดจัดใหการบริหารบุคลากรอยูในลําดับที่ 3 ดังนี้ คือ(อาภัสสรี ไชยคุนา, 2542:1–2)

1. P การวางแผน (Planning) หมายถึง การวางโครงการแผนปฏิบัติการ รวมทั้งวิธี ปฏิบัติการไวลวงหนา เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคของงาน

2. O การจัดองคการ (Organizing) หมายถึง การจัดโครงสราง อํานาจหนาที่ และ การจัดสายงานเพื่อปฏิบัติงานตามแผนที่วางไว

3. S การจัดบุคลากร (Staffing) หมายถึง การบริหารงานดานบุคคล อันไดแก การ สรรหา การพัฒนาและการใชบุคลากรใหเกิดประโยชนสูงสุด

4. D การอํานวยการ (Directing) หมายถึง การวินิจฉัยส่ังการ และการควบคุมบุคลากร ใหปฏิบัติงาน

5. Co การประสานงาน (Co-ordinating) หมายถึง การสรางเสริมความรวมมือ ระหวางผูปฏิบัติงาน เพื่อใหการดําเนินงานไปสูจุดหมายเดียวกัน

6. R การรายงาน (Reporting) หมายถึง การรายงานผลการปฏิบัติงาน 7. B การงบประมาณ (Budgeting) หมายถึง การจัดทํางบประมาณ การควบคุม

กํากับติดตาม และการตรวจสอบดานการเงินและการบริหารสินทรัพยขององคการ จะเห็นไดวา กระบวนการบริหาร “POSDCoRB” ประกอบดวยขั้นตอนที่สําคัญ 7 ประการ คือ การวางแผน การจัดองคการ การจัดบุคลากร การอํานวยการ การประสานงาน การรายงาน และการงบประมาณ ซ่ึงแตละกระบวนการตองอาศัยกระบวนการจัดบุคลากร เพราะบุคลากรถือวาเปน ผูดําเนินการในกิจกรรมทุกขั้นตอน ถาขาดบุคลากรก็จะทําใหกระบวนการบริหารไมสามารถเกิดขึ้นได จากความสําคัญดังที่ไดกลาวมาแลว สามารถสรุปไดวา ความสําคัญของการบริหารงานบุคลากรนั้น เปนการเตรียมความพรอมใหกับบุคคลในทุกๆ ดาน ตอการเปลี่ยนแปลง ทั้งทางดานเทคโนโลยี การแขงขันในสังคม ความซับซอนขององคการ และที่สําคัญผลกระทบในดานตางๆ ที่มีความเกี่ยวของกับพฤติกรรมของมนุษย ไมวาจะเปนสภาพแวดลอมในการทํางาน ความสัมพันธระหวางบุคคล อันจะเปนปจจัยที่จะกอใหบุคคลเกิดความภักดีตอองคการและทําใหเกิดการบริหารงานบุคลากรไดอยางมีประสิทธิภาพ

Page 15: 2 ยวของdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00913/Chapter2(8-28).pdf · 2016-10-14 · 5. ความสําเร็จของงานอยู ที่ วมแรงร

กระบวนการบริหารงานบุคลากร

กระบวนการบริหารงานบุคลากร เปนการดําเนินการเกี่ยวกับบุคคลตั้งแตการวางแผนอัตรากําลัง การไดมาซึ่งบุคคล การใหปฏิบัติงาน การพัฒนา การธํารงรักษา การประเมินผลการปฏิบัติงาน ตลอดจนถึงการใหพนจากงาน การบริหารงานบุคลากรจึงตองดําเนินการเปนกระบวนการ ดังที่นักวิชาการและนักการศึกษาไดเสนอกระบวนการบริหารงานบุคลากรไวดังนี้ สมเกียรติ พวงรอด (2544 : 17 – 21) ไดอธิบายถึงกระบวนการบริหารงานบุคคลวา เปนขั้นตอนเพื่อใหไดบุคคลตรงตามที่หนวยงานหรือองคการตองการ ซ่ึงพอจะสรุปไดตามภาพประกอบ 1 ดังนี้

ภาพประกอบ 1 กระบวนการบริหารงานบุคลากร

การวางแผนงานบุคคล การกําหนดตําแหนงและอัตราเงินเดือน การสรรหาและการคัดเลือก การบรรจุและการแตงตั้ง การปฐมนิเทศ การทดลองการปฏิบัติงาน การโอนและการยาย การจัดทําทะเบียนประวัติ การพัฒนาบุคคล การประเมินผลการปฏิบัติงาน วินัยและการดําเนินการทางวินัย การจัดสวัสดิการและประโยชนเกื้อกูล การพนจากงานและบําเหน็จบํานาญ

เปาหมายองคการ

และบุคคล

กระบวนการ

บริหารงาน

บุคลากร

ที่มา : สมเกียรติ พวงรอด, 2544 : 17

จากภาพประกอบ 1 สามารถอธิบายไดวา กระบวนการบริหารงานบุคลากรจะประกอบดวยข้ันตอนตอไปนี้ คือ การวางแผนงานบุคคลเพื่อการเตรียมบุคคลและการคัดเลือกบุคคลมาปฏิบัติงานในองคการใหไดประสิทธิภาพสูงสุด มีการกําหนดตําแหนงและเงินเดือน การสรรหา

Page 16: 2 ยวของdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00913/Chapter2(8-28).pdf · 2016-10-14 · 5. ความสําเร็จของงานอยู ที่ วมแรงร

และการคัดเลือกใหไดบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมและตรงตามลักษณะงาน การบรรจุและการแตงตั้งเพื่อมอบหมายหนาที่การงานที่รับผิดชอบใหกับบุคคลมาปฏิบัติงานในตําแหนงนั้นในองคการ การปฐมนิเทศเพื่อใหบุคลากรใหมเกิดความเขาใจและมีทัศนะที่ดีตอองคการและตอการปฏิบัติงาน สามารถปรับตัวอยูในองคการไดอยางมีความสุข การทดลองปฏิบัติงาน เปนการใหบุคลากรใหมไดลงมือปฏิบัติงานจริงในองคการเพื่อเปนการทดสอบความรู ความสามารถ และความเหมาะสมในการปฏิบัติงานอีกครั้งหนึ่ง การโอนและการยาย การจัดทําทะเบียนประวัติ การพัฒนาบุคลากร เปนการดําเนินการเพื่อสงเสริม สนับสนุน พัฒนาบุคลากรใหมีความรู ความสามารถ มีทักษะและศักยภาพในการทํางานมากยิ่งขึ้น การประเมินผลการปฏิบัติงานพัฒนา วินัยและการดําเนินการทางวินัย การจัดสวัสดิการและประโยชนเกื้อกูล เปนการบํารุงขวัญและกําลังใจบุคลากรในองคการ การใหพนจากงาน เปนการดูแลบุคลากรหลังจากหมดภาระหนาที่ในการปฏิบัติงานใหกับองคการ หรือการใหบุคลากรพนจากงานดวยเหตุหยอนความสามารถ มันดี และ นอ (Mondy and Noe, 1990 : 9 – 11) ไดเสนอกระบวนการบริหารงานบุคคลไว 6 ประการดังนี้

1. การวางแผนทรัพยากรมนุษย การสรรหา และการคัดเลือก (Human Resources Planning, Recruitment and Selection)

2. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย (Human Resource Development) 3. การจายคาตอบแทนและการอํานวยประโยชน (Compensation and Benefits) 4. การดูแลความปลอดภัยและสุขภาพ (Safety and Health) 5. การแรงงานสัมพันธและสวัสดิการ (Employee and Labor Relations) 6. การวิจัยเกี่ยวกับทรัพยากรมนุษย (Human Resource Research) สตอเรย (Storey, 1991 อางถึงใน ดนัย เทียนพุฒ, 2539 : 13 – 14) ไดใหแนวคิดในการ

จัดการเรื่องคนที่สอดคลองกับกระบวนทัศนใหมในการบริหารงานบุคคล คือ 1. การคัดเลือก (Selection) 2. ผลงาน (Performance) 3. ประเมินผล (Performance Appraisal) 4. รางวัล (Reward) 5. การพัฒนา (Development)

Page 17: 2 ยวของdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00913/Chapter2(8-28).pdf · 2016-10-14 · 5. ความสําเร็จของงานอยู ที่ วมแรงร

บีท (Beach, 1980 : 70 – 80) ไดกําหนดกระบวนการบริหารงานบุคคลไววา คือ การ

คัดเลือกบุคลากรเขาทํางาน การปฐมนิเทศ การจัดฝกอบรม การสรางภาวะผูนําในตัวบุคคล การประเมินผลในการปฏิบัติงาน การฝกงาน การแกไขปรับปรุงขอบกพรอง การใหคําแนะนําแกผูปฏิบัติงาน การใหขอเสนอแนะแกผูมีอํานาจในการเพิ่มเงินเดือน การเลื่อนขั้น การเลื่อนตําแหนง การโอน การยาย และการใหออกจากงาน การนําระเบียบตางๆ มาใช

สมคิด บางโม (2538 : 126) ไดกลาววา กระบวนการบริหารบุคคล คือการวางแผน กําลังคนและตําแหนง การแสวงหาบุคลากร ไดแก การสรรหา การเลือกสรร การบรรจุ การบํารุงรักษาและการจัดสวัสดิการ การประเมินผลการปฏิบัติงาน การพัฒนาบุคลากร การใหพนจากงาน

สุธี สุทธิสมบูรณ และสมาน รังสิโยกฤษฎ (2537 : 33 – 38) ไดกําหนดกระบวนการ บริหารบุคลากรไว 11 ประการ คือ 1) การวางนโยบายออกกฎหมาย ระเบียบและขอบังคับเกี่ยวกับตัวบุคคล 2) การวางแผนกําลังคน 3) การกําหนดตําแหนง 4) การกําหนดเงินเดือน 5) การสรรหาบุคคล 6) การบรรจุและแตงตั้ง 7) การจัดทําทะเบียนประวัติ 8) การพัฒนาบุคคล 9) การประเมินผลการปฏิบัติงานและการพิจารณาความดีความชอบ 10) วินัยและการดําเนินการทางวินัย 11) สวัสดิการและประโยชนเกื้อกูล วรเทพ สวัสดี (2538 : 5) กลาวไววา กระบวนการบริหารงานบุคคล คือ กิจกรรมเกี่ยวกับการวางแผนกําลังคน การกําหนดตําแหนงและอัตราเงินเดือน การสรรหาบุคคล การบรรจุแตงตั้ง การพัฒนาบุคคล การประเมินผลการปฏิบัติงาน วินัย สวัสดิการและประโยชนเกื้อกูลตางๆ คิงสเบอรี่ (Kingsbury, 1965 : 19 – 20) อธิบายการบริหารบุคคลวา ควรมีขั้นตอนดังนี้ คือ การวางนโยบาย ระเบียบขอบังคับเกี่ยวกับบุคคล การวางแผนในการจัดอัตรากําลังคนใหสอดคลองกับวัตถุประสงคการวางโครงการปฏิบัติงาน กําหนดหนาที่ของผูปฏิบัติงานในตําแหนงตางๆ การจัดชั้นตําแหนงงาน การกําหนดอัตราเงินเดือนคาจาง การสรรหาบุคคลเขาทํางานและการ สอบไล การคัดเลือกและบรรจุแตงตั้ง การใหทดลองปฏิบัติงาน การจัดทําทะเบียนประวัติ การยายและการโอน การพัฒนาบุคคล การประเมินผล การปฏิบัติงาน การพิจารณาความดีความชอบ การเลื่อนขั้นและการเลื่อนตําแหนง จากกระบวนการบริหารงานบุคลากรดังที่ไดกลาวมาแลวสามารถสรุปไดวา กระบวนการบริหารงานบุคลากรเริ่มตั้งแตกระบวนการวางแผนกําลังคน การสรรหา การคัดเลือก การบรรจุแตงตั้ง การปฐมนิเทศ การทดลองปฏิบัติงาน การบํารุงรักษา การพัฒนา การประเมินผลการปฏิบัติงาน และการใหพนจากงาน ซ่ึงเปนกระบวนการที่เกี่ยวพันกันอยางตอเนื่องเปนระบบ ในที่นี้ผูวิจัยจะ

Page 18: 2 ยวของdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00913/Chapter2(8-28).pdf · 2016-10-14 · 5. ความสําเร็จของงานอยู ที่ วมแรงร

นําเสนอเปน 4 ประเด็นใหญๆ คือ การสรรหาบุคลากร การใชและการพัฒนาบุคลากร การบํารุงรักษาบุคลากร และการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร ซ่ึงจะไดกลาวในรายละเอียดตอไป

1. การสรรหาบุคลากร (Recruitment) การสรรหาบุคลากร เปนหนาที่ทางการบริหารที่เกี่ยวของกับการวางแผนกําลังคน

การคัดเลือกบุคคล การปฐมนิเทศ การทดลองปฏิบัติหนาที่ราชการและการบรรจุแตงตั้ง ดังรายละเอียดดังนี้

ความหมายการสรรหาบุคลากร นักการศึกษาหลายทานไดเสนอความหมายการสรรหาบุคลากรไวดังนี้ ธงชัย สันติวงษ (2540 : 123 – 124) ไดใหความหมายวา การสรรหาพนักงาน คือ การดําเนินกิจกรรมที่หนวยงานจัดขึ้นเพื่อมุงจูงใจผูสมัครที่มีความรู ความสามารถและมีทัศนคติที่ดี ตรงตามความตองการ ใหเขามารวมทํางานหรือการพิจารณาเสาะหาใหไดตัวบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมกับตําแหนงงานและใหไดครบตามจํานวนที่ตองการ การสรรหาพนักงานเริ่มจากการ วางแผนกําลังบุคคลเพื่อระดมใหไดผูสมัครงานจํานวนหนึ่งที่มีคุณสมบัติที่ดีพรอมที่จะคัดเลือกใหไดคนที่ดีที่สุด เกรียงศักดิ์ เขียวยิ่ง (2542 : 120 – 121) กลาววาการสรรหาหมายถึง กระบวนการแสวงหา ชักจูง แยกแยะผูสมัครที่มีคุณสมบัติในจํานวนที่พอเพียงเพื่อบรรจุในองคการตามกําลังคนที่ องคการตองการทั้งในปจจุบันและอนาคต ดนัย เทียนพุฒ (2543 : 21) ไดใหความหมายการสรรหาบุคลากรไววา เปนการเสาะแสวงหาเพื่อเลือกสรรใหไดคนที่มีความรู ความสามารถเหมาะสมกับงาน สมเกียรติ พวงรอด (2544 : 112) กลาววา การสรรหาบุคคล คือ วิธีการตางๆ ที่ผูบริหารแสวงหาเพื่อคัดเลือกใหไดบุคคลที่มีคุณสมบัติตรงตามที่ตองการมาปฏิบัติงานในองคการ ณัฏฐพันธ เขจรนันท (2545 : 88) ไดใหความหมายการสรรหาบุคลากรวา หมายถึง กระบวนการในการคนหาบุคคลที่มีความเหมาะสมกับตําแหนงตรงตามที่องคการตองการมาจากแหลงตางๆ ที่สนใจสมัครเขารวมงานกับองคการ จากความหมายการสรรหาบุคลากรดังที่ไดกลาวมาแลวสามารถสรุปไดวา การสรรหาบุคลากร หมายถึง การแสวงหา การสรรหาบุคคลที่มีความรู ความสามารถของบุคคลแตละคนที่มีคุณสมบัติที่เหมาะสมกับตําแหนงงานและครบตามจํานวนที่องคการตองการมาปฏิบัติงาน

Page 19: 2 ยวของdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00913/Chapter2(8-28).pdf · 2016-10-14 · 5. ความสําเร็จของงานอยู ที่ วมแรงร

กระบวนการสรรหาบุคลากร นักการศึกษาไดเสนอกระบวนการของการสรรหาบุคลากรไวดังนี้ เพ็ญศรี วายวานนท (2537 : 81) ไดกลาวถึงกระบวนการสรรหาวา ตองอาศัยพื้นฐานของการวิเคราะหงานและการทําประมาณกําลังคน การวิเคราะหงานใหไดขอมูลในการกําหนดคุณลักษณะของคน ประเภทคนที่เหมาะสมในการบรรจุและลักษณะกําลังคนปจจุบัน ทําใหสามารถประมาณการหรือวางแผนความตองการกําลังคนในปริมาณที่ตองการ ธงชัย สันติวงษ (2540 : 125 – 127) ไดสรุปขั้นตอนกระบวนการสรรหาพนักงานไวดังนี้

1. กําหนดลักษณะงาน เพื่อเปนขอมูลพื้นฐานใหเขาใจชัดเจนถึงลักษณะของงานเพื่อให สามารถเขาใจถึงลักษณะบุคคลตามคุณสมบัติที่ตองการ

2. การพิจารณาการวางแผน การสรรหา เปนการพิจารณาเกี่ยวกับเทคนิควิธีที่จะใช สรรหาวา ควรจะเสาะหาจากผูใด ดวยวิธีการใด เพื่อใหผูสมัครที่เหมาะสมที่จะนําคัดเลือกตอไป

3. สรางรายละเอียดใหเกิดการจูงใจในการสรรหา เปนการมุงกําหนดรายละเอียดตางๆ เกี่ยวกับงานใหชัดเจน ทั้งในแงของรางวัล ผลตอบแทนและคุณลักษณะของพนักงาน เพื่อเปนกลไกที่จะดึงดูดใหผูสมัครมาติดตองาน

4. การดําเนินการสรรหาตามนโยบายและวิธีการที่กําหนดไว สายพิณ เชื้อนอย (2543 : www.moe.go.th) ไดเสนอแนวดําเนินการปฏิรูประบบสรรหา

ครู โดยจะพัฒนาเกณฑและเครื่องมือประเมินใหมีคุณภาพดังนี้ 1. เกณฑในการสรรหาครู จะตองสะทอนคุณภาพครูตามมาตรฐานวิชาชีพและระดับ คุณภาพครู

2. เกณฑในการสรรหาครู จะตองมีความสอดคลองและเชื่อมโยงกับระบบผลิตครู ระบบ พัฒนาครู และใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู

3. เครื่องมือในการประเมินเกณฑการสรรหาตองมีคุณภาพ สามารถวัดคนเกง คนดี มา เปนครูตามเกณฑที่กําหนดไดจริง

4. การสรรหาตองมีเกณฑกลางที่มีความยืดหยุน และจูงใจใหคนเกง คนดี มาเปนครู รุนใหม

5. การสรรหาครูตองกระจายอํานาจใหเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา สรรหาครูได ตามความตองการของผูใช โดยองคคณะบุคคลที่ทําหนาที่เกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล เปนผูวางระบบหลักเกณฑและวิธีการสรรหารวมทั้งระบบการติดตามประเมินผล

6. วิธีสรรหาครูจะตองมีหลายวิธี ทั้งวิธีการสรรหาจากบุคคลทั่วไปและการสรรหา ลักษณะพิเศษ เชน กาสรรหานักเรียนทุนเปนครู และพนักงานของรัฐ

Page 20: 2 ยวของdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00913/Chapter2(8-28).pdf · 2016-10-14 · 5. ความสําเร็จของงานอยู ที่ วมแรงร

7. การเขาสูวิชาชีพครู จะตองใหมีการทดลองปฏิบัติการสอน เปนระยะเวลา 2 ป แลว เมื่อมีการประเมินตามเกณฑแลวจึงจะบรรจุเปนครูหรือพนักงานของรัฐ

8. ใหมีระบบกํากับ ติดตามและประเมินผลการสรรหาครูอยางเปนระบบ ครบวงจร วรนารถ แสงมณี (2543 : 59 – 60) ไดเสนอกระบวนการสรรหาบุคลากรไวดังนี้ 1. การทําแผนและพยากรณการจางงานเพื่อกําหนดหนาที่ของตําแหนงที่จะจัดสรร 2. การสรางกลุมของผูสมัครสําหรับงาน มันดี และ นอ (Mondy & Noe, 1990 : 175) ไดเสนอกระบวนการสรรหาบุคลากรวา เปน

กระบวนการชักจูงบุคคลในเวลาที่เหมาะสม จํานวนที่มากพอ และมีคุณสมบัติตามที่ตองการ การสรรหาขึ้นอยูกับปจจัยตางๆ ทั้งสภาพแวดลอมภายนอกและสภาพแวดลอมภายใน การสรรหาตองอาศัยกระบวนการที่ประกอบดวยหลายขั้นตอน เร่ิมจากการวางแผนทรัพยากรมนุษย (Human Resource Planning) บอกถึงความตองการทรัพยากรมนุษย ผูบริหารจะพิจารณาความจําเปนในการสรรหาพนักงาน (Employee Requisition)และรายละเอียดงาน (Job Description) ดังแสดงไวในกระบวนการสรรหาในภาพประกอบ 2 ดังนี้ ภาพประกอบ 2 กระบวนการสรรหาบุคลากร

สภาพแวดลอมภายนอก สภาพแวดลอมภายใน การวางแผนทรัพยากรมนุษย

ทางเลือกในการสรรหา

การสรรหา

แหลงภายนอกแหลงภายใน

วิธีการสรรหาภายนอก วิธีการสรรหาภายใน

บุคคลที่สรรหาได

ที่มา : มันดี และ นอ (Mondy & Noe, 1990 : 175)

Page 21: 2 ยวของdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00913/Chapter2(8-28).pdf · 2016-10-14 · 5. ความสําเร็จของงานอยู ที่ วมแรงร

1.1 การวางแผนกําลังคน(Manpower Planning) ไดมีนักการศึกษาใหความหมายของการวางแผนกําลังคนไวดังนี้ ณัฏฐพันธ เขจรนันท (2545 : 63)ไดกลาววา การวางแผนทรัพยากรบุคคล คือ กระบวนการคาดการณความตองการดานทรัพยากรบุคคลขององคการ อันจะสงผลถึงการกําหนดวิธีการปฏิบัติที่เกี่ยวของกับบุคลากรและการตอบสนองของปจจัยแวดลอม ตั้งแตกอนบุคคลเขารวมงานกับองคการ ขณะปฏิบัติงานอยูในองคการ จนกระทั่งเขาตองพนออกจากงาน ธงชัย สันติวงษ (2540 : 103) ไดใหความหมายวา การวางแผนกําลังคน หมายถึง กระบวนการบริหารงานบุคคลในการพยากรณความตองการบุคลากรวามีกําลังคนที่จํานวนพอเพียง มีคุณสมบัติที่เหมาะสมและมีความพรอมทุกครั้งที่ตองการ จากความหมายของการวางแผนกําลังคนดังที่ไดกลาวมาสามารถสรุปไดวา การวางแผนกําลังคนเปนการคาดการณหรือการพยากรณความตองการดานบุคคลวามีคุณสมบัติที่เหมาะสมมีจํานวนที่เพียงพอ และมีความพรอมในการปฏิบัติงานตลอดเวลา นอกจากนี้ไดมีนักการศึกษาไดเสนอกระบวนการของการวางแผนกําลังคนไดดังนี้ เกรียงศักดิ์ เขียวยิ่ง (2542 : 102 – 103) ไดกลาวถึงกระบวนการวางแผนทรัพยากรมนุษยวา ประกอบดวยขั้นตอนที่สําคัญคือ การพิจารณาทรัพยากรมนุษยที่มีอยูในปจจุบัน (Human Resource Inventory) การตรวจสอบทรัพยากรมนุษย (Human Resource Audit) และแผนทรัพยากรมนุษย (Human Resource Plan) ดังแสดงไวในภาพประกอบ 3 ดังนี้