Top Banner
(1) สิ่งแวดล้อมศึกษาเพื่อการจัดการขยะพื้นที่เกาะลิบง จังหวัดตรัง Environmental Education for Solid Waste Management in Libong Island, Trang Province กนกรัตน์ นาวีการ Kanokrat Navykarn วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญา ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree of Doctor of Philosophy in Environmental Management Prince of Songkla University 2559 ลิขสิทธิ ์ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
362

กนกรัตน์ นาวีการ วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตาม ... ·...

Jun 17, 2020

Download

Documents

dariahiddleston
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
  • (1)

    ส่ิงแวดล้อมศึกษาเพ่ือการจดัการขยะพ้ืนที่เกาะลิบง จงัหวดัตรัง Environmental Education for Solid Waste Management in Libong Island,

    Trang Province

    กนกรัตน์ นาวกีาร Kanokrat Navykarn

    วทิยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญา ปรัชญาดุษฎบัีณฑิต สาขาวิชาการจดัการส่ิงแวดล้อม

    มหาวทิยาลัยสงขลานครินทร์ A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree of

    Doctor of Philosophy in Environmental Management Prince of Songkla University

    2559 ลิขสิทธ์ิของมหาวทิยาลยัสงขลานครินทร์

  • (2)

    ช่ือวทิยานิพนธ์ ส่ิงแวดลอ้มศึกษาเพ่ือการจดัการขยะพ้ืนท่ีเกาะลิบง จงัหวดัตรัง ผู้เขียน นางสาวกนกรัตน์ นาวกีาร สาขาวชิา การจดัการส่ิงแวดลอ้ม _____________________________________________________________________

    อาจารย์ที่ปรึกษาวทิยานิพนธ์หลกั คณะกรรมการสอบ ............................................................... ............................................ประธานกรรมการ (รองศาสตราจารย ์ดร. อุมาพร มุณีแนม) (ผูช่้วยศาสตราจารย ์ดร. เสาวลกัษณ์ รุ่งตะวนัเรืองศรี)

    ..........................................................กรรมการ

    (รองศาสตราจารย ์ดร. อุมาพร มณีุแนม)

    ..........................................................กรรมการ (ผูช่้วยศาสตราจารย ์ดร. สมทิพย ์ด่านธีรวนิชย)์

    ..........................................................กรรมการ

    (ผูช่้วยศาสตราจารย ์ดร. สุทธิพร บุญมาก)

    บณัฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยัสงขลานครินทร์ อนุมติัใหน้บัวิทยานิพนธฉ์บบัน้ีเป็นส่วนหน่ึงของการศึกษา ตามหลกัสูตรปริญญาปรัชญาดุษฎีบณัฑิต สาขาวิชาการจดัการส่ิงแวดลอ้ม

    .......................................................................

    (รองศาสตราจารย ์ดร. ธีระพล ศรีชนะ) คณบดีบณัฑิตวิทยาลยั

  • (3)

    ขอรับรองว่า ผลงานวิจยัน้ีมาจากการศึกษาวจิยัของนกัศึกษาเอง และไดแ้สดงความขอบคุณบุคคลท่ีมีส่วนช่วยเหลือแลว้

    ลงช่ือ ...................................................... (รองศาสตราจารย ์ดร. อุมาพร มุณีแนม)

    อาจารยท่ี์ปรึกษาวิทยานิพนธห์ลกั

    ลงช่ือ ...................................................... (นางสาวกนกรัตน์ นาวีการ)

    นกัศกึษา

  • (4)

    ขา้พเจา้ขอรับรองว่า ผลงานวิจยัน้ีไม่เคยเป็นส่วนหน่ึงในการอนุมติัปริญญาในระดบัใดมาก่อน และไม่ไดถู้กใชใ้นการยืน่ขออนุมติัปริญญาในขณะน้ี

    ลงช่ือ ...................................................... (นางสาวกนกรัตน์ นาวีการ)

    นกัศกึษา

  • (5)

    ช่ือวิทยานิพนธ ์ ส่ิงแวดลอ้มศึกษาเพ่ือการจดัการขยะพ้ืนท่ีเกาะลิบง จงัหวดัตรัง

    ผูเ้ขียน นางสาวกนกรัตน์ นาวีการ

    สาขาวิชา การจดัการส่ิงแวดลอ้ม

    ปีการศึกษา 2558

    บทคดัย่อ การวิจยัน้ีเป็นด าเนินการวิจยัตามรูปแบบของการวิจยัเชิงทดลอง ประเภทกลุ่มทดลองและ

    กลุ่มควบคุม - วดั ก่อน – หลงั โดยมีวตัถุประสงค ์เพ่ือสร้างกระบวนการส่ิงแวดลอ้มศึกษาในการจดัการ

    ขยะพ้ืนท่ีเกาะลิบง จงัหวดัตรัง และเพ่ือศึกษาผลสัมฤทธ์ิของการกระบวนการส่ิงแวดลอ้มศึกษา

    ท่ีสร้างข้ึน ดา้นการพฒันาความรู้ความเขา้ใจ ความตระหนัก ทศันคติ ทกัษะ และการมีส่วนร่วม

    ในการจดัการขยะชุมชนตามกระบวนการส่ิงแวดลอ้มศึกษา กลุ่มตวัอย่างในการวิจยัคร้ังน้ี ใชว้ิธี

    เทคนิคการเลือกกลุ่มตวัอยา่งแบบเฉพาะเจาะจงและแบบอาสาสมคัร ไดแ้ก่ ประชาชน นักเรียน ครู

    ผูน้ าศาสนา หน่วยงานภาครัฐ และองค์กรชุมชน ท่ีสนใจในเร่ืองการจดัการขยะชุมชนพ้ืนท่ีเกาะลิบง

    จงัหวดัตรัง ไดแ้ก่ กลุ่มทดลอง 32 คน และกลุ่มควบคุม 32 คน เคร่ืองมือท่ีใชใ้นการศึกษาประกอบดว้ย

    แผนการจดัการเรียนรู้กิจกรรมส่ิงแวดลอ้มศึกษาเพ่ือการจดัการขยะชุมชนพ้ืนท่ีเกาะลิบง จงัหวดัตรัง

    และแบบทดสอบวดัผลสัมฤทธ์ิ โดยค่าสถิติท่ีใชใ้น การวิเคราะห์ขอ้มูล ไดแ้ก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉล่ีย

    ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐาน t-test ผลการศึกษาพบว่า แผนการจัดกิจกรรม

    ส่ิงแวดลอ้มศึกษา ประกอบไปดว้ย 4 หน่วยการเรียนรู้ 13 กิจกรรมการเรียนรู้ ซ่ึงผลการประเมิน

    จากผูเ้ช่ียวชาญ พบว่า ภาพรวมของแผนกิจกรรมการเรียนรู้ อยู่ในระดบั ดีมาก ร้อยละ 91.97 และ

    แบบทดสอบวดัผลสมัฤทธ์ิเหมาะสมต่อการน าไปใช ้และหลงัการเขา้ร่วมกิจกรรมส่ิงแวดลอ้มศึกษา

    พบว่า กลุ่มทดลองมีผลการประเมินผ่านทุกจุดประสงค์การเรียนรู้ในทุกกิจกรรมการเรียนรู้ และ

    ผลสมัฤทธ์ิของการกระบวนการส่ิงแวดลอ้มศึกษาท่ีสร้างข้ึน พบว่า กลุ่มทดลองมีความรู้ความเขา้ใจ

    ความตระหนัก ทศันคติ ทกัษะ และการมีส่วนร่วมมากกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยส าคญัทางสถิติ

    ท่ีระดบั 0.05 และการสอบถามความพึงพอใจต่อกิจกรรมการเรียนรู้ อยู่ในระดบัดีและดีมาก

  • Thesis Title Environmental Education for Solid Waste Management in Libong

    Island, Trang Province

    Author Miss Kanokrat Navykarn

    Major Program Environmental Management

    Academic Year 2015

    ABSTRACT

    This research was the pretest - posttest Control Group Design. It aims to produce

    an environmental education process for solid waste management at Libong island, Trang Province,

    and to study achievements on knowledge, attitudes, awareness, skills and participation towards

    wastes management of the local. The sample group was selected using the purposive and the volunteer

    non - random methods which consisted of villagers, students, teachers, religious leaders, community

    organisations and government authorities in Libong island. The samples were divided equally into

    two groups: the experimental group (32 participants) and the control group (32 participants).

    The research tools composed of instructional plan of environmental education activities and

    achievement tests. The data were described in percentage, mean, and standard deviation. A t-test

    was also used to test the research hypothesis. The research result found that the environmental

    education process consisted of four learning units with 13 learning activities. The overall effectiveness

    of instructional plan of environmental education process assessed by the four examinators found that

    they were at excellent level of 91.79 percent. The quality of achievement tests was deemed

    appropriate to use and the instructional plan of activities was carried out in the experimental

    field, and found that the experimental group’s achievements on knowledge, attitudes, awareness,

    skills and participation were significantly higher than those carried out from the control group at

    0.05 level. The experimental group’s satisfaction for learning activities was good and excellent.

  • (7)

    กิตตกิรรมประกาศ

    วิทยานิพนธ์น้ีส าเร็จลงได้ ด้วยความกรุณาของ รองศาสตราจารย ์ดร.อุมาพร มุณีแนม

    อาจารยท่ี์ปรึกษาวิทยานิพนธ ์ท่ีดูแลให้ค าปรึกษา ตรวจสอบและแกไ้ขขอ้บกพร่องต่างๆ ทุกขั้นตอน

    ตลอดระยะเวลาท าวิทยานิพนธ์ รวมทั้งให้ความช่วยเหลือและก าลงัใจเป็นอย่างดี ท าให้การท า

    วิทยานิพนธ์ด าเนินงานส าเร็จลุล่วง จึงกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูงไว ้ณ โอกาสน้ี

    ขอขอบพระคุณคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธทุ์กท่าน ท่ีกรุณาให้ขอ้เสนอแนะเพ่ิมเติมและ

    แกไ้ขขอ้บกพร่องของวิทยานิพนธ ์ท าใหว้ิทยานิพนธฉ์บบัน้ีสมบูรณ์ยิง่ข้ึน

    กราบขอบพระคุณ คุณสมบูรณ์ อยัรักษ ์ รองศาสตราจารยส์มชาย สกุลทพั และ

    ผูช้่วยศาสตราจารย ์ดร.สุกญัญา วงศธ์นะบูรณ์ ร่วมกบัอาจารยที์่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ที่กรุณา

    เป็นผูเ้ช่ียวชาญตรวจสอบเคร่ืองมือท่ีใชใ้นงานวิจยั ตลอดจนให้ขอ้เสนอแนะ ขอ้คิดเห็นต่างๆ

    ท่ีเป็นประโยชน์ต่อการท าวิทยานิพนธ์ในคร้ังน้ี

    กราบขอบพระคุณ ผูบ้ริหารองคก์ารบริหารส่วนต าบลเกาะลิบง ก านนั ผูใ้หญ่บา้น ผูบ้ริหาร

    คณะครู และนกัเรียนโรงเรียนบา้นบาตูปูเตะ๊ ผูน้ าศาสนา ตวัแทนองคก์รชุมชน และประชาชนเกาะลิบง

    อ าเภอกนัตงั จังหวดัตรัง ทุกคนท่ีให้การสนับสนุน เขา้ร่วมกิจกรรม ให้ความร่วมมือ และตั้งใจ

    ในการท ากิจกรรมการเรียนรู้เป็นอย่างดี ท าให้การจดักิจกรรมส าเร็จลุล่วงไปไดด้ว้ยดี

    กราบขอบพระคุณ คุณวรพจน ์ รัตนพนัธุ ์ ท่ีใหก้ าลงัใจ ดูแล ช่วยเหลือ และเป็นผูช่้วยนกัวิจยั

    ร่วมกบั นางสาวณิชารีย ์ สุวาหล า นางสาวประภากร รอมานี นางสาวอนุสรา จนัทาโยธิน

    นางสาวซารีฟะห์ ฮะปาน นางสาววารุณี สมใจ นายจีรวฒัน์ ค าทอง นายศุภณัฐ วรรณวงศ ์นายสมโชค

    อ่ิมพร้อม และนายพนัธวชั มานะกลา้ นกัศึกษาสาขาส่ิงแวดลอ้ม คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

    การประมง มหาวิทยาลยัเทคโนโลยรีาชมงคลศรีวิชยั วิทยาเขตตรัง ท่ีช่วยเหลือในการเก็บขอ้มูล

    กราบขอบพระคุณ มหาวิทยาลยัเทคโนโลย ีราชมงคลศรีวิชยัที่ให ้การสนับสนุน

    ดา้นทุนการศึกษา และมหาวิทยาลยัสงขลานครินทร์ ท่ีให้การสนับสนุนดา้นทุนวิจยั

    ทา้ยสุดน้ี ผูว้ิจยัขอกราบขอบพระคุณบิดา มารดา คุณยาย นอ้งชายและญาติพ่ีนอ้งทุกท่าน

    ผูซ่ึ้งอยู่เบ้ืองหลงัและเป็นก าลงัใจชั้นเยีย่มมาโดยตลอด

    กนกรัตน์ นาวกีาร

  • สารบัญ

    เร่ือง หน้า

    บทคัดย่อ (5)

    Abstract (6)

    กิตติกรรมประกาศ (7)

    สารบัญ (8)

    สารบัญตาราง (11)

    สารบัญภาพ (13)

    บทที่ 1 บทน า 1

    ปัญหาและความเป็นมาของปัญหา 1

    ค าถามในการวจิยั 6

    วตัถุประสงคใ์นการวจิยั 6

    ประโยชน์ท่ีคาดวา่จะไดรั้บ 6

    ขอบเขตงานวจิยั 7

    ขอ้จ ากดัของงานวจิยั 9

    กรอบแนวคิดในการวจิยั 11

    นิยามศพัทท่ี์ใชใ้นงานวจิยั 12

    บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 15

    แนวคิดเก่ียวกบัการจดัการขยะชุมชน 15

    แนวคิดเก่ียวกบัส่ิงแวดลอ้มศึกษา 21

    แนวคิดและทฤษฎีการเรียนรู้ 25

    แนวคิดเก่ียวกบัการจดัการเรียนรู้ 28

    แนวคิดเก่ียวกบัแผนการจดัการเรียนรู้ 35

    แนวคิดเก่ียวกบัการประเมินผลสัมฤทธ์ิ 37

    งานวจิยัท่ีเก่ียวขอ้งกบัส่ิงแวดลอ้มศึกษาเพ่ือการจดัการขยะ 41

    บทที่ 3 วิธีด าเนินการวิจัย 55

    พ้ืนท่ีศึกษา 57

    ประชากรและกลุ่มตวัอยา่ง 58

  • (9)

    สารบัญ (ต่อ)

    เร่ือง หน้า

    เคร่ืองมือท่ีใชใ้นการวจิยั วธีิการสร้างเคร่ืองมือ ตรวจสอบคุณภาพเคร่ืองมือ และผลการตรวจสอบคุณภาพเคร่ืองมือ

    60

    ขั้นตอนด าเนินการวจิยั 76

    การเก็บรวบรวมขอ้มูล 79

    การวเิคราะห์ขอ้มูล 79

    บทที่ 4 ผลการศึกษาและอภิปรายผล 81

    ผลการศึกษาและอภิปรายผลตามวตัถุประสงคข์อ้ที่ 1 81

    ผลการศึกษาและอภิปรายผลตามวตัถุประสงคข์อ้ที ่2 91

    1) ผลจากการท ากิจกรรมการเรียนรู้ในกระบวนการส่ิงแวดลอ้มศึกษาท่ีสร้างข้ึน

    91

    2) ผลจากการท าแบบทดสอบวดัผลสัมฤทธ์ิ 147

    บทที่ 5 สรุปและข้อเสนอแนะ 157

    สรุปผลการสร้างกระบวนการส่ิงแวดลอ้มศึกษาในการจดัการขยะพ้ืนท่ีเกาะลิบง จงัหวดัตรัง

    158

    สรุปผลสัมฤทธ์ิของกระบวนการส่ิงแวดลอ้มศึกษาท่ีสร้างข้ึน ดา้นการพฒันาความรู้ความเข้าใจ ทศันคติ ความตระหนัก ทักษะ และการมีส่วนร่วมตามกระบวนการส่ิงแวดลอ้มศึกษา

    160

    ขอ้เสนอแนะ 165

    เอกสารอ้างอิง 168

    ภาคผนวก 182

    ก. รายนามผูเ้ช่ียวชาญ 183

    ข. แผนการจดัการเรียนรู้กิจกรรมส่ิงแวดลอ้มศึกษาเพ่ือการจดัการขยะชุมชน และแบบทดสอบวดัผลสัมฤทธ์ิดา้นความรู้ความเขา้ใจ ทศันคติ ความตระหนกั ทกัษะและการมีส่วนร่วม

    185

    ค. ผลการตรวจสอบคุณภาพเคร่ืองมือ 306

  • สารบัญ (ต่อ)

    เร่ือง หน้า ง. ผลคะแนนทดสอบหลงัท ากิจกรรมการเรียนรู้ในกระบวนการส่ิงแวดลอ้ม

    ศึกษาเพ่ือการจดัการขยะชุมชนพ้ืนท่ีเกาะลิบง จงัหวดัตรัง 331

    จ.ภาพถ่ายงานวจิยั 337

    ประวัติผู้วิจัย 347

  • (11)

    สารบัญตาราง

    หน้า

    ตารางท่ี 1 งานวิจยัท่ีเก่ียวขอ้งกบัส่ิงแวดลอ้มศึกษาเพ่ือการจดัการขยะ 42 ตารางท่ี 2 ผลการทดสอบประสิทธิภาพของแบบทดสอบวดัผลสมัฤทธ์ิดา้นความรู้

    ความเขา้ใจ ทศันคติ ความตระหนกั ทกัษะ และการมีส่วนร่วม ก่อนและหลงัท ากระบวนการส่ิงแวดลอ้มศึกษา

    76

    ตารางท่ี 3 การประเมินผลกิจกรรมการเรียนรู้ในกระบวนการส่ิงแวดลอ้มศึกษาท่ีสร้างข้ึน

    94

    ตารางท่ี 4 ล าดับเหตุการณ์กิจกรรมการจัดการขยะชุมชนในอดีตท่ีผ่านมาจนถึงปัจจุบนั

    98

    ตารางท่ี 5 ผลการวิเคราะห์แบบสวอต (SWOT analysis) ของกิจกรรมการจดัการ

    ขยะชุมชนในอดีตท่ีผา่นมาจนถึงปัจจุบนั

    101

    ตารางท่ี 6 แนวทางการปรับปรุงแกไ้ขปัญหาขยะในชุมชน 102 ตารางท่ี 7 พฤติกรรมการจ ดัก ารขยะช ุมชนพื้น ที ่เ ก าะล ิบง จ งัหว ดัตร ัง

    จากการสัมภาษณ์ 105

    ตารางท่ี 8 บทบาทหนา้ท่ีของผูม้ีส่วนไดส่้วนเสียท่ีเก่ียวขอ้งกบัการจดัการขยะชุมชน 116

    ตารางท่ี 9 แผนปฏิบติัการการจดัการขยะในชุมชนเกาะลิบง จงัหวดัตรัง 120 ตารางท่ี 10 ผลสรุปการด าเนินกิจกรรมตามแผนปฏิบติัการจดัการขยะชุมชน 123 ตารางท่ี 11 ผลการประเมินการด าเนินกิจกรรมการจดัการขยะในชุมชน 128 ตารางท่ี 12 ผลการประเมินผลประโยชน์ท่ีไดรั้บจากกิจกรรมการจดัการขยะในชุมชน 129 ตารางท่ี 13 ผลการวางแผนเพ่ือต่อยอดกิจกรรมการจดัการขยะในชุมชนอยา่งย ัง่ยนื 130 ตารางท่ี 14 ระยะเวลาในการท ากิจกรรมการเรียนรู้ในกระบวนการส่ิงแวดลอ้มศึกษา 133

    ตารางท่ี 15 จ านวนกลุ่มตวัอย่างท่ีเขา้ร่วมท ากิจกรรมการเรียนรู้ในกระบวนการส่ิงแวดลอ้มศึกษา

    135

    ตารางท่ี 16 ผลจากการสังเกตพฤติกรรมการท างานกลุ่มของกลุ่มทดลองและความพึงพอใจท่ีมีต่อกิจกรรมการเรียนรู้ในกระบวนการส่ิงแวดลอ้มศึกษา

    146

  • สารบัญตาราง (ต่อ)

    หน้า

    ตารางท่ี 17 ผลทดสอบความแตกต่างระหว่างกลุ่มควบคุม (n = 32) และทดลอง (n = 32) หลงักระบวนการส่ิงแวดลอ้มศึกษา

    149

    ตารางท่ี 18 สรุปผลการจดักิจกรรมการเรียนรู้ในกระบวนการส่ิงแวดลอ้มศึกษาในการจดัการขยะพ้ืนท่ีเกาะลิบง จงัหวดัตรัง

    161

    ตารางท่ี 19 ผลสัมฤทธ์ิของกระบวนการส่ิงแวดลอ้มศึกษาท่ีสร้างข้ึนกบัทฤษฎีการเรียนรู้และวิธีการจดัการเรียนรู้

    163

  • (13)

    สารบัญภาพ

    หน้า

    ภาพท่ี 1 กรอบแนวคิดในการวิจยั 11 ภาพท่ี 2 แนวคิดการจดัการมูลฝอยแบบบูรณาการ 17 ภาพท่ี 3 รูปแบบการวิจยัเชิงทดลอง ประเภทกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม – วดั

    ก่อน – หลงั

    56

    ภาพท่ี 4 ปริมาณขยะจากแหล่งก าเนิดขยะในชุมชนเกาะลิบง 112 ภาพท่ี 5 ผลการส ารวจประเภทและปริมาณขยะท่ีเกิดข้ึนในครัวเรือนเกาะลิบง

    จงัหวดัตรัง (จ านวน 32 ครัวเรือน) 114

    ภาพท่ี 6 ผลสมัฤทธ์ิดา้นความรู้ความเขา้ใจจากระบวนการส่ิงแวดลอ้มศึกษาเพ่ือ

    การจดัการขยะชุมชนเกาะลิบง จงัหวดัตรัง

    150

    ภาพท่ี 7 ผลสัมฤทธ์ิดา้นทศันคติจากระบวนการส่ิงแวดลอ้มศึกษาเพ่ือการจดัการขยะชุมชนเกาะลิบง จงัหวดัตรัง

    151

    ภาพท่ี 8 ผลสัมฤทธ์ิดา้นความตระหนักจากระบวนการส่ิงแวดลอ้มศึกษาเพื่อการจดัการขยะชุมชนเกาะลิบง จงัหวดัตรัง

    152

    ภาพท่ี 9 ผลสมัฤทธ์ิดา้นทกัษะจากระบวนการส่ิงแวดลอ้มศึกษาเพ่ือการจดัการขยะ

    ชุมชนเกาะลิบง จงัหวดัตรัง

    153

    ภาพท่ี 10 ผลสัมฤทธ์ิดา้นการมีส่วนร่วมจากระบวนการส่ิงแวดลอ้มศึกษาเพื่อการจดัการขยะชุมชนเกาะลิบง จงัหวดัตรัง

    155

    ภาพท่ี 11 การสร้างกระบวนการส่ิงแวดลอ้มศึกษาเพ่ือการจดัการขยะพ้ืนท่ีเกาะลิบง จงัหวดัตรัง

    159

  • 1

    บทที่ 1

    บทน า

    1. ปัญหาและความเป็นมาของปัญหา

    ในปัจจุบนัปัญหาขยะเป็นปัญหาส่ิงแวดลอ้มท่ีส าคญั ไม่นอ้ยไปกว่าปัญหาส่ิงแวดลอ้มอ่ืนๆ และมีแนวโนม้ว่าจะสร้างปัญหาใหก้บัโลกมากข้ึนเร่ือยๆ เน่ืองจากการเพ่ิมข้ึนของจ านวนประชากรอยา่งรวดเร็ว ความเจริญกา้วหน้าทางดา้นวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และการเจริญเติบโตทางดา้น

    เศรษฐกิจ ท าใหม้นุษยไ์ดน้ าเอาทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resources) เช่น ป่าไม ้น ้ า ดิน แร่ธาตุ มาใชป้ระโยชน์เพื่อความสะดวกสบายในดา้นอ่ืนๆ ดว้ย นอกเหนือจากปัจจยัส่ี (อาหาร เคร่ืองนุ่มห่ม ยารักษาโรค และที่อยู ่อาศยั) เช่น การคมนาคมขนส่ง ความปลอดภยั ความสวยความงาม การติดต่อส่ือสาร เป็นตน้ ดงัเช่นในอดีตท่ีผา่นมา เป็นผลท าใหท้รัพยากรธรรมชาติลดลงอย่างรวดเร็ว และมีปริมาณขยะเกิดข้ึนจ านวนมหาศาล

    จากการส ารวจปริมาณขยะชุมชนในประเทศไทยของกรมควบคุมมลพิษท่ีผ่านมา พบว่า มีปริมาณขยะเพ่ิมข้ึนทุกปีจาก 14.30 ลา้นตนั หรือ 39,178 ตนั/วนั ในปี 2548 (กรมควบคุมมลพิษ, 2549) เป็น 26.71 ลา้นตนั หรือ 71,702.36 ตนั/วนั ในปี 2557 (กรมควบคุมมลพิษ, 2559a) และเมื่อน ามาค านวณเปรียบเทียบกบัจ านวนประชากรในปี 2557 ของระบบสถิติทางการทะเบียน (2559) พบว่า มีอตัราการผลิตขยะ 1.10 กิโลกรัม/คน/วนั นอกจากน้ี กรมควบคุมมลพิษ (2559a) ยงัพบอีกว่า ปี 2557

    มีองค์กรปกครองส่วนทอ้งถิ่นท่ีไม่มีการบริการการจดัการขยะ 3,337 แห่ง หรือร้อยละ 43.01 มีปริมาณขยะเกิดข้ึน 6.5 ลา้นตนั หรือ 17,929.81 ตนั/วนั หรือร้อยละ 25.01 ของปริมาณขยะทัว่ประเทศ มปีริมาณขยะท่ีก าจดัไม่ถูกตอ้งถึงร้อยละ 97.59 และน าไปใชป้ระโยชน์เพียงร้อยละ 2.1 ของปริมาณขยะท่ีเกิดข้ึนในเขตองค์กรปกครองส่วนทอ้งถ่ินท่ีไม่มีการบริการการจดัการขยะ หรือแมก้ระทัง่องคก์รปกครองส่วนทอ้งถ่ินท่ีมีการบริการการจดัการขยะแลว้ก็ตาม ยงัพบว่า มีขยะท่ีก าจดัไม่ถูกตอ้งอีกร้อยละ 35.16 ของปริมาณขยะท่ีเกิดข้ึนในเขตองคก์รปกครองส่วนทอ้งถ่ินท่ีมีการบริการ

    การจดัการขยะ

  • 2

    จากสถานการณ์ขยะในประเทศไทย แมว้่าเราจะมีกฎหมายและนโยบายการจดัการขยะ แต่ในปัจจุบนัยงัไม่สามารถแกไ้ขปัญหาได ้เน่ืองจากส่วนใหญ่แลว้มีการจดัการขยะท่ีไม่ถูกวิธี นั่นคือ การเทกองกลางแจง้และจุดไฟเผา จึงกลายเป็นส่ิงท่ีน่าเป็นกงัวล ประกอบกบัปริมาณขยะมาก

    ไม่สามารถเก็บขนไดห้มด มีขยะตกคา้งอยู ่ตามแหล่งต่างๆ โดยเฉพาะพ้ืนที่เกาะท่ีมีขอ้จ ากดัทางดา้นพ้ืนท่ี ดงัเช่น พ้ืนท่ีเกาะในกลุ่มจงัหวดัภาคใตฝ่ั้งอนัดามนั ซ่ึงแบ่งตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวนัท่ี 15 มกราคม 2551 ประกอบไปดว้ย จงัหวดัระนอง พงังา ภูเก็ต กระบ่ี และตรัง (กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ัง, 2555) เกิดปัญหาขยะเช่นเดียวกบัพ้ืนท่ีอ่ืนๆ ท่ีกล่าวมาขา้งตน้ ซ่ึงจากแผนพฒันากลุ่มจงัหวดัภาคใตฝ่ั้งอนัดามนั พ.ศ. 2553 - 2556 ไดส้ ารวจจากประชาชนและผูม้ีส่วนไดส่้วนเสียในพ้ืนท่ี ทุกฝ่ายเห็นพอ้งต้องกันว่าขยะเป็นประเด็นปัญหาหรืออุปสรรคส าคัญต่อการพฒันา

    เศรษฐกิจ สงัคม และสภาพส่ิงแวดลอ้มของพ้ืนท่ี และตอ้งไดรั้บการแกไ้ข (ส านักบริหารยุทธศาสตร์ กลุ่มจงัหวดัภาคใตฝ่ั้งอนัดามนั, 2554)

    ผูว้ิจัยได้เลือกเกาะลิบง จังหวัดตรัง เป็นพ้ืนท่ีศึกษา เน่ืองจากอุดมสมบูรณ์ไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติท่ีส าคญั จึงมีความอ่อนไหวทางดา้นส่ิงแวดลอ้ม และมีปัญหาการจดัการขยะในพ้ืนท่ี ซ่ึงในปัจจุบนัไม่มีการจดัเก็บปริมาณขยะท่ีแน่นอนจึงไดค้ านวณปริมาณขยะท่ีเกิดข้ึน

    จากจ านวนประชากรในพ้ืนที่ โดยเปรียบเทียบกบัมาตรฐานโดยเฉลี่ยของกรมส่งเสริมการปกครองส่วนทอ้งถ่ิน ระบุว่า องค์กรปกครองส่วนทอ้งถ่ินขนาดเล็กมีการผลิตขยะประมาณ 0.34 กิโลกรัม/คน/วนั จากการค านวณพบว่า ปี 2554 พ้ืนท่ีเกาะลิบงมีปริมาณขยะประมาณ 1.08 ตนั/วนั และคาดการณ์ว่าในปี 2573 เกาะลิบงมีพ้ืนท่ีก าจดัขยะขนาดประมาณ 3 ไร่ จ านวน 1 แห่ง ซ่ึงเป็นพ้ืนท่ีก าจดัขยะที่ไม่ถูกตอ้งตามหลกัสุขาภิบาล ไม่มีเจา้หน้าที่ท่ีรับผิดชอบโดยตรง ไม่มีรถ

    ให้บริการในการจดัเก็บ ท าใหป้ระชาชนส่วนใหญ่น าขยะไปท้ิงกนัเองตามพ้ืนท่ีต่างๆ ไดแ้ก่ บริเวณรอบๆ บา้น และตามสถานท่ีสาธารณะ เช่น พ้ืนท่ีระหว่างทางเขา้พ้ืนท่ีก าจดั กองไวต้ามชายหาด รวมทั้งการท้ิงขยะลงในทะเลอีกดว้ย (จึงท าใหพ้ื้นท่ีเกาะลิบงไม่มีเส้นทางการขนขยะ) นอกจากน้ี อาจน าไปก าจดัดว้ยวิธีอ่ืนๆ เช่น เทกองกลางแจง้ ฝังในหลุมและกลบ กองบนพ้ืนและเผา ท าให้มีขยะตกคา้งทั้งในชุมชนและชายหาดเป็นจ านวนมาก (บริษทั พิสุทธ์ิ เทคโนโลยี จ ากดั, 2554) จากการจดัการขยะบนเกาะท่ีไม่เหมาะสม นอกจากจะส่งผลกระทบต่อส่ิงแวดลอ้มบนเกาะแลว้ ยงัส่งผลกระทบ

    ต่อ ส่ิงแวดล้อมในทะ เล อีก ด้ว ย เ ช่น ชี วิ ตคว าม เ ป็นอยู่ ข องสัตว์ทะ เล สัตว์ จ านวน

  • 3

    มากตายจากการกินขยะเขา้ไปเพราะเขา้ใจผดิคิดว่า เป็นอาหาร หรือเศษแหอวน เชือกท่ีรัดพนัท าให้สตัวเ์ล้ียงลูกดว้ยนมไม่สามารถข้ึนมาหายใจได ้(กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ัง, 2555)

    จากปัญหาดงักล่าว ท าใหป้ระชาชนในพ้ืนท่ีตอ้งการให้หน่วยงานทอ้งถ่ินเขา้มามีบทบาท

    ในการจดัการขยะของชุมชน โดยควรมีการจดัการอบรมให้ความรู้ (กนกรัตน์ นาวีการ, พรทิพย ์

    หนกัแน่น, สุวิทย ์จิตรภกัดี, และอนนัต ์ปัญญาศิริ, 2552) ซ่ึงสอดคลอ้งกบันโยบายภาครัฐในปัจจุบนั

    ไดม้ี Roadmap การจดัการขยะมูลฝอยและของเสียอนัตราย ท่ีผ่านความเห็นชอบจากคณะรักษา

    ความสงบแห่งชาติ เมื่อวนัท่ี 26 สิงหาคม 2557 เร่ืองการสร้างวินยัใหค้นในชาติสู่การจดัการขยะท่ีย ัง่ยนื

    โดยการใหค้วามรู้กบัประชาชน (กรมควบคุมมลพิษ, 2559b) ดงันั้น ส่ิงแวดลอ้มศึกษา (Environmental

    education: EE) จึงตอ้งเขา้มามีบทบาท เน่ืองจากการประชุมส่ิงแวดลอ้มศึกษาของ UNESCO ท่ี Tbilisi

    ประเทศสหภาพโซเวียต ในปี 1977 ได้ให้นิยาม ส่ิงแวดล้อมศึกษา ท่ีสามารถสรุปได้ว่า คือ

    กระบวนการท่ีมุ่งพฒันาประชากรโลกให้มีความตระหนัก และความห่วงใยในส่ิงแวดลอ้มและ

    ปัญหาทั้งหมดท่ีเก่ียวขอ้ง อนัไดแ้ก่ การพฒันาใหเ้กิดความรู้ ทศันคติ แรงจูงใจ การอุทิศตน และทกัษะ

    ในการท างาน ทั้งดว้ยตนเองและร่วมกันท างานกบัผูอ่ื้น เพ่ือแกไ้ขปัญหาท่ีเกิดข้ึนในปัจจุบนัและ

    ปัญหาใหม่ท่ีอาจเกิดข้ึน (UNESCO in Co-operation with UNEP, 1977)

    ในปัจจุบนั ไดมี้การเช่ือมโยงแนวคิดของส่ิงแวดลอ้มศึกษาแบบเดิมท่ีมีการด าเนินการกนัอย่างกวา้งขวาง เขา้กบัแนวคิดสากลว่าดว้ยการศึกษาเพ่ือการพฒันาท่ีย ัง่ยืน จึงเป็นการเน้นย ้าความส าคญัของส่ิงแวดลอ้มศึกษาในฐานะเคร่ืองมือท่ีส าคญัในการสร้างสรรคใ์หเ้กิดการพฒันาท่ีย ัง่ยนื

    ซ่ึงแนวทางการจดัส่ิงแวดลอ้มศึกษาเพ่ือการพฒันาท่ีย ัง่ยืน ท่ีปรากฏอยู่ในแผนหลกัส่ิงแวดลอ้มศึกษาเพ่ือการพฒันาท่ีย ัง่ยืน พ.ศ. 2551 - 2555 เน้นท่ีการเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนเขา้มามีส่วนร่วมในการพฒันางานดา้นส่ิงแวดลอ้มศึกษา ใหค้วามส าคญักบัการต่อยอดการท างานจากประสบการณ์เดิม มิใช่เป็นการก าหนดแนวทางใหม่ หรือใชก้รอบคิดใหม่ แต่เป็นการพฒันาจากฐานความรู้ ประสบการณ์ และตน้ทุนเดิมท่ีมี เน ้นการจดัส่ิงแวดลอ้มศึกษาเพื่อทุกคน ไม่จ ากดัวยั และไม่จ ากดัเฉพาะ

    การจดัการศึกษาอย่างเป็นทางการ และตอบสนองความหลากหลายของประเด็นการท างาน ท่ีสอดคลอ้งกบับริบทและความตอ้งการของทอ้งถ่ินและองค์กรท่ีเก่ียวขอ้ง เช่น การท างานขององค์กรไม่แสวงก าไรกบักลุ่มเป้าหมายท่ีเป็นชุมชนและประชาชนทัว่ไปสะทอ้นให้เห็นถึง การปรับทิศทางการท างาน ดว้ยการไม่ลงไปอยู่ในความขดัแยง้หรือปัญหา ไม่เลือกขา้งในการลงไปช่วยเหลือ

  • 4

    แต่ท าหนา้ท่ีเป็นสะพานเช่ือมระหว่างชุมชนกบัหน่วยงานท่ีขดัแยง้ สะทอ้นมุมมองของแต่ละกลุ่ม แต่ละชุมชน แต่ละหน่วยงานใหแ้ต่ละฝ่ายมองเห็นซ่ึงกนัและกนั และร่วมกนัหาทางออกโดยค านึง ถึงทุกชีวิตในระบบนิเวศอย่างย ัง่ยืน ซ่ึงรูปแบบการท างานเช่นน้ีเองท่ีแสดงให้เห็นถึงการเรียนรู้เร่ือง

    ส่ิงแวดลอ้มศึกษา โดยผา่นกระบวนการส่ิงแวดลอ้มศึกษาผา่นรูปแบบกิจกรรม และวิถีชีวิตท่ีคนในสงัคมในพ้ืนท่ีนั้นๆ ไดเ้รียนรู้ร่วมกนัและกลัน่กรองออกมาเป็นหนทางวิถีเพ่ือคล่ีคลายความขดัแยง้ และพฒันาสมัพนัธภาพของคนในสงัคมใหต้ระหนกัรู้ และร่วมกนัอนุรักษธ์รรมชาติเพื่อสานวิถี ความเป็นมนุษยสู่์อนุชนรุ่นต่อไป อีกทั้งองค์กรไม่แสวงก าไรไม่ไดม้องการท างานดา้นส่ิงแวดลอ้มศึกษาท่ีจ ากดัแค่ตวันกัเรียน เด็กและเยาวชน และจ ากดัพ้ืนท่ีแค่ในร้ัวโรงเรียน แต่เห็นว่าส่ิงแวดลอ้มศึกษาเป็นเร่ืองของทุกคน (สุริชยั หวนัแกว้, 2552)

    ในงานวิจยัน้ี ผูว้ิจยัไดส้ร้างกระบวนการส่ิงแวดลอ้มศึกษาเพื่อการจดัการขยะให้กบัตวัแทนภาครัฐ ตวัแทนองค์กรชุมชน ประชาชน ผูน้ าศาสนา ครู และนักเรียนในโรงเรียนท่ีสนใจในเร่ืองการจัดการขยะชุมชน เน่ืองจากเป็นผูม้ีส่วนไดส่้วนเสียท่ีเก่ียวข้องกบัการจดัการขยะในชุมชน และการมีส่วนร่วมของของผูม้ีส่วนไดส่้วนเสีย ซ่ึงเป็นวิธีการท่ีถูกแนะน ามากท่ีสุดในการจดัการปัญหาขยะชุมชน (Chakrabarti, Majumder, and Chakrabarti, 2009) โดยการสร้างกระบวนการ

    ส่ิงแวดลอ้มศึกษาจากพ้ืนฐานทางทฤษฎีการสร้างความรู้ดว้ยตนเอง (Constructivism) ทฤษฎีการเช่ือมโยงของธอร์นไดค์ (Thorndike’s connectionism theory) ทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative or collaborative learning theory) และทฤษฎีการเรียนรู้จากประสบการณ์ (Experiential learning) และแนวทางในการวิจัยเพื่อส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ส่วนใหญ่ได้ยึดหลักการสร้างเคร่ืองมือข้ึนมาแลว้น าไปทดลองใชก้บักลุ่มตวัอยา่งขนาดไม่ใหญ่นัก เพ่ือดูกระบวนการเรียนรู้ใน

    ระดบัท่ีลึกซ้ึง มีความต่อเน่ือง (สุชิน เพ็ชรักษ์, 2544) ดงันั้น กระบวนการส่ิงแวดลอ้มศึกษาท่ีสร้างข้ึนน้ีมีแผนการจดัการเรียนรู้กิจกรรมส่ิงแวดลอ้มศึกษาเพ่ือการจดัการขยะชุมชนพ้ืนท่ีเกาะลิบง จังหวดัตรัง เป็นเคร่ืองมือในการวิจยั อีกทั้งแนวทางการจัดการเรียนรู้ท่ีใช้กนัอยู่ทั่วไปมีมากมายหลากหลายวิธี และเป็นท่ียอมรับว่าไม่มีวิ ธีการจดัการเรียนรู้แบบไหนท่ีดีท่ีสุด เพราะในแต่ละวิธีจะมีความเหมาะสมในบริบทท่ีแตกต่างกัน ท าให้เกิดแนวคิดในการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการจดัการเรียนรู้ใหมี้คุณภาพ และประสบความส าเร็จมากท่ีสุด (บุญ

    เล้ียง ทุมทอง, 2556) กระบวนการสิ่งแวดลอ้มศึกษาในงานวิจยั น้ีจึงมีการจดัการเรียนรู้

  • 5

    แบบผสมผสานระหว่างการจดัการเรียนรู้แบบกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การจดัการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมดว้ยเทคนิคกระบวนการมีส่วนร่วม และเทคนิคเทคนิคการประชุมเชิงปฏิบติัการเอไอซี (Appreciation-Influence-Control หรือ AIC) และการจดัการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐานด้วย

    เทคนิคการประเมินทอ้งถ่ินอย่างมีส่วนร่วม (Participatory Rural Appraisal หรือ PRA) เน่ืองจากกระบวนการสืบเสาะหาความรู้เป็นกระบวนการเรียนรู้ท่ีใหผู้เ้รียนสร้างองคค์วามรู้ใหม่ดว้ยตนเอง โดยผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติ และใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เป็นเคร่ืองมือ (มหาวิทยาลยัเชียงใหม่, 2551) เพื่อใหผู้เ้ขา้ร่วมกิจกรรมไดรั้บความรู้ พฒันาทกัษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระตุน้ใหผู้เ้ขา้ร่วมกิจกรรมไดใ้ชค้วามคิดของตนเอง ตลอดจนสามารถเสาะหาความรู้ หรือวิเคราะห์ขอ้มูลได ้(ฤทยั จงสฤษด์ิ , 2551) กระบวนการมีส่วนร่วม ท าให้ผูเ้รียนเกิด

    ความกระตือรือร้น กระฉับกระเฉง ตื่นตวั และความรู้สึกรับผิดชอบต่อการเรียนรู้ของตนเอง (ทิศนา แขมมณี, เฉลิมชยั พนัธุ์เลิศ, ชาริณี ตรีวรัญํู, และภาษิต ประมวลศิลป์ชยั, 2548) AIC เป็นกิจกรรมท่ีส่งเสริมความรู้ความเขา้ใจและความตระหนัก จนน ามาซ่ึงการมีส่วนร่วมในการแกไ้ขปัญหาตามกระบวนการส่ิงแวดลอ้มศึกษา (Noppawon, 2003) เพราะAIC เป็นเทคนิคการระดมความคิดเห็นของประชาชนในชุมชนเพื่อช่วยกนัวางแผนการพฒันาชุมชน เป็นเทคนิคท่ีมีศกัยภาพ

    ในการสร้างพลงั และกระตุน้การยอมรับของประชาชนใหม้ีส่วนร่วมในการคิด การวางแผนพฒันาชุมชนของตนเอง และ PRA เป็นเทคนิคมาจากแนวคิดท่ีว่า การศึกษาชุมชนเป็นส่ิงท่ีชุมชนควรกระท า เพราะมีหลายอย่างที่ในชุมชนเดียวกนัไม่รู้ ไม่ไดน้ึกคิด หรือมองขา้มไป รวมถึงยงัมีความเขา้ใจท่ีไม่ถูกต้อง เช่น ไม่ได้ตระหนักถึงปัญหาท่ีก าลงัจะเกิดข้ึนในอนาตอนัใกล ้ปัญหาท่ีก าลงัเผชิญอยู ่หรืออาจจะปัญหาแต่ไม่รู้ว่ามีสาเหตุมาจากอะไร ท าใหไ้ม่สามารถแนวทางในการป้องกนั

    หรือแกไ้ขปัญหาเหล่านั้นได ้(ครรชิต พุทธโกษา, 2554) จากกระบวนการส่ิงแวดลอ้มศึกษาท่ีสร้างข้ึนน้ีมุ่งหวงัใหเ้กิดผลสมัฤทธ์ิดา้นการพฒันาความรู้ความเขา้ใจ ทศันคติท่ีดี ความตระหนัก ทกัษะ และการมีส่วนร่วมในการจดัการขยะชุมชน รวมถึงไดล้งมือแกไ้ขปัญหาขยะชุมชนตามแผนงานท่ีตวัเองก าหนด ซ่ึงจะน าไปสู่การจดัการขยะชุมชนอยา่งย ัง่ยนืต่อไป

  • 6

    2. ค าถามในการวจิยั

    1) กระบวนการส่ิงแวดลอ้มศึกษาในการจดัการขยะพ้ืนท่ีเกาะลิบง จงัหวดัตรัง ท่ีเหมาะสมกบั

    ผูม้ีส่วนไดส่้วนเสียท่ีเก่ียวขอ้งกบัการจดัการขยะในชุมชนเป็นอยา่งไร

    2) กระบวนการส่ิงแวดลอ้มศึกษาท่ีสร้างข้ึนสามารถพฒันาความรู้ความเขา้ใจ ความตระหนัก

    ทศันคติ ทกัษะ และการมีส่วนร่วมในการจดัการขยะชุมชนของผูม้ีส่วนไดส่้วนเสียท่ีเก่ียวขอ้งได้

    หรือไม่ อย่างไร

    3. วตัถุประสงค์ในการวจิยั

    1) เพ่ือสร้างกระบวนการส่ิงแวดลอ้มศึกษาในการจดัการขยะพ้ืนท่ีเกาะลิบง จงัหวดัตรัง

    2) เพ่ือศึกษาผลสมัฤทธ์ิของการกระบวนการส่ิงแวดลอ้มศึกษาท่ีสร้างข้ึน ดา้นการพฒันาความรู้

    ความเขา้ใจ ความตระหนัก ทศันคติ ทกัษะ และการมีส่วนร่วมในการจดัการขยะชุมชน

    ตามกระบวนการส่ิงแวดลอ้มศึกษา

    4. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

    1) กระบวนการส่ิงแวดลอ้มศึกษาใชแ้นวคิดกระบวนการเรียนรู้อย่างผสมผสาน ท าให้กลุ่ม

    ทดลองท่ีเขา้ร่วมในการงานวิจยัมีองคค์วามรู้เก่ียวกบัปัญหา และสาเหตุของปัญหา การวางแผนกิจกรรม

    ลงมือปฏิบติักิจกรรมตามแผนท่ีก าหนด ผลจากการลงมือท ากิจกรรม และแผนต่อยอดกิจกรรมการ

    จดัการขยะชุมชนเกาะลิบง ซ่ึงชุมชนสามารถน าไปใชจ้ดัการแกไ้ขปัญหาขยะ ไดอ้ย่างถูกตอ้ง

    และเหมาะสมต่อไป

    2) กลุ่มทดลองท่ีไดท้ ากิจกรรมการเรียนรู้ในกระบวนการส่ิงแวดลอ้มศึกษาท่ีผูว้ิจยัสร้างข้ึน ได้

    พฒันาความรู้สึกรับผิดชอบ รู้สึกถึงความเป็นเจ้าของและผูรั้กษาผลประโยชน์ชุมชน ตลอดจน

    ตระหนกัถึงผลกระทบท่ีเกิดข้ึนจากปัญหา ท าใหส้ามารถตดัสินใจเลือกแนวทาง การจดัการขยะชุมชน

    ไดอ้ยา่งเหมาะสม

    3) กลุ่มทดลองท่ีไดท้ ากิจกรรมการเรียนรู้ในกระบวนการส่ิงแวดลอ้มศึกษาท่ีผูว้ิจยัสร้างข้ึนได้

    ลงมือแกไ้ขปัญหาขยะชุมชนเกาะลิบงตามแผนงานท่ีตวัเองก าหนด ซ่ึงจะน าไปสู่การจดัการขยะใน

    ชุมชนอยา่งย ัง่ยนืต่อไป

  • 7

    4) เพื่อเป็นทางเลือกในการน ากระบวนการส่ิงแวดลอ้มศึกษา ในการจดัการขยะพ้ืนท่ีเกาะลิบง

    จงัหวดัตรัง ท่ีสร้างข้ึนไปปรับปรุงแกไ้ขใหส้อดคลอ้งเพ่ือใชก้บัพ้ืนท่ีอ่ืนๆ ต่อไป

    5) เป็นแนวทางในการพฒันากระบวนการส่ิงแวดลอ้มศึกษา เพื่อการจดัการส่ิงแวดลอ้ม

    ในดา้นอ่ืนๆ ต่อไป

    5. ขอบเขตการวจิยั

    งานวิจยัน้ีเป็นการสร้างกระบวนการส่ิงแวดลอ้มศึกษาในการจดัการขยะพ้ืนท่ีเกาะลิบง จงัหวดัตรัง ตลอดจนศึกษาผลสมัฤทธ์ิของการกระบวนการส่ิงแวดลอ้มศึกษาท่ีสร้างข้ึน ดา้นการพฒันาความรู้ความเขา้ใจ ความตระหนัก ทศันคติ ทกัษะ และการมีส่วนร่วมในการจดัการขยะชุมชน

    ตามกระบวนการส่ิงแวดลอ้มศึกษา โดยมีขอบเขตการวิจยั ดงัน้ี

    1) ขอบเขตทางดา้นพ้ืนท่ี

    พ้ืนท่ีในการศึกษาคร้ังน้ี คือ เกาะลิบง ต าบลเกาะลิบง อ าเภอกนัตงั จงัหวดัตรัง เกาะลิบง

    เป็นเกาะท่ีมีขนาดใหญ่ท่ีสุดในหมู่เกาะทะเลตรัง มีพ้ืนท่ีประมาณ 66.52 ตารางกิโลเมตร หรือ

    41,521.48 ไร่ อยูใ่นเขตการปกครองขององคก์ารบริหารส่วนต าบลเกาะลิบง ประกอบดว้ย หมู่ท่ี 1

    บา้นโคกสะทอ้น หมู่ท่ี 4 บา้นบาตูปูเต๊ะ หมู่ท่ี 5 บา้นหลงัเขา และหมู่ท่ี 7 บา้นทรายแกว้ (องค์การ

    บริหารส่วนต าบลเกาะลิบง, 2555) ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพท าสวนยางพารา และนับถือ

    ศาสนาอิสลามร้อยละ 99.99 (องคก์ารบริหารส่วนต าบลเกาะลิบง, 2559)

    2) ขอบเขตดา้นประชากร

    ประชากรท่ีใชใ้นการวิจัย คือ ผูม้ีส่วนได้ส่วนเสียท่ีเก่ียวขอ้งกบัการจดัการขยะชุมชน

    จ านวนทั้งหมด 3,201 คน ไดแ้ก่ (องคก์ารบริหารส่วนต าบลเกาะลิบง, 2559)

    (1) ภาครัฐ ไดแ้ก่ นายกองค์การบริหารส่วนต าบลเกาะลิบง สมาชิกสภาองค์การบริหาร

    ส่วนต าบลเกาะลิบง ก านนั ผูใ้หญ่บา้น และผูช่้วยผูใ้หญ่บา้น จ านวน 21 คน

    (2) ภาคเอกชน ไดแ้ก่ เครือข่ายองคก์รชุมชน (52 คน) กลุ่มอาชีพ (43 คน) กลุ่มสตรี (32 คน)

    กลุ่มโฮมสเตย ์(24 คน) และกลุ่มออมทรัพยใ์นเกาะลิบง (148 คน) จ านวน 299 คน

  • 8

    (3) ภาคประชาชน ไดแ้ก่ ผูน้ าศาสนา (4 คน) ครู (28 คน) และนกัเรียนระดบัมธัยมศึกษาโรงเรียนบา้นบาตูปูเตะ๊ (419 คน) และประชาชน (2,430 คน)

    กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัย ผูว้ิจัยเลือกการสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะ เจาะจง (Purposive sampling) ซ่ึงเป็นการเลือกกลุ่มตวัอย่างท่ีผูว้ิจยัก าหนดเองโดยให้เหมาะสมกบัจุดประสงค์ของการวิจยั (ธีระดา ภิญโญ, 2559) คือ ผูม้ีส่วนได้ส่วนเสียท่ีท่ีสนใจในเร่ืองการจดัการขยะชุมชน และใชก้ารสุ่มตวัอยา่งแบบอาสาสมคัร (Volunteer sampling) เพื่อใหไ้ดก้ลุ่มตวัอย่างท่ีสมคัรใจเขา้ร่วมในงานวิจยั (อารีรัตน์ นิรันต์สิทธิรัชต์, 2559) โดยเลือกเฉพาะผูม้ีส่วนไดส่้วนเสียที่สนใจ ในเร่ืองการจดัการขยะชุมชน (จากการสุ่มแบบเฉพาะเจาะจง) และมีความพร้อมท่ีจะเขา้ร่วมเป็นสมาชิก

    ในกลุ่มตวัอยา่ง เน่ืองจากงานวิจยัน้ีเป็นงานวิจยัเชิงทดลอง ประเภทกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม – วดั ก่อน – หลงั จึงมีกลุ่มตวัอย่าง 2 กลุ่ม คือ กลุ่มควบคุม (กลุ่มท่ีไม่เขา้ร่วมกระบวนการส่ิงแวดลอ้มศึกษา) และกลุ่มทดลอง (กลุ่มท่ีเขา้ร่วมกระบวนการส่ิงแวดลอ้มศึกษา) กลุ่มตวัอย่างท่ีใช้ในการวิจยั ทั้งหมด 64 คน โดยเป็นกลุ่มควบคุม 32 คน และกลุ่มทดลอง 32 คน แต่ละกลุ่มจะประกอบไปดว้ย ตวัแทนภาครัฐ 8 คน ภาคเอกชน 8 คน และภาคประชาชน 16 คน ไดแ้ก่ ผูน้ าศาสนา 2

    คน ครู 2 คน นกัเรียนระดบัมธัยมศึกษา 8 คน และประชาชน 4 คน

    3) ขอบเขตดา้นเวลา

    (1) ระยะเวลาในการด าเนินการวิจยั ตั้งแต่การสร้างกระบวนการส่ิงแวดลอ้มศึกษา

    และศึกษาผลสัมฤทธ์ิของกระบวนการส่ิงแวดลอ้มท่ีสร้างข้ึน คือ เดือนพฤษภาคม 2556 ถึงเดือน

    สิงหาคม 2558

    (2) ช่วงเวลาในการศึกษาผลสมัฤทธ์ิของกระบวนการส่ิงแวดลอ้มท่ีสร้างข้ึน คือ วนัศุกร์

    และวนัเสาร์ ตั้งแต่เวลา 14.00 น. เป็นตน้ไป

  • 9

    4) ขอบเขตทางดา้นเน้ือหา

    งานวิจยัน้ีมุ่งเนน้ประเด็นเก่ียวกบัการจดัการขยะพ้ืนท่ีเกาะลิบง จงัหวดัตรัง โดยการสร้าง

    กระบวนการส่ิงแวดลอ้มศึกษา ซ่ึงกระบวนการส่ิงแวดลอ้มศึกษาท่ีสร้างข้ึนน้ีเป็นกระบวนการ

    ท่ีอยู่ในแผนการจัดการเรียนรู้กิจกรรมส่ิงแวดลอ้มศึกษาเพ่ือการจดัการขยะชุมชนพ้ืนท่ีเกาะลิบง

    จงัหวดัตรัง ท่ีมีการจดัการเรียนรู้แบบผสมผสาน ระหว่างการจดัการเรียนรู้แบบกระบวนการสืบเสาะ

    หาความรู้ การจดัการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมดว้ยเทคนิคกระบวนการมีส่วนร่วมและเทคนิค AIC

    และการจดัการเรียนรู้โดยใชชุ้มชนเป็นฐานดว้ยเทคนิค PRA

    6. ข้อจ ากดัของงานวจิยั

    1) ขอ้จ ากดัในเร่ืองของเวลาของกลุ่มทดลองในการวิจยั ผูว้ิจยัจึงเปิดโอกาสให้กลุ่มทดลอง

    ไดม้ีส่วนร่วมในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ให้สอดคลอ้งกบัเวลาที่กลุ่มทดลองสะดวก

    แต่ยงัมีเน้ือหาสาระของกิจกรรมการเรียนรู้นั้นๆ อย่างครบถว้น อีกทั้งขอ้จ ากดัในเร่ืองของเวลา

    ของกลุ่มทดลองน้ี ท าใหก้ลุ่มทดลองท่ีเป็นผูใ้หญ่ไม่สามารถเขา้ร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ไดทุ้กคร้ัง

    และเพื่อใหเ้กิดความคลาดเคล่ือนนอ้ยท่ีสุดจากการหายไปของกลุ่มทดลอง ถา้หากวนัใดท่ีกลุ่มทดลอง

    มาเขา้ร่วมในงานวิจยัน้อยกว่าร้อยละ 50 ให้งดและเล่ือนไปในวนัถดัไป

    2) ขอ้จ ากดัในเร่ืองของพฤติกรรมการเรียนรู้ของกลุ่มทดลองท่ีเป็นนักเรียน ในช่วงเร่ิมตน้

    ไม่กลา้แสดงออกและไม่กลา้แสดงความคิดเห็น ผูว้ิจยัตอ้งคอยกระตุน้โดยการสอบถามเป็นรายบุคคล

    3) ขอ้จ ากดัในเร่ืองสถานท่ีเก็บรวบรวมขอ้มูล เน่ืองจากเป็นพ้ืนท่ีเกาะ ถา้มีพายุ ลมแรง หรือ

    ช่วงมรสุม ผูว้ิจยัไม่สามารถลงพ้ืนท่ีได ้ท าใหก้ารท าวิจยัล่าชา้ออกไป

  • 10

    7. กรอบแนวคดิในการวจิยั

    การสร้างกระบวนการส่ิงแวดลอ้มศึกษาเพ่ือการจดัการขยะพ้ืนท่ีเกาะลิบง จงัหวดัตรัง ผูว้ิจยัไดก้ าหนดกรอบแนวคิดในการวิจยัไวอ้ย่างมีขั้นตอน คือ จากปัญหาขยะในพ้ืนท่ีเกาะลิบงและ

    ความตอ้งการของชุมชนในการแกไ้ขปัญหา ท่ีสอดคลอ้งกบั Roadmap การจดัการขยะมูลฝอยและของเสียอนัตรายของรัฐบาลในปัจจุบนั โดยการจดัอบรมให้ความรู้ ส่ิงแวดลอ้มศึกษา จึงกลายเป็นเคร่ืองมือท่ีส าคญั ผูว้ิจยัจึงสร้างกระบวนการส่ิงแวดลอ้มศึกษาเพื่อการจดัการขยะพ้ืนท่ีเกาะลิบง จงัหวดัตรัง จากแนวทางการจดัส่ิงแวดลอ้มศึกษาเพ่ือการพฒันาท่ีย ัง่ยืน และเลือกใชก้ารจดัการเรียนรู้แบบผสมผสานท่ีมาจากทฤษฎีการเรียนรู้ให้สอดคลอ้งกบัแนวทางดงักล่าว หลงัจากนั้นน ากระบวนการส่ิงแวดลอ้มศึกษาท่ีสร้างข้ึนให้ผูเ้ชี่ยวชาญและอาจารยที์่ปรึกษาตรวจสอบ

    คุณภาพ แลว้ไปใชก้บักลุ่มทดลอง โดยมุ่งหวงัให้เกิดผลสัมฤทธ์ิดา้นการพฒันาความรู้ความเขา้ใจ ทศันคติท่ีดี ความตระหนกั ทกัษะ และการมีส่วนร่วมในการจดัการขยะชุมชนจากกระบวนการส่ิงแวดลอ้มศึกษาท่ีสร้างข้ึน รายละเอียดดงัภาพท่ี 1

  • 11

    ภาพที่ 1 กรอบแนวคดิในการวจิยั

    ปัญหาขยะพ้ืนทีเ่กาะลบิง จงัหวดัตรัง

    ดา้นการบริหารจดัการ - ไม่มีพื้นท่ีก าจดัขยะท่ีถูกตอ้งตามหลกั

    สุขาภิบาล

    - ไม่มีเจา้หนา้ที่ท่ีรับผิดชอบโดยตรง

    - ไม่มีรถใหบ้ริการในการจดัเกบ็

    ดา้นพฤติกรรม - ท้ิงขยะในพื้นท่ีท่ีไม่เหมาะสม

    - วิธีการก าจดัขยะที่ก่อใหเ้กิดมลพิษ

    ความตอ้งการของชุมชนในการแกไ้ขปัญหา คือ การจัดอบรมให้ความรู้

    กระบวนการส่ิงแวดล้อมศึกษาเพ่ือการจัดการขยะพ้ืนที่เกาะลิบง จังหวัดตรัง

    - การจดัการเรียนรู้แบบกระบวนการสืบเสาะหาความรู้

    - การจดัการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมดว้ยเทคนิคกระบวนการมีส่วนร่วม

    - การจดัการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมดว้ยเทคนิค AIC

    - การจดัการเรียนรู้โดยใชชุ้มชนเป็นฐานดว้ยเทคนิค PRA

    - ทฤษฎีการเรียนรู้การสร้างความรู้ดว้ยตนเอง

    - ทฤษฎีการเช่ือมโยงของธอร์นไดค ์

    - ทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่วมมือ

    - ทฤษฎีการเรียนรู้จากประสบการณ์ แผนการจดัการเรียนรู้กระบวนการ

    ส่ิงแวดลอ้มศึกษาเพื่อการจดัการขยะชุมชน

    4 หน่วยการเรียนรู้

    13 กิจกรรมการเรียนรู้

    ตรวจสอบคุณภาพโดยผูเ้ช่ียวชาญและ

    อาจารยท์ี่ปรึกษา

    น าไปใชก้บักลุ่มทดลอง จ านวน 32 คน

    ตวัแทนภาครัฐ องคก์รเอกชน ผูน้ าศาสนา ครู นกัเรียนระดบัมธัยมศึกษา และประชาชน

    ผลสัมฤทธิ์

    - ความรู้ความเข้าใจ

    - ทัศนคติ

    - ความตระหนัก

    - ทักษะ

    - การมีส่วนร่วม

    กระบวนการ

    ส่ิงแวดล้อมศึกษาเพ่ือ

    การจดัการขยะที่น าไปสู่

    การแก้ไขปัญหา

    อย่างยั่งยืน

    - ต่อยอดจากประสบการณ์เดิม

    - เน ้น เพื ่อทุกคน ไม่จ ากดัวยั และ

    ไม ่จ า กดั เฉพาะการจ ัดการศ ึกษา

    อย่างเป็นทางการ

    - สอดคลอ้งกบัความตอ้งการของคน

    ในชุมชน

    - ผ่านรูปแบบกิจกรรมท่ีคนในพื้นท่ี

    ไดเ้รียนรู้ร่วมกนั

  • 12

    7. นิยามศัพท์ทีใ่ช้ในการวจิยั

    กระบวนการส่ิงแวดลอ้มศึกษา หมายถึง กระบวนการหรือวิธีการถ่ายทอดเร่ืองการจดัการ

    ขยะชุมชน โดยใชก้ารจดัการเรียนรู้แบบผสมผสานระหว่างการจดัการเรียนรู้แบบกระบวนการ

    สืบเสาะหาความรู้ การจดัการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมดว้ยเทคนิคกระบวนการมีส่วนร่วมและเทคนิค AIC

    และการจดัการเรียนรู้โดยใชชุ้มชนเป็นฐานดว้ยเทคนิค PRA เพื่อให้ผูม้ีส่วนไดส่้วนเสียในชุมชน

    ท่ีเก่ียวขอ้งกบัการจดัการขยะมีความรู้ความเขา้ใจ มีทศันคติท่ีดี มีความตระหนกั มีทกัษะ และการมี

    ส่วนร่วมในการจดัการขยะชุมชน ซ่ึงถูกสร้างข้ึนในแผนการจดัการเรียนรู้กระบวนการส่ิงแวดลอ้ม

    ศึกษาเพ่ือการจดัการขยะชุมชนพ้ืนท่ีเกาะลิบง จงัหวดัตรัง

    แผนการจัดการเรียนรู้กระบวนการส่ิงแวดลอ้มศึกษา หมายถึง เคร่ืองมือท่ีใช้เตรียมการกระบวนการส่ิงแวดลอ้มศึกษาเพ่ือการจดัการขยะพ้ืนท่ีเกาะลิบง จงัหวดัตรัง ซ่ึงประกอบไปดว้ย แผนผงัแสดงความส าคญัของปัญหา วตัถุประสงค ์แนวคิดหลกั แนวทางในการด าเนินกิจกรรม การวดัและการ

    ประเมินผล ผงัแสดงหน่วยการเรียนรู้ 4 หน่วยการเรียนรู้ และ 13 แผนการจดักิจกรรมการเรียนรู้ ซ่ึงในแต่ละแผนการจดักิจกรรมการเรียนรู้ จะประกอบไปดว้ย สาระส าคญั จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ ส่ือการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ และการวดัผลและประเมินผล

    หน่วยการเรียนรู้ หมายถึง หัวขอ้หลกัของกระบวนการส่ิงแวดลอ้มศึกษาท่ีจะใช้ถ่ายทอด

    ให้กบัผูม้ีส่วนไดส่้วนเสียในชุมชนท่ีเกี่ยวขอ้งกบัการจดัการขยะ ซ่ึงประกอบไปดว้ย 4 หน่วย

    การเรียนรู้ ไดแ้ก่ หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 การเตรียมความพร้อม มี 3 กิจกรรมการเรียนรู้ หน่วย

    การเรียนรู้ท่ี 2 การก าหนดปัญหาและสาเหตุของปัญหา มี 6 กิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ท่ี 3