Top Banner
Sirasak T. Deputy CEO แนวทางการขับเคลื่อน วิทยาศาสตร์การแพทย์และ สุขภาพ
61

แนวทางการขับเคลื่อน ... · 2019. 9. 8. · 5.30 6.55 14.76 19.12 23.61 4.19 4.79 5.33 2.67 9.36 12.27 25.54 27.15 29.86 33.37 36.57 38.56 40.67

Oct 22, 2020

Download

Documents

dariahiddleston
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
  • Sirasak T.

    Deputy CEO

    แนวทางการขับเคล่ือนวทิยาศาสตร์การแพทย์และสุขภาพ

  • Outline• สถานการณ์การพฒันานวตักรรมการแพทย์ระดบัโลก และของประเทศไทย

    • แนวทางการขบัเคลื่อนแบบ Function base• การพฒันาโครงสร้างพืน้ฐาน และการพฒันา Ecosystem • การสนบัสนนุการวิจยัและพฒันา• การสร้างเครือข่ายวิจยัและพฒันา• การพฒันาบคุลากร

    • แนวทางการขบัเคลื่อนแบบ Program base• Biopharma

    • Precision Medicine

    • Pharmacogenomics

    • Natural products for cosmetic and nutraceutical

    • Medical devices & Medical robotics

    • Medicopolis

    • Global Network

    • Deeptech Startups

  • สถานการณ์ปัจจุบัน

  • สถานการณ์ปัจจุบัน

  • สถานการณ์ปัจจุบันในประเทศ

  • Thailand’s Healthcare Expenditure as Percentage of GDP

    Source: World Bank, as of 2015

  • Expenditures in medical interventions in Thailand

    cardiovascularorthopedics

    total

  • Source : BMI, Plastic Institute of Thailand, Ministry of Commerce, The Federation of Thai Industries Estimated (e) by TCELS (2018)

    3.925.30

    6.55

    14.76

    19.12

    23.61

    4.19 4.795.33

    2.67

    9.36

    12.27

    25.5427.15

    29.86

    33.37

    36.57

    38.5640.67

    42.89

    45.24

    47.76

    0

    200

    400

    600

    800

    1,000

    1,200

    1,400

    1,600

    1,800

    2012 2013 2014 2015 2016 2017e 2018e 2019e 2020e 2021e

    Market Size of Life Sciences Industry in Thailand 2012 - 2021

    (Billion USD)

    Pharmaceuticals Health care Services Medical Devices Cosmetics Total

    000

    0

    20

    40

    60

  • Ecosystem In Actions

  • ห่วงโซ่ผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ผลักดันให้เกิดเศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมภายใต้ประเทศไทย 4.0

    Strength Weakness

  • แนวทางการขับเคลื่อนวิทยาศาสตร์การแพทย์และสุขภาพแบบ Function-base

    • R&D Pre-clinical study Pilot Plat Clinical Studyพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน

    และ ecosystem

    • การค้นหาและพัฒนาสารออกฤทธิ์ทางยาจากผลิตภัณฑ์ธรรมชาติสนับสนุนการวิจัย

    และพัฒนา

    • การพัฒนาเครือข่ายในการค้นหาสารสกัดธรรมชาติเพื่อพัฒนายาใหม่สร้างเครือข่ายวิจัย

    และพัฒนา

    • การสร้างขีดความสามารถด้านก าลังคน/นักวิจัยการพัฒนาบุคลากร4

    3

    1

    2

  • พัฒนา/ยกระดับโครงสร้างพื้นฐานและ ecosystem1ศนูยค์วามเป็นเลศิดา้นการคน้หาตวัยา (ECDD) เป็นโครงสรา้ง

    พืน้ฐานภายใตค้วามรว่มมอืระหวา่ง TCELS และคณะวทิยาศาสตร ์ มหาวทิยาลยัมหดิล เพือ่รองรับงานวจัิยดา้นการศกึษากลไกการ

    เกดิโรคและการคน้หาสารออกฤทธิท์างยา โดยใชเ้ทคโนโลย ีHigh Throughtput Screening และ High Content Screening

    และน าเขา้สูก่ระบวนการพัฒนายา ใหส้ามารถเป็นจดุตัง้ตน้ใน การคน้หาตวัยาดว้ยเทคโนโลยทีีทั่นสมัยและม ีเป้าหมายรว่มกนัเพือ่สรา้งโอกาสใหป้ระเทศไทย

    สามารถคน้หาตวัยาไดต้อ่ไปในอนาคต

  • http://news.tlcthai.com/news/12603.html

    Infrastructure: Excellence Centers for Cell and Gene Innovation

    Automated Tissue Kulture(ATK)

    Excellence Center for Drug Discovery (ECDD)

    GMP Production Unit for Cell and Gene Therapy Product (CPU)

    พัฒนา/ยกระดับโครงสร้างพื้นฐานและ ecosystem1

  • The Preclinical Studies mainly products development supporting

    • In drug development, pre-clinical studies or non-clinical studies, is a stage of research that begins before clinical trials and during which important testing and drug safety data is collected.

    • The main goals of pre clinical studies are to determine a product’s intimate safety profile.

    • Products may include new medical devices, drug, gene therapy solution, etc.

    พัฒนา/ยกระดับโครงสร้างพื้นฐานและ ecosystem1

  • ศูนย/์หน่วยสัตว์ทดลองที่มีศักยภาพในการยกระดับความสามารถการทดสอบความปลอดภัยในผลิตภัณฑ์ (pre-clinical study/ non clinical study)

    ภาคเหนือ 2 แห่ง: o ม. เชียงใหม่ (CMU)o ม. พะเยา (UP)

    ภาคกลาง 11 แห่ง: O ศูนย์สัตว์ทดลองแห่งชาติ (ม.มหิดล) (NLAC)o ม. มหิดล (คณะวิทย์ฯ) (MU) O ม. ธรรมศาสตร์ (TU)o จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (CU) O ศูนย์ไพรเมทแห่งชาติ (NPRCT-CU)o ม.นเรศวร (NU) O สถาบันวิจัยจฬุาภรณ์ (CRI)o AFRIM O กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ (DMSc)o สถาบันวิจัยวทิยาศาสตร์และเทคโนโลยีแหง่ประเทศไทย (TISTR)o สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร ม. เกษตรศาสตร์ (IFRPD-KU)

    # 3 Animal Breeding: NLAC, M-CLEA, NPRCT-CU

    # 2 AAALAC/OECD GLP: AFRIM, NLAC

    # 7 AAALAC/Non OECD GLP: DMSc, CRI, MU, CMU, NU, TU, TISTR

    # 7 Non AAALAC/Non OECD GLP: IFRPD-KU, CU, KKU, PSU, WU, UP, NPRCT-CU

    # 2 Infrastructure but not operate : WU, IFRPD-KU

    # 1 Closed down: UBU

    53 หน่วยงาน จดแจ้งชื่อกับสถาบันพัฒนาการด าเนินการต่อสัตว์เพื่องานทางวิทยาศาสตร์#31 มหาวิทยาลัย#10 บริษัทเอกชน#12 หน่วยงานรัฐ/ ในก ากับของกระทรวง (วท/ สธ/ หน่วยงานอิสระ)

    Ref: http://labanimals.net/index.php/component/content/article/8-onsra/209-bform.html

    ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1 แห่ง:

    o ม. ขอนแก่น (KKU)o ม. อุบลฯ (UBU)

    ภาคใต้ 1 แห่ง: o ม. สงขลานครินทร์o ม. วลัยลักษณ์

    พัฒนา/ยกระดับโครงสร้างพื้นฐานและ ecosystem1

  • Global Business (Strategies for the expansion of sales in ASEAN/ ASIA)

  • OECD GLP Training

    • TCELS support OECD GLP Training every year since 2006, for Test Facility and OECD GLP Inspector >100 person per year

  • TCELS Support National GLP Compliance Monitoring Authority

    2019 Thailand is full non member country adherence , OECD

    • Mutual Acceptance of Data-MAD program• Compliance Monitoring Authority – CMA in Thailand

  • 2019 Thailand is full non member country adherence

  • สถานภาพหน่วยงานและโครงสร้างพื้นฐานส าคัญในอุตสาหกรรมยา ชีววัตถุ

    Pilot plant Manufacturing facilitiesR&D

    สวทช. มหาวิทยาลัยของรัฐกระทรวงสาธารณสุข

    ให้บริการร่วมวิจัย

    อยู่ระหว่างสร้าง

    GPO เช่าพื้นที่

    ก่อสร้างแล้วเสร็จ

  • ผลิตภัณฑ์ยาจากขิง

    พัฒนา iPSCเพื่อใช้ค้นหายา

    ใหม่

    Open Innovation Platform

    Alkaloids from Marine Organisms

    2 ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา

  • 2 สนับสนุนการวิจัยและพัฒนา

    คน้หายาใหมด่ว้ยเซลล ์motor neuron derived induced pluripotent stem cell (iPSC)

    การคน้หายาใหมจ่ากผลติภณัฑ์ธรรมชาติ (Open Innovation Platform for Drug Discovery)

    2.1 2.2

    Phase 1 Phase 2

    ถ่ายทอดเทคโนโลยี

    จะเร่ิมโครงการประมาณ เดือน ม.ิย. 2562เสร็จสมบูรณ์แล้ว

  • 2.3 ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา

    แนวทางการพัฒนาต ารับยาและผลิตภัณฑ์จากสารสกัดขิง

  • การสร้างเครือข่ายวิจัยและพัฒนา

    ความเป็นมา

    ตั้งแต่ปี 2557 ศลช. มีนโยบายสนับสนนุการค้นหาและพัฒนาสารออกฤทธิ์ทางยาจากสารสกัดจากธรรมชาติหรือสารชีวภาพ ตลอดจนการศึกษาวิจัยในระดบัก่อนคลินิก และ คลินิกโดยมีภาคีความร่วมมือดังน้ี• ภายในประเทศ

    • ส านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ• จุฬาลงกรณม์หาวิทยาลยั • มหาวิทยาลัยมหิดล

    • นานาชาติภายใต้ช่ือ "International Network Agreement of the Natural Products Drug Discovery Consortium under Asia Partnership Conferenced of Pharmaceutical Associations (APAC NPDD)” • Japan Pharmaceutical Manufacturers Association (JPMA) ประเทศญี่ปุ่น• Biotechnology and Pharmaceutical Industries Promotion Office

    (BPIPO) ประเทศไต้หวัน

    Drug DiscoveryCollaboration

    3

  • ความเป็นมา

    มีวัตถุประสงค์หลัก คือ1. พัฒนาเครือข่ายความร่วมมือระดับชาติและนานาชาติในการค้นหาสารออกฤทธ์ิเพ่ือพัฒนายาใหม่

    2. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและ ecosystem เพื่อรองรับการวิจัยและพัฒนายาใหม่

    3. ค้นหาและพัฒนาสารออกฤทธ์ิทางยาจากผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ

    4. สร้างโมเดลทดสอบยาในโรค ALS

    5. สร้างขีดความสามารถด้านก าลังคน/นักวิจัย

    การสร้างเครือข่ายวิจัยและพัฒนา

    Drug DiscoveryCollaboration

    3

  • 3 การสร้างเครือข่ายวิจัยและพัฒนา การพัฒนาเครอืข่ายระดับชาตใินการคน้หาสารสกัดธรรมชาติเพือ่พัฒนายาใหม่

    วัตถุประสงค์• สนับสนุนต่อยอดงานวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ยา/การบริการวิจัยและ

    พัฒนาผลิตภัณฑ์• บริหารจัดการฐานข้อมูลและสารสกัดจากธรรมชาติให้ได้มาตรฐานสากล• พัฒนาบุคลากรและปัจจัยที่ส่งเสริมต่างๆ • สร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างหน่วยงานและองค์กรอื่นๆ

    บันทึกความเข้าใจภาคีความร่วมมือด้านการค้นหาสารออกฤทธิ์ในทางยาจากสารสกดัธรรมชาติและสารชีวภาพ

  • APAC Natural Product Drug Discovery Consortium ภารกิจส าคัญของ APAC NPDD (ANPDC) คือ การผลักดันให้เกิดการค้นหายาใหม่และการใช้ความร่วมมือทาง

    นวัตกรรมแบบเปิด (open innovation platform) เพ่ือสร้างนวัตกรรมทางยาส าหรับชาวเอเชีย

    29

    3 การสร้างเครือข่ายวิจัยและพัฒนา การพัฒนาเครอืข่ายระดับนานาชาตใินการคน้หาสารสกัดธรรมชาติเพือ่พฒันายาใหม่

  • 3 การสร้างเครือข่ายวิจัยและพัฒนา

  • การสร้างเครือข่ายวิจัยและพัฒนา

    การพัฒนาเครอืข่ายระดับนานาชาตใินการคน้หาสารสกัดธรรมชาติเพือ่พฒันายาใหม่

    วัตถุประสงค์และความโดดเด่นของเครือข่าย• เพื่อสร้างกลไกความร่วมมือที่มีความโดดเด่นและประสบความส าเร็จในด้านการค้นหายาใหม่จากธรรมชาติ

    1. การขับเคลื่อนภาคีโดย APAC : ภายใต้ “Guideline” สมาชิกจะต้องร่วมกันส่งเสริมความร่วมมือเชิงนวัตกรรมแบบเปิดและการสร้างก าลังคน

    2. ภาคีทวีปเอเชียในปัจจุบัน: ประกอบด้วยบริษัทยาจากญี่ปุ่น 2 แห่ง สถาบันการศึกษา และ สถาบันวิจัย ทั้งในประเทศไทย และ ไต้หวัน

    3. การ Synergy ระหว่างภาคการศึกษาและอุตสาหกรรม: ภาคการศึกษาได้จัดท า natural product library และภาคอุตสาหกรรมของญี่ปุ่นก็มีเทคโนโลยีและองค์ความรู้ทางด้านการค้นหายาใหม่ที่ทันสมัย

    4. การสร้างก าลังคนด้านการวิจัยและการถ่ายทอดเทคโนโลยี: กระบวนการต่างๆ ส าเร็จได้ด้วยความร่วมมือของนานาประเทศในเอเชียร่วมกับบริษัทยาของญี่ปุ่น โดยมีนโยบายเป็นตัวส่งเสริมให้สถาบันการศึกษาในเอเชีย และบริษัทยาของญี่ปุ่นร่วมกันค้นหายาใหม่จากผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ

    3

  • การสร้างเครือข่ายวิจัยและพัฒนา

    การพัฒนาเครอืข่ายระดับนานาชาติในการค้นหาสารสกัดธรรมชาติเพื่อพฒันายาใหม่

    32

    BPIPO TaiwanDr. Chang

    TCELSThailandDr. Nares

    JPMAJapan

    Mr. Goto

    Signing ceremony and press conference of the international network agreement on October 12th in JPMA HQ.

    3

  • 3 การสร้างเครือข่ายวิจัยและพัฒนา

    33

    The 8th APAC 2019: Tokyo

  • Collaborative Research Agreement

    Visiting Scientist Agreement

    3 การสร้างเครือข่ายวิจัยและพัฒนา

  • การสร้างขีดความสามารถด้านก าลังคน/นักวิจัย4

  • การสร้างขีดความสามารถด้านก าลังคน/นักวิจัย4

  • นักวิจัยที่ได้รับคัดเลือก• ชื่อนักวิจัย นายพงษ์ธร กาญจนศิริรัตน์ จาก ECDD• การปฏิบัติงาน 1 ก.พ. - 31 พ.ค. 2562 (4 เดือน)• สถานที่ปฏิบัตงิาน Shonan Health Innovation Park (Takeda Laboratory Center),

    Takeda pharmaceutical company, Kanagawa, Japan

    การสร้างขีดความสามารถด้านก าลังคน/นักวิจัย4

    ถ่ายทอดเทคโนโลยี วัตถุประสงค์• เพื่อเรียนรู้และรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีระบบการตรวจวิเคราะห์ทางกายภาพ

    (phenotypic screening system)• น าองค์ความรู้และเทคโนโลยีที่ได้มาใช้ด าเนินการตรวจวิเคราะห์หาสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ

    จากสารธรรมชาติได้

  • วิสยัทศัน์

    “ขบัเคลื่อนวิทยาศาสตร์การแพทย์และสขุภาพ ให้สร้างมลูค่าทางเศรษฐกิจและสงัคมเพิ่มขึน้เป็น 1 ใน 10 อตุสาหกรรมสงูสดุ ภายใน ปี 2580”

    พนัธกิจ1.สนบัสนนุและบ่มเพาะงานวิจยัและนวตักรรม ท าให้เกิดผลิตภณัฑ์และบริการด้านการแพทย์และสขุภาพ 2.สร้างสภาพแวดล้อม โครงสร้างพืน้ฐาน และบคุลากรในประเทศให้เหมาะสมกบัการเกิดนวตักรรมด้านการแพทย์และสขุภาพระดบัมาตรฐานสากล 3.ผลกัดนัผลงานวิจยัจากให้น าไปใช้ได้จริง เช่ือมโยงและน าพาเครือข่ายร่วมกนัพฒันาธุรกิจและการลงทนุ ให้พร้อมเข้าสู่อตุสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร

    การขับเคล่ือนอุตสาหกรรมชีววทิยาศาสตร์ โดย TCELS

    แนวทางการขับเคลื่อนวิทยาศาสตร์การแพทย์และสุขภาพแบบ Program-base

  • วสัิยทศัน์ สู่ การปฏบัิติ

    1. อตุสาหกรรมด้านชีววิทยาศาสตร์ไทยเติบโตด้วยอตัราเฉลี่ย > 5%ต่อปี2. ลงทนุใน R&D > 2.5% ต่อปี ของมลูค่าของภาคอตุสาหกรรมด้านชีววิทยาศาสตร์3. อตุสาหกรรมด้านชีววิทยาศาสตร์ไทย มีบทบาทส าคญัในห่วงโซม่ลูคา่ระดบัโลก ก่อให้เกิด

    ผลกระทบทางเศรษฐกิจและสงัคม คิดเป็นมลูค่า 3,000 ลบ.

    (ค าอธิบาย : สามารถส่งออก ลดการพึง่พาการน าเข้านวตักรรม และกระตุ้นการลงทนุจากต่างประเทศได้ ฯลฯ/วดัมลูค่าเพิม่ทางเศรษฐกิจและสงัคมรวมกนั)

    ยทุธศาสตร ์

    1. ขบัเคลื่อน Flag ships/โครงการส าคญั เพ่ือเพิ่มขีดความสามารถในการแขง่ขนัด้านการแพทย์และสขุภาพ2. พฒันามาตรการ กลไก หรือโครงสร้างพืน้ฐานส าคญัส าหรับอตุสาหกรรมด้านการแพทย์และสขุภาพ3. พฒันาองค์กรในทกุมติิให้เกิดประสทิธิภาพ ประสทิธิผลและความยัง่ยืน

  • บริการ

    1. การบริหารงานวิจัยด้านชีววิทยาศาสตร์ และการพฒันาสู่เชิงพาณิชย์ ทัง้ในและต่างประเทศ

    - การร่วมวิจยัและสนบัสนนุการท าวิจยัท่ีเช่ือมโยงงานวิจยัสูภ่าคธรุกิจ- สง่เสริมการพฒันาโครงสร้างพืน้ฐานท่ีก่อให้เกิดการยกระดบังานวิจยัสูเ่ชิงพาณิชย์- สนบัสนนุการเพิ่มขีดความสามารถของการพฒันาก าลงัคนด้านชีววิทยาศาสตร์

    2. ให้ค าปรึกษาภาคเอกชน บริการข้อมูล ความรู้ด้านชีววิทยาศาสตร์

  • Country Strategies

    Drug &

    BiologicsFunctional

    Ingredients

    Medical

    Devices/Robots

    Healthy & productive aging

    Healthcare serviceRegional development

    Management Organization

    Whole Value-Chain Translation & Management

    R&D Test&TrialManu-

    factureRegister Market

    Research funding and

    project management

    Testing labs/centers and

    Supporting programs (GLP)

    Select and support

    SMEs and startups

    Nurture certifying

    bodies and inspectors

    Support animal centers

    (breeding and testing)

    Manage pilot plants (GMP)

    Support factories (GMP-PIC/S)

    Advocate Innovation Account

    Advocate Policy e.g.

    Thai Bayh-Dole Act

    Investment grants

    and other incentives

    VCs and

    other investors

    Clinical research facilitation

    (GCP)

    Regulators (FDA, DMSc, TISI)

    Business Matching and

    Consortium facilitationIP Management

    Patent filing

    Value Chain Management

  • R&D management and Innovation focus areas

    BioPharma

    AREA

    01

    Pre-Clinical /Clinical Research

    AREA

    02 Precision Medicine

    AREA

    03

    Medicopolis

    AREA

    04 Medical Devices

    AREA

    05

    Natural products

    AREA

    06

    Health Products

    Dietary supplements and nutraceuticals Natural products Innovative functional

    food

    Health Care Services

    Hospital Accreditation and Harmonization Standards Rejuvenation Service SPA product and

    service developments Aging products and

    services

    Pharmaceuticals

    Biologics and Biopharma Pharmacogenomics

    Pre-Clinical /Clinical

    Pre-Clinical & Clinical Research

    Precision Medicine

    precision medicine

    Biomedical Devices & Technologies

    Biomaterials

    • Diagnostics• Biotechnology Research and Ancillary Services

    Genetics

    • Health Information TechnologyBioinformaticsGenomicsNanotechnology

  • TCELS Missions

    Foundation Establishment• From Human (Medical) Genome to Human Gene Bank

    • From Cell Therapy to Regenerative Medicine

    • Biopharma Manufacturing

    • Pre-clinical research support

    Quick Win Translational

    • Natural cosmetics and Food Supplements

    • Medical Devices & Medical Robotics

    • New Generics

  • hGH: In-house R&D : GMP Bioprocess & scale-up Development (2548-2560)

    2561 2562 2563 2564

    Pilot scale GMP Production & Formulation processes dev. Pre-clinic Study & Clinical study Phase I

    QC-AMV dev. for rhGH product characterization & biosimilarities comparative study to reference product

    โครงการพฒันายา วคัซนีและชวีวตัถเุพือ่ใชเ้องในประเทศและสง่ออก ระยะที ่1 พฒันาตน้แบบยาชวีวตัถเุพือ่สง่เสรมิอตุสาหกรรมการผลติยาชวีวตัถแุละวคัซนีในประเทศ

    BIOPHARMA

    intravenous immunoglobulin (IVIG): EV71

    คัดกรองซร่ัีมอาสาสมัคร

    พัฒนาเทคโนโลยกีระบวนการผลติ Process development

    Production for Clinical study

    Erythropoietin

    Trastuzumab

    Biopharma Roadmap

    Analytical Method Validation ทีไ่ดรั้บการถา่ยทอดเทคโนโลยจีากอารเ์จนตน่ิา

    ด าเนนิการถา่ยทอดเทคโนโลยจีากอารเ์จนตน่ิาจัดหาเครือ่งมอื อปุกรณ์พัฒนาบคุลากร

    NBF FDA & EPO filling

    พัฒนาวธิกีารวเิคราะหพ์ืน้ฐานของยา

    พัฒนาศักยภาพการผลติ Monoclonal antibody

    Scale up สว่น upstream process ขนาดใหญ่

    Production & Tech Transfer to

    CRI

    จดัจา้ง, ศกึษา เก็บขอ้มลู วเิคราะห ์รายงานผล

    Clinical study & FDA

    TC 06/61 21/12/60 -20/12/61TC 34/61 05/07/61 -04/04/62

    TC 16/61 25/01/61 -24/01/62

    TC 07/61 21/12/60 -20/12/61

    TC 36/61 21/08/61 -20/08/62

    TC 17/61 24/07/61 -23/03/62

  • มโีครงสรา้งพืน้ฐานทีบ่รษัิท biotechดา้นเซลลเ์ทคโนโลยี เขา้มาลงทนุ จา้งงาน ถา่ยทอดเทคโนโลย ีและวจิัย และผลติในไทยเพือ่สง่ไปทดสอบการรักษามะเร็งตับออ่นระดับคลนิกิในสหรัฐ

  • Precision Medicine 63

  • โครงการเภสชัพนัธุศาสตร ์(Pharmacogenomics)

  • จากผลการศกึษาดา้นการประเมนิความคุม้คา่โดยวธิวีเิคราะหต์น้ทนุ ประกอบดว้ย

    1. ผลการประเมนิตน้ทนุทีเ่กีย่วขอ้งในการดาเนนิการศนูยจ์โีนมฯ

    2. รายไดจ้ากการใหบ้รกิารการตรวจยนี ณ ศนูยจ์โีนมทางการแพทย์

    3. คา่ใชจ้า่ยทีป่ระหยัดได ้(cost saving) cost saving) cost saving) cost saving) cost saving) cost

    saving) จากการใหบ้รกิารการตรวจยนี ณ ศนูยจ์โีนมทางการแพทย ์เมือ่เปรยีบเทยีบกบัการตรวจยนีทีส่ง่ไปตรวจใน

    ตา่งประเทศ

    4. คา่ใชจ้า่ยทีค่าดการณ์วา่จะสามารถหลกีเลีย่งไดจ้ากการรักษาโรคหรอืภาวะทีอ่าจจะเกดิขึน้ในอนาคต (cost

    avoidance)cost avoidance) cost avoidance) cost avoidance)cost avoidance)

    5. มลูคา่ผลติภาพทีเ่พิม่ขึน้ (productivity gain) productivity gain) productivity gain) productivity gain)

    productivity gain) productivity gain) productivity

    พบวา่ผลไดท้ ัง้หมดจากการใหบ้รกิารการตรวจยนีซึง่เป็นโครงการดา้นสขุภาพ ณ

    ศนูยจ์โีนมทางการแพทย ์ในชว่งปี พ.ศ. 2557 – 2561 เทา่กบั 5,962 ลา้นบาท หรอื

    โดยเฉลีย่เทา่กบั 1,192ลา้นบาทตอ่ปี

    โครงการเภสชัพนัธุศาสตร ์(Pharmacogenomics)

  • การพัฒนาผลิตภัณฑ์เคร่ืองส าอางและเสริมอาหารจาก Natural Products

    สง่เสริมการวิจยัและพฒันาธุรกิจอตุสาหกรรมเคร่ืองส าอางและเสริมอาหารด้วยฐานความรู้ด้านชีววิทยาศาสตร์ โดยบรูณาการการท างานร่วมกนัระหว่างมหาวิทยาลยั หน่วยงานภาครัฐ และเอกชนที่เก่ียวข้องทัง้ภายในประเทศและต่างประเทศ

    โครงการส่งเสริมนวัตกรรมชีววิทยาศาสตร์ด้วยการลงทุน (Promoting I with I)

    Service Platform

    Service Facility

    โครงการ “ยกระดับคุณภาพ ความปลอดภยั ความปลอดภยั และประสิทธิผลของเคร่ืองส าอางและเสริมอาหาร (QSE)

    ศูนย์ทดสอบประสิทธิผลและความปลอดภยัผลิตภณัฑ์เคร่ืองส าอางและผลติภณัฑ์ธรรมชาตใินระดับคลินิกมาตรฐานสากล (ICH GCP)

    ศูนย์ความเป็นเลิศด้านการวิจัยและพฒันาเทคโนโลยีชีวภาพจากน า้ยางพาราสู่เชิงพาณิชย์

  • 5,000 million litres of rubber serum extract

  • สร้างสิ่งแวดล้อม/สนับสนุนระบบนิเวศน์ของอุตสาหกรรมเคร่ืองมือแพทย์-หุ่นยนต์การแพทย์

    Supporting Ecosystem : TH4.0

    กลยุทธ์พัฒนาธุรกจิสร้างความเข้มแข็งภาคอุตสาหกรรมฯ

    Business Development

    สนับสนุนการขยายผลงานวิจัย

    สู่เชิงพาณิชย์ (Close gap)

    • i-MEDBOT Contests, Trainings/expertise building on required standards

    • ความร่วมมือกระทรวงสาธารณสขุ อตุสาหกรรม ศกึษา พาณิชย์ การคลงั และ หนว่ยงานตา่งประเทศ

    • Financial aid for standardized product testing

    • Business Matching & PR/Exhibition/Networking & International Outreach

    • Incubation & Investment และ การย่ืนจดและบริหารทรัพย์สินทางปัญญา/IP Management

    • ประเมินต้นแบบท่ีมีศกัยภาพเชิงพาณิชย์

    • ร่วมทนุ/แนะน าแหลง่ทนุหรือ facilities ภาครัฐ ส าหรับการพฒันาขัน้ปลายน า้ เชน่ prototype redesign, standard certification, clinical study

    • จบัคูโ่จทย์ภาคอตุสาหกรรมกบัภาควิจยั

    • TMTE FUN

    รูปแบบโครงการ/กจิกรรม

    สนับสนุนการผันตัวเข้าสู่อุตสาหกรรมเคร่ืองมือแพทย์ด้วยบูรณาการ SME / Thai SUBCON

    YMID

    การพฒันาเทคโนโลยีเคร่ืองมือแพทย์และหุ่นยนต์ทางการแพทย์ขัน้สูง

  • Infrastructure: การจัดตัง้ศูนย์เคร่ืองมือแพทย์ และหุ่นยนต์ทางการแพทย์ขัน้สูง

    หน่วยปฏบิัตกิารวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีหุ่นยนต์ฯ

    5-story building, utilizable area ~ 9,000 sq.m.Flr. 1 – Exhibition area, central lab, parts prototyping and assemblyFlr. 2 – Lecture/seminar halls, meeting rooms, equipment certification, incubators, rental office spaceFlr. 3 - Testing lab for safety, EMC, mechanical tests, material tests, bio-compatibility tests, simulated operating environment, rehabilitation clinicFlr. 4 – Research labs & prototyping (BCI, guiding system, surgery robot, service robot, rehabilitation & diagnostics, monitoring, telemedicine, data center/cloud computing)Flr. 5 – Office areas

  • ขัน้ที่ 1 : ปรับปรุงต้นแบบ

    ขัน้ที่ 2 : ทดสอบต้นแบบ

    ขัน้ที่ 3 : พร้อมจ าหน่ายสู่ตลาด

    National Clinical Research Center (NCRC)

    • Training• Market Validation• Prototype Development• Patent Mapping

    • Standard Testing• Pre-Clinical Testing• Animal Testing• Clinical Testing• Patent registration

    • Marketing support• Product Launch• Fast track registration Innovation -

    lists

    โครงการทุนบูรณาการเพ่ือความเป็นเลศิด้านเทคโนโลยีทางการแพทย์Thailand MED TECH Excellence Fund (TMTE Fund)

    วัตถุประสงค์ของโครงการ1. มุง่เน้น ผลกัดนันวตักรรมด้านเคร่ืองมือแพทย์และวสัดทุางการแพทย์ ยกเว้น สมนุไพรและยา พฒันาสูร่ะดบัอตุสาหกรรมและออกสูต่ลาด ไมน้่อย

    กวา่ 5 รายการ / ผลติภณัฑ์ ภายในระยะเวลา 5 ปี2. เพื่อลดการน าเข้าและผลกัดนัให้เกิด High value product ออกสูต่ลาด

  • 1

    2

    3

    พฒันาพืน้ที่ส าหรับการจดับริการสขุภาพท่ีมีนวตักรรม และเหมาะสมส าหรับกลุม่เปา้หมาย

    เช่ือมโยงให้เกิดการวิจยั การพฒันาผลติภณัฑ์ และนวตักรรมบริการสขุภาพ ท่ีอาจตอบสนองความต้องการของกลุม่เปา้หมาย

    ผลกัดนัให้เกิดการลงทนุ/ร่วมทนุกบัเอกชนในการพฒันาพืน้ที่ ผลติภณัฑ์ และบริการได้อย่างครบวงจร ซึ่งอาจปรับใช้กบัการพฒันาพืน้ที่ได้

    แนวคดิการด าเนินงาน

    โปรแกรมเมดโิคโพลิส: Medicopolis

  • Focused Areas: Future Medical innovation

    แนวทางการพัฒนา

    การพัฒนานโยบายสนับสนุนนวัตกรรมทางการแพทย์

    พัฒนาระบบนิเวศ (Ecosystem medical

    innovation

    การพัฒนาฐานข้อมูลทางการแพทย์

    พัฒนาเครือข่ายความร่วมมือ Medicopolis

    High value medical innovationMedical devices , Medical Robotics , Digital health , Natural product and medicine e.g

    Support Ecosystem for develop medical innovationStandard regulator, Lab research e.g.

    Support Ecosystem for Investment and industryData base , Technology transfer e.g.

    โปรแกรมเมดโิคโพลิส: Medicopolis

  • โปรแกรมเมดดิโคโพลิส

    : Digital Healthcare platform ร่วมผลักดันแผนยุทธศาสตร์ จ.เชียงใหม่ ด าเนินการกับ มช สสจ.: สังคมไทยห่างไกลอัลไซเมอร์เฉลิมพระเกียรต ิกับ สสจ.

    : ทดสอบสารส าคัญในสมุนไพรเพื่อผลิตยาและเสริมอาหารเพิ่มมูลค่า ผ่านศูนย์ค้นหาตัวยา ECDDม. มหดิล

    : วิจัยแก้ไขปัญหาโรคส าคัญท้องถิ่น เช่น มะเร็งท่อน า้ดี มข. จ.ขอนแก่น

    : ธรรมเวชนคร มก. สสจ.จ.สกลนคร

    YMID : จัดตัง้และบริหารจัดการย่าน* Phase I II: ศูนย์จีโนมเรวดี: ศูนย์ค้นหาตัวยา ECDD

    : นวัตกรรมพัฒนาสารส าคัญจากน า้ยางพาราเพื่อการแพทย์และสุขภาพ มอ.: วิจัยแก้ไขปัญหาโรคท้องถิ่น infectious disease มอ.

    หมายเหตุ *: YMID ผ่านคณะกรรมการ TH4.0 รอเข้า ครม. อนมุตัิงบประมาณปี 2563 อยู่ระหว่างจดัตัง้ YMID managerDigital Healthcare platform CM ผ่าน ครม.สญัจรรายงานโดย สศช. เพ่ือเข้าระบบงบประมาณ ในปี 2563

    :ขยายผลระบบเฝ้าระวังสุขภาพผู้สูงอายุและผู้ป่วย ม.บูรพาในพืน้ที่ต่างๆ

    2561 2562 2563

    : รร.ผู้สูงอายุเชียงราย

  • ประสานความรว่มมอืดา้นชวีวทิยาศาสตรก์บัหนว่ยงานอืน่ของรฐั สถาบนัการศกึษาที่เกีย่วขอ้งและภาคเอกชนท ัง้ในประเทศและตา่งประเทศ

    National Focal Point Co-Chair (Government) LSIF

    Executive Board APEC Bio-medical Technology

    Commercialization Training Center

    Life Sciences Innovation Forum (LSIF)

    National Contact Point of Horizon 2020

    Join Funding Scheme for Research and Innovation

    European UnionTCELS

    International Collaborations

    MHRP/NIH Biotechnology

    Innovation Organization (BIO)

    Massachusetts Life Sciences Center (MLSC)

    MassChallenge UCLA

    United States

    2016 IAC: Scottish Development International (SDI)

    Scotland

    Center for the Development of Industrial Technology (CDTI)

    Spain

    2014 IAC: France Innovation Scientifique et Transfert

    2016 IAC iBionextVenture Fund

    Cosmetic ValleyEPISKIN

    France

    2014 IAC: Biotech Cluster Development GmbH

    Germany

    East Netherlands Development Agency (Oost NL)

    Health~Holland

    Netherlands

    FABA

    India

    Shenyang City

    China

    RIKENJPMA, JBAPanasonic, NTT2014 IAC: Osaka

    University

    Japan

    New Taipei City BioTechnology Alliance

    Development Center for Biotechnology (DCB)

    Taiwan

    Bioeconomy Corporation

    Malaysia

    2014 IAC: Vifor PharmaIPI

    Singapore

  • ประสานความรว่มมอืดา้นชวีวทิยาศาสตรก์บัหนว่ยงานอืน่ของรฐั สถาบนัการศกึษาที่เกีย่วขอ้งและภาคเอกชนท ัง้ในประเทศและตา่งประเทศ

    พาผู้ประกอบการเข้าร่วมงาน BIO Internationalเกิดการลงทุนและเพิ่มยอดขายรวม

    2,367 ล้านบาท

    กิจกรรมความร่วมมือ (การฝึกอบรมมาตรฐานต่างๆ,

    Conference, Seminar)31 กิจกรรม

    APEC Life Sciences Innovation Forum• APEC TCTC ผลิต International Technology Managers• Regulatory Harmonization กฎระเบียบคล่องตัวขึน้ส าหรับ

    trade and investment ในภูมิภาค• Rare Disease Network: แผนและกลยุทธ์ในการแก้ปัญหา

    Rare Disease

    เครือข่ายวิจัยร่วม Southeast Asia – Europe JointFunding Scheme on Research & Innovation

    (JFS) 4 โครงการวิจัย มูลค่าการลงทุนในการวิจัยรวม 64 ล้านบาท

  • สรา้งและสนบัสนนุ Deep Tech Startup เพือ่เขา้สูธ่รุกจิดา้นชวีวทิยาศาสตร์

  • สรา้ง Ecosystem ทีเ่อ ือ้ตอ่ Life Science Startupเพือ่เป็นกลไกการสนบัสนุน Startup

    Co-working spaceHealth Tech Club

    Training

    Incubation

    Venture network

    Large corporate network

    Global connect

    Acceleration

  • Preclinical Research

    Ecosystem supports

    innovation-driven economy in Thailand 4.0

    Thank You