Top Banner
Nothing Great Has Ever Been Achieved Without Enthusiasm รายงานประจำปี 2551 บริษัทหลักทรัพย์ เอเซีย พลัส จำกัด (มหาชน) 26 ผลกระทบของปัจจัยการเมือง ต่อ SET Index ที่มา : ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย / ฝ่ายวิจัยบริษัท ภาวะการแข่งขัน ปี 2551 ปี 2551 นับเป็นช่วงท่ตลาดหุ้นไทยประสบภาวะ ตกต่ำรุนแรงอีกปีหนึ่ง เพราะนอกจากได้รับแรงกดดันจาก ปัญหาเศรษฐกิจโลกที่ชะลอตัวแล้ว ปัญหาทางการเมืองใน ประเทศยังมีส่วนสำคัญในการซ้ำเติมภาวะเศรษฐกิจและ ตลาดหุ้นไทยอีกด้วย ทั้งนี้ปัญหาความขัดแย้งทางการเมือง ได้ทวีความรุนแรงเพิ่มขึ้นตามลำดับ ภายหลังจากการ เลือกตั้งทั่วไป ในวันที่ 23 ธันวาคม 2550 เสร็จสิ้น โดย พรรคพลังประชาชนได้คะแนนเสียงข้างมาก และสามารถ เป็นแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาล แต่ก็ไม่ได้รับการยอมรับจาก กลุ่มพันธมิตรฯ ซึ่งเป็นกลุ่มเดียวกับที่ประท้วงขับไล่รัฐบาล คุณทักษิณ ชินวัตร ในช่วงปลายปี 2548 โดยกลุ่มพันธมิตรฯ ได้เดินหน้าประท้วง พร้อมกับปิดสถานที่ราชการสำคัญหลาย หลายแห่ง เริ่มตั้งแต่การบุกยึดสถานีโทรทัศน์ NBT ทำเนียบ รัฐบาล และการปิดสนามบินในจังหวัดภาคใต้ รวมถึงสนามบิน สุวรรณภูมิ โดยภายในช่วงเวลาเพียง 1 ปประเทศไทยมีการ เปลี่ยนแปลงนายกรัฐมนตรีถึง 4 ท่าน แต่ส่วนใหญ่เป็นผล จากการที่นายกรัฐมนตรีขาดคุณสมบัติ อาทิ นายสมัคร สุนทรเวช ซึ่งต้องพ้นจากตำแหน่งเหตุเพราะขาดคุณสมบัติ ตามคำตัดสินของศาลรัฐธรรมนูญในคดี ชิมไปบ่นไป หลังจาก นั้น พรรคพลังประชาชน ได้ส่งนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ เข้ารับ การคัดเลือกเป็นนายกรัฐมนตรี แต่ก็ดำรงตำแหน่งได้เพียง 77 วัน ก็ต้องพ้นจากตำแหน่ง หลังจากที่ศาลรัฐธรรมนูญ ตัดสินให้ยุบพรรคพลังประชาชน (รวมถึงพรรคมัชฌิมาธิปไตย และพรรคชาติไทย) พร้อมทั้งตัดสิทธิ์ในการเลือกตั้ง ส่งผล ให้เกิดการเปลี่ยนขั้วทางการเมือง และเปิดโอกาสให้พรรค ประชาธิปปัตย์ นำโดยนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เข้ามาจัดตั้ง รัฐบาล ซึ่งถือว่าเป็นการเข้าบริหารประเทศครั้งแรกในรอบ 7 ปี ของพรรคประชาธิปปัตย์ โดยรวมตลอดปี 2551 พบว่าดัชนีตลาดหุ้นไทยปรับ ตัวลดลงต่ำสุดที่ 380 จุด เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2551 จาก ระดับสูงสุดที่ 886 จุด เมื่อ 22 พฤษภาคม 2551 หรือลดลง 57% ซึ่งใกล้เคียงกับตลาดหุ้นทั่วโลก อย่างไรก็ตาม ในช่วง ปลายปี 2551 ตลาดหุ้นไทยได้ฟื้นตัวตามแนวโน้มตลาดหุ้น โลก หลังจากที่ได้สะท้อนปัจจัยลบต่างๆ ไปมากแล้ว ทำให้สิ้นปี 2551 ดัชนีตลาดหุ้นไทยปิดที่ 450 จุด ด้วยมูลค่าการซื้อขาย รวม 1.6 หมื่นล้านบาท ต่อวัน ลดลงเพียง 7.5% จากปีท่ผ่านมา โดยนักลงทุนต่างชาติมียอดขายสุทธิสูงถึง 1.6 แสนล้านบาท สูงสุดเป็นประวัติการณ์ ทั้งนี้บริษัทหลักทรัพย์ที่มีส่วนแบ่ง การตลาดสูงสุด 3 อันดับแรก ได้แก่ บริษัทหลักทรัพย์ กิมเอ็ง (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์ ภัทร จำกัด (มหาชน) และบริษัทหลักทรัพย์ เอเซีย พลัส จำกัด (มหาชน) เฉลี่ยราว 8.18% 5.96% และ 5.38% ตามลำดับ
8

ภาวะการแข่งขัน ปี 2551€¦ · รายงานประจำปี 2551 บริษัทหลักทรัพย์ เอเซีย พลัส

Sep 26, 2020

Download

Documents

dariahiddleston
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: ภาวะการแข่งขัน ปี 2551€¦ · รายงานประจำปี 2551 บริษัทหลักทรัพย์ เอเซีย พลัส

Nothing Great Has Ever Been Achieved Without Enthusiasm

รายงานประจำปี 2551 บริษัทหลักทรัพย์ เอเซีย พลัส จำกัด (มหาชน)26

ผลกระทบของปัจจัยการเมือง ต่อ SET Index

ที่มา : ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย / ฝ่ายวิจัยบริษัท

ภาวะการแข่งขัน ปี 2551

ปี 2551 นับเป็นช่วงที่ตลาดหุ้นไทยประสบภาวะ ตกต่ำรุนแรงอีกปีหนึ่ง เพราะนอกจากได้รับแรงกดดันจาก ปัญหาเศรษฐกิจโลกที่ชะลอตัวแล้ว ปัญหาทางการเมืองใน ประเทศยังมีส่วนสำคัญในการซ้ำเติมภาวะเศรษฐกิจและ ตลาดหุ้นไทยอีกด้วย ทั้งนี้ปัญหาความขัดแย้งทางการเมือง ได้ทวีความรุนแรงเพิ่มขึ้นตามลำดับ ภายหลังจากการ เลือกตั้งทั่วไป ในวันที่ 23 ธันวาคม 2550 เสร็จสิ้น โดย พรรคพลังประชาชนได้คะแนนเสียงข้างมาก และสามารถ เป็นแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาล แต่ก็ไม่ได้รับการยอมรับจาก กลุ่มพันธมิตรฯ ซึ่งเป็นกลุ่มเดียวกับที่ประท้วงขับไล่รัฐบาล คุณทักษิณ ชินวัตร ในช่วงปลายปี 2548 โดยกลุ่มพันธมิตรฯ ได้เดินหน้าประท้วง พร้อมกับปิดสถานที่ราชการสำคัญหลาย หลายแห่ง เริ่มตั้งแต่การบุกยึดสถานีโทรทัศน์ NBT ทำเนียบ รฐับาล และการปดิสนามบนิในจงัหวดัภาคใต ้รวมถงึสนามบนิ

สุวรรณภูมิ โดยภายในช่วงเวลาเพียง 1 ปี ประเทศไทยมีการ เปลี่ยนแปลงนายกรัฐมนตรีถึง 4 ท่าน แต่ส่วนใหญ่เป็นผล จากการที่นายกรัฐมนตรีขาดคุณสมบัติ อาทิ นายสมัคร สุนทรเวช ซึ่งต้องพ้นจากตำแหน่งเหตุเพราะขาดคุณสมบัติ ตามคำตดัสนิของศาลรฐัธรรมนญูในคด ีชิมไปบ่นไป หลงัจาก นั้น พรรคพลังประชาชน ได้ส่งนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ เข้ารับ การคัดเลือกเป็นนายกรัฐมนตรี แต่ก็ดำรงตำแหน่งได้เพียง 77 วัน ก็ต้องพ้นจากตำแหน่ง หลังจากที่ศาลรัฐธรรมนูญ ตดัสนิใหย้บุพรรคพลงัประชาชน (รวมถงึพรรคมชัฌมิาธปิไตย และพรรคชาติไทย) พร้อมทั้งตัดสิทธิ์ในการเลือกตั้ง ส่งผล ให้เกิดการเปลี่ยนขั้วทางการเมือง และเปิดโอกาสให้พรรค ประชาธิปปัตย์ นำโดยนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เข้ามาจัดตั้ง รฐับาล ซึง่ถอืวา่เปน็การเขา้บรหิารประเทศครัง้แรกในรอบ 7 ป ีของพรรคประชาธิปปัตย์

โดยรวมตลอดปี 2551 พบว่าดัชนีตลาดหุ้นไทยปรับ ตัวลดลงต่ำสุดที่ 380 จุด เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2551 จาก ระดับสูงสุดที่ 886 จุด เมื่อ 22 พฤษภาคม 2551 หรือลดลง 57% ซึ่งใกล้เคียงกับตลาดหุ้นทั่วโลก อย่างไรก็ตาม ในช่วง ปลายปี 2551 ตลาดหุ้นไทยได้ฟื้นตัวตามแนวโน้มตลาดหุ้น โลก หลงัจากทีไ่ดส้ะทอ้นปจัจยัลบตา่งๆ ไปมากแลว้ ทำใหส้ิน้ป ี2551 ดัชนีตลาดหุ้นไทยปิดที่ 450 จุด ด้วยมูลค่าการซื้อขาย

รวม 1.6 หมืน่ลา้นบาท ตอ่วนั ลดลงเพยีง 7.5% จากปทีีผ่า่นมา โดยนักลงทุนต่างชาติมียอดขายสุทธิสูงถึง 1.6 แสนล้านบาท สูงสุดเป็นประวัติการณ์ ทั้งนี้บริษัทหลักทรัพย์ที่มีส่วนแบ่ง การตลาดสูงสุด 3 อันดับแรก ได้แก่ บริษัทหลักทรัพย์ กิมเอ็ง (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์ ภัทร จำกัด (มหาชน) และบริษัทหลักทรัพย์ เอเซีย พลัส จำกัด (มหาชน) เฉลี่ยราว 8.18% 5.96% และ 5.38% ตามลำดับ

Page 2: ภาวะการแข่งขัน ปี 2551€¦ · รายงานประจำปี 2551 บริษัทหลักทรัพย์ เอเซีย พลัส

27

9.0%

8.0%

7.0%

6.0%

5.0%

4.0%

3.0%

2.0%

1.0%

0.0%

8.2%

6.0%5.4%

4.6%4.0%

3.8%KE

ST

PHAT

RA ASP

ZMIC

O

BSEC BL

S

KGI

CN

S

ASL

TNIT

Y

SSEC

GBX

SYRU

S

US

2.7%2.3% 2.2%

1.5% 1.4%1.0% 0.8%

4.0%

0%

-10%

-20%

-30%

-40%

-50%

-60%

-70%

-80%

Chi

na

Indi

a

Indo

nesi

a

Sing

apor

e

Philip

pine

Hon

g ko

ng

Thai

land

Taiw

an

CAC

Japa

n

Kore

a

NAS

DAQ DAX

Mal

aysi

a

S&P

500

DO

W J

ON

ES

FTSE

-65%

-52% -51% -49%

-48%

-48% -48% -46% -43%

-42% -41%

-41%

-40% -39% -38% -3

4% -31%

60,000

40,000

20,000

0

-20,000

-40,000

-60,000

-80,000

-100,0001Q50 2Q50 3Q50 4Q50 1Q51 2Q51 3Q51 4Q51

ส่วนแบ่งการตลาดของบริษัทหลักทรัพย์

การเปลี่ยนแปลงของดัชนีตลาดหุ้นสำคัญของโลก

ที่มา : Bloomberg

ที่มา : ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

ที่มา : ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

มูลค่าการซื้อขายสุทธิของนักลงทุนต่างชาติ รายไตรมาส

Page 3: ภาวะการแข่งขัน ปี 2551€¦ · รายงานประจำปี 2551 บริษัทหลักทรัพย์ เอเซีย พลัส

28

Nothing Great Has Ever Been Achieved Without Enthusiasm

รายงานประจำปี 2551 บริษัทหลักทรัพย์ เอเซีย พลัส จำกัด (มหาชน)

90%

80%

70%

60%

50%

40%

30%

20%

10%

0%

82% 81%

73%

62%58% 57% 56% 55%

46%42%

33%

0%

US

GBX

ZMIC

O

TNIT

Y

ASP

KEST

SYRU

S

Indu

stry

CNS

KGI

BLS

PHAT

RA

สัดส่วนการปล่อย Margin Loan เมื่อเทียบกับลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์

ที่มา : หมายเหตุประกอบงบการเงิน / ฝ่ายวิจัยบริษัท

หนี้เสียจากการปล่อยสินเชื่อมาร์จิ้น กดดันให้โบรกเกอร์ขาดทุนในปี 2551

ภาวะตลาดทีต่กตำ่รนุแรง และตอ่เนือ่งขา้งตน้ สง่ผล กระทบต่อผลการดำเนินงานของบริษัทหลักทรัพย์ โดยเฉพาะ งวดไตรมาสที่ 3 ของปี 2551 ซึ่งดัชนีตลาดหุ้นไทยปรับตัว ลดลงรวดเร็ว และสูงถึง 22% จากงวดไตรมาสที่ 2 ของปี 2551 ส่งผลให้เกิดหนี้ที่มีปัญหากับบริษัทหลักทรัพย์ที่มีการ ปล่อยสินเชื่อกู้ยืมเพื่อซื้อขายหลักทรัพย์ (Margin Loan)ใน หุ้นที่มีเก็งกำไรโดยไม่มีพื้นฐานรองรับ เช่น TUCC และ RICH โดย ณ สิ้นเดือนกันยายน 2551 พบว่า มูลค่าการให้ Margin Loans ของบริษัทหลักทรัพย์ โดยรวมคิดเป็นประมาณ 55% ของลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์ เป็นผลให้บริษัทหลักทรัพย์ หลายแห่งต้องทยอยตั้งสำรองหนี้ที่มีปัญหานับตั้งแต่งวด

ไตรมาสที่ 2 ของปี 2551 ทั้งนี้พิจารณาจากบริษัทหลักทรัพย์ ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ 14 แห่ง พบว่ามีการตั้ง สำรองหนี้ที่มีปัญหาไปทั้งสิ้น 184 ล้านบาท ในงวดไตรมาส ที่ 2 ของ ปี 2551 และราว 61 ล้านบาท ในงวดไตรมาสที่ 3 ของปี 2551 เทียบกับที่มีค่าใช้จ่ายส่วนนี้น้อยมากในปี 2550 และมีแนวโน้มว่าในงวดไตรมาสที่ 4 ของปี 2551 จะมีการตั้งสำรองฯเพิ่มเติมบางส่วน เนื่องจากพบว่าหุ้น ที่เข้าข่ายเก็งกำไรอีกหลายบริษัทที่ราคาหุ้นมีการปรับตัว ลดลงอย่างมากนับจากเดือนตุลาคม ได้แก่ LIVE, IEC และ ที่ปรับตัวลดลงรุนแรงในเดือนพฤศจิกายน ได้แก่ SECC เป็นต้น

แนวโน้มธุรกิจหลักทรัพย์ในปี 2552

ภาพรวมตลาดหุ้นในปี 2552 คาดว่าจะยังซบเซา ต่อเนื่องจากปี 2551 โดยเฉพาะในช่วงครึ่งปีแรกของปี 2552 และคาดว่าจะค่อยๆ ฟื้นตัวในงวดครึ่งปีหลังของปี 2552 เนือ่งจากไดร้บัแรงกดดนัจากภาคสง่ออกทีช่ะลอตวัตามภาวะ เศรษฐกิจโลก พิจารณาจากที่ธนาคารโลก (World Bank) ได้ คาดการณ์อัตราการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจโลก (GDP growth) ในปี 2552 ไว้เพียง 2.2% ชะลอตัวจากที่เติบโต 3% ในปี 2551 ขณะที่ของไทยคาดหมายว่า GDP growth ในปี 2552 อาจจะไม่เติบโตเมื่อเทียบกับปี 2551 โดยในช่วง ครึ่งแรกของปี 2552 อาจถึงขั้นติดลบราว 1%-2% แต่น่าจะ ค่อยๆ ฟื้นตัวหรือมีอัตราการเติบโตเป็นบวกบ้างในงวดครึ่ง หลังของปี 2552

ผลจากการที่ธนาคารกลางสำคัญๆ ของโลกได้ พยายามใช้นโยบายการเงินอ่อนตัวอย่างต่อเนื่องในการฟื้นฟู เศรษฐกิจ และความเชื่อมั่นของประชาชนในประเทศ ทำให้ อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงของหลายแห่งของโลกลดลงจนใกล้ศูนย ์แล้ว อาทิ สหรัฐฯ ได้ลดอัตราดอกเบี้ยนโยบาย (FED Rate) ลงเหลือ 0%- 0.25% และประเทศญี่ปุ่นได้ปรับลดอัตรา ดอกเบี้ยนโยบาย (Overnight Call Rate) ลงเหลือ 0.1% ขณะที่ธนาคารกลางยุโรปและคณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) ของประเทศไทย ได้ปรับลดอัตราดอกเบี้ยลงเหลือ 2% ในอัตราเท่ากัน และมีแนวโน้มจะปรับลดลงอีกจนเหลือ 1.5% และ 1.25% ตามลำดับ ภายในกลางปี 2552 อย่างไร ก็ตาม ผลของการใช้นโยบายการเงินมาถึงจุดที่อิ่มตัวแล้ว

Page 4: ภาวะการแข่งขัน ปี 2551€¦ · รายงานประจำปี 2551 บริษัทหลักทรัพย์ เอเซีย พลัส

29

22,618

-2,209

3,6927,444 7,324

-19,669-15,905

-8,083 -6,793

-64,318-70,000

-60,000

-50,000

-40,000

-30,000

-20,000

-10,000

-

10,000

20,000

30,000

EN

ER

G

IMM

TR

AN

S

CO

NM

AT

PE

TR

O

3Q51 4Q51

ผลการดำเนินงานงวด ไตรมาสที่ 4 ปี 2551 แยกตามอุตสาหกรรม

ที่มา : ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย / ฝ่ายวิจัยบริษัท

เป็นไปได้ที่ประเทศต่างๆ ทั่วโลกจะหันมาใช้นโยบายการคลัง เป็นเครื่องมือในการกระตุ้นเศรษฐกิจอีกทางหนึ่ง ดังเช่น กรณีของประเทศไทย ที่มีนโยบายการใช้งบประมาณขาดดุล เพิ่มเติม รวมถึงการใช้มาตรการภาษีควบคู่กันไป ปัจจัย เหล่านี้ทำให้มีโอกาสที่เงินทุนจะไหลกลับเข้ามาตลาดหุ้น อีกครั้งในงวดครึ่งหลังของปี 2552

ผลการดำเนินงานในงวดไตรมาสที่ 4 ของปี 2551 ของตลาดหลักทรัพย์ พบว่าขาดทุนสูงถึง 9.3 หมื่นล้าน บาท ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผลจากหุ้นในกลุ่มที่อิงกับสินค้า โภคภัณฑ์ เช่น กลุ่มพลังงาน เหล็กและปิโตรเคมี โดยที่กลุ่ม พลังงานรายงานขาดทุนสูงสุดเป็นประวัติการณ์ เนื่องจาก ต้องบันทึกขาดทุนจากสต็อกน้ำมัน (Stock loss) ทั้งใน ส่วนของน้ำมันคงคลังและน้ำมันสำเร็จรูป ตามราคาน้ำมัน ในตลาดโลกที่อ่อนตัวอย่างมีนัยสำคัญ แต่คาดว่าจะเริ่ม

ทยอยฟื้นตัวได้ตั้งแต่งวดไตรมาสที่ 1 ของปี 2552 อย่างไร ก็ตาม ผลการดำเนินงานในงวดไตรมาสที่ 4 ของปี 2551 ที่ขาดทุนสูงดังกล่าว ทำให้กำไรตลอดปี 2551 ลดลงจาก ปี 2550 ราว 26.4%และด้วยฐานกำไรในปี 2551 ที่ลดลงนี้ ทำให้กำไรตลาดในปี 2552 มีแนวโน้มจะปรับตัวเพิ่มขึ้น ราว 25.7% หากอิงกำไรต่อหุ้นดังกล่าว พบว่าดัชนีตลาดหุ้น ไทยปัจจุบันมีค่า PER อยู่ที่เพียง 8.4 เท่า แม้จะฟื้นตัวจาก จุดต่ำสุดที่ 6 เท่า ในช่วงปลายปี 2551 ที่ผ่านมา แต่ก็ถือว่า ตลาดหุ้นไทยยังมีค่า PER ต่ำกว่าตลาดหุ้นในภูมิภาค และ น่าจะได้สะท้อนปัจจัยลบต่างๆ ดังกล่าวไปแล้วระดับหนึ่ง หากภาวะเศรษฐกิจโลกไม่ตกต่ำไปกว่าที่คาด เชื่อว่าดัชนี หุ้นไทยมีโอกาสแกว่งในกรอบ PER 8-10 เท่า หรือดัชนีที่ 396-495 จุด ภายในปี 2552

Page 5: ภาวะการแข่งขัน ปี 2551€¦ · รายงานประจำปี 2551 บริษัทหลักทรัพย์ เอเซีย พลัส

30

Nothing Great Has Ever Been Achieved Without Enthusiasm

รายงานประจำปี 2551 บริษัทหลักทรัพย์ เอเซีย พลัส จำกัด (มหาชน)

คาดการณ์ EPS และ EPS Growth ของตลาด

PER Band ของตลาด

ที่มา : ฝ่ายวิจัยบริษัท

ที่มา : ฝ่ายวิจัยบริษัท

33.8 32.5

60.953.5

39.4

49.5

68.2

67.046.4

1.9% 25.7%-12.2%

-3.8%

42.7% 44.5%

10.7%-

-26.4%

-

20.0

40.0

60.0

80.0

2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552F

EPS

60.0%

40.0%

20.0%

0.0%

-20.0%

-40.0%

Page 6: ภาวะการแข่งขัน ปี 2551€¦ · รายงานประจำปี 2551 บริษัทหลักทรัพย์ เอเซีย พลัส

31

62 787

138

73,115

1,355

1,381

809

764

16,471

26,162

57,96344,401

SET MAI

24,752

32,731

9,083

2544

2545

2546

2547

2548

2549

2550

2551

370

80,000

70,000

60,000

50,000

40,000

30,000

20,000

10,000

0

มูลค่าการระดมทุนของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

ที่มา : ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

ภาพรวมธุรกิจวาณิชธนกิจปี 2551 และแนวโน้มปี 2552

แม้ภาวะตลาดหุ้นในปี 2551 ไม่สดใส แต่พบว่า ธุรกิจวาณิชธนกิจ (Investment Banking) ยังคงเพิ่มขึ้น โดยหากพิจารณามูลค่าการระดมทุนตลอดปี 2551 พบว่า เพิ่มขึ้นถึง 50% จากปี 2550 สู่ระดับ 2.6 หมื่นล้านบาท แต่ก็ถือว่ายังต่ำเมื่อเทียบกับช่วง 3 ปี ก่อนหน้าที่เฉลี่ยเกิน ปีละ 5 หมื่นล้านบาท ทั้งนี้ พบว่าบริษัทที่เตรียมจะเข้า ระดมทุนโดยการเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ได้เลื่อน กำหนดขายหุ้น IPO ออกไป จึงทำให้ในปี 2551 มีหุ้นเข้า จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์หรือ IPO ขนาดใหญ่เพียง แห่งเดียวคือ ESSO ซึ่งมูลค่าการระดมทุนกว่า 9 พัน ล้านบาท หรือคิดเป็น 35% ของมูลค่าการระดมทุนรวมใน ปี 2551

สำหรบัป ี2552 คาดวา่ภาวะธรุกจิวาณชิธนกจิ ยงัคง อยู่ในช่วงชะลอตัวเช่นกัน เนื่องจากไม่มีหุ้นขนาดใหญ่รอ เข้าจดทะเบียน ไม่ว่าจะเป็นหุ้นรัฐวิสาหกิจหรือบริษัทเอกชน ขณะที่หุ้นขนาดเล็กที่เลื่อนการขายจากปี 2551 คงไม่ได้กลับ เข้ามาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์อย่างคึกคักมากนัก เนื่องจากภาวะตลาดยังไม่เอื้ออำนวยต่อการระดมทุน แต่ อย่างไรก็ตาม สำหรับธุรกิจที่ปรึกษาในการซื้อ หรือควบรวม กิจการ (M&A) รวมถึงการเป็นที่ปรึกษาการระดมทุนผ่านการ ออกหุ้นกู้ในประเทศ น่าจะเริ่มสร้างรายได้มากขึ้น ภายหลัง จากการระดมทุนจากต่างประเทศผ่านการออกหุ้นกู้ และการ ระดมทุนผ่านตลาดหลักทรัพย์มีข้อจำกัดมากขึ้น แม้มูลค่าจะ ไมม่ากนกัเมือ่เทยีบกบัรายไดจ้ากการนำหุน้เขา้จดทะเบยีนในตลาดหลักทรัพย์ก็ตาม

Page 7: ภาวะการแข่งขัน ปี 2551€¦ · รายงานประจำปี 2551 บริษัทหลักทรัพย์ เอเซีย พลัส

32

Nothing Great Has Ever Been Achieved Without Enthusiasm

รายงานประจำปี 2551 บริษัทหลักทรัพย์ เอเซีย พลัส จำกัด (มหาชน)

Issuance of Domestic bonds

Foreign BondsCorporate Debt Securities - DomesticGovernment Debt Securuties

11.08

1,188

179122

18199151 107

2543

2544

2545

2546

2547

2548

2549

2550

2551

10,000

8,000

6,000

4,000

2,000

-

9

8

972

881

มูลค่าการระดมทุนผ่านตลาดตราสารหนี้ของไทย

ที่มา : สมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย

ภาวะการซื้อขายของตลาด TFEX ปี 2551 และ แนวโน้มปี 2552

ปี 2551 นับว่าธุรกิจการซื้อขายตลาดตราสาร

อนุพันธ์ (TFEX) มีการเติบโตต่อเนื่อง และอยู่ในระดับที่น่า

พอใจ หากเปรียบเทียบกับที่มีการเปิดตลาดตราสารอนุพันธ์

ครั้งแรก เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2549 ทั้งนี้พบว่านักลงทุน

สถาบันทั้งในประเทศ และต่างประเทศ รวมถึงนักลงทุนทั่วไป

ให้ความสนใจเข้ามาซื้อขายเพิ่มขึ้นตามลำดับ โดยหาก

พิจารณามูลค่าการซื้อขายเฉลี่ยต่อวันพบว่าเพิ่มขึ้นราว

32.2%เป็นวันละ 3,812 ล้านบาท (เทียบปี 2550 เฉลี่ย

2,883 ล้านบาท) และเช่นเดียวกับการเปิดสัญญาคงค้าง

(Open Interest) พบว่าเฉลี่ยสูงถึงวันละ 22,131 สัญญา

หรือเพิ่มขึ้น 81.89% (เทียบกับเฉลี่ยวันละ 12,167 สัญญา

ในปี 2550) และทำให้ ณ สิ้นปี 2551 มียอดคงค้างราว

60,048 สัญญา หรือเพิ่มขึ้นราว 106.7% จากสิ้นปี 2550

Page 8: ภาวะการแข่งขัน ปี 2551€¦ · รายงานประจำปี 2551 บริษัทหลักทรัพย์ เอเซีย พลัส

33

2549

217,660

1,236,88420%

21%28%50%

25%

55%

57%

26%

17%

2,148,620

2550 2551

2,500,000

2,000,000

1,500,000

1,000,000

500,000

0

ธุรกรรมการซื้อขาย TFEX ในปี 2549 - 2551

ที่มา : บมจ. ตลาดอนุพันธ์ (ประเทศไทย)

ที่มา : บมจ. ตลาดอนุพันธ์ (ประเทศไทย)

ส่วนแบ่งตลาดของนักลงทุนรายประเภทแบ่งตามปริมาณสัญญาซื้อขาย

สำหรับแนวโน้มตลาดตราสารอนุพันธ์ (TFEX) ใน

ปี 2552 คาดว่ามีแนวโน้มกระเตื้องขึ้นต่อเนื่องจากปี 2551

ทั้งในด้านมูลค่า และสัญญาซื้อขาย เนื่องจากภาวะตลาดหุ้น

ที่ยังคงผันผวน ส่งเสริมให้นักลงทุนสถาบันหันมาใช้ตลาด

ตราสารอนุพันธ์ เพื่อใช้ในการบริหารความเสี่ยงและลด

ความผันผวนผลตอบแทนของกองทุนเพิ่มมากขึ้นตามลำดับ

และคาดว่าสินค้าประเภทสัญญาซื้อขายล่วงหน้ารายตัว

หรือ STOCK FUTURES ซึ่งได้เปิดทำการซื้อขายเมื่อวันที่

24 พฤศจิกายน 2551 โดยอ้างอิงกับหลักทรัพย์ที่มีทุน

จดทะเบียนขนาดใหญ่ และมีสภาพคล่องในการซื้อขาย

ประจำวันสูง 3 หลักทรัพย์ ได้แก่ PTT, PTTEP และ

ADVANC จะมีส่วนช่วยสนับสนุนให้นักลงทุนสถาบันเพิ่ม

ความสนใจในการลงทุนตลาดตราสารอนุพันธ์เพิ่มขึ้นอย่าง

ต่อเนื่อง