Top Banner
316

ไตรสิกขา - pirun.ku.ac.thpirun.ku.ac.th/~fagisrs/sureeporn/trisikha.pdf · ไตรสิกขา เรียกย อๆคือ ศีล-สมาธิ-ป

Aug 26, 2020

Download

Documents

dariahiddleston
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
  • ไตรสกิขา เบื้องตน เพื่อฟนฟูพระพุทธศาสนา และ สนัติภาพสากล

    สพฺพทานํ ธมฺมทานํ ชินาติ

    ----------------------------------------------------------------------------

    ---------------------------------------------------------------------------------------------------------

    ---------------------------------------------------------------------------------------------------------

    ---------------------------------------------------------------------------------------------------------

    ------------------------------------------------------

    -----------------------------------------

    ---------------------------------------------

    [ หนังสือธรรมะ ควรวางในที่พอดูพองาม เปนการเคารพธรรม -เปนสิริมงคลแกตนเอง ]

  • ไตรสิกขา เบื้องตน © สุพจน ทองนพคุณ (รวบรวม/เรียบเรียง)

    ISBN 974-88142-6-2

    พิมพครั้งแรก ธันวาคม ๒๕๔๙ ๖,๐๐๐ เลม

    เปนธรรมทาน นอมเกลานอมกระหมอม ถวายเปนพระราชกุศล

    ในวโรกาสมหามงคล ที่ทรงครองสิริราชสมบัติ ครบ ๖๐ ปฯ

    พิมพที ่ บริษัท พิมพสวย จํากัด

    5/5 ถ.เทศบาลรังสฤษฎเหนือ แขวงลาดยาว

    เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

    โทร. 0-2953-9600

  • ความสําคญัของไตรสิกขา -ใชพัฒนาสถาบันสงฆใหเขมแข็ง ตามพุทธประสงค พระสูตรและอรรถกถา แปล เลมที่ ๓๔ หนา ๔๔๖-๔๗๓ - องัคุตตรนิกาย ติกนิบาต เลม ๑ ภาค ๓

    คัทรภสูตร* ภิกษุไร ไตรสิกขา [จะไมใชภิกษุ] เปรียบเหมือนลาในฝูงโค

    ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ลาเดินตามฝูงโคไป แมจะรองวา ขาฯ เปนโค ขาฯ เปนโค แตสีของมันไมเหมือนโค เสียงก็ไมเหมือน รอยเทาก็ไมเหมือน มันไดแตเดินตามฝูงโค รองไปวา ขาฯ เปนโค ขาฯ เปนโค เทาน้ัน

    ฉันใดก็ดี ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุบางรปูในพระธรรมวินัยน้ี เดินตามหมูภิกษุ แมประกาศไปวา ขา ฯ เปนภิกษุ ขา ฯ เปนภิกษุ แตฉันทะในการสมาทาน อธิสีลสิกขา[ศีล] อธิจิตตสิกขา[สมาธ]ิ และอธิปญญาสิกขา ของภิกษุรูปน้ัน ไมมีเหมือนภิกษุอื่น ๆ [ซึ่งมีไตรสกิขา] ภิกษน้ัุนก็ไดแตเดินตามหมูภิกษุฯ ประกาศไปวา ขาฯ เปนภิกษุ ขาฯ เปนภิกษุ เทาน้ัน ฉันน้ันเหมือนกัน

    เพราะเหตุน้ัน พวกเธอพึงสําเหนียกในขอน้ีวา ฉันทะ[=ความชอบ]ของเราจักมีอยางแรงกลาในการสมาทาน[=รับมาปฏิบัติ] อธิสีลสิกขา อธิจิตตสิกขา และอธิปญญาสิกขา

    ดูกอนภิกษุทั้งหลาย พวกเธอพึงสําเหนียกอยางนี้แล.

    เขตตสตูร กิจเบื้องตนของชาวนาและของภิกษุ

    ดูกอนภิกษุทั้งหลาย บุพกรณียะ (กิจที่ตองทํากอน) ของคฤหบดีชาวนา ๓ น้ี บุพกรณยีะ ๓ คืออะไร คือ คฤหบดีชาวนาไถคราดพื้นนาใหดีกอน ครั้นแลว ปลูกพืชลงในเวลาอันควร ครั้นแลวไขนํ้าเขาบาง ไขน้ําออกบางตามคราว น้ีแล บุพกรณยีะของคฤหบดีชาวนา ๓ ฉันใดกันน่ันเทียว

    ภิกษุทั้งหลาย บพุกรณียะของภิกษุ ๓ น้ี คืออะไร คือ การสมาทาน อธิสีลสิกขา อธิจิตต สิกขา และอธิปญญาสิกขา น้ี บพุกรณียะของภิกษุ ๓

    เพราะเหตุน้ัน พวกเธอพึงสําเหนียก ในขอน้ีวา ฉันทะของเราจักมีอยางแรงกลา ในการสมาทาน อธสิีลสิกขา อธจิิตตสิกขา และอธิปญญาสิกขา ดูกอนภิกษุทั้งหลาย พวกเธอพึงสําเหนียกอยางนี้แล.

    [- คําศัพทที่ยังไมทราบ กรุณาดูในหนังสือ พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท โดย พระธรรมปฎก ป.อ. ปยุตโฺต และ/หรือใน พจนานุกรม มคธ -ไทย โดย พันตรี ป. หลงสมบุญ]

    ----------------------------

    ไตรสิกขา เรียกยอๆคือ ศีล-สมาธ-ิปญญา (ซึ่งตองอิงอาศัยซึ่งกันและกัน ชวยกัน) ไตร คือ ๓ อธิ คือ ยิ่ง สิกขา คือ ศึกษา+ปฏิบัติ อธิสีลสิกขา คือ ศึกษาและปฏิบัติใน ศีลและขอวัตรตางๆ (รวมเรียกวาพระวินัย) สังวรระวังไมให

    ผิด (ตองหรือเปน อาบัต)ิ -ถาสมณธรรมไมกาวหนา ใหทบทวนเรื่องศีลฯ และพยายามสังวรระวงั อธิจิตตสิกขา คือ ศึกษาและปฏิบัติ:- สติ สมาธ ิ ฌานตางๆในแนวพุทธ (เปน“หัวใจ”ของศาสนา) อธิปญญาสิกขา เชน รอบรูในกองสังขาร(กาย-ใจ) ทําใหรูแจงอริยสัจ ๔, เจโตวิมุตติปญญาวิมุตติ ศีลดี สมาธดิี ปญญาดี (ภาวนามยปญญา) วิมุตติ วิมุตติญาณทัศนะ

    *ภิกษุตองมีไตรสิกขา จึงจะสมเปนพระฯ เปนที่พึงทางธรรมใหทั้งตนเองและญาติโยมไดดีที่สุด ความสามัคคใีนหมูสงฆก็จะเปนไปไดงาย (เพราะอยางนอยมีศีลเสมอกัน) - เปนการชวยกันรักษาพระพุทธศาสนา ปฏิบัติบูชาพระสัมมาสัมพุทธเจาที่ทรงตั้งพุทธศาสนาไวให โลกจึงจะสามารถประสบสันตสิุขตามลําดบั เพราะเขาถึงเมตตาและปญญารอบรูตามความเปนจริงและสมควร มีโอกาสไดทั้งประโยชนตน(สุขสงบโดยธรรม หรืออาจไดถึงมรรคผลนิพพาน) และประโยชนทาน(สังคม/ ชุมชนจะเขมแข็ง สันติสุข และเปนการพัฒนาที่ยั่งยืน เพราะมีทั้งความดีและความฉลาดที่พอเพียงโดยธรรม) - ปลอดภัยจากทุคติ อบาย วินิบาต นรก

    การไรไตรสิกขาเปนเหตุใหเกิดสัทธรรมปฏิรูป(=ธรรมปลอมปน)ไดงาย มักตองอาบัติ สรางภัยใหตน ไมเปนที่ตั้งศรัทธาโดยธรรม ไมคุมคาจตุปจจัยไทยธรรมของญาติโยม พระพุทธเจาทรงเตือนวา บริโภคกอนเหล็กที่เผาจนแดงและตายไปยังดีกวา เพราะไมตองไปทรมานยาวนานในทุคติฯ.

  • คําปรารภ

    ในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลเดชฯมหาราช ผูทรงพระคุณอันประเสริฐบําเพ็ญพระราชกรณียกิจนานัปการ ยังสันติสุขใหแกประสกนิกรของพระองค สุดที่จะคณนา ไดทรงครองสิริราชสมบัติ ครบ ๖๐ ป ในพุทธศักราช ๒๕๔๙ และจะทรงเจริญพระชนมพรรษายาง ๘๐ พรรษา ๕ ธนัวาคม พุทธศักราช ๒๕๔๙ น้ี นับวาเปนสมมงคลสมัย ที่คณะผุมีศรัทธาไดรวมกันพิมพหนังสือ “ไตรสิกขา เบื้องตนฯ” ซึ่งจัดพิมพเปนครั้งแรก เปนธรรมทาน จํานวน ๖,๐๐๐ เลม นอมเกลานอมกระหมอม อุทิศถวายเปนพระราชกุศล แสดงความกตัญู-กตเวทิธรรม และขอทรงพระเจริญยิ่งยืนนาน

    ทั้งน้ีดวยความสํานึกในพระมหากรุณาธคิุณที่ทรงเปนพุทธมามกะช้ันผูนําอันยอดเยี่ยม สมดัง

    ประวัติศาสตรชาติไทยที่พระมหากษตัริยไดทรงทะนุบํารุงพระพุทธศาสนาสืบตอกันมา ดวยทรงเห็นคุณคานานัปการ ยกเปนหลักจริยธรรม สันติธรรม และศาสนาประจําชาติ สนับสนุนประชาราษฎรบําเพ็ญกุศลตาม จนพระพุทธศาสนาเจริญมั่นคงในประเทศไทยยิ่งกวาประเทศใดในโลก และดวยพระเมตตาคณุ พระปญญาคุณอันยิ่งใหญซึ่งเปนผลจากคําสอนในพระพุทธศาสนา ทําใหประชาราษฎรทุกหมูเหลา ทุกศาสนาในประเทศไทย อยูรวมกันอยางสันติสุขเปนเวลายาวนาน ยิง่กวาในประเทศใดๆ

    และขอบุญกุศลอันเกิดจากธรรมทานครั้งน้ี ไดแผไปถึงทานทั้งหลายที่ไดทําคุณประโยชนแก

    ประเทศชาติและพระศาสนา บุคลากรทุกทานของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรทั้งในอดีตและปจจุบัน บุพการี ครูอปุชฌาอาจารย ผูมีพระคณุทั้งหลาย ของผูรวมจัดพิมพหนังสือน้ี และสรรพสัตวทั้งหลายทุกภพภูมิ และผูที่เคยลวงเกินกันมา จะดวยกาย วาจา ใจ ก็ตาม ขออโหสิกรรมซึ่งกนัและกัน ณ โอกาสน้ี ขอทุกทานจงอนุโมทนาสวนกุศลน้ี และเมื่อรับอนุโมทนาแลว ทานใดที่ไดทุกข ขอใหคลายหายจากทุกขน้ันโดยพลัน ทานใดที่ไดสุข ขอใหสขุยิ่งๆขึ้นไป จงประสบแตความสุขความเจริญ สมบูรณพูนผลดวยปญญาสัมมาทิฏฐิจงทุกประการ ตราบเทาถึงพระนิพพาน ทุกทาน เทอญ.

    ขอขอบพระคุณ ทายาทของทานอาจารยสุชีพ ปุญญานุภาพ ที่ไดอนุญาตใหนําเรื่องวินัย

    ปฎก (ความยอ) และ เรือ่งขอความนารูในพระไตรปฎก ซึ่งอยูในหนังสือ “พระไตรปฎก ฉบับสําหรับประชาชน” มาเผยแพรเปนธรรมทานในโอกาสนี้

    และหนังสือเลมน้ีสําเร็จลงได ดวยความรวมมือของหลายๆทานที่ชวยกัน ทั้งบริจาคทรัพย

    รวมพิมพเปนธรรมทาน หลายทานชวยพิมพตนฉบับ ตรวจแกคําผิด ใหคําแนะนําเรื่องการใชคอมพิวเตอร (เพราะผูรวบรวมฯมีความรูจํากัดมากเรื่องการใชคอมพิวเตอร) เปนตน รวมทั้งทางโรงพิมพ “พิมพสวย” ก็ไดชวยตรวจและจัดรูปเลมใหดูดีขึ้น ทั้งๆที่มีขอจํากัดมากเกี่ยวกับเรื่องจํานวนหนา

    จึงขออนุโมทนาตอกุศลเจตนาของทุกทาน มา ณ ที่น้ีดวย.

    รายนามผูชวยพิมพคอมพวิเตอร

    รศ. เฉลิมวิไล ช่ืนศรี, คณุหนูคราย ทองนิ่ม, คุณสุรียพร แสงหิรัญ, คุณสริวิัฒนา จิตตรีพล, อัญชฎา โบสุวรรณ, คณุลัดดา วงัศิลาบัตร, คุณบุปผา ฉิมแบน, คุณอัมพร วรรณประภาศลี, คุณอํานาจ เปลี่ยนขํา, คณุวรพงษ ตะมาโน, คุณภัสสร สุหิรญัญวานิช

    รายนามผูรวมตรวจตนฉบับ

    ผศ. สมใจ อรุณศรีโสภณ, คณุลัคนา กนกพันธรางกูร, รศ.ดร. อนงคนาฏ ศรีวิหค, รศ.ดร. สาโรจน ศิริสันสนียกุล, ผศ.ดร. วิรัตน วาณขิยศรีรัตนา

  • คํานํา ขอแนะนํา, ลักษณะ, สาเหตุที่ตองทาํหนังสือไตรสิกขาเบื้องตนฯ เลมนี้

    ๑. ขอใหพยายามอานฯ โปรดอยาทอหรือกังวลกับคําศัพทบาลี เมื่ออานไป ๆ มักจะพบคําแปล/ความหมาย ซึ่งสวนใหญจะใสไวในวงเล็บใหญในหนาแรกๆ หรือตนๆเรื่อง หรือแฝงอยูในเน้ือหา แตถาไมพบคําแปลหรือความหมาย ก็ใหอานผานไป –อานไปกอนแมจะไมรูความหมาย

    เมื่ออานซ้ําและพิจารณา จะพบวา ทุกครั้งที่อาน ความเขาใจ ความรูใหมๆ ยิ่งเพิ่ม

    และเมื่อสะสมความเขาใจฯไปเรื่อยๆจนถึงระดับหนึ่ง จะพบวา เสมือน“ทะลุ”(ความหมายตางๆ) ในเรื่องที่อานฯ. ตื่นตัวตื่นใจกับการศึกษาเรื่องเหลาน้ี. ~ อยาเพิ่งเช่ือ แตใหทดลองทําดู

    *(บทที่ ๓ ซึ่งใชเวลาไปมากที่สุด ในการรวบรวมสาระขอมูลฯ -ควรอานไปฝกฯไป -เปนจุดมุงหมายสําคัญของคณะผูจัดทํา ที่ไมอยากใหทานปลอยใหผานไปเฉย ๆ )

    ๒. ควรฝกสมาธิ สลับ การอาน เชน อานไปแลวพักหนึ่งใหหยุดอาน -หลับตา หายใจสบายๆและนึกคําวา “พุทโธ ๆ ๆ..” (–“รู”คําวา พทุโธ ไวที่ใจ) –วิธีน้ีไดพักตา แกใจลอย/ลืมตัว ขณะอานฯ (–ใจลอย/ลืมตัว เปนการสะสมกิเลส/สะสมทุกขรปูแบบหนึ่ง) ใจลอย/ไมรูสึกตัว/ลืมตัว/ไมรูเน้ือรูตัว/ฟุงซาน เปนอวิชชา ใจจะหมดพลัง/ลาไปเรื่อยๆ – จึงตองรูสึกตัว/รูตัวไปดวยขณะอาน

    หรืออีกนัยหนึ่ง อานไปจิต“รู”คําอานไป (จัดเปน “จิตภาวนา” อยางหนึ่งไปในตัว เพราะเปนการสรางสติ กํากับไปดวย) แลวความเขาใจ/“ปญญา”จะเกิดเพิ่มตามมา -อาจเกินคาด

    *ถาอานแลวเริ่มรูสึก ลา-มึน ก็อยาฝน ใหพักทันที (โดยหลับตา หายใจอยางสบายๆ และใหนึก พุทโธ ๆ..ประสานไปดวยอยางรูสกึตัว -จอ พุทโธ ไวที่จิต (“รู”พุทโธ ไปเรื่อย ๆ) จะรูสึกวาเปนการพักผอนที่สบาย..จิตใจผอนคลาย) หรือลุกไปเดินจงกรม (คือการเดินอยางมีสติฯ -เดินอยางรูเน้ือรูตัว เดินอยางธรรมดาๆก็ไดแตใหมีสติ ไมตองตั้งทาอะไรใหมากมาย) แลวกลับมาอานฯใหม

    หรือ เมื่ออานไปชวงหน่ึง ก็ลองหลับตา แลวนึกทบทวนสาระ/ความเขาใจในเนื้อหาที่อาน ใหรูใหเขาใจใหชัด (-วิธีน้ีเปนวิธีหน่ึงที่ทําใหเรียนหนังสือเกง นําไปแนะลูกหลานใหฝกทําฯ นาจะด)ี

    ๓. ขอใหถอืประโยชนสาระ/เนื้อหาปนสําคัญ (กรุณาปดเรือ่งมาตรฐาน/รูปแบบหนังสือฯ) ๔. สนทนาธรรม ตามกาลที่ควร เปนอุดมมงคล -เชน จัดกลุมสนทนาธรรมฯ และฝกสมาธิ

    ๕. เหตทุี่ตองทําหนังสอืเลมนี้ และมลัีกษณะเชนน้ี (ทั้งๆที่มีขอจํากัดหลายอยาง) :- (๑) เปนหวงศาสนา สงสารพระ/เณร อยากใหมีธรรมปฏิบัติเปนที่พึ่ง และเมื่อไดอาน คัทรภสูตร (อยูหนาหลังพระพุทธรูป) จึงเห็นวามีทางฟนฟูพระศาสนา คือฟนฟู “ไตรสิกขา” ใหได

    [- จะไปโทษพระ/เณร (สวนมากในยุคน้ี) วาไมคอยรักศีลรักธรรม ก็อาจโทษไดไมเต็มที่ -เพราะอาจจะไมมีขอมูลเพียงพออยางเชนในหนังสือเลมน้ีก็ได และคงไมไดรับการกระตุนใหศึกษา+ปฏิบัติ (มหาเถรสมาคม อาจตองมีระเบียบ ใหเจาอาวาสทุกวัด สงเสริม ไตรสิกขา) -ยิ่งพระ/เณรท่ีอยูตามหมูบานหางไกลดวยแลว ยิ่งอาจหางไกลขอมูลเชนที่มีในหนังสือเลมน้ี -มหาเถรสมาคม, สํานักพระพทุธศาสนาแหงชาติ, กรมการศาสนา หรือหนวยงานที่เกี่ยวของ โปรดชวยแกไขดวยเถิด ]

    (๒) หวังวาหนังสือน้ีจะมีสวนสําคญั ชวยฟนฟูสถาบันสงฆใหเขมแข็งดวยไตรสิกขา เพื่อใหพระฯเปนพระฯ ตามพุทธประสงค โดยเฉพาะอยางยิ่ง ฟนภาคปฏิบัติเรื่องจิตภาวนา

    - ถาสถาบันจริยธรรม เชนวัด/โรงเรียน เขาใจ/เขมแข็งดวยทาน-ศีล-ภาวนา: วิกฤตสังคม-ลด, สันติสุขของบานเมือง เปนอันหวังได/ยั่งยืน, อนุชนไดแบบอยางที่ดี, คุณธรรมจะขึน้นําหนาความรู, ทุจริตหมดกําลัง, ศาสนธรรมจะนําหนาศาสนวัตถุ, จึงจะรักษาศาสนาไดถูกตองตามพุทธประสงค

    - ถาสถาบันสงฆเขมแข็งดวยไตรสิกขา ขาวทุศีล ซึ่งสะเทือนใจชาวพุทธอยางยิ่ง ก็จะลด - สถาบันสงฆที่เขมแข็งดวยไตรสิกขา จะเปนกําลังหลักแกปญหาของสังคมประเทศชาติได

    ถึงตนตอของปญหา (ที่กําลังวิกฤตอยางหนักเรื่องปญญาธรรม ความมีเหตุผลโดยธรรม) และจะเกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนไปในตัว -ไดโดยงาย

    (๓) หวงัวาสาระในหนังสือเลมน้ี เปนมิตรแท และผูเขาถึงมิตรเชนน้ี ยอมไดที่พึง่แท อุนใจ กลาหาญ เบิกบาน/ราเริง(ในธรรม) ชีวิต เพิ่มความหมาย/มีความหวัง -ไมวาเหวฯ

    (๔) ถือวา เปนการตอบแทนบุญคุณพระพุทธศาสนาและประเทศชาติ วิธีหน่ึง

  • (๕) หวงัวาจะมีการจัดพิมพเปนธรรมทานครั้งตอๆไป (โดยไมมีการซือ้ขายในเชิงการคา) ที่สุดในทุกกุฏิควรจะมีหนังสือเลมน้ี และจะมีสวนชวยสําคัญใหชาวพุทธที่เปนฆราวาส รูไตรสิกขาฯในลักษณะน้ี มองเห็นภาพรวมของพระพุทธศาสนาไดลึกซึ้งมากขึ้น ซึง่นอกจากจะไดชวยพัฒนาจิตใจ/ธรรมะของตนเองไมใหผิดทาง(=สัทธรรมปฏิรูป)แลว ยังไดชวยกันรักษาพระพทุธศาสนา/คําสอนเดิมแท(เถรวาท)ที่ถูกตอง เปนมรดกธรรมที่พนภัยจากสัทธรรมปฏิรูป ใหอนุชนรุนหลังสืบตอไป

    *ดังน้ัน หากทานใดพบเห็นขอผิดพลาด หรือมขีอสังเกต/คําแนะนําประการใด (โดยเฉพาะอยางยิ่ง การพิมพครั้งแรกนี้ ยอมตองมีที่ผิดพลาด)

    กรุณาแจงดวย ( ถาสะดวก -ขอใหถือวาเอาบุญ) จะขอบพระคณุยิ่ง

    และหากทานใดประสงคจะบําเพ็ญบุญพิเศษโดยชวยแปลเปนภาษาอื่น เชน ลาว เขมร พมา ศรีลังกา ฮินดี (ปจจุบัน ชาวพุทธในอินเดียมีเพิ่มขึ้นมาก) จีน อังกฤษ ฯลฯ และทําเปนซีดีรอม ซึ่งนาจะชวยเผยแพร/รักษาพระพุทธศาสนาไดกวางขวาง ถูกควร และสะดวกยิ่งขึ้น เทากับมีสวนชวยสันติสุข/สันติภาพโลก อีกทางหนึ่ง ก็ขออนุโมทนาอยางยิ่ง ลวงหนา มา ณ ที่น้ี (แตไมควรแกไขขอความฯหรอืสาระโดยพลการ เพราะถาแกฯโดยเขาใจอรรถธรรมผิด -จะเปนบาปกรรมสืบเนื่องที่อาจทําใหผูอานไดความรูไปผิดๆ)

    “..แตหากขอความหรือแนวความคิดใดในหนังสือเลมน้ีผิดพลาด หรือสรางความไมสบายใจใหแกทานผูใด ผูรวบรวมก็ตองขออภัยในความโงเขลา รอบรูนอยเกินไป ของตนดวย.. ”

    (๖) ทานใดประสงคจะพิมพแจกเปนธรรมทาน หรือโดยไมคากําไรจนนารังเกียจ [ซึ่งจะเปนบาปกรรม (คงจะเปนอุปสรรคตอการบรรลุธรรม ทําใหสังสารวัฏฏของตนยาวนานไปอีก -การเกิดทุกครั้งยอมประสบกับทกุขรูปแบบตางๆทุกครั้ง และอาจพลาดสูทุคติได) และถาเอาเงินน้ีไปกินไปใชโดยไมสมควร ทาน(หลวงปูลือ สุขปุญโญ วัดปานาทาม อ.ดอนตาล จ.มุกดาหาร) ปรารภถึงขนาดวา “ขายพระพุทธเจากิน” และหนังสือธรรมะที่ตั้งราคาสูงเกินไป จะเปนอุปสรรคที่จะเผยแพรธรรมฯ] สามารถนําไปพิมพไดเลย (แตถาแจงใหผูรวบรวมทราบกอน ก็จะไดประโยชนในแงหากมีการพมิพผิดพลาดมาแลวในฉบับน้ันๆ -และโปรดคํานึงวา ตัวหนังสือขนาดเล็กเกินไป ผูสูงวัยจะอานลําบาก)

    ทานที่รวมพิมพเปนธรรมทาน ยอมไดอานิสงสผลบุญใหญอยูแลวในตัว ยิ่งเจตนาบริสุทธิ์ยิ่งไดอานิสงสฯมาก (และหากชาติความเกิดของตนยังมีอีก ยอมจะเปนผูที่มีสติปญญาดี รูธรรมเห็นธรรมไดงายขึ้น ฯลฯ) และอานิสงสฯยอมเกิดเพิ่มทุกครั้งที่มีการนําสาระในหนังสือน้ีไปใชประโยชนโดยธรรม ทัง้สวนตัวและสวนรวม

    อน่ึง หากทานมีโอกาสตรวจเทียบกับพระไตรปฎกฉบับเต็ม และท่ีสําคัญยิ่งก็คือไดฝกปฏิบัติในสวนที่เกี่ยวของ ก็นาจะทําใหเกิดความรูความเขาใจสาระทีถู่กตอง มากขึ้นตามลําดับ

    ธมฺโมหเว รกฺขติ ธมฺม จารงิ ธรรมยอมรักษาผูประพฤติธรรม

    นตฺถิ ปฺญา สมาอาภา แสงสวางใดจะเหนือแสงสวางแหงปญญา(ธรรม) ยอมไมม ี

    ดวยความปรารถนาดี และ ขออนุโมทนา มา ณ ทีน้ี่ สุพจน ทองนพคุณ

    ๗ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ ๒๔ ซอย ๑๙ (เบญจขันธ -สุดซอย) ถนนลาดปลาเคา เขตลาดพราว กรุงเทพ ๑๐๒๓๐ โทร. ๐๘๑-๒๕ ๓๔ ๖๗๘, ๐๒-๙๔๐ ๓๗๓๙, โทรสาร ๐๒-๙๔๐ ๓๗๔๐

    หมายเหตุ □ ในเนื้อเรื่องของหนังสือเลมน้ี คําที่อยูในวงเล็บใหญ [-] ไดนํามาจากแหลงขอมูลอื่น

    □ ขอขอบคณุ/ขอบพระคุณ ทานทั้งหลายที่มีสวนชวยประการตางๆ-มากบางนอยบาง ทําใหหนังสือเลมน้ีสําเร็จ ซึง่เช่ือวา จะเปนประโยชนใหญที่จะชวยฟนฟูพระพทุธศาสนา ซึ่งหมายถึงไดชวยฟนฟูสันติสุข/สันติภาพ ซึ่งไมเฉพาะสวนตน ประเทศชาติ แตไดถึงระดับสากล ดวยหลักธรรมอันเปนความจริง ที่พรอมที่จะชวนเชิญใหพิสูจนไดเสมอ ดวยการศึกษา-พิจารณา-และฝกปฏิบัติตาม แนวพุทธ คือ บําเพ็ญ ทาน๓, ศีล๕ หรือศีลตามฐานานุรูป (เชน ฆราวาส สามเณร ภิกษุ), สติ, สมาธิ, ปญญา ผลที่ไดก็คือ ความสงบรมเย็น ความสุข ความเจริญ ตามลําดับ จนถึงมรรคผลนิพพาน

    ซึ่งถาปฏิบัติฯใหพอเพียง ดวยพลังของ สติ ปญญา ศรัทธา ความเพียร -ก็ยอมไดผลฯจริง.

  • สารบัญ หนา (น)

    คํานํา (- ขอแนะนํา, ความเปนมา และมูลเหตุของการทําหนังสือเลมน้ี) บทที่ ๑ วินัยปฎก (ยอความ) (น. ๑-๑๒๙) พระไตรปฎก เลมที่ ๑ ช่ือมหาวิภังค (เปนวินัยปฎก) (น. ๑)

    หมวดใหญ ๆ ใหช่ือวากัณฑ รวมทั้งสิ้น ๗ กัณฑ :- - เวรัญชกัณฑ (พระสาริบุตรกราบทูลใหทรงบัญญัติสิกขาบท), (น. ๒)

    - ปาราชิก ๔ สิกขาบท - [ปาราชิก แปลวา ผูพายแพ] (น. ๓) หาม :- (๑)เสพเมถุน, (๒)ลักทรัพย, (๓)ฆาคนหรือใชคนอื่นฆา, (๔)อวดคณุพิเศษท่ีไมมีในตน] ; มหาโจร ๕ ประเภท (น. ๘); อาบัติ ๗ กอง

    - สังฆาทเิสส ๑๓ สิกขาบท - [สังฆาทิเสส แปลวา อาบัติอันจําตองปรารถนาสงฆ ] (น. ๙) หาม :- (๑)ทํานํ้าอสุจิใหเคล่ือน, (๒)จับตองกายหญิง, (๓)พูดเกี้ยวหญิง, (๔)พดูลอหญิงใหบําเรอตนดวยกาม, (๕)ชักสื่อ, (๖)สรางกุฎีดวยการขอ, (๗)สรางวิหารใหญโดยสงฆมิไดกําหนดที่, (๘)โจทอาบัติปาราชิกไมมีมูล, (๙)อางเลส(=แสดงอาการใหรูในที หรือเพื่อใสความ)โจทอาบัติ, (๑๐)ทําสงฆใหแตกกัน, (๑๑)เปนพรรคพวกของผูทําสงฆใหแตกกัน, (๑๒)เปนคนวายากสอนยาก, (๑๓)ประทุษรายสกลุ คือประจบคฤหัสถ

    - อนิยต ๒ สิกขาบท - (อาบัติอันไมแนวา จะควรปรับในขอไหน) (น. ๑๕) หาม :- (๑)น่ังในที่ลับตากับหญิงสองตอสอง, (๒)น่ังในที่ลับหูกับหญิงสองตอสอง)

    พระไตรปฎก เลมที่ ๒ ช่ือมหาวิภังค (เปนวินัยปฎก) [วิภังค=การจําแนก] (น.๑๖) -นิสสคัคิยปาจิตตีย ๓๐ สิกขาบท (ตองสละสิ่งของกอนจึงจะแสดงอาบัติตก) (น. ๑๖) -จีวรวรรค (วรรควาดวยจีวร) ๑๐ สิกขาบท (น. ๑๖) หาม :- (๑)เก็บจีวรที่เกินจําเปนไวเกิน ๑๐ วัน, (๒)อยูปราศจากไตรจีวรแมคืนหนึ่ง, (๓)เก็บผาที่จะทําจีวรไวเกินกําหนด, (๔)ใชนางภิกษุณีซักผา, (๕)รับจีวรจากมือของนางภิกษุณี,ขอจีวรตอคฤหัสถที่มิใชญาติ, (๖)ขอจีวรตอคฤหัสถที่มิใชญาติ, (๗)รับจีวรเกินกําหนด เมื่อจีวรถูกชิงหรือหายไป, (๘)พูดใหเขาซื้อจีวรที่ดี ๆ กวาที่เขากําหนดไวเดิมถวาย, (๙)พดูใหเขารวมกันซื้อจีวรที่ดี ๆถวาย, (๑๐)ทวงจีวรเอาแกคนที่รับฝากผูอื่น เพื่อซื้อจีวรถวายเกินกวา ๓ ครั้ง

    -โกสิยวรรค (วรรควาดวยไหม) ๑๐ สิกขาบท [ มีเรื่องเก่ียวกับเงินทองดวย ] (น. ๑๘) หาม :- (๑)หลอเครื่องปูน่ังเจือดวยไหม, (๒)หลอเครื่องปูน่ังดวยขนเจียมดําลวน, (๓)ใชขนเจียมดําเกิน ๒ สวนใน ๔ สวน เมื่อหลอเครื่องปูน่ัง, (๔)หลอเครื่องปูน่ังใหม เมื่อยังใชของเกาไมถึง ๖ ป, (๕)ใหตัดของเกาปนลงในของใหม, (๖)นําขนเจียมไปดวยตนเองเกิน ๓ โยชน, (๗)ใชนางภิกษุณีที่ไมใชญาติทําความสะอาดขนเจียม, (๘)รับทองเงิน ยินดีทอง เงิน ที่เขาเก็บไวเพื่อตน, (๙)ทําการซื้อขายดวยรูปยะ, (๑๐)ซื้อขายโดยใชของแลก

    -ปตตวรรค (วรรควาดวยบาตร) ๑๐ สิกขาบท [ มีเรื่องเกี่ยวกับจีวรดวย ] (น. ๒๐) หาม :- (๑)เก็บบาตรเกิน ๑ ลูกไวเกิน ๑๐ วัน, (๒)ขอบาตรเมื่อบาตรเปนแผลไมเกิน ๕ แหง, (๓)เก็บเภสชั ๕ ไวเกิน ๗ วัน, (๔)แสวงและทําผาอาบน้ําฝนเกินกําหนด, (๕)ใหจีวรภิกษุอื่นแลว หามชิงคืนในภายหลัง, (๖)ขอดายเอามาทอเปนจีวร, (๗)ไปกําหนดใหชางหูกทอใหดีขึ้น, (๘)เก็บผาจํานําพรรษาไวเกินกําหนด, (๙)ภิกษอุยูปาเก็บจีวรไวในบานเกิน ๖ คืน, (๑๐)นอมลาภสงฆมาเพื่อตน

    - ปาจิตตีย ๙๒ (แปลวา การละเมิดที่ยังกุศลใหตก -ไมมีเง่ือนไขใหสละสิ่งของกอนฯ) (น. ๒๑) ๑. มุสาวาทวรรค วรรควาดวยการพูดปด ๑๐ สิกขาบท (น. ๒๑)

    หาม :- (๑)พูดปด, (๒)ดา, (๓)พูดสอเสียด, (๔)กลาวธรรมพรอมกบัผูไมไดบวชในขณะสอน, (๕)นอนรวมกับอนุปสัมบันเกิน ๓ คืน, (๖)นอนรวมกับผูหญิง, (๗)แสดงธรรมสองตอสองกับผูหญิง, (๘)บอกคุณวิเศษท่ีมีจริงแกผูมิไดบวช, (๙)บอกอาบัติช่ัวหยาบของภิกษุแกผูมิไดบวช, (๑๐)ขุดดินหรือใชใหขุด,

    ๒. ภูตคามวรรค วรรควาดวยพืชพันธุไม ๑๐ สิกขาบท (น. ๒๓) (๑)หามทําลายตนไม, (๒)หามพูดเฉไฉเมื่อถูกสอบสวน, (๓)หามติเตียนภิกษุผูทําการสงฆโดยชอบ, (๔)หามทิ้งเตียงตั่งของสงฆไวกลางแจง, (๕)หามปลอยที่นอนไว ไมเก็บงํา, (๖)หามนอน

  • (๙)

    แทรกภิกษุผูเขาไปอยูกอน,(๗) หามฉดุคราภิกษุออกจากวิหารของสงฆ, (๘)หามนั่งนอนทับเตียงหรือตั่งที่อยูช้ันบน, (๙)หามพอกหลังคาวิหารเกิน ๓ ช้ัน, (๑๐)หามเอาน้ํามีสัตวรดหญาหรือดิน,

    ๓. โอวาทวรรค วรรควาดวยการใหโอวาท ๑๐ สิกขาบท (น. ๒๔) (๑)หามสอนนางภิกษุณีเมื่อมิไดรับมอบหมาย, (๒)หามสอนนางภิกษุณีตั้งแตอาทิตยตกแลว, (๓)หามไปสอนนางภิกษุณีถึงที่อยู, (๔)หามติเตียนภิกษุอื่นวาสอนนางภิกษุณีเพราะเหน็แกลาภ, (๕)หามใหจีวรแกนางภิกษุณีผูมิใชญาติ, (๖)หามเย็บจีวรใหนางภิกษุณีผูมิใชญาติ, (๗)หามเดินทางไกลรวมกับนางภิกษุณี, (๘)หามชวนนางภิกษุณีเดินทางรวมเรือดวยกัน, (๙)หามฉันอาหารที่นางภิกษุณีไปแนะใหเขาถวาย, (๑๐)หามนั่งในที่ลับสองตอสองกับนางภิกษุณี, ๔. โภชนวรรค วรรควาดวยการฉันอาหาร ๑๐ สิกขาบท (น. ๒๖) (๑)หามฉันอาหารในโรงพักเดินทางเกิน ๑ มื้อ, (๒)หามฉนัอาหารในโรงพักเดินทางเกิน ๑ มื้อ, (๓)หามรับนิมนตแลวไปฉันอาหารที่อื่น, (๔)หามรบับิณฑบาตเกิน ๓ บาตร, (๕)หามฉันอีกเมื่อฉันในท่ีนิมนตเสร็จแลว, (๖)หามพูดใหภิกษุที่ฉันแลวฉันอีกเพื่อจับผิด, (๗)หามฉันอาหารในเวลาวิกาล, (๘)หามฉนัอาหารที่เก็บไวคางคืน, หามขออาหารประณีตมาเพื่อฉันเอง, (๑๐)หามฉันอาหารที่มิไดรับประเคน,

    ๕. อเจลกวรรค วรรควาดวยชีเปลือย ๑๐ สิกขาบท (น. ๒๗) (๑)หาม ยื่นอาหารดวยมอืใหชีเปลือยและนักบวชอื่น ๆ, (๒)หาม ชวนภิกษุไปบิณฑบาตดวยแลวไลกลับ, (๓)หาม เขาไปแทรกแซงในสกุลที่มีคน ๒ คน, (๔)หาม น่ังในที่ลับมีที่กําบังกับมาตุคาม, (๕)หาม น่ังในที่ลับ (หู) สองตอสองกับมาตุคาม, (๖)หาม รับนิมนตแลวไปที่อื่นไมบอกลา, (๗)หาม ขอของเกินกําหนดเวลาที่เขาอนุญาตไว, (๘)หาม ไปดูกองทัพที่ยกไป, (๙)หาม พักอยูในกองทัพเกิน ๓ คืน, (๑๐)หาม ดูเขารบกัน เปนตน เมื่อไปในกองทัพ

    ๖. สุราปานวรรค วรรควาดวยการดืม่สุรา ๑๐ สกิขาบท (น. ๒๙) (๑)หาม ดื่มสุราเมรัย, (๒)หาม จ้ีภิกษุ, (๓)หาม วายน้ําเลน, (๔)หาม แสดงความไมเอื้อเฟอในวินัย, (๕)หาม หลอกภิกษุใหกลัว, (๖)หาม ติดไฟเพื่อผิง, (๗)หาม อาบน้ําบอย ๆ เวนแตมีเหตุ, (๘)ใหทําเครื่องหมายเครื่องนุงหม, (๙)วิกัปจีวรไวแลว จะใช ตองถอนกอน, (๑๐)หามเลนซอนบริขารของภิกษุอื่น,

    ๗. สัปปาณกวรรค วรรควาดวยสตัวมีชีวิต ม ี๑๐ สิกขาบท (น. ๓๐) (๑)หามฆาสตัว, (๒)หามใชนํ้ามีตัวสัตว, (๓)หามรื้อฟนอธิกรณที่ชําระเปนธรรมแลว, (๔)หามปกปดอาบัติช่ัวหยาบของภิกษุอื่น, (๕)หามบวชบุคคลอายุไมถึง ๒๐, (๖)หามชวนพอคาผูหนีภาษี [โจร] เดินทางรวมกัน, (๗)หามชวนผูหญิงเดินทางรวมกัน, (๘)หามกลาวตูพระธรรมวินัย, (๙)หามคบภิกษุผูกลาวตูพระธรรมวนัิย, (๑๐)หามคบสามเณรผูกลาวตูพระธรรมวินัย,

    ๘. สหธัมมิกวรรค วรรควาดวยการวากลาวถูกตองตามธรรม มี ๑๒ สกิขาบท (น. ๓๒) (๑)หามพูดไถลเมื่อทําผิดแลว, (๒)หามกลาวติเตียนสิกขาบท, (๓)หามพูดแกตัววา เพิ่งรูวามีในปาฏิโมกข, (๔)หามทํารายรางกายภิกษุ, (๕)หามเง้ือมือจะทํารายภิกษุ, (๖)หามโจทภิกษุดวยอาบัติสังฆาทิเสสไมมีมูล, (๗)หามกอความรําคาญแกภิกษุอื่น, (๘)หามแอบฟงความของภิกษุผูทะเลาะกัน, (๙)ใหฉันทะแลวหามพูดติเตียน, (๑๐)ขณะกําลังประชุมสงฆ หามลุกไปโดยไมใหฉันทะ, (๑๑)รวมกับสงฆใหจีวรแกภิกษุแลว หามติเตียนภายหลัง, (๑๒)หามนอมลาภสงฆมาเพื่อบุคคล,

    ๙. รตนวรรค วรรควาดวยนางแกว (พระราชเทวี) มี ๑๐ สิกขาบท (น. ๓๓) (๑)หามเขาไปในตําหนักของพระราชา, (๒)หามเก็บของมีคาที่ตกอยู, (๓)จะเขาบานในเวลาวิกาล ตองบอกลาภิกษุกอน, (๔)หามทํากลองเข็มดวยกระดูก, งา, เขาสัตว, (๕)หามทําเตียงตั่งมีเทาสูงกวาประมาณ,

    (๖)หามใหทําเตียงตั่งหุมดวยนุน, (๗)หามทําผาปูน่ังมีขนาดเกินประมาณ, (๘)หามทําผาปดฝมีขนาดเกินประมาณ, (๙)หามทําผาอาบน้ําฝนมีขนาดเกินประมาณ, (๑๐)หามทําจีวรมีขนาดเกินประมาณ,

    -ปาฏิเทสนียกัณฑ (วาดวยอาบัติปาฏิเทสนียะ คือ ที่พึงแสดงคืน) มี ๔ สิกขาบท (น. ๓๕) (๑)หามรับของเคี้ยวของฉันจากมือนางภิกษุณีมาฉัน, (๒)ใหไลนางภิกษุณีที่มายุงใหเขาถวายอาหาร, (๓)หามรับอาหารในสกุลที่สงฆสมมตวิาเปนเสขะ, (๔)หามรบัอาหารที่เขาไมไดจัดไวกอนเมื่ออยูปา,

    - เสขิยกณัฑ (วาดวยวัตรและจรรยามารยาทที่ภิกษุจะตองศึกษา) (น. ๓๕) (๑) สารูป (หมวดวาดวยความเหมาะสมแกสมณเพศ) มี ๒๖ สิกขาบท (น. ๓๖)

  • (๑๐)

    ๑ นุงใหเปนปริมณฑล, ๒ หมใหเปนปริมณฑล, ๓ ปกปดกายดวยดี ไปในบาน, ๔ ปกปดกายดวยดี น่ังในบาน, ๕ สํารวมดวยดี ไปในบาน, ๖ สํารวมดวยดี น่ังในบาน, ๗ มีตาทอดลง ไปในบาน, ๘ มีตาทอดลง น่ังในบาน, ๙ ไมเวิกผา ไปในบาน, ๑๐ ไมเวิกผา น่ังในบาน,

    ๑๑ ไมหัวเราะดัง ไปในบาน, ๑๒ ไมหัวเราะดัง น่ังในบาน, ๑๓ ไมพูดเสยีงดัง ไปในบาน, ๑๔ ไมพูดเสยีงดัง น่ังในบาน, ๑๕ ไมโคลงกาย ไปในบาน, ๑๖ ไมโคลงกาย น่ังในบาน, ๑๗ ไมไกวแขน ไปในบาน, ๑๘ ไมไกวแขน น่ังในบาน, ๑๙ ไมไกวแขน ไปในบาน, ๒๐ ไมสั่นศีรษะ น่ังในบาน,

    ๒๑ ไมเอามือค้ํากาย ไปในบาน, ๒๒ ไมเอามือค้ํากาย น่ังในบาน ๒๓ ไมเอาผาคลุมศีรษะ ไปในบาน, ๒๔ ไมเอาผาคลุมศีรษะ น่ังในบาน, ๒๕ ไมเดินกระโหยงเทา ไปในบาน, ๒๖ ไมน่ังรัดเขา ในบาน,

    (๒) โภชนปฏิสังยุต (หมวดวาดวยการฉันอาหาร) มี ๓๐ สกิขาบท (น. ๓๖) ๑ รับบิณฑบาตโดยเคารพ. ๒ แลดูแตในบาตร รับบิณฑบาต. ๓ รับบิณฑบาตพอสมสวนกับแกง. ๔ รับบิณฑบาตพอสมเสมอขอบปากบาตร. ๕ ฉันบิณฑบาตโดยเคารพ. ๖ แลดูแตในบาตร ฉันบิณฑบาต. ๗ ฉันบิณฑบาต ไมขยุมแตยอดลงไป. ๘ ฉันบิณฑบาตพอสมสวนกับแกง. ๙ ฉันบิณฑบาต ไมขยุมแตยอดลงไป. ๑๐ ไมเอาขาวสุกปดแกงและกับดวยหวังจะไดมาก. ๑๑ ไมเจ็บไข จักไมขอแกงหรือขาวสกุเพื่อประโยชนแกตนมาฉัน. ๑๒ ไมมองดูบาตรของผูอื่นดวยคิดจะยกโทษ [เพงโทษ]. ๑๓ ไมทําคําขาวใหใหญเกินไป. ๑๔ ทําคําขาวใหกลมกลอม. ๑๕ ไมอาปากในเมื่อคําขาวยังไมมาถึง. ๑๖ ไมเอามือทั้งมือใสปากในขณะฉัน. ๑๗ ไมพูดทั้งที่ปากยังมีคําขาว. ๑๘ ไมไมฉันกัดคําขาว. ๒๐ ไมฉันทํากระพุงแกมใหตุย. ๒๑ ไมฉันพลางสะบัดมือพลาง. ๒๒ ไมฉันโปรยเมล็ดขาว. ๒๓ ไมฉันแลบลิ้น. ๒๔ ไมฉันดังจับ ๆ. ๒๕ ไมฉันดังซูด ๆ. ๒๖ ไมฉันเลียมือ. ๒๗ ไมฉันเลียบาตร. ๒๘ ไมฉันเลียริมฝปาก. ๒๙ ไมเอามือเปอนจับภาชนะน้ํา. ๓๐ ไมเอานํ้าลางบาตรมีเมล็ดขาวเทลงในบาน.

    (๓) ธัมมเทสนาปฏิสังยุต (หมวดวาดวยการแสดงธรรม) ม ี๑๖ สิกขาบท (น. ๓๗) ๑ ไมแสดงธรรมแกคนไมเปนไขที่มีรมในมือ. ๒, ๓ ไมแสดงธรรมแกคนไมเปนไขที่มีศัสตรา (ของมีคม) ในมือ. ๔ ไมแสดงธรรมแกคนไมเปนไขที่มีอาวุธ (ของซัดไปหรือยิงไปได) ในมือ. ๕ ไมแสดงธรรมแกคนไมเปนไขที่สวมเขียงเทา (รองเทาไม). ๖ ไมแสดงธรรมแกคนไมเปนไขที่วมรองเทา. ๗ ไมแสดงธรรมแกคนไมเปนไขที่ไปในยาน. ๘ ไมแสดงธรรมแกคนไมเปนไขที่อยูบนที่นอน. ๙ ไมแสดงธรรมแกคนไมเปนไขที่น่ังรัดเขา. ๑๐ ไมแสดงธรรมแกคนไมเปนไขที่โพกศีรษะ. ๑๑ ไมแสดงธรรมแกคนไมเปนไขที่คลุมศีรษะ. ๑๒ น่ังอยูบนแผนดิน จักไมแสดงธรรมแกคนไมเปนไขที่น่ังอยูบนอาสนะ. ๑๓ น่ังอยูบนอาสนะต่ํา จักไมแสดงธรรมแกคนไมเปนไขที่น่ังบนอาสนะสูง. ๑๔ ยืนอยู จักไมแสดงธรรมแกคนไมเปนไขที่น่ังอยู. ๑๕ เดินไปขางหลัง จักไมแสดงธรรมแกคนไมเปนไขที่เดินไปขางหนา. ๑๖ เดินไปนอกทาง จักไมแสดงธรรมแกคนไมเปนไขที่ไปในทาง.

    (๔) ปกิณณกะ (หมวดเบ็ดเตล็ด) มี ๓ สิกขาบท (น. ๓๘) ๑ ไมเปนไข จักไมยืนถายอุจจาระ ปสสาวะ. ๒ ไมถายอุจจาระ ปสสาวะ หรือบวนน้ําลายลงในของเขียว (พชืพันธุไม). ๓ ไมเปนไข จักไมถายอุจจาระ ปสสาวะ หรือบวนน้ําลายลงในน้ํา.

    (๕) ธรรมสาํหรับระงับอธิกรณ ๗ อยาง (น. ๓๘) ๑. สัมมขุาวนัิย การระงับอธิกรณ ในที่พรอมหนา (บุคคล, วัตถุ, ธรรม). ๒. สติวินัย การระงับอธิกรณ ดวยยกใหวาพระอรหันตเปนผูมีสติ. ๓. อมูฬหวินัย การระงับอธิกรณดวยการยกประโยชนใหในขณะเปนบา. ๔. ปฏิญญาตกรณะ การระงับอธิกรณดวยถือตามคํารับของจําเลย. ๕. เยภุยยสกิา การระงับอธิกรณดวยถือเสียงขางมากเปนประมาณ. ๖. ตัสสปาปยสิกา การระงับอธิกรณดวยการลงโทษแกผูผิด. ๗. ตณิวัตถารกะ การระงับอธิกรณดวยใหประนีประนอมหรือเลิกแลวกันไป.

  • (๑๑)

    พระไตรปฎก เลมที่ ๓ ช่ือ ภิกขุนีวิภังค (เปนวินัยปฎก) –ศีล/สิกขาบท ของนางภิกษุณี (น. ๓๙)

    พระไตรปฎกเลมที่ ๔ ช่ือ มหาวรรค (เปนวินัยปฎก) (น. ๖๐) ๑. มหาขันธกะ (หมวดใหญ) เหตุการณตั้งแตตรัสรู (น. ๖๐)

    ทรงโตตอบกับพราหมณที่ชอบตวาดคน, ทรงเปลงอุทานที่ตนจิก, เหตุการณที่ตนเกตก, เสด็จกลับไปท่ีตนไทรอีก, พระพรหม มาอาราธนา, ทรงแสดงธรรมครัง้แรก(ปฐมเทศนา), ธมัมจักกัปปวัตตนสูตร, มัชฌิมาปฏิปทา, ทรงแสดงอนันตลักขณสูตร, ภิกษุปญจวัคคียไดเปนพระอรหันต, แสดงธรรมโปรด ยสกุลบุตรกับครอบครัว, อุบาสก อุบาสิกา ชุดแรก, ทรงสงพระสาวกไปประกาศพระศาสนา, ทรงอนุญาตการบรรพชาอุปสมบท, ตรสัเรื่องความหลุดพนอยางยอดเยี่ยม, โปรดสหาย(ภัททวัคคียกุมาร ๓๐ คน, โปรดชฎิล ๓ พี่นองและบริวาร (อุรุเวลากัสสป นทีกัสสป และคยากัสสป), ทรงแสดงปาฏิหาริย, ทรงแสดงอาทิตตปริยายสูตร, โปรดพระเจา พิมพิสาร, สาริบุตร โมคคัลลานะ ออกบวช, ทรงอนุญาตใหมีอุปชฌายะ, ทรงบัญญัติอุปชฌายวัตร, ทรงปรับอาบัติ, อนุญาตใหประณามและขอขมา, ทรงอนุญาตการบวชเปนการสงฆ, ผูบวชเพราะเห็นแกทอง, ทรงอนุญาตใหมีอาจารย, การประณาม, การขอขมา, การยกโทษ, ขอปฏิบัตติอผูเคยเปนเดียรถีย, หามบวชใหคนเปนโรค ๕ ชนิด, หามบวชใหขาราชการ, หามบวชใหโจรท่ีมีช่ือ, หามบวชโจรที่ทําลายเครื่องพันธนาการ, หามบวชบุคคลที่ไมสมควรอื่นอีก, ใหบอกสงฆ เมื่อจะโกนศีรษะคนบวช, หามบวชผูมีอายุยังไมครบ ๒๐, ขอหามเกี่ยวกับสามเณร, ผอนผันเรื่องการถือนิสสัย, พระราหลุบวชเปนสามเณร, การลงโทษสามเณร, หามชวนสามเณรของภิกษุอื่นไปอยูดวย, การใหสามเณรสกึ, บุคคลที่หามบวชอื่น ๆ อีก, ลักษณะที่ไมควรใหอุปสมบท (บวชเปนพระ) อีก ๒๐ ประเภท, ลักษณะที่ไมควรใหบรรพชา (เปนสามเณร) ๓๒ ประเภท, ขอกําหนดเรื่องใหนิสสัยเพิ่มเติม, ขอกําหนดเรื่องการอุปสมบท, ขอบญัญัติในพิธีกรรมอุปสมบท, การปฏิบัตติอภิกษุผูทําผิด,

    ๒. อุโบสถขันธกะ (หมวดวาดวยอุโบสถ) (น. ๗๓) การสวดปาฏิโมกขเปนอุโบสถกรรม ขอกําหนดเพิ่มเติมเกี่ยวกับปาฏิโมกข

    ๓. วัสสูปนายิกาขันธกะ (หมวดวันเขาพรรษา) (น. ๗๖) ทรงอนุญาตใหไปกลับภายใน ๗ วัน(สัตตาหกรณยี) ขาดพรรษาที่ไมตองอาบัติ ทรงอนุญาตการจําพรรษาในที่บางแหง ทรงหามจําพรรษาในที่ไมสมควร ขอหามอื่น ๆ

    ๔.ปวารณาขันธกะ (หมวดปวารณา) (น. ๗๘)

    พระไตรปฎก เลมที่ ๕ ช่ือมหาวัคค (เปนวินัยปฎก) (น. ๗๙) ๑. จัมมขันธกะ (หมวดวาดวยหนัง) (น. ๗๙)

    ทรงอนุญาตรองเทาใบไม ทรงหามรองเทาที่ไมควร ขออนุญาตและขอหามเกี่ยวกับรองเทา ขอหามเกี่ยวกับโคตัวเมีย ขอหามเก่ียวกับยาน ขอหามเกี่ยวกับที่น่ังที่นอน หามสรวมรองเทาเขาบาน พระโสณกุฏิกัณณะ ขออนุญาตสําหรับชนบทชายแดน ๒. เภสัชชขันธกะ (หมวดวาดวยยา) (น. ๘๑) ทรงอนุญาตเภสัช ๕ และอื่น ๆ ทรงหามเก็บเภสัช ๕ ไวเกนิ ๗ วัน ทรงอนุญาตของฉันบางอยาง หามเก็บอาหารคางคืนในท่ีอยู เปนตน ทรงอนุญาต เรื่องการฉันหลายขอ ทรงหามทําการผาตัด หรือผูกรัดที่ทวารหนัก ทรงหามฉันเน้ือที่ไมควร (น. ๘๔) ทรงอนุญาตและไมอนุญาตของฉันบางอยาง เสด็จแสดงธรรมที่ปาฏลิคามและโกฏิคาม นางอัมพปาลี ถวายปามะมวง สีหเสนาบดี เปลี่ยนศาสนา ทรงถอนขออนุญาต สําหรับยามขาวยาก ทรงอนุญาตที่เก็บอาหาร ทรงแสดงธรรมโปรด เมณฑกคฤหบดี ทรงอนุญาตตามที่ เมณฑกคฤหบดีขอรอง ทรงอนุญาตน้ําอัฏฐบาน (นํ้าดื่ม ๘ อยาง) (น. ๘๕) ทรงอนุญาต ผักและของเคี้ยวที่ทําดวยแปง ทรงหามและทรงอนุญาตอื่นอีก ทรงแนะขอตัดสิน

    ๓. กฐินขันธกะ (หมวดวาดวยกฐิน) (น. ๘๖) อานิสงส ๕ ของภิกษุผูไดกราลกฐิน ทรงใหสวดประกาศกฐิน ทรงแสดงเรื่องกฐินเปนอันกราล และไมเปนอันกราล ขอกําหนดในการเดาะกฐิน

    ๔. จีวรขันธกะ (หมวดวาดวยจีวร) -[และกําเนิด หมอชีวกโกมารภัจจ] (น. ๘๗) ทรงอนุญาต เจาหนาที่เกี่ยวกับจีวร ทรงอนุญาต สียอมและวธิีการเกี่ยวกับจีวร ทรงอนุญาต วิธีตัดจีวร ทรงอนุญาต คําขอ ๘ ประการ ของนางวิสาขา ทรงอนุญาตผาอื่น ๆ ทรงอนุญาตและหาม เกี่ยวกับจีวรอีก พระพุทธเจาทรงพยาบาลภิกษุอาพาธ การเปลือยกาย และการใชผา ทรงหามใชจีวรที่มีสีไมควร และหามใชเสื้อ หมวก ผาโพก ทรงวางหลักเกี่ยวกับจีวรอีก

  • (๑๒)

    ๕. จัมเปยยขันธกะ (หมวดวาดวย เหตุการณในกรุงจัมปา) (น. ๘๙) การทํากรรมที่ไมเปนธรรม และท่ีเปนธรรม ตัชชนียกรรม (ขมขู) นิยสกรรม (ถอดยศหรือตัดสิทธิ) ปพพาชนียกรรม (ขับไล) ปฏิสารณยีกรรม (ขอโทษคฤหัสถ)

    ๖. โกสัมพขิันธกะ (หมวดวาดวยเหตุการณในกรุงโกสัมพี) (น. ๙๐)

    พระไตรปฎก เลมที่ ๖ ช่ือจุลลวัคค (วรรคเล็ก) เปนวินัยปฎก (น. ๙๒) ๑. กัมมขันธกะ (หมวดวาดวยสังฆกรรม) (น. ๙๒)

    ลักษณะของผูที่ควรลงตัชชนียกรรม การถูกลงโทษเปนเหตุใหเสียสิทธิตาง ๆ การไมระงับและระงับโทษ พระเสยยสกะกับนิยสกรรม (การถอดยศ) การลงโทษขับไล (ปพพาชนียกรรม) การลงโทษ ใหขอขมาคฤหัสถ (ปฏิสารณียกรรม) พระฉันนะ กับการยกเสียจากหมู (อกุเขปนีย กรรม)

    ๒. ปริวาสิกขันธกะ (หมวดวาดวยผูอยูปริวาส) (น. ๙๕) ตัดสิทธิภิกษุผูอยูปริวาส วัตร ๙๔ ขอของผูอยูปริวาส การเสียราตรี (รตัติเฉท) การเก็บปริวาส และเก็บมานัตต

    ๓. สมุจจยขันธกะ (หมวดวาดวย การรวบรวมเรือ่งการออกจากอาบัติสังฆาทิเสส) (น. ๙๖) ๔. สมถขันธกะ (หมวดวาดวยวิธีระงับอธิกรณ) (น. ๙๗)

    ๑. สัมมขุาวนัิย (การระงับตอหนา) พระทพัพมลัลบุตร ทํางานใหสงฆ ๒. สติวินัย (การระงับดวยยกใหวาเปนผูมีสติ) ๓. อมูฬหวินัย (การระงับดวยยกใหวาเปนบา) ๔. ปฏิญญาตกรณะ (การระงับดวยคําสารภาพของผูถูกฟอง) ๕. เยภุยยสกิา (การระงับดวยถือเสียงขางมาก) ๖. ตัสสปาปยสิกา (การระงับดวยการลงโทษ) ๗. ติณวัตถารกะ (การระงบัดวยใหเลิกแลวกันไป) อธิกรณ ๔

    พระไตรปฎก เลมที่ ๗ ช่ือจุลลวัคค (เปนวินัยปฎก) (น. ๑๐๑) ๑ ขุททกวตัถุขันธกะ (หมวดวาดวยเรื่องเล็ก ๆ นอย ๆ) (น. ๑๐๑)

    เรื่องเกี่ยวกับการอาบน้ํา หามใชเครื่องประดับแบบคฤหัสถ หามใชเครื่องประดับแบบคฤหัสถ หามดูฟอนรําและหามขับดวยเสียงอันยาว หามใชผาขนเเกะ ขอหามและอนุญาตเกี่ยวกับผลไม ตรัสสอนใหแผเมตตา หามตัดองคชาต ขอหามและอนุญาตเกี่ยวกับบาตร ทรงอนุญาตมีดและเข็ม ทรงอนุญาตและหามเกี่ยวกับไมแบบหรือสดึง ทรงอนุญาตถุงใสของ สายคลองบา ผากรองน้ํา และมุง ทรงอนุญาตการจงกรมและเรือนไฟ เปนตน เรื่องที่น่ัง ที่นอน และท่ีใสอาหาร หามฉันอาหาร ดื่มนํ้าในภาชนะเดียวกัน เปนตน การลงโทษคว่ําบาตรแกวัฑฒะลิจฉวี เรื่องผาขาวที่ไมใหเหยียบและเหยียบได นางวิสาขาถวายของใช ทรงอนุญาตและหามใชรม ทรงหามและอนุญาตไมคาน สาแหรก เรื่องอาเจียนและเมล็ดขาว ทรงอนุญาตมีดตัดเล็บ เปนตน เรือ่งผมและหนวดเครา เครื่องใชเบ็ดเตล็ด เครื่องใชที่เปนผา เรื่องหาบหาม การเคี้ยวไมสีฟน หามจุดปา และขึ้นตนไม หามยกพทุธวจนะขึ้นโดยฉันท หามเรียนหามสอน โลกายตะ และติรัจฉานวิชชา หามถือโชคลาง แตไมขัดใจคนอื่น หามฉันกระเทียม ทรงอนุญาตที่ถายปสสาวะอุจจาระ ทรงหามประพฤติอนาจาร ทรงอนุญาตเครื่องใช

    ๒ . เสนาสนขันธกะ ( หมวดวาดวยที่อยูอาศัย) (น. ๑๐๘) ทรงอนุญาตที่อยู ๕ ชนิด เครื่องน่ังเครื่องนอน หลังคา อนาถปณฑิกคฤหบดี นับถือพระพุทธศาสนา ตั้งภิกษุผูควบคุมการกอสราง ลําดบัอาวุโส บุคคลผูไมควรไหว ๑๐ ประเภท บุคคลผูควรไหว ๓ ประเภท มณฑปที่สรางอุทิศสงฆ ที่น่ังตางชนิดของคฤหัสถ การถวายเชตวนาราม ปญหาลําดับอาวุโสเพิ่มเติม การจัดสรรที่อยูอาศัย การนั่งต่ําน่ังสูง ปราสาทและเครื่องน่ังนอนตาง ๆ ปญหาเรื่องที่อยูอาศัยเกิดขึ้นอีก สิ่ง[ของสงฆ]ที่จะสละ ( ใหใคร ๆ ) ไมได ๕ หมวด การควบคุมการกอสราง การขนยายของใชและรักษาที่อยูอาศัย อาหารและการแจกอาหาร เจาหนาที่ทําการสงฆอื่น ๆ

    ๓ สังฆเภทขันธกะ (หมวดวาดวยสงฆแตกกัน) (น. ๑๑๒) พระเทวทัตคิดการใหญ พระเทวทัตขอปกครองคณะสงฆ ตรัสใหขออนุมัติสงฆประกาศเรื่องพระเทวทัต พระเทวทัตยุใหขบถ การประทุษรายพระพุทธเจาครั้งแรก การประทุษรายครั้งที่ ๒ การประทุษรายครั้งที่ ๓ พระเทวทัตเสนอขอปฏิบัติ ๕ ขอ ทําสงฆใหแตกกัน

  • (๑๓)

    พระเทวทัตอาเจียนเปนโลหิต ความราวและความแตกกันของสงฆ ใครทําใหสงฆแตกกันไดและไมได เหตุเปนเครื่องทําใหสงฆแตกกันและสามัคคีกัน การทําสงฆใหแตกกันที่ทําใหไปอบายและไมไปอบาย

    ๔. วัตตขันธกะ ( หมวดวาดวยวัตรหรือขอปฎิบัติ) [วัตร ๑๔] (น. ๑๑๔)

    (๑) อาคันตกุวัตร ( ขอปฏิบัติของผูมา) (๒) อาวาสิกวัตร ( ขอปฏิบัติของภิกษุเจาถิ่น ) (๓) คมิกวัตร ( ขอปฏิบัตขิองภิกษุผูจะเดินทางจากไป) (๔) ภัตตัคควัตร ( วัตรในโรงฉัน) (๕) ปณฑจาริกวัตร ( วัตรของภิกษุผูเที่ยวบิณฑบาต) (๖) อรัญญกวัตร (วัตรของภิกษุผูอยูปา)

    (๗) เสนาสนวัตร (วัตรเกีย่วกับที่อยูอาศัย) (๘) ชันตาฆรวัตร (วัตรในเรือนไฟ) (๙) วัจจกุฏิวตัร (วัตรเกี่ยวกับสวม) (๑๐) อุปชฌายวัตร ( วัตรเกี่ยวกับอุปชฌายะ) (๑๑) สัทธิวหิาริกวัตร ( ขอปฏิบัติตอสัทธิวิหาริก) (๑๒) อาจริยวัตร ( ขอปฏิบัติตออาจารย) (๑๓) อันเตวาสิกวัตร ( ขอปฏิบตัิตออันเตวาสิก หรือศิษย)

    ๕. ปาฏิโมกขฐปนขันธกะ (หมวดวาดวยการงดสวดปาฏิโมกข ) (น. ๑๑๙) ตอจากนั้นไมทรงแสดงปาฏิโมกขอีก การโจทฟอง

    ๖. ภิกขุนีขนัธกะ (หมวดวาดวยนางภิกษุณี ) (น. ๑๒๐) ทรงอนุญาตการบวชภิกษุณ ี การศึกษาสิกขาบท ลักษณะตัดสินธรรมวนัิย ๘ ประการ เรื่องเกี่ยวกับปาฏิโมกขและสังฆกรรม การลงโทษภิกษุ ดวยการไมไหว การลงโทษนางภิกษุณี การใหโอวาทนางภิกษุณี ขอหามเบ็ดเตล็ด

    ๗. ปญจสติกขันธกะ (หมวดวาดวยพระอรหันต ๕๐๐ รูป ในการทําสังคายนาครั้งที่ ๑ ) การสังคายนาครั้งที่ ๑ การถอนสิกขาบทเล็กนอย พระอานนทถูกปรับอาบัติ พระปรุาณะไมคาน แตถือตามที่ฟงมาเอง ลงพรหมทัณฑพระฉันนะ

    ๘. สัตตสตกิขันธกะ (หมวดวาดวยพระอรหันต ๗๐๐ รูป ในการสังคายนาครั้งที่ ๒ ) วัตถุ ๑๐ ประการ พระยสะ กากัณฏกบุตร คัดคาน การสังคายนาครั้งที่ ๒

    พระไตรปฎก เลมที่ ๘ ช่ือปริวาร (เปนวินัยปฏก) (น. ๑๒๕) (เปนเลมสุดทายของวินัยปฎก ประมวลความสําคัญที่นารูตาง ๆ ยอนไปกลาวถึงพระไตรปฎก ตั้งแตเลมที่ ๑ ถึงเลมที่ ๗ ที่กลาวมาแลว มี ๒๑ หัวขอใหญ)

    สวนหนึ่งของพระไตรปฎก เลมที่ ๙ (เปนสุตตันตปฏก) (น. ๑๒๗) [สีลสัมปทา - การเจริญศีล]

    จุลศีล(ศีลอยางเล็กนอย) มัชฌิมศลี(ศีลอยางกลาง) มหาศีล(ศีลอยางใหญ)

    บทที่ ๒ ขอความนารูจากพระไตรปฎก (๘๖ หนา) (น. ๑๓๐-๒๑๕) (สารบัญของบทที่ ๒ มีในหนา ๑๓๐-๑๓๒ รวม ๒๒๖ หัวขอ)

    บทที่ ๓ การปฏิบัติธรรม (เนน กรรมฐาน/ภาวนา) (๔๒ หนา) (น. ๒๑๖-๒๕๗) สวนที่ ๑ หลักวิชา (น. ๒๑๖-๒๓๙)

    ▪ปริยัติ-ปฏิบัติ-ปฏิเวธ (น.๒๑๖) ▪แนวปฏิบัติ ๔ แบบ: (น. ๒๑๙) (-ปฏิปทา๔ )

    ▪ วิธีภาวนาที่ปลอดภัยและงายวิธีหน่ึง, (น. ๒๒๐) ▪ วิธีที่ลัดสั้น คือมุงไปที่จิต, (น. ๒๒๐) ▪ ทาน-ศีล-ภาวนา, (น. ๒๒๒) ▪ ภิกขุสูตร, (น. ๒๒๖)

    ▪ นันทสูตร, (น. ๒๒๖) ▪วิธี/คําสอน ขอ�