Top Banner
การสํารวจความคิดเห็นของประชาชน ที่มีตอการบริหารงานของรัฐบาล เมื่อบริหารงานครบ 3 เดือน .. 2552 สํานักงานสถิติแหงชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร http://www.nso.go.th
110

หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

Sep 08, 2020

Download

Documents

dariahiddleston
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

การสํารวจความคิดเห็นของประชาชน ที่มีตอการบริหารงานของรัฐบาล เมื่อบริหารงานครบ 3 เดือน

พ.ศ. 2552

สํานักงานสถิติแหงชาต ิกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

http://www.nso.go.th

Page 2: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

การสํารวจความคิดเห็นของประชาชน ที่มีตอการบริหารงานของรัฐบาล เมื่อบริหารงานครบ 3 เดือน

พ.ศ. 2552

หนวยงานเจาของเรื่อง กลุมสถิติเพ่ือติดตามและประเมินนโยบายภาครัฐ 2 สํานักสถิติสาธารณมติ สํานักงานสถติิแหงชาต ิ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โทรศัพท 0 2281 0333 ตอ 1703 โทรสาร 0 2282 1122 ไปรษณียอิเล็กทรอนกิส E-mail : [email protected]

Page 3: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

เผยแพรโดย สํานักสถิติพยากรณ สํานักงานสถติิแหงชาต ิ ถนนหลานหลวง เขตปอมปราบศัตรูพาย กทม. 10100 โทร. 0 2281 0333 ตอ 1210 , 1211 โทรสาร 0 2281 3814 ไปรษณียอิเล็กทรอนกิส [email protected] ปทีพ่ิมพ 2552

Page 4: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

คํานํา

ตามที ่ รัฐบาลชุดปจจุบันนําโดยนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี ไดเขามาบริหารประเทศ ครบ 3 เดือน ในเดือนมีนาคม 2552 นั้น สํานกังานสถิติแหงชาติ ในฐานะหนวยงานกลางที่มีหนาที่ในการจัดทําสํามะโนและสํารวจขอมูลเพื่อสนับสนุนการบริหารประเทศ จึงไดดําเนินการสํารวจความคิดเห็นของประชาชนที่มีตอการบรหิารงานของรัฐบาลที่ไดบริหารประเทศ และกาํหนดนโยบายในการแกไขปญหาตางๆ ในชวง 3 เดือน ที่ผานมา เพื่อเปนขอมูลในระดับภาค และทั่วประเทศ ใหรัฐบาลและหนวยงานที่เกีย่วของนําไปใชเปนแนวทางในการติดตาม ประเมนิผล และกําหนดแนวทางการบริหารประเทศตอไป

Page 5: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

ตามที่ รัฐบาลนําโดยนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี ไดเขามาบริหารประเทศ และแถลงนโยบายตอรัฐสภา เมื่อวันที่ 29 ธันวาคม 2551 โดยรัฐบาลจะบริหารงานครบ 3 เดือน ในเดือนมีนาคม 2552 นั้น ในการนี้ สํานักงานสถิติแหงชาติ จึงไดดําเนินการสํารวจความคิดเห็นของประชาชนที ่ม ีต อการบริหารงานของรัฐบาลที่ไดบริหารประเทศ และกําหนดนโยบายในการแกไขปญหาตางๆ ในชวง 3 เดือน ท่ีผานมา เพื่อติดตามการบริหารงานของรัฐบาล ความพึงพอใจ รวมทั้งสิทธิ์ หรือประโยชนท่ีครัวเรือนไดรับจากนโยบายตางๆ ของรัฐบาล ตลอดจนความเชื่อมั่นของประชาชนที่มีตอรัฐบาล ในการแกไขปญหาดานเศรษฐกิจ รวมทั้งขอคิดเห็น/ขอเสนอแนะ เพื่อเปนขอมูลใหรัฐบาลและหนวยงาน ท่ีเกี่ยวของ นําไปใชในการต ิดตาม ประเมินผล และกําหนดแนวทางการบริหารประเทศตอไป โดยไดทําการสํารวจระหวางวันที่ 1 – 20 เมษายน 2552 จากประชาชนอายุ 18 ปขึ้นไป ท่ัวประเทศ จํานวนทั้งสิ้น 7,800 ราย สรุปผลการสํารวจที่สําคัญๆ

1. การติดตามการบริหารงานของรัฐบาล ประชาชนรอยละ 82.8 ระบุ ว าติดตามการปฏิบัติงานฯ (โดยผูติดตามฯ เปนประจํามีรอยละ 22.5 และติดตามฯ เปนบางครั้งมีรอยละ 60.3) มีเพียงรอยละ 17.2 ท่ีระบุวาไมไดติดตามฯ สําหรับการติดตามรายการ “เชื่อมั่นประเทศไทยกับนายกฯ อภิสิทธิ์” นั้น มีรายละเอียด ดังนี้ ตาราง 1 การติดตามรายการ “เชื่อมั่นประเทศไทยกับ

นายกฯ อภิสิทธิ์” ของประชาชน เปนรายภาค การติดตามรายการฯ

ทั่ว ประเทศ กทม. ภาค

กลาง ภาค เหนือ

ภาค ตอน.

ภาค ใต

รวม 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

• ติดตาม 45.2 51.1 49.5 40.8 37.2 58.7 � เปนประจํา 7.5 9.3 9.2 6.4 4.3 12.5 � เปนบางคร้ัง 37.7 41.8 40.3 34.4 32.9 46.2

• ไมติดตาม 54.8 48.9 50.5 59.2 62.8 41.3

โดยผู ท่ีติดตามรายการฯ สวนใหญติดตามจากสื่อโทรทัศนมากกวาแหลงขอมูลอื่น

นอกจากนั้นประชาชนรอยละ 29.1 ไดใหขอคิดเห็น/ขอเสนอแนะที่มีตอรายการฯ “เชือ่มั่นประเทศไทยกับนายกฯ อภิสิทธิ์” ดังนี้ ตาราง 2 ขอคิดเห็น/ขอเสนอแนะของประชาชนตอรายการฯ

ขอคิดเห็น/ขอเสนอแนะ รอยละ รวม 100.0 • ผูแสดงความคิดเห็น 1/ 29.1

� ควรปรับเพิ่มเวลาการนําเสนอรายการ 26.5 � ควรปรับเพิ่มเน้ือหาสาระใหเขมขน 24.4 � ควรชี้แจงขอมูลดานเศรษฐกิจ การตางประเทศ และดานการศึกษา

13.1

� ควรมีคูสนทนาสอบถาม/แสดงความคิดเห็นรวมดวย 11.7 � ควรชี้แจงนโยบายในการชวยเหลือเกษตรกร และการเพิ่มคาครองชีพของประชาชน

10.3

� ควรมคีวามเปนกลางในการนําเสนอขอมูลกับประชาชน 6.9

� เวลาออกอากาศไมเหมาะสม 4.1

� ควรมีการประชาสัมพันธใหทั่วถึง 3.4

� ควรถายทอดทางสถานีโทรทัศนทุกชอง 3.1 • ผูไมแสดงความคิดเห็น 70.9

หมายเหตุ : 1/ ตอบไดมากกวา 1 คําตอบ

2. การทราบนโยบายของรัฐบาล นโยบายของรัฐบาลที่ประชาชนระบุวาทราบ มีดังนี้

บทสรุปสําหรับผูบริหาร

การสํารวจความคิดเหน็ของประชาชนที่มีตอการบริหารงานของรัฐบาล เมื่อบริหารงานครบ 3 เดอืน พ.ศ. 2552

แผนภูมิ1 นโยบายของรัฐบาลที่ประชาชนทราบ

0 20 40

นโยบาย

80 60

นมโรงเรียน

การใหเบี้ยยังชีพกับผูสูงอายุ

รอยละ 51.8

61.0

61.8 62.2

65.3 66.0

100

92.0

96.8

92.2

90.9

91.9

การสนับสนุนการเรียนฟรี

การจัดสรรเงิน 2,000 บาท

5 มาตรการ 6 เดือน การจัดสรรเงินคาตอบแทนให

อสม. การเพิ่มคาครองชีพใหกํานันฯ

การกูเงินจากตางประเทศ

การเพิ่มภาษีเหลา-บหุร่ี

ชุมชนพอเพียง

การฝกอบรมแรงงาน

Page 6: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

แผนภูมิ 2 นโยบาย 5 มาตรการ 6 เดือนที่ครัวเรือนไดรับประโยชน

0 20 40

นโยบาย

80 60

การใชรถไฟชั้น 3 ไมปรับอากาศฟรี

การชะลอการปรับราคา กาซหุงตม (LPG)

การใชน้ําประปาของครัวเรือนฟรี 30 ลบ.ม./ด.

การใชรถโดยสารไมปรับ อากาศฟรีในเขตกทม.และ

ปริมณฑล

การใชไฟฟาของครัวเรือน ฟรี 90 หนวย/เดือน

รอยละ

75.0

ประชาชนที่ทราบนโยบายตางๆ ของรัฐบาลไดใหความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องตาง ๆ ดังนี้

2.1 การมีสิทธิ์/ไดรับประโยชนจากนโยบายของรัฐบาล

ครัวเรือนที่มีสมาชิกในครัวเรือนระบุวามีสิทธิ์ หรือไดรับประโยชนจากนโยบายของรัฐบาล มีดังนี้ ตาราง 3 ครัวเรือนที่มีสมาชิกในครัวเรือนมี/ไมมีสิทธิ์จาก

นโยบายตาง ๆของรัฐบาล ครัวเรอืนที่มีสมาชกิในครัวเรอืน

นโยบาย รวม

มีสิทธิ์และไดใชสิทธิ์

มีสิทธิ์แตไมไดใชสิทธิ์

ไมมีสิทธิ์

ไมแนใจ/ไมทราบ

1. การสนับสนุนการเรียนฟรี 100.0 53.9 2.3 40.7 3.1

2. การใหเบี้ยยังชีพกับผูสูงอายุ

100.0 38.1 2.3 57.7 1.9

3. การจัดสรรเงิน 2,000 บาท 100.0 35.8 3.4 59.9 0.9

4. การฝกอบรมแรงงาน

100.0 4.3 7.7 80.5 7.5

สําหรับนโยบาย 5 มาตรการ 6 เดือนมีครัวเรือนรอยละ 69.0 ระบุวาไดรับประโยชนจากนโยบายดังกลาว รอยละ 31.0 ระบุวาไมไดรับประโยชน โดยครัวเรือนที่ไดรับประโยชนระบุวามาตรการที่ไดรับประโยชนมากที่สุด ดังนี้

2.2 ความพึงพอใจที่มีตอนโยบายของรัฐบาล

ประชาชนมีความพึงพอใจตอนโยบายของรัฐบาล ดังนี้

นอกจากนั้นยังมีกลุมครัวเรือนตาง ๆ แสดงความพึงพอใจตอนโยบายของรัฐบาล ดังนี้ ตาราง 4 ความพึงพอใจของกลุมครัวเรือนตาง ๆ ท่ีมีตอ

นโยบายของรัฐบาล

นโยบาย/กลุมครวัเรือนตาง ๆ รวม พอใจ ไมพอใจ

1. การสนับสนุนการเรียนฟรี 100.0 98.2 1.8

o กลุมครัวเรือนที่มีสิทธ์ิและไดใชสิทธ์ิ 100.0 98.8 1.2 o กลุมครัวเรือนที่มีสิทธ์ิแตไมไดใชสิทธ์ิ 100.0 91.9 8.1

o กลุมครัวเรือนที่ไมมีสิทธ์ิ 100.0 97.9 2.1

2. การใหเบี้ยยังชีพกับผูสูงอาย ุ 100.0 98.1 1.9

o กลุมครัวเรือนที่มีสิทธ์ิและไดใชสิทธ์ิ 100.0 99.1 0.9

o กลุมครัวเรือนที่มีสิทธ์ิแตไมไดใชสิทธ์ิ 100.0 90.4 9.6

o กลุมครัวเรือนที่ไมมีสิทธ์ิ 100.0 97.9 2.1

3. การจัดสรรเงิน 2,000 บาท 100.0 87.6 12.4

o กลุมครัวเรือนที่มีสิทธ์ิและไดใชสิทธ์ิ 100.0 94.7 5.3

o กลุมครัวเรือนที่มีสิทธ์ิแตไมไดใชสิทธ์ิ 100.0 83.7 16.3

o กลุมครัวเรือนที่ไมมีสิทธ์ิ 100.0 83.5 16.5

30.9

19.3

9.9

2.6

ไดรับประโยชนเฉลี่ย 172.35 บาท

ไดรับประโยชนเฉลี่ย 148.42 บาท

ไดรับประโยชนเฉลี่ย 270.61 บาท

ไดรับประโยชนเฉลี่ย 192.42 บาท

แผนภูมิ 3 นโยบายตาง ๆของรัฐบาลที่ประชาชน/ครัวเรือน มีความพึงพอใจ

0 20 40

นโยบาย

80 60

การเพิ่มคาครองชีพใหกํานัน ผูใหญบาน ฯ

นมโรงเรียน

5 มาตรการ 6 เดือน

การสนับสนุนการเรียนฟรี

การจัดสรรเงิน 2,000 บาท รอยละ

100

96.4

94.9

97.3

97.0

87.6

98.2

การใหเบี้ยยังชีพกับผูสูงอายุ

98.1

การจัดสรรคาตอบแทนให อสม.

Page 7: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

ตาราง 4 ความพึงพอใจของกลุมครัวเรือนตาง ๆ ท่ีมีตอนโยบายของรัฐบาล (ตอ)

นโยบาย/กลุมครวัเรือนตาง ๆ รวม พอใจ ไมพอใจ

4. 5 มาตรการ 6 เดือน 100.0 96.4 3.6 o กลุมครัวเรือนที่ไดรับประโยชน 100.0 98.2 1.8 o กลุมครัวเรือนที่ไมไดรับประโยชน 100.0 92.4 7.6

5. การจัดสรรคาตอบแทนให อสม. 100.0 97.3 2.7 o กลุมครัวเรือนที่มีคนในครัวเรือนเปน อสม. 100.0 97.2 2.8

o กลุมครัวเรือนที่ไมมีคนในครัวเรือนเปน อสม. 100.0 97.3 2.7

6. การเพิ่มคาครองชีพใหกํานันฯ 100.0 94.9 5.1 o กลุมครัวเรือนที่มีคนในครัวเรือนเปนกํานันฯ 100.0 96.5 3.5

o กลุมครัวเรือนที่ไมมีคนในครัวเรือนเปนกํานันฯ 100.0 94.6 5.4

7. นมโรงเรียน 100.0 97.0 3.0 o กลุมครัวเรือนที่มีบุตร/หลานศึกษาอยูฯ

100.0 97.7 2.3

o กลุมครัวเรือนที่ไมมีบุตร/หลานศึกษาอยูฯ

100.0 96.0 4.0

2.3 ความคิดเห็นที่มีตอนโยบายของรัฐบาล ประชาชนมีความคิดเห็นตอนโยบายของรัฐบาล ดังนี้

ตาราง 5 ความคิดเห็นของกลุมครัวเรือนตาง ๆ ท่ีมีตอนโยบายของรัฐบาล

นโยบาย/กลุมครัวเรือนตาง ๆ รวม เห็นดวย ไมเห็นดวย

1. การใหเบี้ยยังชพีกับผูสูงอาย ุ 100.0 98.9 1.1 o กลุมครัวเรือนที่มีสิทธ์ิและไดใชสิทธ์ิ 100.0 99.5 0.5

o กลุมครัวเรือนที่มีสิทธ์ิแตไมไดใชสิทธ์ิ 100.0 95.9 4.1

o กลุมครัวเรือนที่ไมมีสิทธ์ิ 100.0 98.7 1.3

2. การสนับสนุนการเรียนฟรี 100.0 97.9 2.1 o กลุมครัวเรือนที่มีสิทธ์ิและไดใชสิทธ์ิ 100.0 98.4 1.6

o กลุมครัวเรือนที่มีสิทธ์ิแตไมไดใชสิทธ์ิ 100.0 92.4 7.6

o กลุมครัวเรือนที่ไมมีสิทธ์ิ 100.0 97.7 2.3 3. การฝกอบรมแรงงาน 100.0 96.4 3.6

o กลุมครัวเรือนที่มีสิทธ์ิและไดใชสิทธ์ิ

100.0 97.6 2.4

o กลุมครัวเรือนที่มีสิทธ์ิแตไมไดใชสิทธ์ิ

100.0 94.5 5.5

o กลุมครัวเรือนที่ไมมีสิทธ์ิ 100.0 96.5 3.5 4. การจัดสรรเงิน 2,000 บาท 100.0 83.0 17.0

o กลุมครัวเรือนที่มีสิทธ์ิและไดใชสิทธ์ิ 100.0 90.7 9.3

o กลุมครัวเรือนที่มีสิทธ์ิแตไมไดใชสิทธ์ิ 100.0 84.1 15.9

o กลุมครัวเรือนที่ไมมีสิทธ์ิ 100.0 78.3 21.7 5. นมโรงเรียน 100.0 97.9 2.1

o กลุมครัวเรือนที่มีบุตร/หลานศึกษาอยูฯ

100.0 98.7 1.3

o กลุมครัวเรือนที่ไมมีบุตร/หลานศึกษาอยูฯ

100.0 96.8 3.2

6. การจัดสรรคาตอบแทนให อสม. 100.0 96.3 3.7 o กลุมครัวเรือนที่มีคนในครัวเรือนเปน อสม.

100.0 98.2 1.8

o กลุมครัวเรือนที่ไมมีคนในครัวเรือนเปน อสม.

100.0 95.8 4.2

7. การเพิ่มภาษีเหลา – บุหรี่ 100.0 75.7 24.3

o กลุมครัวเรือนที่มีคนในครัวเรือนดื่มเหลา – สูบบุหรี

100.0 72.2 27.8

o กลุมครัวเรือนที่ไมมีคนในครัวเรือนดื่มเหลา – สูบบุหรี

100.0 83.7 16.3

แผนภูมิ 4 ความคิดเห็นของประชาชนที่เห็นดวยตอนโยบายตาง ๆ ของรัฐบาล

0 20 40

การเพิ่มภาษีเหลา-บุหร่ี

80 60

การกูเงินจากตางประเทศ

นมโรงเรียน

การจัดสรรคาตอบแทนให อสม.

การใหเบี้ยยังชีพกับผูสูงอายุ

ชุมชนพอเพียง

การฝกอบรมแรงงาน

การสนับสนุนการเรียนฟรี

การจัดสรรเงิน 2,000 บาท

รอยละ 100

96.4

97.7

96.3

97.9

97.9

98.9

45.2

83.0

75.7

นโยบาย

Page 8: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

3. ความคิดเห็นตอการบริหารงานของรัฐบาล

3.1 ความพึงพอใจตอการบริหารงานของรัฐบาล

ตาราง 6 ความพึงพอใจของประชาชนตอการบริหารงานของ รัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชวีะ นายกรฐัมนตร ี เปนรายภาค

ความพึงพอใจ

ทั่ว ประเทศ กทม. ภาค

กลาง ภาค เหนือ

ภาค ตอน.

ภาค ใต

รวม 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 • พึงพอใจ 93.4 91.4 94.1 96.2 89.8 98.8

� มาก 19.8 16.9 19.3 20.9 9.5 47.5 � ปานกลาง 55.6 54.4 59.5 59.6 54.5 46.3 � นอย 18.0 20.1 15.3 15.7 25.8 5.0

• ไมพึงพอใจ 6.6 8.6 5.9 3.8 10.2 1.2

3.2 ความมั่นใจตอการบริหารงานของรัฐบาล ตาราง 7 ความมั่นใจของประชาชนที่มีตอรัฐบาลในการแกไข

ปญหาดานเศรษฐกิจของประเทศ เปนรายภาค

ความมั่นใจ ทั่ว ประเทศ กทม. ภาค

กลาง ภาค เหนือ

ภาค ตอน.

ภาค ใต

รวม 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

• มีความมั่นใจ 60.6 62.2 63.9 61.4 47.1 85.2 � มาก 12.4 10.4 12.1 11.4 5.1 34.2

� ปานกลาง 38.5 39.9 41.5 39.7 31.7 46.7

� นอย 9.7 11.9 10.3 10.3 10.3 4.3

• ไมมีความมั่นใจ

23.5 24.6 21.4 19.9 33.2 7.6

• ไมแนใจ/ไมทราบ

15.9 13.2 14.7 18.7 19.7 7.2

3.3 ปญหาเรงดวนที่รัฐบาลควรแกไข ประชาชนรอยละ 80.9 ไดแสดงความคิดเห็น และเห็นวาปญหาเรงดวนที่รัฐบาลควรแกไข 5 อันดับแรก ดังนี้ ตาราง 8 ปญหาเรงดวนที่ประชาชนตองการใหรัฐบาลแกไข 5

อันดับแรก ปญหาเรงดวน รอยละ

• เศรษฐกิจการเงินของประเทศ/การสงออก 57.4

• ความขัดแยงของคนในสังคมไทย 36.3

• การวางงาน/การฝกอาชีพ 26.9

• พืชผลทางการเกษตรราคาตกต่ํา 17.6

• การจัดตั้งรัฐบาลที่มีความมั่นคง 14.7

3.4 ขอคิดเห็น/ขอเสนอแนะตอการบริหารงานของรัฐบาล

ประชาชนรอยละ 32.3 ไดแสดงความคิดเห็น และใหขอคิดเห็น/ขอเสนอแนะตอการบริหารงานของรัฐบาล ดังนี ้ตาราง 9 ขอคิดเห็น/ขอเสนอแนะของประชาชน 5 อันดับแรก

ขอคิดเห็น/ขอเสนอแนะ รอยละ • ควรสรางความนาเชื่อถือในการบริหารประเทศ 48.3

• ควรสรางความสมานฉันทใหเกิดข้ึนในสังคม 21.1

• ควรจัดทํานโยบายระยะสั้นเพื่อกระตุนเศรษฐกิจ 9.3

• ควรแกปญหาเร่ืองตาง ๆ ดวยความเสมอภาค 7.7

• ควรแกปญหาผลผลิตทางการเกษตรราคาตกต่ํา 5.3

ในการสํ ารวจครั้ งนี้ ไดสํ ารวจด วยตั วอย างแบบ

Stratified Three-stage Sampling โดยสงเจาหนาที่ของ

สํานักงานสถิติแหงชาติไปสัมภาษณสมาชิกในครัวเรือน

ที่มีอายุ 18 ปขึ ้นไปทั ่วประเทศ ครัวเรือนละ 1 ราย

ไดประชาชนตัวอยางทั้งสิ้นจํานวน 7,800 ราย ระหวาง

วันที่ 1 – 20 เมษายน 2552 และนําเสนอผลในระดับ

กรุงเทพมหานคร ภาค และทั่วประเทศ ในรูปรอยละ โดย

มีผูตอบสัมภาษณ เปนชาย รอยละ 48.0 เปนหญิง รอยละ

52.0 มีอายุระหวาง 18 – 19 ป รอยละ 5.9 20 – 29 ป

รอยละ 17.0 30 – 39 ป รอยละ 23.1 40 – 49 ป

รอยละ 24.7 50 – 59 ป รอยละ 17.8 และ 60 ปขึ้นไป

รอยละ 11.5 การศึกษาต่ํากวาระดับปริญญาตรี รอยละ

81.0 ปริญญาตรีขึ้นไป รอยละ 16.52 ท่ีเหลือเปนผู

ไมไดรับการศึกษา รอยละ 2.5 สถานภาพการทํางาน

เป น เกษตรกร/รับจางทั่วไป/กรรมกร รอยละ 33.2

ขาราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ/เอกชน รอยละ 26.3

คาขาย/ประกอบธุรกิจสวนตัว รอยละ 19.5 นักเรียน/

น ักศ ึกษา ร อยละ 7 .4 และแม บ าน ร อยละ 7 .9

วางงาน/ไมมีงานทํา รอยละ 5.7

Page 9: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

สารบัญ หนา

คํานํา ค บทสรุปสําหรับผูบริหาร ง สารบัญแผนภูมิ ญ สารบัญตาราง ฏ

บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเปนมาและวัตถปุระสงค 1 1.2 คุมรวม 1 1.3 การนําขอมูลไปใชประโยชน 1 1.4 คําอธิบาย 1 1.5 ขอสังเกต 3

บทที่ 2 ระเบียบวธิีสถิติ 2.1 แผนการสุมตัวอยาง 5 2.2 วิธีการเกบ็รวบรวมขอมลู 6 2.3 การนําเสนอผลการสาํรวจ 6

บทที่ 3 สรปุผลการสํารวจ 3.1 การติดตามการบริหารงานของรัฐบาล 7 3.2 ความคิดเหน็ตอนโยบายการจัดสรรเงินคาครองชีพของรฐับาล 10 3.3 ความคิดเหน็ตอนโยบายสนับสนนุการจดัการศึกษาฟรี 15 ป 18 3.4 ความคิดเหน็ตอนโยบายการเพิ่มศักยภาพผูวางงาน เพือ่สรางมูลคา

ทางเศรษฐกิจและสังคมในชมุชน 23 3.5 ความคิดเหน็ตอนโยบายชมุชนพอเพยีง 25 3.6 ความคิดเหน็ตอนโยบายการใหเบี้ยยงัชีพกับผูสูงอาย ุ 26 3.7 ความคิดเหน็ตอนโยบายการลดคาใชจายของประชาชน เชน นโยบาย

5 มาตรการ 6 เดือน 31 3.8 ความคิดเหน็ตอนโยบายการจัดสรรคาตอบแทนอาสาสมัครสาธารณสุข

ประจําหมูบาน (อสม.) 34 3.9 ความคิดเหน็ตอนโยบายนมโรงเรียน 38

Page 10: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

3.10 ความคิดเหน็ตอนโยบายการเพิ่มคาครองชีพกาํนนั ผูใหญบาน แพทยประจําตําบล สารวัตรกํานัน ผูชวยผูใหญบานฝายปกครอง และผูชวยผูใหญบานฝายรักษาความสงบ 41

3.11 ความคิดเหน็ตอนโยบายการกูเงินจากตางประเทศ 45 3.12 ความคิดเหน็ตอนโยบายการเพิ่มภาษีเหลา - บุหร่ี 46 3.13 ความคิดเหน็ตอการบริหารงานของรัฐบาล 48

ตารางสถิติ สารบัญตารางสถิติ 55

Page 11: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

สารบัญแผนภูมิ หนา

แผนภูมิ 1 รอยละของประชาชน จาํแนกตามการทราบนโยบายการจัดสรรเงินคาครองชีพของรัฐบาล และภาค

10

แผนภูมิ 2 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบายการจดัสรรเงนิคาครองชพีของรฐับาล จาํแนกตามระดับความพงึพอใจตอนโยบายการจัดสรรเงินฯ

11

แผนภูมิ 3 รอยละของประชาชน จําแนกตามการทราบนโยบายสนบัสนุนการจัดการศึกษาฟรี 15 ปและภาค

18

แผนภูมิ 4 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบายการเพิ่มศักยภาพผูวางงาน จาํแนกตามความคิดเห็นตอการดําเนนินโยบายฯ ตอไปอีก และภาค

24

แผนภูมิ 5 รอยละของประชาชน จาํแนกตามการทราบนโยบายชมุชนพอเพยีง และภาค 25 แผนภูมิ 6 รอยละของประชาชน จําแนกตามการทราบนโยบายการใหเบี้ยยงัชพีกบั

ผูสูงอาย ุ และภาค

26

Page 12: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

สารบัญตาราง หนา ตาราง 1 รอยละของประชาชน จําแนกตามระดับการติดตามการปฏิบัติงาน/การนําเสนอผล

การปฏิบัติงานของรัฐบาลภายใตการนําของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี และภาค

7 ตาราง 2 รอยละของประชาชน จําแนกตามระดับการติดตามรายการ “เชื่อมัน่ประเทศไทย

กับนายกฯ อภิสิทธิ”์ และภาค

8 ตาราง 3 รอยละของประชาชนที่ติดตามรายการ “เชื่อมั่นประเทศไทยกับนายกฯ อภิสิทธิ”์

จําแนกตามแหลงขอมูลที่ติดตามรายการฯ และภาค

8 ตาราง 4 รอยละของประชาชนที่ติดตามรายการ “ เชื่อมั่นประเทศไทยกับนายกฯ อภิสิทธิ์ ”

จําแนกตาม ขอคิดเห็น/ขอเสนอแนะตอรายการ

9 ตาราง 5 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบายการจดัสรรเงนิคาครองชพีของรฐับาล จาํแนกตาม

ครัวเรือนที่มีสมาชิกในครัวเรอืนมี/ไมมีสิทธิจ์ากนโยบายการจัดสรรเงินฯ และภาค

11 ตาราง 6 รอยละของประชาชนที่ทราบนโยบายการจัดสรรเงินคาครองชีพของรัฐบาล จําแนกตาม

ระดับความพงึพอใจตอนโยบายการจัดสรรเงินฯ และภาค

12 ตาราง 7 รอยละของประชาชนที่ทราบนโยบายการจัดสรรเงินคาครองชีพของรัฐบาล จําแนกตาม

ระดับความพงึพอใจตอนโยบายการจัดสรรเงินคาครองชพีของรัฐบาล และกลุมครัวเรือนที่มีสมาชิกในครัวเรอืนมีสิทธิ์/ไมมสิีทธิ ์

13 ตาราง 8 รอยละของประชาชนที่ทราบนโยบายการจัดสรรเงินคาครองชีพของรัฐบาล จําแนกตาม

ความคิดเหน็ตอการดําเนนินโยบายการจดัสรรเงินฯ ตอไปอีก และภาค

14 ตาราง 9 รอยละของประชาชนที่ทราบนโยบายการจัดสรรเงินคาครองชีพของรัฐบาล จําแนกตาม

ความคิดเหน็ตอการดําเนนินโยบายการจดัสรรเงินคาครองชพีของรัฐบาลตอไปอีก และกลุมครัวเรือนที่มีสมาชิกในครัวเรือนมีสิทธิ/์ไมมีสิทธิ์

14 ตาราง 10 รอยละของประชาชนที่ทราบนโยบายการจัดสรรเงินคาครองชีพของรัฐบาล จําแนกตาม

ขอคิดเห็น/ขอเสนอแนะนโยบายการจัดสรรเงินฯ ในดานการจายเงนิ และภาค

15 ตาราง 11 รอยละของประชาชนที่ทราบนโยบายการจัดสรรเงินคาครองชีพของรัฐบาล จําแนกตาม

ขอคิดเห็น/ขอเสนอแนะนโยบายการจัดสรรเงินฯ ในดานจํานวนเงนิ และภาค

16 ตาราง 12 รอยละของประชาชนที่ทราบนโยบายการจดัสรรเงินคาครองชีพของรัฐบาล จําแนกตาม

ขอคิดเห็น/ขอเสนอแนะนโยบายการจัดสรรเงินฯ ในดานอื่นๆ และภาค

17

Page 13: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

สารบัญตาราง (ตอ) หนา ตาราง 13 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบายสนบัสนุนการจัดการศึกษาฟรี 15 ป จาํแนกตาม

ครัวเรือนที่มีสมาชิกในครัวเรอืนมี/ไมมีสิทธิจ์ากนโยบายสนับสนนุการจดัการศึกษาฯ และภาค

19 ตาราง 14 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบายสนบัสนุนการจัดการศึกษาฟรี 15 ป จาํแนกตาม

ระดับความพงึพอใจตอนโยบายฯ และภาค

20 ตาราง 15 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบายสนบัสนุนการจัดการศึกษาฟรี 15 ป จาํแนกตาม

ระดับความพงึพอใจตอนโยบายสนับสนนุการจัดการศึกษาฟร ี15 ป และกลุมครัวเรอืนที่มีสมาชิกในครัวเรือนมีสิทธิ์/ไมมีสิทธิ ์

20 ตาราง 16 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบายสนบัสนุนการจัดการศึกษาฟรี 15 ป จาํแนกตาม

ความคิดเหน็ตอการดําเนนินโยบายฯ และภาค

21 ตาราง 17 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบายสนบัสนุนการจัดการศึกษาฟรี 15 ป จาํแนกตาม

ความคิดเหน็ตอการดําเนนินโยบายสนับสนุนการจัดการศึกษาฟรี 15 ป และกลุมครัวเรือนที่มีสมาชิกในครวัเรอืนมีสิทธิ์/ไมมสิีทธิ ์

21 ตาราง 18 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบายสนบัสนุนการจัดการศึกษาฟรี 15 ป จําแนกตาม

ขอคิดเห็น/ขอเสนอแนะจากนโยบายฯ และภาค

22 ตาราง 19 รอยละของประชาชน จาํแนกตามการทราบนโยบายการเพิ่มศักยภาพผูวางงาน และภาค 23 ตาราง 20 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบายการเพิ่มศักยภาพผูวางงาน จาํแนกตามครัวเรือน

ที่มีสมาชิกในครัวเรือนมี/ไมมีสิทธิ์จากนโยบายการเพิ่มศักยภาพผูวางงาน และภาค

24 ตาราง 21 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบายการเพิ่มศักยภาพผูวางงาน จาํแนกตามความ

คิดเห็นตอการดําเนนินโยบายการเพิ่มศักยภาพผูวางงานตอไปอีก และกลุมครัวเรือนที่มีสมาชิกในครัวเรือนมีสิทธิ์/ไมมีสิทธิ ์

25 ตาราง 22 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบายชมุชนพอเพียง จาํแนกตามความคิดเหน็ทีม่ตีอ

นโยบายชุมชนพอเพียง และภาค

26 ตาราง 23 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบายการใหเบีย้ยงัชพีกบัผูสูงอาย ุ จําแนกตามครวัเรอืน

ที่มีสมาชิกในครัวเรือนมี/ไมมีสิทธิ์จากนโยบายการใหเบีย้ยังชพีฯ และภาค

27 ตาราง 24 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบายการใหเบี้ยยงัชพีกบัผูสูงอาย ุ จาํแนกตามระดบั

ความพึงพอใจ ตอนโยบายการใหเบี้ยยังชพีฯ และภาค

28

Page 14: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

สารบัญตาราง (ตอ) หนา ตาราง 25 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบายการใหเบี้ยยงัชพีกบัผูสูงอาย ุ จาํแนกตามระดบั

ความพึงพอใจตอนโยบายการใหเบี้ยยงัชีพกับผูสูงอายุ และกลุมครัวเรอืนที่มีสมาชกิในครัวเรือนมสิีทธิ์/ไมมีสิทธิ ์

28 ตาราง 26 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบายการใหเบี้ยยงัชพีกบัผูสูงอาย ุ จาํแนกตาม

ความคิดเหน็ตอการดําเนนินโยบายการใหเบี้ยยังชพีฯ ตลอดไป และภาค

29 ตาราง 27 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบายการใหเบี้ยยงัชพีกบัผูสูงอาย ุ จาํแนกตาม

ความคิดเหน็ตอการดําเนนินโยบายการใหเบี้ยยังชพีกบัผูสูงอายุตลอดไป และกลุมครัวเรือนที่มีสมาชิกในครัวเรือนมีสิทธิ์/ไมมีสิทธิ ์

29 ตาราง 28 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบายการใหเบี้ยยงัชพีกบัผูสูงอาย ุ จาํแนกตาม

ขอคิดเห็น/ขอเสนอแนะตอนโยบายการใหเบี้ยยังชพีฯ และภาค

30 ตาราง 29 รอยละของประชาชน จําแนกตามการทราบนโยบาย 5 มาตรการ 6 เดือน ของรัฐบาล

และ ภาค

31 ตาราง 30 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบาย 5 มาตรการ 6 เดือน จําแนกตามครัวเรือนที่

ไดรับประโยชนจากนโยบาย 5 มาตรการ 6 เดือน และภาค

32 ตาราง 31 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบาย 5 มาตรการ 6 เดือน จาํแนกตามระดับ

ความพึงพอใจตอนโยบาย 5 มาตรการ 6 เดือน และภาค

33 ตาราง 32 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบาย 5 มาตรการ 6 เดือน จาํแนกตามระดับ

ความพึงพอใจตอนโยบาย 5 มาตรการ 6 เดือน และกลุมครัวเรือนที่ไดรับ/ไมไดรับประโยชน

33 ตาราง 33 รอยละของประชาชน จําแนกตามการทราบนโยบายการจัดสรรคาตอบแทนให อสม.

และ ภาค

34 ตาราง 34 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบายการจัดสรรคาตอบแทนให อสม. จําแนกตาม

ระดับความพงึพอใจตอนโยบายการจัดสรรคาตอบแทนให อสม. และภาค

35 ตาราง 35 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบายการจัดสรรคาตอบแทนให อสม. จําแนกตาม

ระดับความพงึพอใจตอนโยบายฯ และกุลมครัวเรือนทีม่ี/ไมมีคนในครัวเรือนเปน อสม.

35 ตาราง 36 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบายการจัดสรรคาตอบแทนให อสม. จําแนกตาม

ความคิดเหน็ตอการดําเนนินโยบายฯ ตลอดไป และภาค

36

Page 15: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

สารบัญตาราง (ตอ) หนา ตาราง 37 รอยละของประชาชนททีราบนโยบายการจัดสรรเงินคาตอบแทนให อสม. จําแนกตาม

ความคิดเหน็ตอการดําเนนินโยบายฯ ตลอดไป และกุลมครัวเรือนทีม่/ีไมมีคนในครัวเรือนเปน อสม.

36 ตาราง 38 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบายการจัดสรรคาตอบแทนให อสม. จําแนกตาม

ขอคิดเห็น/ขอเสนอแนะตอนโยบายการจัดสรรคาตอบแทนให อสม. และภาค

37 ตาราง 39 รอยละของประชาชน จาํแนกตามการทราบนโยบายนมโรงเรียน และ ภาค 38 ตาราง 40 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบายนมโรงเรียน จาํแนกตามระดับความพึงพอใจตอ

นโยบายนมโรงเรียน และภาค

38 ตาราง 41 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบายนมโรงเรียน จาํแนกตามระดับความพึงพอใจตอ

นโยบายนมโรงเรียน และกลุมครัวเรือนทีม่ี/ไมมีบุตร/หลานศึกษาอยูในระดับอนุบาล – ประถมศึกษาปที่ 6

39 ตาราง 42 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบายนมโรงเรียน จาํแนกตามความคิดเห็นที่มีตอ

การดําเนินนโยบายนมโรงเรยีนตลอดไป และภาค

39 ตาราง 43 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบายนมโรงเรียน จาํแนกตามความคิดเห็นตอการ

ดําเนนินโยบายฯ ตลอดไป และกลุมครัวเรือนที่ม/ีไมมีบุตร/หลานศึกษาอยูในระดับอนุบาล – ประถมศึกษาปที ่6

40 ตาราง 44 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบายนมโรงเรียน จาํแนกตามขอคิดเห็น/ขอเสนอแนะ

ตอนโยบายนมโรงเรียน และภาค

40 ตาราง 45 รอยละของประชาชน จําแนกตามการทราบนโยบายการเพิ่มคาครองชพีใหกาํนัน

ผูใหญบาน แพทยประจําตาํบล สารวัตรกํานนั ผูชวยผูใหญบานฝายปกครอง และผูชวยผูใหญบานฝายรักษาความสงบ และ ภาค

42 ตาราง 46 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบายการเพิ่มคาใหครองชีพกํานัน ผูใหญบานฯ

จําแนกตามระดับความพงึพอใจตอนโยบายการเพิ่มคาครองชีพใหกํานนั ผูใหญบานฯ และภาค

43 ตาราง 47 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบายการเพิ่มคาครองชพีใหกาํนัน ผูใหญบานฯ

จําแนกตามระดับความพงึพอใจตอนโยบายการเพิ่มคาครองชีพกาํนนั ผูใหญบาน ฯ และกลุมครัวเรือนที่ม/ีไมมีคนในครัวเรือนเปนกาํนนั ผูใหญบานฯ

43

Page 16: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

สารบัญตาราง (ตอ) หนา ตาราง 48 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบายการเพิ่มเงินคาครองชีพใหกํานนั ผูใหญบาน

แพทยประจาํตําบล สารวัตรกํานนั ผูชวยผูใหญบานฝายปกครอง และผูชวยผูใหญบานฝายรักษาความสงบ จําแนกตามขอคิดเหน็/ขอเสนอแนะตอนโยบายฯ

44 ตาราง 49 รอยละของประชาชน จาํแนกตามการทราบนโยบายการกูเงนิจากตางประเทศ และ ภาค 45 ตาราง 50 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบายการกูเงนิจากตางประเทศ จาํแนกตาม

ความคิดเหน็ตอการดําเนนินโยบายการกูเงินจากตางประเทศ และภาค

46 ตาราง 51 รอยละของประชาชน จําแนกตามการทราบนโยบายการเพิ่มภาษีเหลา - บุหร่ี และ ภาค 46 ตาราง 52 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบายการเพิ่มภาษเีหลา - บุหร่ี จาํแนกตาม

ความคิดเหน็ตอการดําเนนินโยบายการเพิ่มภาษีเหลา - บุหร่ี และภาค

47 ตาราง 53 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบายการเพิ่มภาษเีหลา - บุหร่ี จาํแนกตาม

ความคิดเหน็ตอการดําเนนินโยบายการเพิ่มภาษีเหลา – บุหร่ี และกลุมครัวเรือนที่มี/ไมมีคนในครัวเรือนดื่มเหลา - สูบบุหร่ี

47 ตาราง 54 รอยละของประชาชน จาํแนกตามระดับความพึงพอใจตอการบริหารงานของรัฐบาล

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชวีะ นายกรัฐมนตรี และภาค

48 ตาราง 55 รอยละของประชาชน จาํแนกตามระดับความมัน่ใจที่มตีอรัฐบาลในการแกไขปญหา

ดานเศรษฐกจิของประเทศ และภาค

49 ตาราง 56 รอยละของประชาชน จําแนกตามปญหาที่รัฐบาลควรดาํเนนิการอยางเรงดวน

10 อันดับแรก และภาค

50 ตาราง 57 รอยละของประชาชน จําแนกตามขอคิดเหน็/ขอเสนอแนะตอการบริหารงานของ

รัฐบาล 10 อันดับแรก

51

Page 17: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

บทที่ 1

บทนํา 1.1 ความเปนมาและวัตถุประสงค

ตามที ่รัฐบาลนําโดยนายอภิสิทธิ ์เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี ไดเขามาบริหารประเทศ และแถลงนโยบายตอรัฐสภา เมื่อวันที่ 29 ธนัวาคม 2551 ซึ่งรัฐบาลจะบริหารงานครบ 3 เดือน ในเดือนมนีาคม 2552 นั้น ในการนี้ สํานักงานสถิติแหงชาติ จึงไดดําเนินการสาํรวจความคิดเห็นของประชาชนที่มีตอการบริหารงานของรัฐบาลที่ไดบริหารประเทศ และกําหนดนโยบายในการแกไขปญหาตางๆ ในชวง 3 เดือน ที่ผานมา โดยมีวัตถุประสงคเพื่อติดตามการบริหารงานของรัฐบาล ความพึงพอใจ รวมทัง้สทิธ ิ หรือประโยชนที่ครัวเรือนไดรับจากนโยบายตางๆ ของรัฐบาล ไดแก นโยบายการจัดสรรเงนิคาครองชพีของรัฐบาล นโยบายสนับสนุนการจัดการศึกษาฟรี 15 ป นโยบายการเพิ่มศักยภาพผูวางงาน เพื่อสรางมูลคาทางเศรษฐกิจและสังคมในชุมชน นโยบายชุมชนพอเพียง นโยบายการใหเบี้ยยงัชีพกับผูสูงอายุ นโยบายการลดคาใชจายของประชาชน เชน นโยบาย 5 มาตรการ 6 เดือน นโยบายการจัดสรรคาตอบแทนใหอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน (อสม.) นโยบายนมโรงเรียน นโยบายการเพิ่มคาครองชีพใหกํานัน ผูใหญบานฯ นโยบายการกูเงนิจากตางประเทศ และนโยบายการเพิ่มภาษีเหลา-บุหร่ี ตลอดจนความเชื่อมั่นของประชาชนที่มีตอรัฐบาลในการแกไขปญหาดานเศรษฐกิจ รวมทั้งขอคิดเหน็/ขอเสนอแนะ เพื่อเปนขอมูลใหรัฐบาลและหนวยงานที่เกีย่วของ เชน กระทรวงศึกษาธกิาร กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย กระทรวงแรงงาน ฯลฯ นําไปใชในการติดตาม ประเมินผล และกาํหนดแนวทางการบรหิารประเทศตอไป 1.2 คุมรวม

ประชาชนที่มอีายุ 18 ปข้ึนไป ทัว่ประเทศ 1.3 การนาํขอมลูไปใชประโยชน

ขอมูลที่ไดจากการสํารวจครั้งนี้ ผูใชทั้งภาครัฐ และภาคประชาชน สามารถนาํไปใชประโยชนได ดังนี ้

ภาครัฐ : ใชในการติดตาม ปรับปรุง และประเมินผลการดําเนินงานของรัฐบาลเกี่ยวกับนโยบายตางๆ รวมทัง้การยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนใหมีความเปนอยูดีข้ึน

ภาคประชาชน : สะทอนความตองการและประโยชนที่ประชาชน/ครัวเรือนจะไดรับจากการดําเนินนโยบายดังกลาว รวมทั้งขอคิดเห็นและขอเสนอแนะใหรัฐบาลไดทราบความตองการที่แทจริงของประชาชน/ครัวเรือน 1.4 คําอธิบาย

1.4.1 นโยบายการจัดสรรเงินคาครองชีพของรัฐบาล โดยรัฐจะจายเงินจํานวน 2,000 บาทใหกับขาราชการ พนักงาน และผูประกันตนที่มีเงินเดือนไมเกิน 14,999 บาท โดยจะเริ่มดําเนินการจัดสรรเงินใหเปนเช็คใน งวดแรกวันที่ 26 มีนาคม 2552 นี้

Page 18: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

2

1.4.2 นโยบายสนบัสนุนการจดัการศกึษาฟรี 15 ป เปนการสนับสนุนการเรียนตั้งแตอนุบาลถึงมัธยมศึกษาตอนปลายทัง้ประเภทสามัญศึกษา และอาชีวศึกษา โดยรัฐจะสนับสนนุทัง้คาเลาเรียน หนังสือเรียน อุปกรณการเรียน เครื่องแบบนักเรยีน และกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเรียน ซึง่จะเริ่มดําเนินการตั้งแตภาคเรียนที ่1 ปการศึกษา 2552 เปนตนไป

1.4.3 นโยบายการเพิ่มศกัยภาพผูวางงาน เพื่อสรางมูลคาทางเศรษฐกิจและสงัคมในชุมชน โดยรัฐบาลจะมีการฝกอบรมแรงงาน เพื่อชะลอการเลิกจาง ซึ่งรัฐจะสนบัสนุนคาใชจายในการฝกอบรมแรงงานเพื่อชวยเหลอืผูประกอบการในการชะลอการเลกิจาง เปนคาเบีย้เลีย้งใหแรงงานที่เขาอบรม 4,800 บาทตอคน หรือจายตามวนัที่เขาอบรมจริง 160 บาทตอคนตอวนั รวมทัง้การจายคาวทิยากร คาวสัดุอุปกรณ คาน้าํ คาไฟ และคาอาหาร คนละ 5,000 บาท พรอมทัง้สนับสนุนคาพาหนะระหวางการอบรม 720 บาทตอคน หรือจายตามวนัที่อบรมจริง 30 บาทตอคนตอวนั สวนผูที่ผานการอบรมแลวตองการกลบัภูมิลําเนา สามารถเบิกคาเบีย้เลี้ยงไดคนละ 4,800 บาทตอคน เปนเวลา 3 เดือน ขณะที่คาใชจายในการเดนิทางกลับจะสนบัสนนุในอัตราเหมาจาย 1,500 บาทตอคน (จายครั้งเดยีว)

1.4.4 นโยบายชุมชนพอเพียง เพื่อยกระดับชุมชนทั่วประเทศ โดยใหประชาชนรวมตัวกันในชุมชน หรือหมูบาน และเสนอโครงการที่สอดคลองกับการพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียง โครงการชวยเหลือเกษตรกร หรือโครงการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาต ิ เขาไปยังหนวยงานที่รับผิดชอบในพืน้ที ่ เพื่อจะไดมีการอนุมัติเงนินําไปใชจายในโครงการ

1.4.5 นโยบายการใหเบี้ยยงัชีพกับผูสูงอายุ ผูสูงอายทุี่มีอายุต้ังแต 60 ปข้ึนไป ที่ไมใชขาราชการบํานาญ หรือไดรับคาตอบแทนจากราชการ เชน ส.ส. ส.ว. และขาราชการทองถิน่ ทุกคนมีสิทธิลงทะเบียนเพื่อขอรับเบี้ยยังชพีเดือนละ 500 บาท ตลอดไป ซึ่งจะเริ่มดําเนินการไดในเดือนเมษายน 2552 นี้รวมทัง้ขยายเพดานใหกูยมืจากกองทนุผูสูงอายุเปน 3 หมืน่บาทตอราย

1.4.6 นโยบายการลดคาใชจายของประชาชน เชน นโยบาย 5 มาตรการ 6 เดือน ไดแก การโดยสารรถประจาํทางไมปรับอากาศฟรีในเขตกทม. และปริมณฑล รถไฟชั้น 3 ไมปรับอากาศฟรี การใชน้ําประปาฟรี 30 ลูกบาศกเมตร/เดือน การใชไฟฟาฟรี 90 หนวย/เดือน และการชะลอปรับราคากาซหุงตม (LPG) ในภาคครัวเรือน เปนระยะเวลา 6 เดือน โดยเริ่มตั้งแตวันที่ 1 กุมภาพันธ 2552 และจะครบกําหนดในเดือนกันยายน 2552

1.4.7 นโยบายการจัดสรรคาตอบแทนใหอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน (อสม.) การจายคาตอบแทนใหอาสาสมคัรสาธารณสุขทั่วประเทศ (อสม.) ในอัตราเดือนละ 600 บาท เพื่อสรางแรงจูงใจในการปฏิบัติงานในการสงเสริมสุขภาพในทองถิน่/ชมุชน การดูแลผูปวยในโรงพยาบาล และการเฝาระวงัโรคในชมุชน ซึง่จะเริ่มดําเนนิการไดเดือนมีนาคม 2552 นี ้

Page 19: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

3

1.4.8 นโยบายนมโรงเรียน เปนการจัดซื้อนมใหเด็กนักเรยีนตั้งแตอนุบาล – ประถมศึกษาปที่ 6 ด่ืมนมฟร ี โดยรัฐบาลจะเปนผูจัดสรรงบประมาณใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นเขาไปดําเนนิการและขยายการดื่มนมฟรจีากเดิม 230 วันตอป เปน 260 วันตอป รวมถึงชวงปดเทอมดวย

1.4.9 นโยบายการเพิ่มคาครองชีพใหกาํนัน ผูใหญบานฯ เปนการเพิม่คาตอบแทนใหแกกาํนันผูใหญบาน แพทยประจําตาํบล สารวัตรกํานนั ผูชวยผูใหญบานฝายปกครอง และผูชวยผูใหญบานฝายรักษาความสงบ โดยกาํนันจะไดรับการปรับเงินเดือนในปงบประมาณ 2553 จาก 5,000 บาท/เดือน เปน 7,500 บาท และในปงบประมาณ 2554 จะปรับข้ึนเปน 10,000 บาท/เดือน สวนผูใหญบานจะไดรับการปรับเงินเดือนในปงบประมาณ 2553 จาก 4,000 บาท/เดือน เปน 6,000 บาท และในปงบประมาณ 2554 จะปรับข้ึนเปน 8,000 บาท/เดือน ในขณะที่แพทยผูชวยจะไดรับการปรับเงินเดือนในปงบประมาณ 2553 จาก 2,500 บาท/เดือน เปน 3,750 บาท และในปงบประมาณ 2554 จะปรับข้ึนเปน 5,000 บาท/เดือน

1.5 ขอสังเกต

.. หมายถึง บางลักษณะในตารางจะไมปรากฏขอมูล แตในความเปนจริงอาจจะมีขอมูลลักษณะดังกลาว ทัง้นีอ้าจเนื่องมาจากชุดตัวอยางที่เลือกขึ้นเพื่อเปนตัวแทนในการเก็บรวบรวมขอมูล

Page 20: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

บทที่ 2

ระเบียบวิธีสถิติ

2.1 แผนการสุมตัวอยาง

แผนการสุมตัวอยางที่ใชเปนแบบ Stratified Three - Stage Sampling โดยมีภาคเปนสตราตัม ซึ่งมีทั้งสิ้น 5 สตราตัม คือ กรุงเทพมหานคร ภาคกลาง (ยกเวนกทม.) ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต โดยมีชุมรุมอาคาร (ในเขตเทศบาล) และหมูบาน (นอกเขตเทศบาล) เปนหนวยตัวอยางขั้นที่หนึ่ง ครัวเรือนสวนบุคคลเปนหนวยตัวอยางขั้นที่สอง และสมาชิกที่มีอายุ 18 ปข้ึนไป เปนหนวยตัวอยางขั้นที่สาม

การเลือกหนวยตัวอยางขั้นที่หนึ่ง

ในแตละภาค ทําการเลือกชุมรุมอาคาร/หมูบานตัวอยาง อยางอิสระตอกัน โดยใชความนาจะเปนในการเลือกเปนปฏิภาคกับจํานวนครัวเรือนของชุมรุมอาคาร/หมูบานนั้นๆ ไดจํานวนตัวอยางทั้งสิ้น 728 ชุมรุมอาคาร/หมูบาน จากทั้งสิ้น 109,966 ชุมรุมอาคาร/หมูบาน กระจายไปตามภาค และเขตการปกครอง เปนดังนี้

ภาค รวม ในเขตเทศบาล นอกเขตเทศบาล

1. กรุงเทพมหานคร 104 104 -

2. กลาง (ยกเวน กทม.) 156 56 100

3. เหนือ 156 34 122

4. ตะวันออกเฉียงเหนือ 156 27 129

5. ใต 156 38 118

รวมทัว่ราชอาณาจักร 728 259 469

Page 21: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

6

การเลือกหนวยตัวอยางขั้นที่สอง

ในขั้นนี้เปนการเลือกครัวเรือนตัวอยางที่มีสมาชิกอายุ 18 ปข้ึนไป ดวยวิธีการสุมแบบ มีระบบ โดยกําหนดใหเลือก 10 ครัวเรือนตัวอยางตอชุมรุมอาคาร/หมูบาน ยกเวน กรุงเทพมหานคร 15 ครัวเรือนตอชุมรุมอาคาร ไดจํานวนครัวเรือนตัวอยางทั้งสิ้น 7,800 ครัวเรือน กระจายไปในแตละจังหวัด ของภาคและเขตการปกครอง เปนดังนี้

ภาค รวม ในเขตเทศบาล นอกเขตเทศบาล

1. กรุงเทพมหานคร 1,560 1,560 -

2. กลาง ( ยกเวน กทม. ) 1,560 560 1,000

3. เหนือ 1,560 340 1,220

4. ตะวันออกเฉียงเหนือ 1,560 270 1,290

5. ใต 1,560 380 1,180

รวมทัว่ราชอาณาจักร 7,800 3,110 4,690

การเลือกหนวยตัวอยางขั้นที่สาม

ในแตละครัวเรือนตัวอยาง ไดทําการเลือกสมาชิกในครัวเรือนที่มีอายุ 18 ปข้ึนไป ครัวเรอืนละ 1 คน เพื่อทําการสัมภาษณ ไดจํานวนหนวยตัวอยางทั้งสิ้น 7,800 คน

2.2 วิธีการเก็บรวบรวมขอมลู

การเก็บรวบรวมขอมูล ใชวธิสีงเจาหนาที่ของสํานักงานสถิติแหงชาติ ไปทําการสัมภาษณสมาชิกตวัอยาง ระหวางวันที่ 1 – 20 เมษายน 2552 โดยใหสมาชิกตัวอยางกระจายไปตามเพศ อาย ุ ระดับการศึกษา และสถานภาพการทํางาน

2.3 การนาํเสนอผลการสํารวจ นําเสนอผลในระดับกรุงเทพมหานคร และภาค ในรูปของรอยละ

Page 22: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

บทที่ 3

สรุปผลการสํารวจ

3.1 การติดตามการบริหารงานของรฐับาล

ตามที่รัฐบาลนําโดยนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรีไดเขามาบรหิารประเทศครบ 3 เดือน ในเดือนมนีาคม 2552 นัน้ เมื่อสอบถามประชาชนเกีย่วกบัการติดตามการปฏิบัติงาน/การนําเสนอผล การปฏิบัติงานของรัฐบาลชดุนี้ พบวา ประชาชนสวนใหญรอยละ 82.8 ระบุวาติดตามการปฏิบัติงานฯ (โดยผูติดตามฯ เปนประจํามีรอยละ 22.5 และติดตามฯ เปนบางครั้งมีรอยละ 60.3) มีเพียงรอยละ 17.2 ที่ระบุวาไมไดติดตามฯ

เมื่อพิจารณาในระดับภาค พบวา ประชาชนในทุกภาคมากกวารอยละ 80 ระบุวามีการติดตาม การปฏิบัติงาน/การนาํเสนอผลการปฏิบัติงานของรัฐบาลชุดนี ้

ตาราง 1 รอยละของประชาชน จาํแนกตามระดับการตดิตามการปฏิบัติงาน/การนาํเสนอผลการปฏิบัติงานของรัฐบาลภายใตการนาํของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี และภาค

ภาค การติดตามการปฏิบัติงาน/การนําเสนอผลการปฏิบัติงานของรัฐบาล

ทั่วประเทศ กรุงเทพ

มหานคร กลาง

(ยกเวน กทม.) เหนือ ตะวันออก เฉียงเหนือ

ใต

รวม 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

• ติดตาม 82.8 82.4 83.4 83.7 80.1 87.4

� เปนประจํา 22.5 26.6 23.5 20.3 18.4 30.2

� เปนบางครั้ง 60.3 55.8 59.9 63.4 61.7 57.2

• ไมไดติดตาม 17.2 17.6 16.6 16.3 19.9 12.6

นอกจากนั้นยงัไดมีการสอบถามประชาชนเกี่ยวกับการติดตามรายการ “ เชื่อมั่นประเทศไทยกับนายกฯ อภิสิทธิ์ ” พบวา ประชาชนรอยละ 7.5 ระบุวาติดตามรายการฯ เปนประจาํ รอยละ 37.7 ระบุวาติดตามรายการฯ เปนบางครั้ง และรอยละ 54.8 ระบุวาไมไดติดตามรายการ

เมื่อพิจารณาในระดับภาค พบวา ประชาชนในภาคใตระบุวาติดตามรายการ “ เชื่อมั่นประเทศไทยกับนายกฯ อภิสิทธิ์ ” มากกวาภาคอื่น (รอยละ 58.7) ตามดวย กรุงเทพมหานคร (รอยละ 51.1) ภาคกลาง (รอยละ 49.5) และภาคเหนือ (รอยละ 40.8) ในขณะที่ภาคตะวนัออกเฉียงเหนอืมีการติดตามรายการฯ นอยที่สุด (รอยละ 37.2)

Page 23: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

8

ตาราง 2 รอยละของประชาชน จาํแนกตามระดับการตดิตามรายการ “เชื่อมัน่ประเทศไทยกับนายกฯ อภิสิทธิ”์ และภาค

ภาค ระดับการติดตามรายการ “เช่ือมั่นประเทศไทย กับนายกฯ อภิสิทธิ์”

ทั่วประเทศ กรุงเทพ มหานคร

กลาง (ยกเวน กทม.) เหนือ

ตะวันออก เฉียงเหนือ

ใต

รวม 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

• ติดตาม 45.2 51.1 49.5 40.8 37.2 58.7

� เปนประจํา 7.5 9.3 9.2 6.4 4.3 12.5

� เปนบางครั้ง 37.7 41.8 40.3 34.4 32.9 46.2

• ไมไดติดตาม 54.8 48.9 50.5 59.2 62.8 41.3

สําหรับรายการ “ เชื่อมั่นประเทศไทยกับนายกฯ อภิสิทธิ ์” นัน้ ประชาชนระบุวาติดตามรายการดังกลาวจากสื่อโทรทัศนมากที่สุด (รอยละ 93.8) ตามดวยหนงัสือพิมพ (รอยละ 9.8) วทิย ุ (รอยละ 9.7) และอินเทอรเน็ต (รอยละ 1.8) เปนตน

เมื่อพิจารณาในระดับภาค พบวา ประชาชนสวนใหญในทกุภาคจะตดิตามรายการ “เชื่อมั่นประเทศไทยกับนายกฯ อภิสิทธิ”์ จากสือ่โทรทัศนสูงกวาแหลงขอมูลอ่ืนๆ

ตาราง 3 รอยละของประชาชนที่ติดตามรายการ “เชื่อมั่นประเทศไทยกับนายกฯ อภิสิทธิ”์ จําแนกตามแหลงขอมูลทีติ่ดตามรายการฯ และภาค

ภาค แหลงขอมูลที่ติดตาม 1/ ทั่ว

ประเทศ กรุงเทพ-มหานคร

กลาง (ยกเวน กทม.) เหนือ

ตะวันออก เฉียงเหนือ

ใต

� โทรทัศน 93.8 93.0 94.3 91.9 93.5 95.8 � หนังสือพิมพ 9.8 18.1 12.2 8.7 5.1 8.2 � วิทยุ 9.7 14.8 9.8 13.2 6.7 7.1 � อินเทอรเน็ต 1.8 2.8 0.8 2.5 2.1 1.7 � รับฟงจากผูอื่น 0.3 0.1 0.3 0.2 0.5 0.3 � หอกระจายขาว 0.2 0.1 0.1 .. 0.2 0.3

หมายเหตุ : 1/ ตอบไดมากกวา 1 คําตอบ

Page 24: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

9

อยางไรก็ตาม มีประชาชนรอยละ 29.1 ไดใหขอคิดเห็น/ขอเสนอแนะทีม่ตีอรายการ “เชือ่มัน่ประเทศไทยกับนายกฯ อภิสิทธิ์” ดังนี้ ควรปรับเพิ่มเวลาการนําเสนอรายการ (รอยละ 26.5) ตามดวย ปรับเพิ่มเนื้อหาสาระใหเขมขน (รอยละ 24.4) ควรชี้แจงขอมูลดานเศรษฐกิจ การตางประเทศ และดานการศึกษา (รอยละ 13.1) และการจดัรายการควรมีคูสนทนาสอบถาม/แสดงความคิดเห็นรวมดวย (รอยละ 11.7) เปนตน

ตาราง 4 รอยละของประชาชนที่ติดตามรายการ “ เชื่อมั่นประเทศไทยกับนายกฯ อภิสิทธ ิ์ ” จาํแนกตาม ขอคิดเห็น/ขอเสนอแนะตอรายการ

ภาค ขอคิดเห็น/ขอเสนอแนะ ทั่ว

ประเทศ กรุงเทพ มหานคร

กลาง (ยกเวน กทม.)

เหนือ ตะวันออก เฉียงเหนือ

ใต

รวม 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

• ผูแสดงความคิดเห็น 1/ 29.1 47.2 25.1 28.0 21.7 34.0

� ควรปรับเพิ่มเวลาการนําเสนอรายการ

26.5 36.9 25.1 20.7 16.1 31.8

� ควรปรับเพิ่มเนื้อหาสาระใหเขมขน

24.4 22.2 24.7 115.5 18.9 32.1

� ควรชี้แจงขอมูลดานเศรษฐกิจ การตางประเทศ และดานการศึกษา

13.1 10.4 15.1 73.1 17.1 6.2

� ควรมีคูสนทนาสอบถาม/แสดงความคิดเห็นรวมดวย

11.7 13.8 8.8 79.6 8.8 13.8

� ควรชี้แจงนโยบายในการชวยเหลือเกษตรกร และการเพิ่มคาครองชีพของประชาชน

10.3 8.5 12.0 64.1 9.7 12.4

� ควรมีความเปนกลางในการนําเสนอขอมูลกับประชาชน

6.9 7.0 7.2 64.0 12.4 1.8

� เวลาออกอากาศไมเหมาะสม 4.1 2.3 3.6 62.5 8.8 2.9

� ควรมีการประชาสัมพันธใหทั่วถึง 3.4 2.1 5.2 130.0 0.9 3.8

� ควรถายทอดทางสถานีโทรทัศนทุกชอง

3.1 1.3 3.2 23.1 6.5 3.2

• ผูไมแสดงความคิดเห็น 70.9 52.8 74.9 72.0 78.3 66.0

หมายเหตุ : 1/ ตอบไดมากกวา 1 คําตอบ

Page 25: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

10

3.2 ความคิดเห็นตอนโยบายการจัดสรรเงินคาครองชีพของรัฐบาล

ตามที่รัฐบาลมีนโยบายชวยเหลอืคาครองชีพใหประชาชนและบุคลากรภาครัฐ โดยรัฐจะจายเงนิจาํนวน 2,000 บาท ใหกับขาราชการ พนกังาน และผูประกันตนที่มีเงินเดือนไมเกิน 14,999 บาท ซึง่รัฐไดดําเนนิการจัดสรรเงินใหต้ังแตวันที่ 26 มีนาคม 2552 โดยสั่งจายเปนเช็ค และกําหนดเปาหมายจะจัดสรรเงินทั้งหมดเสร็จส้ินภายในเดือนมถิุนายน 2552 ดังนั้น เมื่อสอบถามประชาชนเกี่ยวกับนโยบายดังกลาว ผลการสํารวจปรากฏ ดังนี ้ 3.2.1 การทราบนโยบายการจัดสรรเงนิคาครองชีพของรฐับาล

ประชาชนสวนใหญรอยละ 91.9 ระบุวาทราบนโยบายการจัดสรรเงินคาครองชีพของรัฐบาล จํานวน 2,000 บาท ใหกับขาราชการ พนักงาน และผูประกันตนที่มีเงินเดือนไมเกิน 14,999 บาท และรอยละ 8.1 ระบุวาไมทราบ โดยในทุกภาคประชาชนจะทราบนโยบายดังกลาวมากกวารอยละ 88

3.2.2 การมสีิทธิ์จากนโยบายการจัดสรรเงินคาครองชีพของรัฐบาล

สําหรับผูที่ทราบนโยบายการจัดสรรเงินคาครองชีพของรัฐบาล พบวา ครัวเรือนที่มีสมาชิกในครัวเรือนระบุวามีสิทธิ์และไดใชสิทธิ์มีรอยละ 35.8 สวนอีกรอยละ 3.4 ระบุวามีสิทธิแ์ตไมไดใชสิทธิ์ โดยใหเหตุผลที่มีสิทธิ์แตไมไดใชสิทธิ์เพราะอยูไกล ไมคุมคาเดินทาง และรอยละ 59.9 ระบุวาไมมีสิทธิ์ มีเพยีงรอยละ 0.9 ที่ไมแนใจ/ไมทราบ ซึง่ครัวเรือนทีม่ีสมาชิกในครัวเรือนระบุวามีสิทธิ์และไดใชสิทธิ์จะนาํเงินจํานวน 2,000 บาท ที่รัฐบาลจัดสรรใหไปใชในเรื่องคาอุปโภคบริโภคในครัวเรือนมากที่สุด (รอยละ 77.7) ตามดวย การชําระหนี้สิน (รอยละ 10.3) และเก็บออมไว (รอยละ 8.4) เปนตน

แผนภูมิ 1 รอยละของประชาชน จาํแนกตามการทราบนโยบายการจัดสรรเงนิคาครองชพีของรฐับาล และภาค

รอยละ

ทราบ

ไมทราบ

ภาค 0

20

40

60

80

100

ใต ทั่วประเทศ กทม. กลาง เหนือ ต.อ.น.

89.9 88.2

8.1 2.4 5.4 10.1 11.8 6.2

91.9 97.6

94.6 93.8

Page 26: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

11

เมื่อพิจารณาในระดับภาค พบวา ครัวเรอืนที่มีสมาชกิในครัวเรือนระบวุามีสิทธิ์และไดใชสิทธิ์จะพบในกรงุเทพมหานครมากกวาภาคอื่น (รอยละ 50.7) ตามดวย ภาคกลาง (รอยละ 47.8) ภาคใต (รอยละ 36.8) และภาคเหนือ (รอยละ 26.2) สวนภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีเพียงรอยละ 25.5

ตาราง 5 รอยละของประชาชนที่ทราบนโยบายการจัดสรรเงินคาครองชีพของรัฐบาล จาํแนกตามครัวเรือนที่มีสมาชิกในครัวเรือนมี/ไมมีสิทธิ์จากนโยบายการจัดสรรเงินฯ และภาค

ภาค ครัวเรือนที่มีสมาชิกในครัวเรอืน

มี/ไมมีสิทธิ์ ทั่ว

ประเทศ กรุงเทพ มหานคร

กลาง (ยกเวน กทม.) เหนือ

ตะวันออก เฉียงเหนือ

ใต

รวม 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

• มีสิทธิ์และไดใชสิทธิ์ โดยมีการนําเงินไปใชเรื่อง

35.8 50.7 47.8 26.2 25.5 36.8

� คาอุปโภคบริโภคในครัวเรือน 77.7 77.3 75.5 73.3 82.0 79.3 � ชําระหนี้สิน 10.3 11.4 10.5 11.1 8.6 10.6 � เก็บออมไว 8.4 8.7 10.0 8.0 6.3 7.3 � ยังไมไดเงินในรอบแรก 1.4 1.4 1.3 1.5 1.6 0.8 � ใหพอ แม ญาติ 0.3 .. 0.6 0.4 0.4 0.3 � นําไปประกอบธุรกิจสวนตัว 0.3 .. 0.2 .. 0.4 .. � รักษาสุขภาพ 0.3 .. 0.2 0.4 .. 0.3 � ซอมแซมที่อยูอาศัย 0.3 0.2 0.4 .. .. .. � ไมระบุ 1.1 1.0 1.3 5.3 0.8 1.4

• มีสิทธิ์แตไมไดใชสิทธิ์ 3.4 7.1 3.5 1.6 3.7 1.7 • ไมมีสิทธิ์ 59.9 41.5 48.2 71.2 69.6 60.4 • ไมแนใจ/ไมทราบ 0.9 0.7 0.5 1.0 1.2 1.1

3.2.3 ความพึงพอใจตอนโยบายการจัดสรรเงนิคาครองชีพของรัฐบาล

มาก

ปานกลาง

นอย

แผนภูมิ 2 รอยละของประชาชนที่ทราบนโยบายการจัดสรรเงินคาครองชีพของรัฐบาล จาํแนกตามระดับความพึงพอใจตอนโยบายการจัดสรรเงินฯ

30.8%

44.5%

12.3%

ไมพอใจ 12.4%

พอใจ 87.6%

Page 27: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

12

เมื่อสอบถามผูที่ทราบนโยบายการจัดสรรเงินคาครองชีพของรัฐบาลเกี่ยวกับความพึงพอใจตอนโยบายดังกลาว พบวา ประชาชนรอยละ 87.6 ระบุวาพึงพอใจ โดยประชาชนมีความพึงพอใจอยูในระดับมากรอยละ 30.8 ปานกลางรอยละ 44.5 และนอยรอยละ 12.3 สวนผูที่ไมพึงพอใจมีรอยละ 12.4 โดยประชาชนใหเหตุผลที่ไมพึงพอใจเพราะไมไดทุกคน (รอยละ 60.5) เปนการแกปญหาบางสวนเทานั้น (รอยละ 11.3) เปนตน

เมื่อพิจารณาในระดับภาค พบวา ประชาชนในทุกภาคมีความพงึพอใจประมาณรอยละ 85.5 – 87.8 ยกเวนภาคใตที่ประชาชนมคีวามพึงพอใจสูงถึงรอยละ 93.5

ตาราง 6 รอยละของประชาชนที่ทราบนโยบายการจัดสรรเงินคาครองชีพของรัฐบาล จําแนกตามระดับความพึงพอใจตอนโยบายการจัดสรรเงินฯ และภาค

ภาค ระดับความพึงพอใจ ทั่ว

ประเทศ กรุงเทพ มหานคร

กลาง (ยกเวน กทม.)

เหนือ ตะวันออก เฉียงเหนือ

ใต

รวม 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

• พึงพอใจ ระบุระดับ 87.6 87.6 87.8 86.4 85.5 93.6

� มาก 30.8 35.6 33.3 28.0 23.0 43.9 � ปานกลาง 44.5 42.3 44.5 44.1 46.8 41.7 � นอย 12.3 9.7 10.0 14.3 15.7 8.0

• ไมพึงพอใจ 12.4 12.4 12.2 13.6 14.5 6.4

� ไมไดทุกคน 60.5 52.4 54.1 70.6 61.4 64.1 � เปนการแกปญหาบางสวนเทานั้น 11.3 14.5 15.6 11.8 7.6 12.5

� ใหเฉพาะผูวางงาน 6.5 7.3 4.9 6.6 8.3 4.7 � ส้ินเปลืองงบประมาณ 5.6 9.7 6.6 4.4 4.8 1.6 � กระตุนเศรษฐกิจไมถูกทาง 3.2 4.0 4.1 0.7 3.4 1.6 � จํานวนเงินนอยไป 3.2 1.6 0.8 0.7 5.5 3.1 � เปนนโยบายหาเสียง 1.6 0.8 2.5 .. 1.4 .. � ควรจัดสรรใหเกษตรกรดวย 0.8 .. 1.6 0.7 1.4 .. � ไมระบุ 7.3 9.7 9.8 4.4 6.2 12.5

Page 28: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

13

เมื่อพิจารณากลุมครัวเรือนทีม่ีสมาชิกในครัวเรือนมีสิทธิ/์ไมสิทธิ์เกี่ยวกับความพึงพอใจตอนโยบายการจัดสรรเงินคาครองชีพของรัฐบาล พบวา กลุมครัวเรือนที่มีสมาชิกในครัวเรือนมีสิทธิ์และไดใชสิทธิ์ระบุวาพึงพอใจสูงกวากลุมอ่ืน (รอยละ 94.7) ตามดวย กลุมครัวเรือนที่มีสมาชิกในครัวเรือนมีสิทธิ์แตไมไดใชสิทธ (รอยละ 83.7) และกลุมครัวเรือนที่มสีมาชิกในครัวเรือนไมมีสิทธิ์(รอยละ 83.5)

ตาราง 7 รอยละของประชาชนที่ทราบนโยบายการจัดสรรเงินคาครองชีพของรัฐบาล จําแนกตามระดับความพึงพอใจตอนโยบายการจัดสรรเงินคาครองชีพของรฐับาล และกลุมครัวเรือนทีม่ีสมาชิกในครัวเรือนมีสิทธิ์/ไมมีสิทธิ ์

กลุมครัวเรือนที่มีสมาชิกในครัวเรือน

ระดับความพึงพอใจ รวม มีสิทธิ์และ ไดใชสิทธิ์

มีสิทธิ์แต ไมไดใชสิทธิ์

ไมมีสิทธิ์

รวม 100.0 100.0 100.0 100.0

• พึงพอใจ ระบุระดับ 87.6 94.7 83.7 83.5

� มาก 30.8 49.8 32.7 19.3 � ปานกลาง 44.5 39.6 38.8 47.7 � นอย 12.3 5.3 12.2 16.5

• ไมพึงพอใจ 12.4 5.3 16.3 16.5

3.2.4 ความคิดเห็นเกี่ยวกับนโยบายการจัดสรรเงินคาครองชีพของรฐับาล

ผลการสํารวจเกี่ยวกับการจัดสรรเงินคาครองชีพของรัฐบาลนั้น ประชาชนสวนใหญรอยละ 83.0

ระบุวาเห็นดวยกับการดําเนนินโยบายนี้ตอไปอีก มีเพยีงรอยละ 17.0 ที่ไมเหน็ดวย ซึง่เหตุผลที่ประชาชน

สวนใหญไมเหน็ดวยเพราะไดไมทั่วถงึ (รอยละ 35.3) และเปนการแกปญหาเพยีงบางสวนเทานัน้ (รอยละ

18.8) เปนตน

เมื่อพิจารณาในระดับภาค พบวา การดาํเนนินโยบายการจัดสรรเงินคาครองชีพของรัฐบาล

ในครั้งตอไปอีกนัน้ ประชาชนในภาคใตระบุวาเหน็ดวยมากกวาภาคอื่น (รอยละ 89.8) ตามดวย ภาคกลาง

(รอยละ 83.4) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (รอยละ 81.7) ภาคเหนือ (รอยละ 81.3) และกรุงเทพมหานคร

(รอยละ 80.5)

Page 29: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

14

ตาราง 8 รอยละของประชาชนที่ทราบนโยบายการจัดสรรเงินคาครองชีพของรัฐบาล จําแนกตามความคิดเห็นตอการดําเนนินโยบายการจดัสรรเงินฯ ตอไปอีก และภาค

ภาค ความคิดเห็น ทั่ว

ประเทศ กรุงเทพ มหานคร

กลาง (ยกเวน กทม.)

เหนือ ตะวันออก เฉียงเหนือ

ใต

รวม 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

• เห็นดวย 83.0 80.5 83.4 81.3 81.7 89.8

• ไมเห็นดวย เพราะ 17.0 19.5 16.6 18.7 18.3 10.2

� ไดไมทั่วถึง 35.3 24.6 37.3 40.6 36.1 33.3 � เปนการแกปญหาเพียงบางสวน 18.8 24.1 18.1 19.8 13.7 30.4 � ส้ินเปลืองงบประมาณ 12.4 10.8 13.9 11.2 13.7 6.9 � เพิ่มหนี้สินใหประเทศชาติ 8.2 10.3 9.0 10.2 7.1 2.0 � แกปญหาไมถูกทาง 8.2 10.3 6.0 6.4 9.3 8.8 � ควรใหเฉพาะบุคคลที่วางงาน 5.3 5.6 2.4 2.7 10.4 2.9 � จํานวนเงินนอยไป 1.2 1.5 1.8 0.5 0.5 1.0 � ควรจัดสรรใหเกษตรกร 0.6 0.5 .. 1.6 0.5 1.0 � เปนการหาเสียงของรัฐบาล 0.6 1.5 0.6 0.5 0.5 .. � ไมระบุ 9.4 10.8 10.8 6.4 8.2 13.7

เมื่อพิจารณากลุมครัวเรือนที่มีสมาชิกในครัวเรือนมีสิทธิ์/ไมสิทธิ์เกี่ยวกับการดําเนนินโยบายการจัดสรรเงินคาครองชีพของรัฐบาลในครั้งตอไปอีกนั้น พบวา กลุมครัวเรือนที่มีสมาชิกในครัวเรอืนมีสิทธิ์และไดใชสิทธิ์ระบุวาเห็นดวยมากที่สุด (รอยละ 90.7) ตามดวย กลุมครัวเรือนทีม่สีมาชิกในครัวเรือนมีสิทธิ์แตไมไดใชสิทธ (รอยละ 84.1) และกลุมครัวเรอืนทีม่ีสมาชิกในครัวเรือนไมมีสิทธิ ์(รอยละ 78.3)

ตาราง 9 รอยละของประชาชนที่ทราบนโยบายการจัดสรรเงนิคาครองชพีของรัฐบาล จําแนกตามความคิดเหน็ตอการดําเนนินโยบายการจดัสรรเงนิคาครองชพีของรฐับาลตอไปอีก และกลุมครัวเรอืนที่มีสมาชกิในครัวเรือนมสิีทธิ์/ไมมีสิทธิ ์

กลุมครัวเรือนมีที่สมาชิกในครัวเรือน ความคิดเห็น รวม มีสิทธิ์และ

ไดใชสิทธิ์ มีสิทธิ์แต

ไมไดใชสิทธิ์ ไมมีสิทธิ์

รวม 100.0 100.0 100.0 100.0 • เห็นดวย 83.0 90.7 84.1 78.3 • ไมเห็นดวย 17.0 9.3 15.9 21.7

Page 30: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

15

สําหรับขอคิดเห็น/ขอเสนอแนะเกีย่วกับการจัดสรรเงินคาครองชีพของรฐับาลในดานการจายเงนิ มีประชาชนรอยละ 25.7 แสดงความคดิเห็น โดยใหความเห็นดงันี ้ ควรโอนเงนิเขาบัญชีจายผานธนาคารโดยตรงเพื่อความสะดวก (รอยละ 41.6) ควรจัดระเบียบการจายเช็คไมใหยุงยาก (รอยละ 26.5) และควรจายเปนเงินสด (รอยละ 18.7) เปนตน

ตาราง 10 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบายการจัดสรรเงินคาครองชีพของรัฐบาล จําแนกตามขอคิดเหน็/ขอเสนอแนะนโยบายการจัดสรรเงินฯ ในดานการจายเงนิ และภาค

ภาค ขอคิดเห็น/ขอเสนอแนะ ทั่ว

ประเทศ กรุงเทพ มหานคร

กลาง (ยกเวน กทม.)

เหนือ ตะวันออก เฉียงเหนือ

ใต

รวม 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

• ผูแสดงความคิดเห็น 1/ 25.7 43.5 24.4 20.7 22.1 26.4

� ควรโอนเขาบัญชจีายผานธนาคารโดยตรง เพื่อความสะดวก

41.6 36.8 39.8 34.3 47.5 48.5

� ควรจัดระเบียบการจายเช็ค ไมใหยุงยาก

26.5 37.0 26.6 32.4 17.2 22.0

� ควรจายเปนเงินสด 18.7 12.6 18.4 22.2 21.3 18.6

� ควรเพิ่มเจาหนาที่และสถานที่จายเช็ค

11.3 13.1 14.3 10.6 9.0 8.7

� จายเงินลาชา 10.5 15.2 10.7 6.3 8.6 10.2

� ควรจายเช็คพรอมกันทั่วประเทศ 3.1 2.1 2.9 3.4 4.5 3.0

� ควรมีการประชาสัมพันธอยางทั่วถึง

1.9 3.2 2.9 1.0 0.9 0.4

� ควรสั่งจายเปนธนาณัติตามที่อยูของผูที่มีสิทธิ์ไดรับ

0.8 0.2 0.4 0.5 2.7 ..

� ควรใหองคการปกครองสวนทองถิ่นนําเช็คไปจายให

0.8 0.5 0.8 0.5 0.9 1.1

� ควรจายเปนคูปองแลกสินคา 0.4 1.1 0.4 .. .. 0.4

� ควบคุมการเบิกจายเพื่อมิใหมีการทุจริต/คอรัปช่ัน

.. 0.2 .. 0.5 .. 0.4

• ผูไมแสดงความคิดเห็น 74.3 56.5 75.6 79.3 77.9 73.6

หมายเหตุ : 1/ ตอบไดมากกวา 1 คําตอบ

Page 31: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

16

ในขณะที่ความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดสรรเงินคาครองชีพของรัฐบาล ในดานจํานวนเงิน มีประชาชนรอยละ 18.9 แสดงความคิดเห็น โดยใหความเห็นดังนี้ ควรเพิ่มจํานวนเงินใหเหมาะสมกับสภาวะเศรษฐกิจ/อาชพี (รอยละ 77.8) ควรเพิ่มจาํนวนเงนิเปน 3,000 บาท (รอยละ 7.9) และเพิ่มเปน 5,000 บาท (รอยละ 6.3) เปนตน

ตาราง 11 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบายการจัดสรรเงินคาครองชีพของรัฐบาล จําแนกตามขอคิดเห็น/ขอเสนอแนะนโยบายการจัดสรรเงินฯ ในดานจาํนวนเงนิ และภาค

ภาค ขอคิดเห็น/ขอเสนอแนะ ทั่ว

ประเทศ กรุงเทพ มหานคร

กลาง (ยกเวน กทม.)

เหนือ ตะวันออก เฉียงเหนือ

ใต

รวม 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

• ผูแสดงความคิดเห็น1/ 18.9 28.3 17.0 13.8 19.6 18.7

� ควรเพิ่มจํานวนเงินใหเหมาะสมกับสภาวะเศรษฐกิจ/อาชีพ 77.8 83.4 87.6 73.9 68.4 81.8

� ควรเพิ่มเปน 3,000 บาท 7.9 6.4 5.3 14.5 8.2 8.0 � ควรเพิ่มเปน 5,000 บาท 6.3 2.8 3.5 2.9 12.8 3.7 � ควรลดใหเหลือเดือนละ

1,000 บาท 2.1 0.4 0.6 2.9 3.6 1.6 � ควรเพิ่มเปน 4,000 บาท 2.1 2.1 1.2 0.7 2.0 3.2 � ควรเพิ่มเปน 6,000 บาท/ แบงจายเดือนละ 1,000 บาท จาย 6 เดือน 1.6 3.2 1.2 0.7 0.5 2.7

� ควรเพิ่มเปน 2,500 บาท 1.6 0.7 1.8 3.6 0.5 0.5 � ควรใหเดือนละ 500 บาท ทุกเดือนตลอดไป 1.1 1.4 1.2 0.7 1.5 1.1

� ไมควรใหคนที่มีงานทํา 1.1 0.7 .. 0.7 2.6 .. � ควรเพิ่มเปน 3,500 บาท 0.5 0.4 0.6 0.7 0.5 0.5

• ผูไมแสดงความคิดเห็น 81.1 71.7 83.0 86.2 80.4 81.3

หมายเหตุ : 1/ ตอบไดมากกวา 1 คําตอบ

Page 32: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

17

สวนความคิดเหน็เกีย่วกบัการจัดสรรเงนิคาครองชพีของรัฐบาลในดานอืน่ๆ มีประชาชนรอยละ 19.5 แสดงความคิดเห็น โดยใหความเห็นดงันี้ ควรใหประชาชนทกุคน (รอยละ 51.3) ควรใหตลอดไป (รอยละ 14.9) และควรจัดสรรเงินเพื่อใชเปนทนุในการประกอบอาชพี/หางานใหทาํ (รอยละ 7.7) เปนตน

ตาราง 12 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบายการจัดสรรเงินคาครองชีพของรัฐบาล จําแนกตามขอคิดเห็น/ขอเสนอแนะนโยบายการจัดสรรเงินฯ ในดานอืน่ๆ และภาค

ภาค ขอคิดเห็น/ขอเสนอแนะ ทั่ว

ประเทศ กรุงเทพ มหานคร

กลาง (ยกเวน กทม.) เหนือ

ตะวันออก เฉียงเหนือ

ใต

รวม 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

• ผูแสดงความคิดเห็น 1/ 19.5 26.9 16.4 21.0 17.7 20.4

� ควรใหประชาชนทุกคน 51.3 45.7 52.4 57.1 52.0 45.6

� ควรใหตลอดไป 14.9 14.5 21.3 11.9 11.3 17.2

� ควรใหเปนทุนในการประกอบอาชีพ/หางานให

7.7 11.2 6.1 6.2 7.3 7.4

� ควรจัดสรรเงินใหเกษตรกรดวย 6.2 2.6 5.5 11.4 5.1 5.4

� ถาเศรษฐกิจดีขึ้นควรยกเลิกนโยบาย

4.1 4.1 6.1 3.3 2.3 4.9

� ควรจายเช็คปละ 2 ครั้ง 4.1 1.9 5.5 3.3 2.3 7.4

� ควรชวยเหลือผูยากจนกอนผูที่มีรายไดประจํา

3.6 4.5 0.6 3.8 4.5 4.4

� การจัดสรรไมตรงกลุมเปาหมาย 3.1 4.5 1.2 2.9 5.1 1.5

� ควรใหประชาชนสวนใหญไดรับผลประโยชน

3.1 4.5 0.6 5.7 2.3 2.5

� ควรใหผูมีประกันสังคมเทานั้น 3.1 0.7 1.2 0.5 7.9 0.5

� ควรจัดระเบียบการจายเช็ค/ลดขั้นตอนยุงยาก

2.6 7.1 1.8 1.0 2.3 2.0

� ควรประชาสัมพันธใหนําเช็คออกมาใชจายเพื่อกระตุนเศรษฐกิจ

2.6 3.3 1.8 0.5 2.8 3.4

� ควรกําหนดเงินเดือนผูมีสิทธิ์ไดรับคาครองชีพใหต่ํากวา ที่รัฐบาลกําหนด

1.5 2.6 0.6 1.4 0.6 3.4

Page 33: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

18

ตาราง 12 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบายการจัดสรรเงินคาครองชีพของรัฐบาล จําแนกตามขอคิดเห็น/ขอเสนอแนะนโยบายการจัดสรรเงินฯ ในดานอืน่ๆ และภาค (ตอ)

ภาค ขอคิดเห็น/ขอเสนอแนะ ทั่ว

ประเทศ กรุงเทพ มหานคร

กลาง (ยกเวน กทม.) เหนือ

ตะวันออก เฉียงเหนือ

ใต

� ไมควรจายเปนเงิน แตควรนําเงินมาลงทุนเพื่อจะไดรับผลกําไร

1.0 0.7 .. 0.5 1.7 1.0

� ระยะเวลาในการใชจายเช็คนอยเกินไป

0.5 0.4 0.6 0.5 1.1 0.5

� ใหเพิ่มเงินเดือน 0.5 1.1 .. .. 0.6 0.5

� เพิ่มจํานวนเงินมากกวานี้ 0.5 0.4 0.6 .. .. 0.5

� ควรอบรมอาชีพใหประชาชนสามารถประกอบอาชีพได

0.5 0.7 .. .. 0.6 0.5

• ผูไมแสดงความคิดเห็น 80.5 73.1 83.6 79.0 82.3 79.6

หมายเหตุ : 1/ ตอบไดมากกวา 1 คําตอบ

3.3 ความคิดเห็นตอนโยบายสนับสนุนการจัดการศึกษาฟรี 15 ป

3.3.1 การทราบนโยบายสนับสนุนการจัดการศึกษาฟรี 15 ป

แผนภูมิ 3 รอยละของประชาชน จําแนกตามการทราบนโยบายสนับสนุนการจัดการศึกษาฟรี 15 ปและภาค

รอยละ

20

40

60

80

100

0 ภาค ใต ทั่วประเทศ กทม. กลาง เหนือ ต.อ.น.

ทราบ ไมทราบ

8.0 11.2 7.2 9.0 8.1 4.9

92.0 88.8 92.8 91.0 91.9 95.1

Page 34: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

19

รัฐบาลไดมีนโยบายสนับสนนุการจัดการศกึษาฟรี 15 ป ต้ังแตอนุบาลถงึมัธยมศึกษาตอนปลาย ทั้งประเภทสามัญ และอาชีวศึกษา โดยรัฐจะสนับสนนุทัง้คาเลาเรยีน หนงัสือเรียน อุปกรณการเรียน เครื่องแบบ และกิจกรรมพฒันาคุณภาพผูเรียน ซึง่ไดดําเนินการตั้งแตภาคเรียนที ่1 ปการศึกษา 2552 เมื่อสอบถามประชาชนเกี่ยวกับการทราบนโยบายดังกลาว พบวา ประชาชนรอยละ 92.0 ระบุวาทราบ และรอยละ 8.0 ระบุวาไมทราบ เมื่อพิจารณาในระดับภาค พบวา ประชาชนในทุกภาคมากกวารอยละ 90 ระบวุาทราบนโยบายดังกลาว ยกเวนประชาชนในกรุงเทพมหานครที่ระบุวาทราบ รอยละ 88.8

3.3.2 การมสีิทธิ์จากนโยบายสนบัสนุนการจดัการศกึษาฟรี 15 ป

สําหรับผูที่ทราบนโยบายสนบัสนนุการจัดการศึกษาฟร ี 15 ปนัน้ พบวา ครัวเรือนที่มสีมาชิกในครัวเรือนรอยละ 53.9 ระบุวามีสิทธิ์และไดใชสิทธิ์ รอยละ 2.3 ระบวุามีสิทธิ์แตไมไดใชสิทธิ์ โดยสวนใหญใหเหตผุลที่มีสิทธิ์แตไมใชสิทธิเ์พราะสละสทิธิ์ใหผูที่มีรายไดนอย และยงัไมแนใจวาจะไดรับสิทธิน์ัน้ สวนรอยละ 40.7 ระบุวาไมมีสิทธิ์ และรอยละ 3.1 ไมแนใจ/ไมทราบ

เมื่อพิจารณาในระดับภาค พบวา ครัวเรือนที่มีสมาชิกในครัวเรือนระบุวามีสิทธิ์และไดใชสิทธิ์จะพบในภาคใตมากกวาภาคอื่น (รอยละ 61.1) ตามดวย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (รอยละ 60.1) ภาคเหนอื (รอยละ 51.6) และภาคกลาง (รอยละ 50.1) สวนกรงุเทพมหานครมเีพียงรอยละ 39.7

ตาราง 13 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบายสนับสนุนการจัดการศึกษาฟรี 15 ป จาํแนกตามครัวเรือนที่มีสมาชิกในครัวเรือนมี/ไมมีสิทธิ์จากนโยบายสนับสนนุการจัดการศึกษาฯ และภาค

ภาค ครัวเรือนที่มีสมาชิกในครัวเรอืน

มี/ไมมีสิทธิ์ ทั่ว

ประเทศ กรุงเทพ มหานคร

กลาง (ยกเวน กทม.)

เหนือ ตะวันออก เฉียงเหนือ

ใต

รวม 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

• มีสิทธิ์ 56.2 43.7 52.2 53.7 62.3 62.7

� ไดใชสิทธิ์ 53.9 39.7 50.1 51.6 60.1 61.1

� ไมใชสิทธิ์ 2.3 4.0 2.1 2.1 2.2 1.6

• ไมมีสิทธิ์ 40.7 52.2 43.9 44.5 34.6 34.8

• ไมแนใจ/ไมทราบ 3.1 4.1 3.9 1.8 3.1 2.5

Page 35: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

20

3.3.3 ความพึงพอใจตอนโยบายสนับสนุนการจัดการศึกษาฟรี 15 ป

เมื่อสอบถามผูที่ทราบนโยบายสนับสนนุการจัดการศึกษาฟร ี 15 ป เกีย่วกับความพึงพอใจตอนโยบายดังกลาว พบวา ประชาชนรอยละ 98.2 ระบุวาพึงพอใจ (โดยประชาชนทีม่ีความพงึพอใจอยูในระดับมากมีรอยละ 52.5 ปานกลางรอยละ 40.7 และนอยรอยละ 5.0) สวนผูที่ไมพึงพอใจมีรอยละ 1.8 โดยประชาชนใหเหตุผลที่ไมพึงพอใจเพราะสิ้นเปลืองงบประมาณ และควรพัฒนาบุคลากรใหมีคุณภาพดานการสอนจะดีกวา เมื่อพจิารณาในระดับภาค พบวา ประชาชนในทุกภาคมีความพึงพอใจมากกวารอยละ 97 ตาราง 14 รอยละของประชาชนที่ทราบนโยบายสนับสนุนการจัดการศึกษาฟรี 15 ป จําแนกตามระดับ

ความพึงพอใจตอนโยบายฯ และภาค ภาค

ระดับความพึงพอใจ ทั่วประเทศ กรุงเทพ มหานคร

กลาง (ยกเวน กทม.)

เหนือ ตะวันออก เฉียงเหนือ

ใต

รวม 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 • พึงพอใจ ระบุระดับ 98.2 97.7 97.6 98.7 97.9 99.0

� มาก 52.5 48.3 49.8 55.1 46.8 70.9 � ปานกลาง 40.7 42.5 43.6 40.1 44.4 25.6 � นอย 5.0 6.9 4.2 3.5 6.7 2.5

• ไมพึงพอใจ 1.8 2.3 2.4 1.3 2.1 1.0

เมื่อพิจารณากลุมครัวเรือนทีม่ีสมาชิกในครวัเรือนมีสิทธิ/์ไมสิทธิเ์กีย่วกบัความพงึพอใจตอนโยบายสนับสนนุการจัดการศึกษาฟรี 15 ป พบวา กลุมครัวเรือนที่มีสมาชิกในครัวเรือนมีสิทธิ์และไดใชสิทธิ์ระบุวาพึงพอใจสูงกวากลุมอ่ืน (รอยละ 98.8) ตามดวย กลุมครัวเรือนที่มีสมาชิกในครัวเรือนไมมีสิทธิ์ (รอยละ 97.9) และกลุมครัวเรอืนที่มีสมาชิกในครัวเรือนมีสิทธิ์แตไมไดใชสิทธ (รอยละ 91.9) ตาราง 15 รอยละของประชาชนที่ทราบนโยบายสนับสนุนการจัดการศึกษาฟรี 15 ป จําแนกตามระดับ

ความพึงพอใจตอนโยบายสนับสนนุการจดัการศึกษาฟรี 15 ป และกลุมครัวเรือนที่มีสมาชิกในครัวเรือนมีสิทธิ์/ไมมีสิทธิ ์

กลุมครัวเรือนที่มีสมาชิกในครัวเรือน ระดับความพึงพอใจ รวม มีสิทธิ์และ

ไดใชสิทธิ์ มีสิทธิ์แต

ไมไดใชสิทธิ์ ไมมีสิทธิ์

รวม 100.0 100.0 100.0 100.0 • พึงพอใจ ระบุระดับ 98.2 98.8 91.9 97.9

� มาก 52.5 59.5 49.2 44.8 � ปานกลาง 40.7 35.9 32.7 46.6 � นอย 5.0 3.4 10.0 6.5

• ไมพึงพอใจ 1.8 1.2 8.1 2.1

Page 36: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

21

3.3.4 ความคิดเห็นเกี่ยวกับนโยบายสนับสนนุการจัดการศึกษาฟร ี15 ป

ผลการสํารวจเกี่ยวกับนโยบายสนบัสนนุการจัดการศึกษาฟรี 15 ป นัน้ ประชาชนสวนใหญรอยละ 97.9 ระบุวาเห็นดวยกับการดําเนนินโยบายดังกลาวตอไปอีก มีเพียงรอยละ 2.1 ที่ไมเหน็ดวย ซึ่งเหตุผลที่ประชาชนไมเหน็ดวยเพราะสิ้นเปลอืงงบประมาณ ควรใหเรียนฟรีเพียง 12 ปเทานัน้ และควรพัฒนาบุคลากรใหมคุีณภาพในดานการสอนจะดกีวา

เมื่อพิจารณาในระดับภาค พบวา การดาํเนนินโยบายสนบัสนนุการจัดการศึกษาฟร ี 15 ปของรัฐบาลนัน้ มีประชาชนในภาคใตระบุวาเหน็ดวยมากกวาภาคอืน่ (รอยละ 98.8) ตามดวย ภาคเหนือ (รอยละ 98.2) ภาคตะวันออกเฉยีงเหนือ (รอยละ 98.1) ภาคกลาง (รอยละ 97.3) และกรุงเทพมหานคร (รอยละ 97.2)

ตาราง 16 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบายสนับสนนุการจัดการศกึษาฟรี 15 ป จําแนกตามความคิดเหน็ตอการดําเนนินโยบายฯ และภาค

ภาค ความคิดเห็น ทั่วประเทศ กรุงเทพ

มหานคร กลาง

(ยกเวน กทม.) เหนือ ตะวันออก เฉียงเหนือ ใต

รวม 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

• เห็นดวย 97.9 97.2 97.3 98.2 98.1 98.8

• ไมเห็นดวย 2.1 2.8 2.7 1.8 1.9 1.2

เมื่อพิจารณากลุมครัวเรือนทีม่ีสมาชิกในครัวเรือนมีสิทธิ/์ไมสิทธิ์เกี่ยวกับความคิดเหน็ตอการดําเนนินโยบายสนับสนนุการจัดการศึกษาฟรี 15 ปตอไปอีก พบวา กลุมครัวเรือนที่มีสมาชิกในครัวเรือนมีสิทธิ์และไดใชสิทธิ์ระบุวาเห็นดวยมากที่สุด (รอยละ 98.4) ตามดวย กลุมครัวเรือนที่มีสมาชิกในครัวเรือนไมมีสิทธิ ์(รอยละ 97.7) และกลุมครัวเรือนที่มีสมาชิกในครัวเรือนมีสิทธิ์แตไมไดใชสิทธ (รอยละ 92.4)

ตาราง 17 รอยละของประชาชนที่ทราบนโยบายสนับสนุนการจัดการศึกษาฟรี 15 ป จําแนกตามความคิดเห็นตอการดําเนนินโยบายสนับสนุนการจัดการศึกษาฟรี 15 ป และกลุมครัวเรือนที่มีสมาชิกในครัวเรือนมีสิทธิ์/ไมมีสิทธิ ์

กลุมครัวเรือนที่มีสมาชิกในครัวเรือน ความคิดเห็น รวม

มีสิทธิ์และ ไดใชสิทธิ์

มีสิทธิ์แต ไมไดใชสิทธิ์

ไมมีสิทธิ์

รวม 100.0 100.0 100.0 100.0

• เห็นดวย 97.9 98.4 92.4 97.7

• ไมเห็นดวย 2.1 1.6 7.6 2.3

Page 37: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

22

สําหรับขอคิดเห็น/ขอเสนอแนะตอนโยบายสนับสนุนการจัดการศึกษาฟรี 15 ป มปีระชาชนรอยละ 44.3 แสดงความคดิเห็น โดยใหความเห็นดงันี ้ นโยบายนี้ควรดําเนนิการตอไป (รอยละ 48.3) ควรขยายระดับการศึกษาไปจนถึง ปวส./ ปริญญาตรี – ปริญญาเอก (รอยละ 16.0) และควรใหคนยากจนจริง (รอยละ 16.0) เปนตน

ตาราง 18 รอยละของประชาชนที่ทราบนโยบายสนับสนุนการจัดการศึกษาฟรี 15 ป จําแนกตามขอคิดเห็น/ขอเสนอแนะจากนโยบายฯ และภาค

ภาค ขอคิดเห็น/ขอเสนอแนะ ทั่ว

ประเทศ กรุงเทพ มหานคร

กลาง (ยกเวน กทม.) เหนือ ตะวันออก

เฉียงเหนือ ใต

รวม 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

• ผูแสดงความคิดเห็น 1/ 44.3 57.8 43.2 44.0 38.6 49.1 � ควรดําเนินการตอไป 48.3 47.9 53.7 45.0 44.8 50.9 � ควรขยายไปจนถึง ปวส. / ปริญญาตรี – ปริญญาเอก

16.0 11.4 8.8 23.0 21.8 13.6

� ควรใหคนยากจนจริง 16.0 19.6 21.3 9.8 12.2 19.1 � ควรเพิ่มงบประมาณใหมากขึ้น 12.2 6.6 11.3 12.7 15.3 13.8

� ควรพัฒนาบุคลากรใหมีคุณภาพการสอน

6.1 9.7 4.4 9.1 4.1 5.3

� ควรควบคุมคาใชจายของสถานศึกษา

3.4 4.3 5.3 2.7 1.3 4.1

� ควรจัดสรรอุปกรณใหเด็กนักเรียนเลย

1.4 2.1 1.4 0.7 1.6 1.4

� ควรบริการรถโรงเรียน 1.4 0.7 0.2 0.9 3.4 0.2 � ไมควรมีใบเสร็จ 1.1 1.6 0.7 0.7 1.8 1.0 � ตรวจสอบการใชเงินใหตรงตามวัตถุประสงค

1.1 4.5 0.2 0.5 0.5 1.2

� ควรยกเลิกนโยบายนี้ 1.1 0.9 0.7 0.2 2.3 0.6 � ประชาสัมพันธใหทั่วถึง 0.9 1.9 0.9 0.7 0.8 1.0 � เพิ่มเงินกองทุนกูยืมเพื่อ ใชเรียน

0.7 0.2 .. 0.7 1.6 0.2

หมายเหตุ : 1/ ตอบไดมากกวา 1 คําตอบ

Page 38: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

23

3.4 ความคิดเห็นตอนโยบายการเพิม่ศกัยภาพผูวางงาน เพือ่สรางมลูคาทางเศรษฐกจิและสังคมในชมุชน

3.4.1 การทราบนโยบายการเพิม่ศักยภาพผูวางงาน

รัฐบาลไดมีนโยบายการเพิ่มศักยภาพผูวางงาน เพื่อสรางมูลคาทางเศรษฐกิจและสังคมในชุมชน ซึ่งรัฐบาลจะสนับสนนุคาใชจายในการฝกอบรมแรงงานเพื่อชวยเหลือผูประกอบการในการชะลอการเลิกจาง เปนคาเบีย้เลีย้งใหแรงงานที่เขาฝกอบรม โดยในระยะแรกเริ่มลงทะเบยีน ต้ังแตวันที ่18 มนีาคม 2552 และระยะที่สอง ลงทะเบยีนตั้งแตเดือนกนัยายน 2552 เมื่อสอบถามประชาชนเกีย่วกับการทราบนโยบายดังกลาว พบวา ประชาชนรอยละ 51.8 ระบุวาทราบ และรอยละ 48.2 ระบุวาไมทราบ

เมื่อพิจารณาในระดับภาค พบวา ประชาชนในกรุงเทพมหานครจะทราบนโยบายดังกลาวมากกวาภาคอื่น (รอยละ 61.8) ตามดวย ภาคใต (รอยละ 56.0) ภาคกลาง (รอยละ 55.9) และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (รอยละ 46.8) สวนภาคเหนือมีเพยีงรอยละ 45.6

ตาราง 19 รอยละของประชาชน จาํแนกตามการทราบนโยบายการเพิ่มศักยภาพผูวางงาน และภาค ภาค

การทราบนโยบาย ทั่วประเทศ กรุงเทพ มหานคร

กลาง (ยกเวน กทม.) เหนือ ตะวันออก

เฉียงเหนือ ใต

รวม 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

• ทราบ 51.8 61.8 55.9 45.6 46.8 56.0

• ไมทราบ 48.2 38.2 44.1 54.4 53.2 44.0

3.4.2 การมสีิทธิ์จากนโยบายการเพิ่มศกัยภาพผูวางงาน

สําหรับผูที่ทราบนโยบายการเพิ่มศักยภาพผูวางงาน เพื่อสรางมูลคาทางเศรษฐกิจและสังคมในชุมชน นัน้ พบวา ครัวเรือนที่มีสมาชิกในครัวเรือนเพียงรอยละ 4.3 ระบุวามีสิทธิ์และไดใชสิทธิ์ รอยละ 7.7 ระบุวามีสิทธิ์แตไมไดใชสิทธิ์ โดยสวนใหญใหเหตุผลทีม่ีสิทธิ์แตไมใชสิทธิ์เพราะการประชาสัมพนัธไมทัว่ถงึ ข้ันตอนการอบรมยุงยาก และสาขาที่เปดฝกอบรมไมตรงตามความตองการ ในขณะที่มีรอยละ 80.5 ระบุวาไมมีสิทธิ ์และรอยละ 7.5 ไมแนใจ/ไมทราบ

เมื่อพิจารณาในระดับภาค พบวา ประชาชนในทุกภาคสวนใหญระบวุามีสิทธิ์และไดใชสิทธิ์มีไมเกินรอยละ 6

Page 39: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

24

ตาราง 20 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบายการเพิ่มศักยภาพผูวางงาน จําแนกตามครัวเรือนที่มีสมาชิกในครัวเรือนมี/ไมมีสิทธิ์จากนโยบายการเพิ่มศักยภาพผูวางงาน และภาค

ภาค ครัวเรือนที่มีสมาชิกในครัวเรือนมี/ไมมีสิทธิ์ ทั่วประเทศ กรุงเทพ

มหานคร กลาง

(ยกเวน กทม.) เหนือ ตะวันออก

เฉียงเหนือ ใต

รวม 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

• มีสิทธิ์ 12.0 16.0 10.1 12.1 12.0 11.7

� ไดใชสิทธิ์ 4.3 5.3 4.5 4.0 3.6 5.2 � ไมใชสิทธิ์ 7.7 10.7 5.6 8.1 8.4 6.5

• ไมมีสิทธิ์ 80.5 74.7 81.5 79.3 82.4 81.5

• ไมแนใจ/ไมทราบ 7.5 9.3 8.4 8.6 5.6 6.8

3.4.3 ความคิดเห็นเกี่ยวกับนโยบายการเพิ่มศักยภาพผูวางงาน

ผลการสํารวจเกี่ยวกับนโยบายการเพิ่มศักยภาพผูวางงาน เพื่อสรางมลูคาทางเศรษฐกิจและสังคมในชุมชนนัน้ ประชาชนสวนใหญรอยละ 96.4 ระบุวาเห็นดวยกบัการดําเนินนโยบายดังกลาวตอไปอีก มีเพยีงรอยละ 3.6 ที่ระบวุาไมเหน็ดวย ซึง่เหตผุลที่ประชาชนไมเหน็ดวยเพราะตองการใหรัฐบาลหางานใหทาํ ส้ินเปลืองงบประมาณ สถานที่ฝกอบรมไกลบาน และการฝกอบรมของแตละจังหวัดไมไดมีมาตรฐานเดียวกัน

เมื่อพิจารณาในระดับภาค พบวา การดําเนินนโยบายการเพิ่มศักยภาพผูวางงาน เพื่อสรางมูลคาทางเศรษฐกจิและสงัคมในชุมชนตอไปอีกนัน้ มีประชาชนในทกุภาคระบุวาเหน็ดวยมากกวารอยละ 94

แผนภูมิ 4 รอยละของประชาชนที่ทราบนโยบายการเพิ่มศักยภาพผูวางงาน จําแนกตามความคิดเห็นตอการดําเนินนโยบายฯ ตอไปอีก และภาค

เห็นดวย ไมเห็นดวย

ใต ทั่วประเทศ กทม. กลาง เหนือ ต.อ.น.

3.6 5.6 4.8 1.8 3.4 1.9 20

40

60

80

0

96.4 94.4 95.2 98.2 96.6 98.1 รอยละ

100

ภาค

Page 40: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

25

เมื่อพิจารณากลุมครัวเรือนที่มีสมาชิกในครัวเรือนมีสิทธิ์/ไมสิทธิ์เกี่ยวกับความคิดเห็นตอการดําเนนินโยบายการเพิ่มศักยภาพผูวางงานตอไปอีก พบวา กลุมครัวเรือนที่มีสมาชิกในครัวเรือนมีสิทธิ์และไดใชสิทธิ์ระบุวาเห็นดวยมากที่สุด (รอยละ 97.6) ตามดวยกลุมครัวเรือนที่มีสมาชิกในครัวเรือนไมมีสิทธิ์ (รอยละ 96.5) และกลุมครัวเรือนที่มีสมาชิกในครัวเรือนมีสิทธิ์แตไมไดใชสิทธิ์ (รอยละ 94.5) ตาราง 21 รอยละของประชาชนที่ทราบนโยบายการเพิ่มศักยภาพผูวางงาน จาํแนกตามความคิดเห็นตอ

การดําเนินนโยบายการเพิ่มศักยภาพผูวางงานตอไปอีก และกลุมครัวเรือนที่มีสมาชิกในครัวเรือนมีสิทธิ์/ไมมีสิทธิ ์

ครัวเรือนที่มีสมาชิกในครัวเรอืน ความคิดเห็น รวม มีสิทธิ์และ

ไดใชสิทธิ์ มีสิทธิ์แต

ไมไดใชสิทธิ์ ไมมีสิทธิ์

รวม 100.0 100.0 100.0 100.0 • เห็นดวย 96.4 97.6 94.5 96.5 • ไมเห็นดวย 3.6 2.4 5.5 3.5

3.5 ความคิดเห็นตอนโยบายชมุชนพอเพยีง 3.5.1 การทราบนโยบายชมุชนพอเพียง รัฐบาลไดมีนโยบายชมุชนพอเพียง เพื่อยกระดับชุมชนทั่วประเทศ โดยใหประชาชนรวมตัวกันในชุมชนหรอืหมูบาน และเสนอโครงการที่สอดคลองกบัการพัฒนาเศรษฐกิจ โครงการชวยเหลือเกษตรกร หรือโครงการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติเขาไปยังหนวยงานที่รับผิดชอบในพืน้ที่ไดต้ังแตเดือนมีนาคม 2552 เปนตนไป เพื่อจะไดรับการอนุมัติเงนินาํไปใชจายในโครงการ เมือ่สอบถามประชาชนเกีย่วกบัการทราบนโยบายดังกลาว พบวา ประชาชนรอยละ 61.0 ระบุวาทราบ และรอยละ 39.0 ระบุวาไมทราบ เมื่อพิจารณาในระดับภาค พบวา ประชาชนในทกุภาคจะทราบนโยบายดงักลาวประมาณรอยละ 60.5 – 68.3 ยกเวนประชาชนในกรุงเทพมหานครที่ระบุวาทราบเพียงรอยละ 48.2

แผนภูมิ 5 รอยละของประชาชน จําแนกตามการทราบนโยบายชุมชนพอเพียง และภาค

ทราบ ไมทราบ

40

60

80 64.4

48.2 60.5

68.3 61.1 61.0

ภาค ใต ทั่วประเทศ กทม. กลาง เหนือ ต.อ.น.

20

0

รอยละ

39.0 51.8

39.5 35.6 31.7

38.9

Page 41: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

26

3.5.2 ความคิดเห็นเกี่ยวกับนโยบายชุมชนพอเพียง

ผลการสํารวจเกี่ยวกับนโยบายชุมชนพอเพียงนั้น ประชาชนสวนใหญรอยละ 97.7 ระบวุาเหน็ดวย กับการดําเนนินโยบายดังกลาว มีเพียงรอยละ 2.3 ที่ระบุวาไมเห็นดวย ซึง่เหตุผลที่ประชาชนไมเห็นดวยเพราะในแตละชุมชนประชาชนไมมีความรูดานการบริหารจัดการโครงการ และโครงการเปนรูปธรรมทีซ่้ําซอนกับกองทนุหมูบานฯ

เมื่อพิจารณาในระดับภาค พบวา การดําเนินนโยบายชมุชนพอเพยีงนั้น มีประชาชนเหน็ดวยในทุกภาคมากกวารอยละ 96

ตาราง 22 รอยละของประชาชนที่ทราบนโยบายชุมชนพอเพียง จาํแนกตามความคิดเห็นที่มีตอนโยบายชุมชนพอเพยีง และภาค

ภาค ความคิดเห็น ทั่วประเทศ กรุงเทพ

มหานคร กลาง

(ยกเวน กทม.) เหนือ ตะวันออก เฉียงเหนือ ใต

รวม 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

• เห็นดวย 97.7 96.1 97.0 98.5 97.8 98.3

• ไมเห็นดวย 2.3 3.9 3.0 1.5 2.2 1.7

3.6 ความคิดเห็นตอนโยบายการใหเบีย้ยังชีพกับผูสงูอาย ุ

3.6.1 การทราบนโยบายการใหเบี้ยยังชพีกับผูสูงอาย ุ

แผนภูมิ 6 รอยละของประชาชน จําแนกตามการทราบนโยบายการใหเบี้ยยังชีพกบัผูสูงอายุ และภาค

ทราบ ไมทราบ

ใต ทั่วประเทศ กทม. กลาง เหนือ ต.อ.น.

3.2 6.0 4.7 1.7 2.4 1.8 20

40

60

80

0

96.8 94.0 95.3 98.3 97.6 98.2 รอยละ

100

ภาค

Page 42: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

27

รัฐบาลไดมีนโยบายการใหเบีย้ยังชพีกับผูทีม่ีอายุ 60 ปข้ึนไป ที่ไมใชขาราชการบาํนาญ หรือไดรับคาตอบแทนจากราชการ เชน ส.ส. ส.ว. และขาราชการทองถิน่ ทุกคนมีสิทธิลงทะเบียนเพื่อขอรับเบี้ยยังชีพไดเดือนละ 500 บาท ตลอดไป ต้ังแตเดือนเมษายน 2552 เปนตนไป เมื่อสอบถามประชาชนเกีย่วกับการทราบนโยบายดังกลาว พบวา ประชาชนรอยละ 96.8 ระบุวาทราบ และรอยละ 3.2 ระบุวาไมทราบ เมื่อพิจารณาในระดับภาค พบวา ประชาชนในทกุภาคจะทราบนโยบายดงักลาวมากกวารอยละ 93

3.6.2 การมสีิทธิ์จากนโยบายการใหเบี้ยยังชพีกับผูสูงอายุ

สําหรับผูที่ทราบนโยบายการใหเบี้ยยังชพีกับผูสูงอายนุัน้ พบวา ครัวเรือนที่มีสมาชิกในครัวเรือนรอยละ 38.1 ระบุวามีสิทธิ์และไดใชสิทธิ ์ รอยละ 2.3 ระบุวามีสิทธิ์แตไมไดใชสิทธิ์ โดยประชาชนใหเหตุผลที่มีสิทธิ์แตไมใชสิทธิ์เพราะไปยื่นเอกสารลงทะเบียนไมทนั ข้ันตอนยุงยาก ผูใหญบานไมดําเนินการให ในขณะที่มีรอยละ 57.7 ระบุวาไมมีสิทธิ ์ และรอยละ 1.9 ไมแนใจ/ไมทราบ

เมื่อพิจารณาในระดับภาค พบวา ครัวเรือนที่มีสมาชกิในครัวเรือนระบุวามีสิทธิ์และไดใชสิทธิ์พบในภาคกลางมากกวาภาคอื่น (รอยละ 41.6) ตามดวย ภาคเหนือ (รอยละ 39.4) ภาคใต (รอยละ 37.8) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (รอยละ 36.0) และกรุงเทพมหานคร (รอยละ 35.2)

ตาราง 23 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบายการใหเบี้ยยังชพีกับผูสูงอาย ุ จาํแนกตามครัวเรือนที่มีสมาชิกในครัวเรือนมี/ไมมีสิทธิ์จากนโยบายการใหเบี้ยยังชพีฯ และภาค

ภาค ครัวเรือนที่มีสมาชิกในครัวเรือนมี/ไมมีสิทธิ์

ทั่วประเทศ กรุงเทพ

มหานคร

กลาง (ยกเวน กทม.)

เหนือ ตะวันออก เฉียงเหนือ ใต

รวม 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

• มีสิทธิ์ 40.4 37.8 44.5 40.7 38.3 40.1

� ไดใชสิทธิ์ 38.1 35.2 41.6 39.4 36.0 37.8

� ไมใชสิทธิ์ 2.3 2.6 2.9 1.3 2.3 2.3

• ไมมีสิทธิ์ 57.7 58.3 53.3 58.1 60.4 57.6

• ไมแนใจ/ไมทราบ 1.9 3.9 2.2 1.2 1.3 2.3

Page 43: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

28

3.6.3 ความพึงพอใจตอนโยบายการใหเบี้ยยงัชีพกับผูสูงอายุ

เมื่อสอบถามผูที่ทราบนโยบายการใหเบี้ยยังชีพกับผูสูงอายุเกี่ยวกับความพึงพอใจตอนโยบายดังกลาว พบวา ประชาชนรอยละ 98.1 ระบุวาพึงพอใจ (โดยประชาชนที่มีความพึงพอใจอยูในระดับมากมีรอยละ 54.7 ปานกลางรอยละ 39.1 และนอยรอยละ 4.3) สวนผูที่ไมพึงพอใจมีรอยละ 1.9 ซึ่งเหตุผลที่ประชาชนไมพงึพอใจเพราะรฐับาลยงัจัดสรรไมทั่วถงึ ส้ินเปลืองงบประมาณ และขั้นตอนยุงยาก เมื่อพิจารณาในระดับภาค พบวา ประชาชนในทกุภาคมีความพงึพอใจตอนโยบายการใหเบี้ยยังชีพกับผูสูงอายุมากกวารอยละ 96 ตาราง 24 รอยละของประชาชนที่ทราบนโยบายการใหเบีย้ยังชพีกับผูสูงอายุ จําแนกตามระดับความพึงพอใจ

ตอนโยบายการใหเบี้ยยงัชีพฯ และภาค ภาค

ระดับความพึงพอใจ ทั่วประเทศ กรุงเทพ มหานคร

กลาง (ยกเวน กทม.)

เหนือ ตะวันออก เฉียงเหนือ

ใต

รวม 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 • พึงพอใจ ระบุระดับ 98.1 96.7 97.7 99.0 98.0 98.9

� มาก 54.7 48.3 52.5 59.8 50.1 68.6 � ปานกลาง 39.1 41.3 41.0 36.4 43.0 27.8 � นอย 4.3 7.1 4.2 2.8 4.9 2.5

• ไมพึงพอใจ 1.9 3.3 2.3 1.0 2.0 1.1

เมื่อพิจารณากลุมครัวเรือนที่มีสมาชิกในครัวเรือนมีสิทธิ์/ไมสิทธิ์เกี่ยวกับความพึงพอใจตอนโยบายการใหเบี้ยยังชพีกบัผูสูงอาย ุ พบวา กลุมครัวเรือนที่มีสมาชิกในครัวเรอืนมีสิทธิ์และไดใชสิทธิ์มีความพงึพอใจสูงกวากลุมอ่ืน (รอยละ 99.1) ตามดวย กลุมครัวเรือนทีม่ีสมาชิกในครวัเรือนไมมีสิทธิ ์ (รอยละ 97.9) และกลุมครัวเรือนที่มสีมาชิกในครัวเรือนมีสิทธิ์แตไมไดใชสิทธทีม่ีความพึงพอใจเพียงรอยละ 90.4 ตาราง 25 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบายการใหเบี้ยยังชพีกับผูสูงอาย ุ จําแนกตามระดับความพงึพอใจ

ตอนโยบายการใหเบี้ยยงัชีพกับผูสูงอายุ และกลุมครัวเรือนที่มีสมาชกิในครัวเรือนมีสิทธิ์/ไมมีสิทธิ ์ครัวเรือนที่มีสมาชิกในครัวเรอืน

ระดับความพึงพอใจ รวม มีสิทธิ์และ ไดใชสิทธิ์

มีสิทธิ์แต ไมไดใชสิทธิ์

ไมมีสิทธิ์

รวม 100.0 100.0 100.0 100.0 • พึงพอใจ ระบุระดับ 98.1 99.1 90.4 97.9

� มาก 54.7 66.5 40.4 48.5 � ปานกลาง 39.1 30.2 41.9 44.2 � นอย 4.3 2.4 8.1 5.2

• ไมพึงพอใจ 1.9 0.9 9.6 2.1

Page 44: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

29

3.6.4 ความคิดเห็นเกี่ยวกับนโยบายการจัดสรรเบี้ยยงัชีพใหกับผูสูงอายุ

ผลการสํารวจเกี่ยวกับนโยบายการจัดสรรเบี้ยยังชพีใหกบัผูสูงอาย ุพบวาประชาชนสวนใหญรอยละ 98.9 ระบุวาเหน็ดวยกับการดาํเนนินโยบายนี้ตลอดไป มีเพียงรอยละ 1.1 ที่ระบุวาไมเหน็ดวย ซึง่เหตุผลที่ประชาชนไมเหน็ดวยเพราะเปนการเพิม่ภาระหนี้สินของประชาชน ส้ินเปลืองงบประมาณ และคนอาย ุ 60 ปยังสามารถทํางานได

เมื่อพิจารณาในระดับภาค พบวา การดําเนินนโยบายการใหเบี้ยยังชีพกับผูสูงอายุตลอดไปนั้น มีประชาชนในทุกภาคระบวุาเห็นดวยมากกวารอยละ 98

ตาราง 26 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบายการใหเบี้ยยังชพีกบัผูสูงอาย ุ จาํแนกตามความคิดเห็นตอการดําเนินนโยบายการใหเบี้ยยังชพีฯ ตลอดไป และภาค

ภาค ความคิดเห็น ทั่วประเทศ กรุงเทพ

มหานคร กลาง

(ยกเวน กทม.) เหนือ ตะวันออก เฉียงเหนือ ใต

รวม 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

• เห็นดวย 98.9 98.2 98.4 99.1 99.4 98.8 • ไมเห็นดวย 1.1 1.8 1.6 0.9 0.6 1.2

เมื่อพิจารณากลุมครัวเรือนที่มีสมาชิกในครัวเรือนมีสิทธิ์/ไมสิทธิ์เกี่ยวกับความคิดเห็นตอการดําเนนินโยบายการใหเบี้ยยงัชีพกับผูสูงอายุตอไปนั้น พบวา กลุมครัวเรือนที่มีสมาชกิในครัวเรือนมีสิทธิ์และไดใชสิทธิ์ระบุวาเห็นดวยมากที่สุด (รอยละ 99.5) ตามดวย กลุมครัวเรือนที่มีสมาชิกในครัวเรอืนไมมีสิทธิ ์(รอยละ 98.7) และกลุมครัวเรอืนที่มีสมาชิกในครัวเรือนมีสิทธิ์แตไมไดใชสิทธ (รอยละ 95.9)

ตาราง 27 รอยละของประชาชนที่ทราบนโยบายการใหเบีย้ยงัชพีกบัผูสูงอายุ จําแนกตามความคิดเห็นตอการดําเนนินโยบายการใหเบีย้ยังชพีกับผูสูงอายุตลอดไป และกลุมครัวเรือนที่มีสมาชิกในครัวเรือนมีสิทธิ/์ไมมีสิทธิ์

ครัวเรือนที่มีสมาชิกในครัวเรอืน ความคิดเห็น รวม มีสิทธิ์และ

ไดใชสิทธิ์ มีสิทธิ์แต

ไมไดใชสิทธิ์ ไมมีสิทธิ์

รวม 100.0 100.0 100.0 100.0

• เห็นดวย 98.9 99.5 95.9 98.7 • ไมเห็นดวย 1.1 0.5 4.1 1.3

Page 45: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

30

สําหรับขอคิดเห็น/ขอเสนอแนะตอการใหเบี้ยยังชพีกับผูสูงอาย ุมีประชาชนรอยละ 38.2 แสดงความคิดเหน็ โดยใหความเห็นดงันี ้ควรเพิ่มคาครองชพีและระยะเวลาของผูสูงอายุใหมากขึ้น(รอยละ 30.1) ผูสูงอายุควรไดรับการจัดสรรเงินอยางทั่วถงึทกุคนตลอดชีพ (รอยละ 29.3) และควรดําเนินนโยบายนี้ตลอดไป (รอยละ 24.3) เปนตน

ตาราง 28 รอยละของประชาชนที่ทราบนโยบายการใหเบี้ยยังชีพกับผูสูงอายุ จําแนกตามขอคิดเห็น/ขอเสนอแนะตอนโยบายการใหเบี้ยยงัชพีฯ และภาค

ภาค ขอคิดเหน็/ขอเสนอแนะ ทั่ว

ประเทศ กรุงเทพ มหานคร

กลาง (ยกเวน กทม.)

เหนอื ตะวันออก เฉียงเหนือ ใต

รวม 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 • ผูแสดงความคิดเห็น 1/ 38.2 53.5 37.4 37.4 32.7 40.9

� เพ่ิมคาครองชีพและอายุของผูสูงอายุใหมากขึ้น

30.1 41.1 27.8 25.4 33.6 20.8

� ควรไดรับการจัดสรรเงินอยางทั่วถึงทุกคนตลอดชีพ

29.3 26.7 23.5 34.8 28.1 37.7

� ควรดําเนินการตลอดไป 24.3 18.3 29.4 23.5 22.0 28.1 � ผูสูงอายุที่ไมมีคนดูแล สมควรไดรับเบี้ยยังชีพ

4.5 5.8 6.1 3.2 3.4 4.9

� ควรใหผูที่ไมมีรายไดและอายุ 60 ปขึ้นไป

3.9 0.9 5.6 6.7 3.7 1.5

� ควรจายเปนรายเดือน 3.1 0.9 2.7 2.7 5.5 1.7 � ควรจัดสรรเบี้ยยังชีพใหครอบครัวที่มีรายไดนอย

2.9 3.0 3.5 3.2 1.2 4.6

� ผูสูงอายุไมควรไดรับเบี้ย ยังชีพเทากันควรพิจารณาจากความยากจน

2.4 1.9 2.7 3.2 1.5 2.4

� ควรมีการประชาสัมพันธใหทั่วถึง

2.1 3.2 2.9 1.3 0.9 2.2

� ควรมีความรวดเร็วในการเบิกจาย

1.6 2.2 1.6 0.8 1.8 0.7

� ควรใหคนที่อายุ 50 ปขึน้ไปและมีรายไดนอย

1.3 0.9 1.3 0.8 2.1 0.2

� ควรนําเงินไปจายใหผูสูงอายุโดยตรง

1.3 2.2 1.1 0.5 0.9 1.5

� ควรเพิ่มสวัสดิการดานอื่น ๆ 0.8 2.6 0.5 0.3 0.3 0.7 � ควรจายเปนงวด เชน 6 เดือนครั้ง

0.5 .. 0.3 0.3 0.9 0.5

� ควรใหสิทธิ์ลงทะเบียนในจังหวัดที่อาศัยอยูในปจจุบัน

0.5 0.7 0.8 .. 0.3 ..

• ผูไมแสดงความคิดเห็น 61.8 46.5 62.6 62.6 67.3 59.1

หมายเหตุ : 1/ ตอบไดมากกวา 1 คําตอบ

Page 46: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

31

3.7 ความคิดเห็นตอนโยบายการลดคาใชจายของประชาชน เชน นโยบาย 5 มาตรการ 6 เดือน

3.7.1 การทราบนโยบาย 5 มาตรการ 6 เดือน

รัฐบาลไดมีนโยบายการลดคาใชจายของประชาชน เชน นโยบาย 5 มาตรการ 6 เดือน ไดแกการโดยสารรถประจาํทางไมปรับอากาศฟรีในเขตกรงุเทพมหานครและปรมิณฑล รถไฟชั้น 3 ไมปรับอากาศฟรี การใชน้าํประปาของครัวเรือนฟร ี 30 ลูกบาศกเมตร/เดอืน การใชไฟฟาของครัวเรือนฟรี 90 หนวย/เดือน และการชะลอปรับราคากาซหุงตม (LPG) ในครัวเรือน เปนระยะเวลา 6 เดือน ซึ่งไดดําเนนิการไปแลวตั้งแตเดือนกุมภาพนัธ 2552 และจะครบกําหนดในเดือนกนัยายนนี ้ เมือ่สอบถามประชาชนเกีย่วกบัการทราบนโยบายดังกลาว พบวา ประชาชนรอยละ 90.9 ระบุวาทราบ และรอยละ 9.1 ระบวุาไมทราบ เมือ่พิจารณาในระดับภาค พบวา ประชาชนในทุกภาคจะทราบนโยบายดังกลาวมากกวารอยละ 86

ตาราง 29 รอยละของประชาชน จาํแนกตามการทราบนโยบาย 5 มาตรการ 6 เดือน ของรัฐบาล และ ภาค

ภาค การทราบนโยบาย ทั่วประเทศ กรุงเทพ

มหานคร กลาง

(ยกเวน กทม.) เหนือ ตะวันออก เฉียงเหนือ ใต

รวม 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

• ทราบ 90.9 86.4 88.5 94.8 92.4 90.2

• ไมทราบ 9.1 13.6 11.5 5.2 7.6 9.8

3.7.2 การไดรับประโยชนจากนโยบาย 5 มาตรการ 6 เดือน

สําหรับผูที่ทราบนโยบาย 5 มาตรการ 6 เดือนนั้น มคีรัวเรือนรอยละ 69.0 ระบุวาไดรับประโยชนจากนโยบายดังกลาว รอยละ 31.0 ระบุวาไมไดรับประโยชน โดยครัวเรือนที่ไดรับประโยชนระบุวามาตรการที่ไดรับประโยชนมากที่สุดตามลาํดับ ดังนี้

1) การใชไฟฟาของครัวเรือนฟรี 90 หนวย/เดือน (รอยละ 75.0) ซ่ึงมาตรการนีท้ําใหครัวเรือนไดรับประโยชนเฉลีย่เดือนละ 172.35 บาท

2) การใชน้าํประปาของครัวเรือนฟรี 30 ลูกบาศกเมตร/เดือน (รอยละ 30.9) ซึ่งมาตรการนี้ทําใหครัวเรือนไดรับประโยชนเฉลี่ยเดือนละ 148.42 บาท

3) การชะลอการปรับราคากาซหุงตม (LPG) ในครัวเรือน (รอยละ 19.3) 4) การใชรถโดยสารประจาํทางไมปรับอากาศฟรีในเขตกรงุเทพมหานคร และปริมณฑล (รอยละ

9.9) ซึ่งมาตรการนี้ทาํใหครัวเรือน/ประชาชนไดรับประโยชนเฉลี่ยเดือนละ 270.61 บาท 5) การใชรถไฟชัน้ 3 ไมปรับอากาศฟรี (รอยละ 2.6) ซึ่งมาตรการนี้ทาํใหครัวเรือน/

ประชาชนไดรับประโยชนเฉลี่ยเดือนละ 192.42 บาท

Page 47: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

32

เมื่อพิจารณาในระดับภาค พบวา ครัวเรอืนในภาคตะวนัออกเฉียงเหนือระบุวาไดรับประโยชนจากนโยบาย 5 มาตรการ 6 เดือนมากที่สุด (รอยละ 77.2) ตามดวย ภาคเหนือ (รอยละ 75.9) กรุงเทพมหานคร (รอยละ 66.8) และภาคใต (รอยละ 59.6) ในขณะทีภ่าคกลางมีครัวเรือนระบวุาไดรับประโยชนนอยที่สุด (รอยละ 58.2)

ตาราง 30 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบาย 5 มาตรการ 6 เดือน จาํแนกตามครัวเรือนที่ไดรับประโยชนจากนโยบาย 5 มาตรการ 6 เดือน และภาค

ภาค ครัวเรือนที่ไดรบัประโยชนจาก นโยบาย 5 มาตรการ 6 เดือน

ทั่วประเทศ

กรุงเทพ-มหานคร

กลาง (ยกเวน กทม.)

เหนือ ตะวันออก เฉียงเหนือ

ใต

รวม 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

• ไดรับประโยชน 1/ 69.0 66.8 58.2 75.9 77.2 59.6 1. การใชไฟฟาของครัวเรือนฟรี 90

หนวย / เดือน 75.0 25.3 59.1 84.9 91.8 77.1

จํานวนเงินเฉลี่ยตอเดือนที่ไดรับประโยชน(บาท)

172.35 229.96 201.65 170.94 156.87 178.76

2. การใชน้ําประปาของครัวเรือนฟร ี 30 ลูกบาศกเมตร / เดือน

30.9 54.7 54.3 17.2 18.2 34.4

จํานวนเงินเฉลี่ยตอเดือนที่ไดรับประโยชน(บาท)

148.42 188.40 164.58 117.94 121.82 116.96

3. การชะลอการปรับราคากาซหุงตม(LPG) ในภาคครวัเรือน

19.3 14.0 16.9 28.4 14.6 27.1

4. การใชรถโดยสารประจําทางไมปรบัอากาศฟรีในเขต กทม.และปริมณฑล

9.9 62.4 9.5 1.1 2.5 1.2

จํานวนเงินเฉลี่ยตอเดือนที่ไดรับประโยชน(บาท)

270.61 293.87 225.21 185.33 168.00 85.56

5. การใชรถไฟชั้น 3 ไมปรับอากาศฟร ี 2.6 5.3 2.8 1.0 1.6 5.8

จํานวนเงินเฉลี่ยตอเดือนที่ไดรับประโยชน(บาท)

192.42 212.34 157.00 186.91 182.00 219.02

• ไมไดรับประโยชน 31.0 33.2 41.8 24.1 22.8 40.4

หมายเหตุ : 1/ ตอบไดมากกวา 1 คําตอบ

Page 48: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

33

3.7.3 ความพึงพอใจตอนโยบาย 5 มาตรการ 6 เดือน

เมื่อสอบถามผูที่ทราบนโยบาย 5 มาตรการ 6 เดือนเกี่ยวกับความพึงพอใจตอนโยบายดังกลาว พบวา ประชาชนรอยละ 96.4 ระบุวาพึงพอใจ (โดยประชาชนที่มีความพงึพอใจอยูในระดับมากมีรอยละ 43.9 ปานกลางรอยละ 43.5 และนอยรอยละ 9.0) สวนผูที่ไมพงึพอใจมีรอยละ 3.6 ซึ่งเหตุผลที่ประชาชนไมพงึพอใจเพราะทําใหมีผูไมประหยัดการใชน้าํประปา – ไฟฟา และส้ินเปลืองงบประมาณ

เมื่อพิจารณาในระดบัภาค พบวา ประชาชนในทุกภาคมีความพึงพอใจนโยบาย 5 มาตรการ 6 เดือนมากกวารอยละ 94 ตาราง 31 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบาย 5 มาตรการ 6 เดือน จําแนกตามระดับความพึงพอใจตอ

นโยบาย 5 มาตรการ 6 เดือน และภาค

ภาค ระดับความพึงพอใจ ทั่วประเทศ กรุงเทพ

มหานคร กลาง

(ยกเวน กทม.) เหนือ ตะวันออก เฉียงเหนือ ใต

รวม 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

• พึงพอใจ ระบุระดับ 96.4 95.7 95.0 97.5 96.4 98.0

� มาก 43.9 40.1 39.6 47.8 42.1 53.7 � ปานกลาง 43.5 46.7 44.6 43.8 44.1 37.3 � นอย 9.0 8.9 10.8 5.9 10.2 7.0

• ไมพึงพอใจ 3.6 4.3 5.0 2.5 3.6 2.0

เมื่อพิจารณากลุมครัวเรือนที่ไดรับประโยชน/ไมไดรับประโยชนเกี่ยวกับความพึงพอใจตอนโยบาย 5 มาตรการ 6 เดือน พบวา กลุมครัวเรือนที่ไดรับประโยชนรอยละ 98.2 จะมีความพงึพอใจสงูกวากลุมครัวเรือนที่ไมไดรับประโยชน รอยละ 92.4

ตาราง 32 รอยละของประชาชนที่ทราบนโยบาย 5 มาตรการ 6 เดือน จําแนกตามระดับความพงึพอใจตอนโยบาย 5 มาตรการ 6 เดือน และกลุมครัวเรือนที่ไดรับ/ไมไดรับประโยชน

ระดับความพึงพอใจ รวม กลุมครัวเรือนที่ไดรับประโยชน

กลุมครัวเรือนที่ไมไดรับประโยชน

รวม 100.0 100.0 100.0 • พึงพอใจ ระบุระดับ 96.4 98.2 92.4

� มาก 43.9 53.8 21.8 � ปานกลาง 43.5 39.9 51.7 � นอย 9.0 4.5 18.9

• ไมพึงพอใจ 3.6 1.8 7.6

Page 49: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

34

3.8 ความคิดเห็นตอนโยบายการจัดสรรคาตอบแทนใหอาสาสมัครสาธารณสขุประจําหมูบาน (อสม.)

3.8.1 การทราบนโยบายการจัดสรรคาตอบแทนให อสม.

รัฐบาลไดมีนโยบายการจัดสรรคาตอบแทนใหอาสาสมคัรสาธารณสุขประจําหมูบาน (อสม.) ทั่วประเทศ ในอัตราเดือนละ 600 บาท เพื่อสรางแรงจงูใจในการปฏิบัติงานในการสงเสริมสุขภาพประชาชนในทองถิน่/ชุมชน การดูแลผูปวยในโรงพยาบาล และการเฝาระวงัโรคในชุมชน ซึง่ไดดําเนนิการไปแลวในเดือนมีนาคม 2552 เมื่อสอบถามประชาชนเกี่ยวกับการทราบนโยบายดังกลาว พบวา ประชาชนรอยละ 66.0 ระบุวาทราบ และรอยละ 34.0 ระบุวาไมทราบ

เมื่อพิจารณาในระดับภาค พบวา ในภาคใตมีประชาชนระบุวาทราบนโยบายการจัดสรรคาตอบแทนให อสม. มากกวาภาคอื่น (รอยละ 75.0) ตามดวย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (รอยละ 74.7) ภาคเหนือ (รอยละ 71.5) และภาคกลาง (รอยละ 58.6) ในขณะที่กรุงเทพมหานครประชาชนระบุวาทราบเพียงรอยละ 38.3

ตาราง 33 รอยละของประชาชน จําแนกตามการทราบนโยบายการจัดสรรคาตอบแทนให อสม. และ ภาค ภาค

การทราบนโยบาย ทั่วประเทศ กรุงเทพ มหานคร

กลาง (ยกเวน กทม.) เหนือ ตะวันออก

เฉียงเหนือ ใต

รวม 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

• ทราบ 66.0 38.3 58.6 71.5 74.7 75.0

• ไมทราบ 34.0 61.7 41.4 28.5 25.3 25.0

3.8.2 ความพึงพอใจตอนโยบายการจัดสรรคาตอบแทนให อสม.

เมื่อสอบถามผูที่ทราบนโยบายการจัดสรรคาตอบแทนให อสม. เกีย่วกับความพงึพอใจตอนโยบายดังกลาว พบวา ประชาชนรอยละ 97.3 ระบุวาพึงพอใจ (โดยประชาชนที่มีความพงึพอใจอยูในระดับมากมีรอยละ 35.8 ปานกลางรอยละ 53.9 และนอยรอยละ 7.6) สวนผูที่ไมพึงพอใจมีรอยละ 2.7 ซึ่งเหตุผลที่ประชาชนไมพงึพอใจเพราะไมไดเกิดประโยชน เปนการเอาใจเฉพาะคนบางกลุมเทานั้น และ อสม. ทํางานไมคุมคาตอบแทนที่ไดรับ

เมื่อพิจารณาในระดับภาค พบวา ประชาชนในทกุภาคมีความพงึพอใจตอนโยบายการจัดสรรคาตอบแทนให อสม. มากกวารอยละ 95

Page 50: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

35

ตาราง 34 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบายการจัดสรรคาตอบแทนให อสม. จําแนกตามระดับความพึงพอใจตอนโยบายการจัดสรรคาตอบแทนให อสม. และภาค

ภาค ระดับความพึงพอใจ ทั่วประเทศ กรุงเทพ

มหานคร กลาง

(ยกเวน กทม.) เหนือ ตะวันออก เฉียงเหนือ

ใต

รวม 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

• พึงพอใจ ระบุระดับ 97.3 96.5 95.7 98.9 97.2 98.4

� มาก 35.8 28.7 30.9 40.4 33.2 46.4 � ปานกลาง 53.9 54.8 55.1 51.7 57.0 47.1 � นอย 7.6 13.0 9.7 6.8 7.0 4.9

• ไมพึงพอใจ 2.7 3.5 4.3 1.1 2.8 1.6

เมื่อพิจารณากลุมครัวเรือนที่มี/ไมมีคนในครัวเรือนเปน อสม. เกี่ยวกับความพึงพอใจตอนโยบายการจดัสรรคาตอบแทนให อสม. พบวา กลุมครัวเรือนทีม่ีคนในครัวเรอืนเปน อสม.และกลุมครัวเรือนที่ไมมีคนในครัวเรอืนเปน อสม. มีความพึงพอใจไมแตกตางกัน คือ รอยละ 97.2 และรอยละ 97.3 ตามลําดับ

ตาราง 35 รอยละของประชาชนที่ทราบนโยบายการจัดสรรคาตอบแทนให อสม. จําแนกตามระดับความพึงพอใจตอนโยบายฯ และกุลมครัวเรือนที่ม/ีไมมีคนในครัวเรือนเปน อสม.

กลุมครัวเรือนที่มีคนในครัวเรือน ระดับความพึงพอใจ รวม

เปน อสม. ไมเปน อสม.

รวม 100.0 100.0 100.0

• พึงพอใจ ระบุระดับ 97.3 97.2 97.3

� มาก 35.8 58.0 30.6 � ปานกลาง 53.9 34.8 58.3 � นอย 7.6 4.4 8.4

• ไมพึงพอใจ 2.7 2.8 2.7

Page 51: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

36

3.8.3 ความคิดเห็นเกี่ยวกับนโยบายการจัดสรรคาตอบแทนให อสม.

ผลการสํารวจเกี่ยวกับนโยบายการจัดสรรคาตอบแทนให อสม. พบวา ประชาชนสวนใหญรอยละ 96.3 ระบุวาเหน็ดวยกับการดําเนนินโยบายนี้ตลอดไป มีเพยีงรอยละ 3.7 ที่ระบุวาไมเห็นดวย ซึง่เหตุผลที่ประชาชนไมเหน็ดวยเพราะ อสม. ไมมีผลงานเทาที่ควร อสม. มีสวัสดิการอยูแลว และเปนหนาที่ของ อสม.

เมื่อพิจารณาในระดับภาค พบวาการดําเนินนโยบายการจัดสรรคาตอบแทนให อสม. ตลอดไปนั้น มีประชาชนในทุกภาคมากกวารอยละ 93 ระบุวาเห็นดวย

ตาราง 36 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบายการจดัสรรคาตอบแทนให อสม. จาํแนกตามความคิดเหน็ตอการดําเนนินโยบายฯ ตลอดไป และภาค

ภาค ความคิดเห็น ทั่วประเทศ กรุงเทพ

มหานคร กลาง

(ยกเวน กทม.) เหนือ ตะวันออก เฉียงเหนือ ใต

รวม 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

• เห็นดวย 96.3 95.8 93.5 97.7 96.7 97.5

• ไมเห็นดวย 3.7 4.2 6.5 2.3 3.3 2.5

เมื่อพิจารณากลุมครัวเรือนทีม่ี/ไมมีคนในครัวเรือนเปน อสม.เกีย่วกับความคิดเหน็ตอการดําเนนินโยบายการจดัสรรเงนิคาตอบแทนให อสม. ตอไปอีก พบวา กลุมครัวเรอืนที่มีคนในครัวเรือนเปน อสม.ระบวุาเหน็ดวยมากกวากลุมครัวเรอืนที่ไมมีคนในครัวเรือนเปน อสม. คือ รอยละ 98.2 และรอยละ 95.8 ตามลําดับ

ตาราง 37 รอยละของประชาชนททีราบนโยบายการจัดสรรเงินคาตอบแทนให อสม. จําแนกตามความคิดเหน็ตอการดําเนนินโยบายฯ ตลอดไป และกุลมครัวเรือนทีม่/ีไมมีคนในครวัเรือนเปน อสม.

กลุมครัวเรือนที่มีคนในครัวเรือน ความคิดเห็น รวม

เปน อสม. ไมเปน อสม.

รวม 100.0 100.0 100.0

• เห็นดวย 96.3 98.2 95.8

• ไมเห็นดวย 3.7 1.8 4.2

Page 52: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

37

สําหรับขอคิดเห็น/ขอเสนอแนะตอนโยบายการจัดสรรคาตอบแทนให อสม.นัน้ มปีระชาชนรอยละ 31.7 แสดงความคดิเห็น โดยใหความเห็นดงันี ้ ควรให อสม.ไดรับคาตอบแทนตลอดไป (รอยละ 51.7) ควรใหคาตอบแทนมากกวานี้ (รอยละ 26.2) และควรควบคุมคุณภาพการใหบริการของ อสม.กับประชาชน (รอยละ 9.5) เปนตน

ตาราง 38 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบายการจดัสรรคาตอบแทนให อสม. จําแนกตามขอคิดเหน็/ขอเสนอแนะตอนโยบายการจัดสรรคาตอบแทนให อสม. และภาค

ภาค ขอคิดเห็น/ขอเสนอแนะ ทั่วประเทศ กรุงเทพ

มหานคร กลาง

(ยกเวน กทม.) เหนือ ตะวันออก

เฉียงเหนือ ใต

รวม 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

• ผูแสดงความคิดเห็น 1/ 31.7 37.4 29.5 31.0 29.0 39.6 � ควรไดรับคาตอบแทนตลอดไป

51.7 47.9 59.0 54.2 45.5 54.0

� ควรใหคาตอบแทนมากกวานี้

26.2 26.5 18.3 28.4 31.4 24.0

� ควรควบคุมคุณภาพการใหบริการของ อสม. กับประชาชน

9.5 11.8 9.2 7.4 9.0 12.6

� ควรคัดเลือก อสม. ที่ทํางานจริงๆ

8.5 10.7 13.2 5.5 7.2 7.8

� ควรมี อสม. ที่มีความรูความสามารถจริง

5.0 4.8 5.8 6.1 5.2 3.3

� ควรเพิ่มสวัสดิการใหกับครอบครัว อสม.

1.9 4.5 1.0 1.3 1.7 1.8

� ควรมีการสงเสริมสาธารณสุขหมูบาน

1.3 0.8 .. 1.9 0.7 3.3

� ไมควรจายผาน อบต. 0.9 0.8 0.7 .. 2.1 0.5 � ควรจายเปนเงินเดือน 0.9 0.8 0.3 0.6 1.4 0.8 � ไมควรตกเบิก 0.6 0.5 .. 1.3 0.7 .. � ควรมีเครื่องแบบฟรีให อสม.

.. .. .. .. 0.3 0.3

• ผูไมแสดงความคิดเห็น 68.3 62.6 70.5 69.0 71.0 60.4

หมายเหตุ : 1/ ตอบไดมากกวา 1 คําตอบ

Page 53: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

38

3.9 ความคิดเห็นตอนโยบายนมโรงเรียน

3.9.1 การทราบนโยบายนมโรงเรียน

รัฐบาลไดมีนโยบายนมโรงเรียน โดยการจัดซื้อนมใหเด็กนักเรียนตั้งแตอนุบาล – ประถมศึกษาปที่ 6 ด่ืมนมฟรี จากเดิมทีใ่หเฉพาะเดก็นกัเรยีนอนุบาล – ประถมศึกษาปที ่4 ซึ่งรัฐบาลจะเปนผูจัดสรรงบประมาณใหองคกรปกครองสวนทองถิน่ (อบต.) เขาไปดําเนินการ และขยายการดื่มนมฟรีจากเดิม 230 วนัตอป เปน 260 วันตอป รวมถึงชวงปดเทอมดวย เมื่อสอบถามประชาชนเกี่ยวกับการทราบนโยบายดังกลาว พบวา ประชาชนรอยละ 92.2 ระบวุาทราบ และรอยละ 7.8 ระบุวาไมทราบ เมื่อพิจารณาในระดับภาค พบวา ประชาชนในทุกภาคระบุวาทราบนโยบายนมโรงเรียน มากกวารอยละ 90 ตาราง 39 รอยละของประชาชน จําแนกตามการทราบนโยบายนมโรงเรียน และ ภาค

ภาค การทราบนโยบาย ทั่วประเทศ กรุงเทพ

มหานคร กลาง

(ยกเวน กทม.) เหนือ ตะวันออก เฉียงเหนือ ใต

รวม 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 • ทราบ 92.2 90.4 92.7 91.9 91.3 95.5 • ไมทราบ 7.8 9.6 7.3 8.1 8.7 4.5

3.9.2 ความพึงพอใจตอนโยบายนมโรงเรยีน เมื่อสอบถามผูที่ทราบนโยบายนมโรงเรยีนเกีย่วกับความพึงพอใจตอนโยบายดังกลาว พบวา ประชาชนรอยละ 97.0 ระบวุาพงึพอใจ (โดยประชาชนมีความพึงพอใจอยูในระดับมากรอยละ 52.3 ปานกลางรอยละ 39.3 และนอยรอยละ 5.4) สวนผูที่ไมพึงพอใจมีรอยละ 3.0 ซึ่งเหตุผลที่ประชาชนไมพึงพอใจเพราะทําใหเกดิการคอรรัปชั่น มีการแจกนมคุณภาพต่าํ/หมดอาย ุและควรจัดสรรเงินใหเด็กซื้อนมเอง เมื่อพิจารณาในระดับภาค พบวา ประชาชนในทกุภาคมีความพงึพอใจนโยบายนมโรงเรยีน มากกวารอยละ 93

ตาราง 40 รอยละของประชาชนที่ทราบนโยบายนมโรงเรียน จาํแนกตามระดับความพึงพอใจตอนโยบายนมโรงเรียน และภาค

ภาค ระดับความพึงพอใจ ทั่วประเทศ กรุงเทพ

มหานคร กลาง

(ยกเวน กทม.) เหนือ ตะวันออก

เฉียงเหนือ ใต

รวม 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 • พึงพอใจ ระบุระดับ 97.0 94.0 95.7 98.8 97.7 97.6

� มาก 52.3 41.2 50.2 57.5 49.7 64.3 � ปานกลาง 39.3 43.6 39.7 38.2 42.5 29.0 � นอย 5.4 9.2 5.8 3.1 5.5 4.3

• ไมพึงพอใจ 3.0 6.0 4.3 1.2 2.3 2.4

Page 54: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

39

เมื่อพิจารณากลุมครัวเรือนทีม่ี/ไมมีบุตร/หลานศึกษาอยูในระดับอนุบาล – ประถมศึกษาปที่ 6 เกีย่วกับความพึงพอใจตอนโยบายนมโรงเรยีน พบวา กลุมครัวเรือนทีม่ีบุตร/หลานศกึษาอยูฯ ระบวุาพงึพอใจสูงกวากลุมครัวเรือนที่ไมมีบุตร/หลานศึกษาอยูฯ คือ รอยละ 97.7 และ รอยละ 96.0 ตามลําดับ

ตาราง 41 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบายนมโรงเรียน จาํแนกตามระดับความพึงพอใจตอนโยบายนมโรงเรียน และกลุมครัวเรือนที่มี/ไมมีบุตร/หลานศึกษาอยูในระดับอนุบาล – ประถมศึกษาปที่ 6

ระดับความพึงพอใจ รวม กลุมครัวเรือนที่มีบุตร/หลานศึกษาอยู ฯ

กลุมครัวเรือนที่ไมมีบุตร/หลานศึกษาอยูฯ

รวม 100.0 100.0 100.0

• พึงพอใจ ระบุระดับ 97.0 97.7 96.0

� มาก 52.3 59.7 42.7 � ปานกลาง 39.3 34.0 46.1 � นอย 5.4 4.0 7.2

• ไมพึงพอใจ 3.0 2.3 4.0

3.9.3 ความคิดเห็นเกี่ยวกับนโยบายนมโรงเรยีน

ผลการสํารวจเกี่ยวกับนโยบายนมโรงเรียน พบวา ประชาชนสวนใหญรอยละ 97.9 ระบุวาเห็นดวยกับการดําเนินนโยบายนี้ตลอดไป มีเพียงรอยละ 2.1 ที่ระบวุาไมเห็นดวย ซึง่เหตุผลทีป่ระชาชนไมเห็นดวยเพราะสิ้นเปลืองงบประมาณ การแจกนมไมทั่วถงึ และควรสงเสริมดานการศึกษาจะดีกวา

เมื่อพิจารณาในระดับภาค พบวา การดําเนนินโยบายนมโรงเรียนตลอดไปนั้น มีประชาชนในทุกภาคระบุวาเห็นดวยมากกวารอยละ 96

ตาราง 42 รอยละของประชาชนที่ทราบนโยบายนมโรงเรียน จําแนกตามความคิดเห็นที่มีตอการดําเนินนโยบายนมโรงเรียนตลอดไป และภาค

ภาค ความคิดเห็น ทั่วประเทศ กรุงเทพ

มหานคร กลาง

(ยกเวน กทม.) เหนือ ตะวันออก เฉียงเหนือ ใต

รวม 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

• เห็นดวย 97.9 97.0 97.5 98.8 98.1 97.8

• ไมเห็นดวย 2.1 3.0 2.5 1.2 1.9 2.2

Page 55: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

40

เมื่อพิจารณากลุมครัวเรือนทีม่ี/ไมมีบุตร/หลานศึกษาอยูในระดับอนุบาล – ประถมศกึษาปที่ 6 เกี่ยวกับความคิดเห็นตอการดําเนนินโยบายนมโรงเรียนตอไปอีกนั้น พบวา กลุมครัวเรือนทีม่บุีตร/หลานศึกษาอยูฯ ระบุวาเหน็ดวยมากกวากลุมครัวเรือนที่ไมมบุีตร/หลานศึกษาอยูฯ คือ รอยละ 98.7 และรอยละ 96.8 ตามลําดบั

ตาราง 43 รอยละของประชาชนที่ทราบนโยบายนมโรงเรยีน จําแนกตามความคิดเห็นตอการดําเนนินโยบายฯ ตลอดไป และกลุมครัวเรือนที่ม/ีไมมีบุตร/หลานศกึษาอยูในระดับอนุบาล – ประถมศึกษาปที ่6

ความคิดเห็น รวม กลุมครัวเรือนที่มีบุตร/หลานศึกษาอยู ฯ

กลุมครัวเรือนที่ไมมีบุตร/หลานศึกษาอยูฯ

รวม 100.0 100.0 100.0

• เห็นดวย 97.9 98.7 96.8 • ไมเห็นดวย 2.1 1.3 3.2

สําหรับขอคิดเห็น/ขอเสนอแนะตอนโยบายนมโรงเรียนนั้น มีประชาชนรอยละ 40.5 แสดงความคิดเหน็ โดยใหความเห็นดงันี ้ ควรให รัฐควรควบคุมการผลิตนมใหมีคุณภาพ/สะอาด (รอยละ 38.8) ควรตรวจสอบคุณภาพนมกอนแจกจายใหโรงเรียน (รอยละ 27.2) ควรมีสารอาหารครบถวน (รอยละ 12.6) และไมควรผูกขาดกับบริษัทผูประมูล (รอยละ 12.3) เปนตน

ตาราง 44 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบายนมโรงเรียน จาํแนกตามขอคิดเหน็/ขอเสนอแนะตอนโยบายนมโรงเรียน และภาค

ภาค ขอคิดเหน็/ขอเสนอแนะ ทั่วประเทศ กรุงเทพ

มหานคร กลาง

(ยกเวน กทม.) เหนอื ตะวันออก เฉียงเหนือ

ใต

รวม 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 • ผูแสดงความคิดเห็น 1/ 40.5 56.4 41.9 38.1 32.4 46.6

� ควรมีควบคุมการผลิตนม ใหมีคุณภาพ/สะอาด

38.8 35.8 43.0 28.9 41.0 42.7

� ควรตรวจสอบคุณภาพนมกอนแจกจายใหแตละโรงเรียน

27.2 31.9 25.3 33.9 23.8 23.4

� ควรมีสารอาหารครบถวน 12.6 14.5 12.4 12.9 12.7 10.9 � ไมควรผูกขาดกับบริษัทผูประมูล

12.3 23.6 12.2 7.6 7.7 14.8

� ควรเพิ่มรสชาติของนมใหหลากหลาย

7.7 2.3 7.4 10.5 8.6 9.2

Page 56: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

41

ตาราง 44 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบายนมโรงเรียน จาํแนกตามขอคิดเหน็/ขอเสนอแนะตอนโยบายนมโรงเรียน และภาค (ตอ)

ภาค ขอคิดเหน็/ขอเสนอแนะ ทั่วประเทศ กรุงเทพ

มหานคร กลาง

(ยกเวน กทม.) เหนอื ตะวันออก เฉียงเหนือ

ใต

� ควรดําเนินการตลอดไป 7.7 7.1 7.4 9.4 7.7 5.8 � ควรใหเด็กไดกินทุกชั้นเรียน/ขยายการดื่มนมฟรีไปจนถึง ม. 3/ม. 6/ปริญญาตรี

4.0 1.8 3.1 6.3 3.7 4.5

� ควรใหโรงเรียนเปนผูซื้อนม 2.0 0.7 1.2 1.8 2.8 3.4 � ควรแจกนมกลองไมใชนมถุง 1.2 1.2 1.2 2.4 1.2 0.6 � ควรแจกนมใหด่ืมในวันหยุด 1.2 0.7 1.0 0.5 1.9 1.7 � เนนการชวยเหลอืเด็กดอยโอกาสไดด่ืมนม

1.0 0.7 1.4 1.3 0.9 0.2

� ควรสนับสนุนผลผลิตของเกษตรกรในชุมชนมาจัดทํานมโรงเรียน

0.7 0.7 0.7 0.8 0.6 0.6

� ควรเพิ่มอาหารดานอื่น เชน นมถั่วเหลอืง และอาหารกลางวัน

0.5 .. 0.5 0.3 0.9 1.1

� ควรแจกนมใหนกัเรียนวันตอวัน 0.5 0.5 0.2 0.8 0.3 0.6 � จัดสรรเงินใหผูปกครองซื้อนมใหเด็กด่ืมเอง

0.5 0.9 0.2 0.3 0.3 0.2

� ควรใหเปนอํานาจของชุมชนแทนผูบริหารโรงเรียน

0.2 0.4 0.2 .. 0.3 0.9

� โรงเรียนเอกชนควรไดรับสิทธิ์ดวย 0.2 0.4 .. 0.5 .. 0.2 � ไมควรให อบต.เขามาเกี่ยวของ 0.2 0.2 .. .. 0.3 0.6 • ผูไมแสดงความคิดเห็น 59.5 43.6 58.1 61.9 67.6 53.4

หมายเหตุ : 1/ ตอบไดมากกวา 1 คําตอบ

3.10 ความคิดเห็นตอนโยบายการเพิ่มคาครองชีพใหกาํนัน ผูใหญบาน แพทยประจําตําบล สารวัตรกํานัน ผูชวยผูใหญบานฝายปกครอง และผูชวยผูใหญบานฝายรกัษาความสงบ

3.10.1 การทราบนโยบายการเพิม่คาครองชีพใหกํานนั ผูใหญบาน ฯ

รัฐบาลไดมีนโยบายการเพิ่มคาครองชีพใหกํานนั ผูใหญบาน แพทยประจําตําบล สารวัตรกํานนั ผูชวยผูใหญบานฝายปกครอง และผูชวยผูใหญบานฝายรักษาความสงบ โดยกํานนัจะไดรับปรับเงินเดือนในปงบประมาณ 2553 จาก 5,000 บาท/เดอืน เปน 7,500 บาท และในปงบประมาณ 2554 จะปรับข้ึนเปน 10,000 บาท/เดือน สวนผูใหญบานจะไดรับการปรับเงินเดือนในปงบประมาณ 2553 จาก 4,000 บาท/เดือน เปน 6,000 บาท และในปงบประมาณ 2554 จะปรับข้ึนเปน 8,000 บาท/เดือน ในขณะที่

Page 57: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

42

แพทยผูชวยจะไดรับการปรับเงินเดือนในปงบประมาณ 2553 จาก 2,500 บาท/เดือน เปน 3,750 บาท และในปงบประมาณ 2554 จะปรับข้ึนเปน 5,000 บาท/เดือน เมือ่สอบถามประชาชนเกีย่วกบัการทราบนโยบายดังกลาว พบวา ประชาชนรอยละ 65.3 ระบุวาทราบ และรอยละ 34.7 ระบุวาไมทราบ

เมื่อพิจารณาในระดับภาค พบวา ประชาชนในภาคใต ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประมาณรอยละ 70.2 – 71.6 ระบุวาทราบนโยบายการเพิ่มคาครองชพีใหกํานนั ผูใหญบาน แพทยประจําตําบล สารวัตรกํานนั ผูชวยผูใหญบานฝายปกครอง และผูชวยผูใหญบานฝายรักษาความสงบ ในขณะที่ภาคกลางประชาชนระบวุาทราบรอยละ 60.7 สวนกรุงเทพมหานครมีรอยละ 46.4

ตาราง 45 รอยละของประชาชน จาํแนกตามการทราบนโยบายการเพิ่มคาครองชีพใหกาํนัน ผูใหญบาน แพทยประจําตําบล สารวัตรกํานัน ผูชวยผูใหญบานฝายปกครอง และผูชวยผูใหญบานฝายรักษาความสงบ และ ภาค

ภาค การทราบนโยบาย ทั่วประเทศ กรุงเทพ

มหานคร กลาง

(ยกเวน กทม.) เหนือ ตะวันออก เฉียงเหนือ ใต

รวม 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

• ทราบ 65.3 46.4 60.7 70.2 70.2 71.6

• ไมทราบ 34.7 53.6 39.3 29.8 29.8 28.4

3.10.2 ความพึงพอใจตอนโยบายการเพิม่คาครองชีพใหกํานัน ผูใหญบาน ฯ

เมื่อสอบถามผูที่ทราบนโยบายการเพิ่มคาครองชีพใหกํานนั ผูใหญบานฯเกี่ยวกับความพึงพอใจตอนโยบายดังกลาว พบวา ประชาชนรอยละ 94.9 ระบุวาพึงพอใจ (โดยประชาชนทีม่ีความพงึพอใจอยูในระดับมากมีรอยละ 29.8 ปานกลางรอยละ 54.7 และนอยรอยละ 10.4) สวนผูที่ไมพงึพอใจมีรอยละ 5.1 ซึง่เหตุผลที่ประชาชนไมพึงพอใจเพราะสิ้นเปลืองงบประมาณ และความรับผิดชอบของบุคคลเหลานี้มนีอย

เมื่อพิจารณาในระดับภาค พบวา ประชาชนในทุกภาคมีความพึงพอใจตอนโยบายการเพิ่มคาครองชพีใหกาํนัน ผูใหญบานฯ มากกวารอยละ 90

Page 58: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

43

ตาราง 46 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบายการเพิ่มคาใหครองชีพกาํนนั ผูใหญบานฯ จําแนกตามระดับความพงึพอใจตอนโยบายการเพิ่มคาครองชีพใหกาํนนั ผูใหญบาน ฯ และภาค

ภาค ระดับความพึงพอใจ ทั่วประเทศ กรุงเทพ

มหานคร กลาง

(ยกเวน กทม.) เหนือ ตะวันออก

เฉียงเหนือ ใต

รวม 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 • พึงพอใจ ระบุระดับ 94.9 90.9 92.9 95.7 95.8 97.1

� มาก 29.8 23.6 25.1 30.8 28.9 41.7 � ปานกลาง 54.7 51.0 55.4 55.9 58.1 45.5 � นอย 10.4 16.3 12.4 9.0 8.8 9.9

• ไมพึงพอใจ 5.1 9.1 7.1 4.3 4.2 2.9

เมื่อพิจารณากลุมครัวเรือนที่มี/ไมมีคนในครัวเรือนเปนกํานนั ผูใหญบานฯเกี่ยวกับความพงึ

พอใจตอนโยบายการเพิ่มคาครองชีพใหกาํนนั ผูใหญบานฯ พบวา กลุมครัวเรือนที่มีคนในครวัเรือนเปน

กํานนั ผูใหญบาน ฯจะมีความพึงพอใจสงูกวากลุมครัวเรือนที่ไมมีคนในครัวเรือนเปนกํานนั ผูใหญบานฯ

คือ รอยละ 96.5 และรอยละ 94.6 ตามลาํดับ

ตาราง 47 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบายการเพิม่คาครองชพีใหกํานนั ผูใหญบานฯ จาํแนกตามระดับความพึงพอใจตอนโยบายการเพิ่มคาครองชีพกาํนนั ผูใหญบาน ฯ และกลุมครัวเรือนที่ม/ีไมมีคนในครัวเรือนเปนกํานนั ผูใหญบานฯ

ระดับความพึงพอใจ รวม กลุมครัวเรือนที่มีคนในครัวเรือนเปนกํานัน ฯ

กลุมครัวเรือนที่ไมมีคนในครัวเรอืนเปน กํานัน ฯ

รวม 100.0 100.0 100.0

• พึงพอใจ ระบุระดับ 94.9 96.5 94.6

� มาก 29.8 56.5 24.9 � ปานกลาง 54.7 37.0 57.9 � นอย 10.4 3.0 11.8

• ไมพึงพอใจ 5.1 3.5 5.4

Page 59: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

44

3.10.3 ความคิดเห็นเกี่ยวกับนโยบายการเพิ่มคาครองชีพใหกํานัน ผูใหญบานฯ

สําหรับขอคิดเห็น/ขอเสนอแนะตอนโยบายการเพิ่มเงินคาครองชีพใหกํานนั ผูใหญบานฯ นัน้ มีประชาชนรอยละ 23.1 แสดงความคิดเหน็ โดยใหความเหน็ดังนี ้ควรเพิม่คาตอบแทนใหมากกวานี ้ (รอยละ 42.0) กํานนั ผูใหญบานฯควรรับผิดชอบมากกวานี้ (รอยละ 18.6) และควรมีการตรวจสอบและวัดผลการทํางานกอนใหคาตอบแทน (รอยละ16.9) เปนตน ตาราง 48 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบายการเพิ่มเงินคาครองชีพใหกาํนนั ผูใหญบาน แพทยประจํา

ตําบล สารวัตรกํานนั ผูชวยผูใหญบานฝายปกครอง และผูชวยผูใหญบานฝายรักษาความสงบ จําแนกตามขอคิดเห็น/ขอเสนอแนะตอนโยบายฯ

ภาค ขอคิดเห็น/ขอเสนอแนะ ทั่วประเทศ กรุงเทพ

มหานคร กลาง

(ยกเวน กทม.) เหนือ ตะวันออก เฉียงเหนือ

ใต

รวม 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

• ผูแสดงความคิดเห็น1/ 23.1 34.6 22.4 22.9 18.1 29.9 � ควรเพิ่มคาตอบแทน มากกวานี้

42.0 36.7 39.3 32.8 48.6 49.2

� กํานัน ผูใหญบานฯ ควรรับผิดชอบมากกวานี้

18.6 22.3 27.2 17.5 12.7 17.4

� ควรมีการตรวจสอบและ วัดผลการทํางานดวย

16.9 18.5 18.3 22.7 9.9 17.7

� ควรเพิ่มเงินคาตอบแทนในอัตราที่เหมาะสม

7.8 11.6 6.7 10.5 8.3 3.7

� ไมควรตกเบิก 4.8 2.0 2.7 3.9 8.8 3.3 � ควรจัดใหมีตลอดไป 2.2 0.3 4.9 1.3 1.1 2.3 � นาจะเพิ่มเงินเดือน 1 ขั้น หรือ 2 ขั้น

1.7 2.0 .. 3.9 2.2 1.7

� ควรลดเงินคาตอบแทน 1.7 3.8 .. 3.1 1.1 2.7 � ควรจัดสรรใหทั่วถึงและไดรับอยางตอเนือ่งทุกคน

1.7 1.2 0.4 1.7 3.9 0.3

� ควรเพิ่มการปฏิบัติหนาที่ของกํานัน ผูใหญบานฯ

1.3 1.7 1.3 0.4 2.2 1.3

� ควรมีการเลือกต้ังกํานันผูใหญบาน ฯ ทุก 5 ป

1.3 2.9 0.9 .. 0.6 2.7

� ควรเพิ่มสวัสดิการตางๆ 0.9 2.0 0.4 0.9 1.7 0.3 � ควรมีตออายุโดยไมตองเลือกต้ัง

0.9 .. .. 2.2 0.6 0.7

� ควรกําหนดวุฒิการศึกษาของกํานัน ผูใหญบานฯ

0.4 0.9 .. .. 1.7 0.3

• ผูไมแสดงความคิดเห็น 76.9 65.4 77.6 77.1 81.9 70.1

หมายเหตุ : 1/ ตอบไดมากกวา 1 คําตอบ

Page 60: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

45

3.11 ความคิดเห็นตอนโยบายการกูเงนิจากตางประเทศ

3.11.1 การทราบนโยบายการกูเงินตางประเทศ

รัฐบาลไดมีแผนที่จะทําการขอกูเงินจากตางประเทศ เพื่อนําเงินมาแกไขปญหาวิกฤตเศรษฐกิจที่

เกิดขึ้น ซึ่งขณะนี้อยูระหวางการพิจารณา โดยเมื่อไดทําการสอบถามประชาชนเกีย่วกับการทราบนโยบาย

ดังกลาว พบวา ประชาชนรอยละ 62.2 ระบุวาทราบ และรอยละ 37.8 ระบุวาไมทราบ

เมื่อพิจารณาในระดับภาค พบวา ประชาชนในกรุงเทพมหานครระบุวาทราบนโยบายการกู

เงินจากตางประเทศมากกวาภาคอื่น (รอยละ 71.5) ตามดวย ภาคกลาง (รอยละ 64.2) ภาคเหนือ (รอยละ

61.2) และภาคตะวันออกเฉยีงเหนือ (รอยละ 60.6) ในขณะที่ภาคใตมีประชาชนระบุวาทราบเพียงรอยละ

55.5

ตาราง 49 รอยละของประชาชน จําแนกตามการทราบนโยบายการกูเงนิจากตางประเทศ และ ภาค

ภาค การทราบนโยบาย ทั่วประเทศ กรุงเทพ

มหานคร กลาง

(ยกเวน กทม.) เหนือ ตะวันออก เฉียงเหนือ ใต

รวม 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

• ทราบ 62.2 71.5 64.2 61.2 60.6 55.5

• ไมทราบ 37.8 28.5 35.8 38.8 39.4 44.5

3.11.2 ความคิดเห็นเกี่ยวกับนโยบายการกูเงนิจากตางประเทศ

ผลการสํารวจเกี่ยวกับนโยบายการกูเงินจากตางประเทศ พบวา ประชาชนสวนใหญรอยละ

45.2 ระบุวาเห็นดวยกับการดําเนินนโยบายนี ้ และรอยละ 54.8 ระบุวาไมเห็นดวย ซึง่เหตุผลที่ประชาชน

ไมเห็นดวยเพราะเปนการเพิม่ภาระหนี้สินใหกับประชาชน ควรใชระบบเศรษฐกิจพอเพยีง และควรใช

นโยบายอืน่ในการแกไขปญหาเศรษฐกิจ

เมื่อพิจารณาในระดับภาค พบวา การดําเนนินโยบายการกูเงนิจากตางประเทศนัน้ มปีระชาชน

ในภาคใตระบุวาเห็นดวยมากกวาภาคอื่น (รอยละ 71.7) ตามดวย กรุงเทพมหานคร (รอยละ 50.6)

ภาคเหนือ (รอยละ 49.9) และภาคกลาง (รอยละ 42.9) ในขณะที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีประชาชนเหน็ดวย

เพียงรอยละ 32.2

Page 61: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

46

ตาราง 50 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบายการกูเงินจากตางประเทศ จาํแนกตามความคดิเห็นตอการดําเนินนโยบายการกูเงนิจากตางประเทศ และภาค

ภาค ความคิดเห็น ทั่วประเทศ กรุงเทพ

มหานคร กลาง

(ยกเวน กทม.) เหนือ ตะวันออก เฉียงเหนือ ใต

รวม 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

• เห็นดวย 45.2 50.6 42.9 49.9 32.2 71.7

• ไมเห็นดวย 54.8 49.4 57.1 50.1 67.8 28.3

3.12 ความคิดเห็นตอนโยบายการเพิ่มภาษีเหลา - บุหรี ่

3.12.1 การทราบนโยบายการเพิม่ภาษีเหลา - บุหรี ่

รัฐบาลไดมีแผนที่จะทาํการเพิม่ภาษีเหลา - บุหร่ี เพื่อใหรัฐบาลมีรายไดเพิ่มข้ึน สําหรับนําเงนิมาแกไขปญหาวกิฤตเศรษฐกิจทีเ่กิดขึ้น ซึง่ขณะนีอ้ยูระหวางการพิจารณา โดยเมื่อไดทาํการสอบถามประชาชนเกี่ยวกับการทราบนโยบายดังกลาว พบวา ประชาชนรอยละ 61.8 ระบวุาทราบ และรอยละ 38.2 ระบุวาไมทราบ

เมื่อพิจารณาในระดับภาค พบวา ประชาชนในกรุงเทพมหานครระบุวาทราบนโยบายการเพิ่มภาษเีหลา - บุหร่ีมากกวาภาคอืน่ (รอยละ 71.2) ตามดวย ภาคใต (รอยละ 66.3) ภาคกลาง (รอยละ 62.7) และภาคเหนือ (รอยละ 61.4) ในขณะที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมปีระชาชนระบุวาทราบเพียงรอยละ 56.2

ตาราง 51 รอยละของประชาชน จาํแนกตามการทราบนโยบายการเพิ่มภาษีเหลา - บุหร่ี และ ภาค

ภาค การทราบนโยบาย ทั่วประเทศ กรุงเทพ

มหานคร กลาง

(ยกเวน กทม.) เหนือ ตะวันออก เฉียงเหนือ ใต

รวม 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

• ทราบ 61.8 71.2 62.7 61.4 56.2 66.3

• ไมทราบ 38.2 28.8 37.3 38.6 43.8 33.7

3.12.2 ความคิดเห็นเกี่ยวกับนโยบายการเพิ่มภาษีเหลา – บุหรี ่

ผลการสาํรวจเกี่ยวกบันโยบายการเพิม่ภาษเีหลา - บุหร่ี พบวา ประชาชนสวนใหญรอยละ 75.7 ระบุวาเห็นดวยกับการดําเนินนโยบายนี ้ และรอยละ 24.3 ระบุวาไมเห็นดวย ซึ่งเหตุผลที่ประชาชนไมเห็นดวยเพราะจะทําใหสินคาอุปโภคบริโภคชนิดอื่นมีราคาสูงขึน้ และทําใหเหลา - บุหร่ีจากตางประเทศราคาถูกลง

Page 62: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

47

เมื่อพิจารณาในระดับภาค พบวา การดําเนินนโยบายการเพิ่มภาษีเหลา - บุหร่ีนั้น มปีระชาชนในทุกภาคประมาณรอยละ 73.5 – 86.1 ระบวุาเห็นดวยกับการเพิ่มภาษีเหลา – บุหร่ี ยกเวนภาคตะวันออกเฉียงเหนือทีม่ีประชาชนเหน็ดวยเพียงรอยละ 66.0

ตาราง 52 รอยละของประชาชนที่ทราบนโยบายการเพิ่มภาษีเหลา - บุหร่ี จําแนกตามความคิดเห็นตอการดําเนินนโยบายการเพิ่มภาษีเหลา - บุหร่ี และภาค

ภาค ความคิดเห็น ทั่วประเทศ กรุงเทพ

มหานคร กลาง

(ยกเวน กทม.) เหนือ ตะวันออก เฉียงเหนือ ใต

รวม 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

• เห็นดวย 75.7 80.7 73.5 82.4 66.0 86.1

• ไมเห็นดวย 24.3 19.3 26.5 17.6 34.0 13.9

เมื่อพิจารณากลุมครัวเรือนทีม่ี/ไมมีคนในครวัเรือนดืม่เหลา – สูบบุหร่ี พบวา กลุมครัวเรือนที่คนในครัวเรือนไมด่ืมเหลา – สูบบุหร่ี ระบวุาเห็นดวยกับการดําเนินนโยบายเพิ่มภาษีเหลา - บุหร่ีฯ สูงกวากลุมครัวเรือนที่มีคนในครัวเรือนดื่มเหลา – สูบบุหร่ี คือรอยละ 83.7 และรอยละ 72.2 ตามลาํดบั

ตาราง 53 รอยละของประชาชนที่ทราบนโยบายการเพิ่มภาษีเหลา - บุหร่ี จําแนกตามความคิดเห็นตอการดําเนนินโยบายการเพิ่มภาษเีหลา – บุหร่ี และกลุมครัวเรือนที่ม/ีไมมคีนในครวัเรือนดื่มเหลา - สูบบุหร่ี

ความคิดเห็น รวม กลุมครัวเรือนที่มีคนในครัวเรือนดื่มเหลา-สูบบุหรี่

กลุมครัวเรือนที่ไมมีคนในครัวเรือนดื่มเหลา-สูบบุหรี่

รวม 100.0 100.0 100.0

• เห็นดวย 75.7 72.2 83.7 • ไมเห็นดวย 24.3 27.8 16.3

Page 63: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

48

3.13 ความคิดเห็นตอการบริหารงานของรัฐบาล

3.13.1 ความพึงพอใจตอการบริหารงานของรฐับาล

ตามที่รัฐบาลนําโดยนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรีไดเขามาบริหารประเทศตั้งแตวันที ่29 ธนัวาคม 2551 และไดบริหารงานครบ 3 เดือนในเดือนมีนาคม 2552 นั้น เมื่อสอบถามประชาชนเกี่ยวกับความพึงพอใจในการบริหารงานของรัฐบาลชุดนี ้พบวา ประชาชนสวนใหญรอยละ 93.4 ระบุวาพึงพอใจ (โดยผูที่พงึพอใจอยูในระดับมากมีรอยละ 19.8 ปานกลางรอยละ 55.6 และนอยรอยละ 18.0) สวนผูที่ไมพึงพอใจมีเพียงรอยละ 6.6 โดยประชาชนใหเหตุผลที่ไมพึงพอใจเพราะยังไมมัน่ใจในการบริหารงานของรัฐบาลเทาที่ควร หรือ กลัววาจะไมสามารถแกปญหาเศรษฐกิจในปจจุบันได และยังไมเหน็ผลงานที่เดนชัด

เมื่อพิจารณาในระดับภาค พบวา ประชาชนในทกุภาคจะมีความพงึพอใจตอการบริหารงานของรัฐบาลชุดนี้มากกวารอยละ 91 ยกเวนในภาคตะวนัออกเฉียงเหนือที่ประชาชนมีความพงึพอใจรอยละ 89.8 ซึ่งระดบัความพงึพอใจที่มีอยูในทกุภาคประชาชนสวนใหญระบุวาอยูในระดบัปานกลาง

ตาราง 54 รอยละของประชาชน จําแนกตามระดับความพึงพอใจตอการบริหารงานของรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชวีะ นายกรัฐมนตรี และภาค

ภาค ระดับความพึงพอใจ ทั่วประเทศ กรุงเทพ

มหานคร กลาง

(ยกเวน กทม.) เหนือ ตะวันออก

เฉียงเหนือ ใต

รวม 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 • พึงพอใจ ระบุระดับ 93.4 91.4 94.1 96.2 89.8 98.8

� มาก 19.8 16.9 19.3 20.9 9.5 47.5 � ปานกลาง 55.6 54.4 59.5 59.6 54.5 46.3 � นอย 18.0 20.1 15.3 15.7 25.8 5.0

• ไมพึงพอใจ 6.6 8.6 5.9 3.8 10.2 1.2

3.13.2 ความมั่นใจที่มีตอการบริหารงานของรฐับาล

ตามที่รัฐบาลนําโดยนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรีไดเขามาบริหารประเทศเปนเวลา 3 เดือนแลวนัน้ เมื่อสอบถามความมัน่ใจของประชาชนที่มีตอรัฐบาลชุดนี้ในการแกไขปญหาดานเศรษฐกิจของประเทศ พบวา ประชาชนรอยละ 60.6 ระบุวามีความมัน่ใจที่รัฐบาลจะแกไขปญหาดานเศรษฐกิจของประเทศได (โดยผูระบุวามีความมัน่ใจอยูในระดับมากมีรอยละ 12.4 ปานกลางรอยละ 38.5 และนอยรอยละ 9.7) และรอยละ 23.5 ระบวุาไมมีความมัน่ใจ มีเพยีงรอยละ 15.9 ทีไ่มแนใจ/ไมทราบ

Page 64: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

49

เมื่อพิจารณาในระดับภาค พบวา ภาคใตประชาชนจะมีความมั่นใจรัฐบาลในการแกไขปญหาดานเศรษฐกิจไดสูงกวาภาคอืน่ (รอยละ 85.2) ตามดวยภาคกลาง (รอยละ 63.9) กรุงเทพมหานคร (รอยละ 62.2) และภาคเหนือ (รอยละ 61.4) ในขณะที่ภาคตะวนัออกเฉียงเหนือประชาชนมีความมัน่ใจฯ เพียงรอยละ 47.1 เทานัน้

ตาราง 55 รอยละของประชาชน จําแนกตามระดับความมั่นใจที่มีตอรัฐบาลในการแกไขปญหาดานเศรษฐกิจของประเทศ และภาค

ภาค ระดับความมั่นใจ ทั่วประเทศ กรุงเทพ

มหานคร กลาง

(ยกเวน กทม.) เหนือ ตะวันออก

เฉียงเหนือ ใต

รวม 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

• มีความมั่นใจ ระบุระดับ 60.6 62.2 63.9 61.4 47.1 85.2

� มาก 12.4 10.4 12.1 11.4 5.1 34.2

� ปานกลาง 38.5 39.9 41.5 39.7 31.7 46.7

� นอย 9.7 11.9 10.3 10.3 10.3 4.3

• ไมมีความมั่นใจ 23.5 24.6 21.4 19.9 33.2 7.6

• ไมแนใจ/ไมทราบ 15.9 13.2 14.7 18.7 19.7 7.2

3.13.2 ปญหาเรงดวนที่รัฐบาลควรแกไข

สําหรับปญหาเรงดวนที่รัฐบาลควรแกไข พบวา ประชาชนรอยละ 80.9 ไดแสดงความคิดเห็น

โดยเห็นวาปญหาที่รัฐบาลควรดําเนินการอยางเรงดวน 3 อันดับแรก คือ ปญหาเศรษฐกิจการเงินของ

ประเทศ/การสงออก (รอยละ 57.4) ปญหาความขัดแยงของคนในสังคมไทย (รอยละ 36.3) ปญหาการ

วางงาน/ฝกอาชีพ (รอยละ 26.9)

Page 65: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

50

ตาราง 56 รอยละของประชาชน จาํแนกตามปญหาที่รัฐบาลควรดําเนินการอยางเรงดวน 10 อันดับแรก และภาค

ภาค ปญหาเรงดวน ทั่วประเทศ กรุงเทพ

มหานคร กลาง

(ยกเวน กทม.) เหนือ ตะวันออก

เฉียงเหนือ ใต

รวม 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 • ผูแสดงความคิดเห็น 1/ 80.9 85.2 78.8 85.9 78.1 81.1

� เศรษฐกิจการเงินของประเทศ/การสงออก

57.4 64.2 60.5 53.7 54.4 57.1

� ความขัดแยงของคนในสังคมไทย

36.3 44.0 40.0 29.2 34.1 38.1

� การวางงาน/การฝกอาชีพ 26.9 26.1 30.5 24.8 27.1 24.4

� พืชผลทางการเกษตรราคาตกต่ํา

17.6 2.0 9.5 27.6 21.6 21.6

� การจัดต้ังรัฐบาลที่มีความม่ันคง

14.7 24.6 16.0 17.5 9.1 12.2

� ยาเสพติด 12.9 12.3 16.4 11.1 10.5 15.0 � ราคาสินคาอุปโภคบริโภคราคาแพง

11.0 6.6 11.4 13.4 10.6 11.8

� ความยากจน 8.7 6.0 9.3 10.4 9.3 5.7

� ปญหา 3 จังหวัดภาคใต 7.8 5.9 6.9 4.8 4.9 22.4

� ควบคุมราคาน้ํามันใหลดลง 4.8 1.2 4.2 8.0 5.4 3.3

• ผูไมแสดงความคิดเห็น 19.1 14.8 21.2 14.1 21.9 18.9

หมายเหตุ : 1/ ตอบไดมากกวา 1 คําตอบ

3.13.3 ขอคิดเห็น/ขอเสนอแนะตอการบริหารงานของรฐับาล

ประชาชนรอยละ 32.3 ไดใหขอคิดเห็น/ขอเสนอแนะตอการบริหารงานของรัฐบาล ดังนี้ ควรเรงสรางความนาเชื่อถือในการบริหารประเทศ (ทําอยางจริงจังตอเนื่อง ตรงไปตรงมา โปรงใส มีคุณธรรม - ซื่อสัตย) (รอยละ 48.3) ควรสรางความสมานฉนัทใหเกิดขึ้นในสังคมไทย (รอยละ 21.1) และควรจัดทํานโยบายระยะสั้นเพื่อกระตุนเศรษฐกิจ (รอยละ 9.3) เปนตน

Page 66: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

51

ตาราง 57 รอยละของประชาชน จําแนกตามขอคิดเหน็/ขอเสนอแนะตอการบริหารงานของรัฐบาล 10 อันดับแรก

ภาค ขอคิดเห็น/ขอเสนอแนะ ทั่วประเทศ กรุงเทพ

มหานคร กลาง

(ยกเวน กทม.) เหนือ ตะวันออก

เฉียงเหนือ ใต

รวม 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

• ผูแสดงความคิดเห็น 1/ 32.3 47.3 31.2 29.6 27.7 36.2

� ควรสรางความนาเชื่อถอืในการบริหารประเทศ

48.3 53.3 48.1 49.0 39.7 57.2

� ควรสรางความสมานฉันท ใหเกิดขึ้นในสังคมไทย

21.1 22.6 23.1 21.3 20.6 16.0

� ควรจัดทํานโยบายระยะสั้นเพ่ือกระตุนเศรษฐกิจ

9.3 8.5 8.7 7.8 11.2 8.6

� ควรแกไขปญหาเรื่องตางๆ ใหมีความเสมอภาค

7.7 7.0 8.3 7.8 8.3 5.5

� การแกปญหาผลผลิตทาง การเกษตรราคาตกต่ํา

5.3 0.8 4.2 8.8 6.1 7.2

� ควรสงเสริม/สนับสนุนให คนมีอาชีพ

4.6 4.2 5.1 3.4 6.5 2.2

� ยุบสภาเลอืกต้ังใหม 3.7 3.6 2.6 4.1 6.1 0.6

� เขมงวดในการตรวจสอบ ออกกฎหมายเด็ดขาด

2.8 3.6 1.9 1.7 1.8 6.9

� การแกปญหาความยากจน 2.5 1.7 4.2 2.0 2.2 1.1

� ปราบปรามยาเสพติด 2.5 1.3 1.9 1.4 4.7 1.7

• ผูไมแสดงความคิดเห็น 67.7 52.7 68.8 70.4 72.3 63.8

หมายเหตุ : 1/ ตอบไดมากกวา 1 คําตอบ

Page 67: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

ตารางสถิติ

Page 68: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

55

สารบัญตารางสถิติ หนา

ตาราง 1 รอยละของประชาชนผูตอบสัมภาษณ จําแนกตามลกัษณะทางประชากร/สังคม และภาค 59 ตาราง 2 รอยละของประชาชน จําแนกตามระดับการติดตามการปฏิบัติงาน/การนําเสนอผล

การปฏิบัติงานของรัฐบาลภายใตการนําของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชวีะ นายกรัฐมนตรี และลักษณะทางประชากร/สังคม

60 ตาราง 3 รอยละของประชาชน จาํแนกตามระดับการติดตามรายการ “เชื่อมั่นประเทศไทยกับ

นายกฯ อภิสิทธิ์” และลักษณะทางประชากร/สังคม

61 ตาราง 4 รอยละของประชาชนที่ติดตามรายการ “เชื่อมั่นประเทศไทยกับนายกฯ อภิสิทธิ”์

จําแนกตามแหลงขอมูลที่ติดตามรายการฯ และลกัษณะทางประชากร/สังคม

62 ตาราง 5 รอยละของประชาชน จาํแนกตามการทราบนโยบายการจัดสรรเงินคาครองชีพของ

รัฐบาล และลกัษณะทางประชากร/สังคม

63 ตาราง 6 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโนบายการจัดสรรเงินคาครองชีพของรฐับาล จาํแนกตาม

ครัวเรือน ที่สมาชิกในครัวเรอืนมี/ไมมีสิทธิจ์ากการจัดสรรเงินฯ และลกัษณะทางประชากร/สังคม

64 ตาราง 7 รอยละของครัวเรือนที่สมาชกิในครัวเรือนมีสิทธิ์และไดใชสิทธิ์จากการจัดสรรเงินคา

ครองชีพของรฐับาล จําแนกตามเรื่องที่นาํเงนิไปใชประโยชน และลกัษณะทางประชากร/สังคม

65 ตาราง 8 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโนบายการจัดสรรเงินคาครองชีพของรฐับาล จาํแนกตาม

ระดับความพงึพอใจตอนโยบายการจัดสรรเงินฯ และลกัษณะทางประชากร/สังคม

66 ตาราง 9 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโนบายการจัดสรรเงินคาครองชีพของรฐับาล จาํแนกตาม

ความคิดเหน็ตอการดําเนนินโยบายการจดัสรรเงินฯ ตอไปอีก และลักษณะทางประชากร/สังคม

67 ตาราง 10 รอยละของประชาชน จําแนกตามการทราบนโยบายสนับสนุนการจัดการศึกษาฟรี 15 ป

และลักษณะทางประชากร/สังคม

68 ตาราง 11 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโนบายสนบัสนุนการจัดการศึกษาฟรี 15 ป จําแนกตาม

ครัวเรือนที่สมาชกิในครัวเรือนม/ีไมมีสิทธิ์จากนโยบายฯ และลกัษณะทางประชากร/สังคม

69 ตาราง 12 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโนบายสนบัสนุนการจดัการศึกษาฟรี 15 ป จําแนกตาม

ระดับความพงึพอใจตอนโยบายฯ และลกัษณะทางประชากร/สังคม

70 ตาราง 13 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโนบายสนบัสนุนการจัดการศึกษาฟรี 15 ป จําแนกตาม

ความคิดเหน็ตอการดําเนนินโยบายฯ ตอไปอีก และลักษณะทางประชากร/สังคม

71

Page 69: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

56

สารบัญตารางสถิติ (ตอ) หนา

ตาราง 14 รอยละของประชาชน จําแนกตามการทราบนโยบายการเพิ่มศักยภาพผูวางงาน และลักษณะทางประชากร/สังคม

72

ตาราง 15 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโนบายการเพิ่มศักยภาพผูวางงาน จาํแนกตามครัวเรือนที่สมาชกิในครวัเรือนม/ีไมมีสิทธิ์จากนโยบายฯ และลักษณะทางประชากร/สังคม

73

ตาราง 16 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโนบายการเพิ่มศักยภาพผูวางงาน จาํแนกตามความคิดเหน็ตอการดําเนนินโยบายฯ ตอไปอีก และลักษณะทางประชากร/สังคม

74

ตาราง 17 รอยละของประชาชน จําแนกตามการทราบนโยบายชมุชนพอเพียง และลักษณะทางประชากร/สังคม

75

ตาราง 18 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโนบายชุมชนพอเพียง จาํแนกตามความคิดเหน็ตอการดําเนนินโยบายฯ ตอไปอีก และลักษณะทางประชากร/สังคม

76

ตาราง 19 รอยละของประชาชน จําแนกตามการทราบนโยบายการใหเบี้ยยงัชพีกบัผูสูงอาย ุและลักษณะทางประชากร/สังคม

77

ตาราง 20 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโนบายการใหเบี้ยยงัชพีกบัผูสูงอาย ุ จาํแนกตามครัวเรือนที่สมาชกิในครวัเรือนม/ีไมมีสิทธิ์จากนโยบายการใหเบี้ยยงัชีพฯ และลกัษณะทางประชากร/สังคม

78 ตาราง 21 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโนบายการใหเบี้ยยงัชพีกบัผูสูงอาย ุจําแนกตามระดบั

ความพึงพอใจตอนโยบายการใหเบี้ยยงัชีพฯ และลกัษณะทางประชากร/สังคม

79 ตาราง 22 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโนบายการใหเบี้ยยงัชพีกบัผูสูงอาย ุ จาํแนกตามความ

คิดเห็นตอการดําเนนินโยบายการใหเบี้ยยงัชีพฯ ตลอดไป และลักษณะทางประชากร/สังคม

80 ตาราง 23 รอยละของประชาชน จําแนกตามการทราบนโยบาย 5 มาตรการ 6 เดือน และลักษณะ

ทางประชากร/สังคม

81 ตาราง 24 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบาย 5 มาตรการ 6 เดือน จาํแนกตามครัวเรือนที่ไดรับ

ประโยชนจากนโยบาย 5 มาตรการ 6 เดอืน และลักษณะทางประชากร/สังคม

82 ตาราง 25 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบาย 5 มาตรการ 6 เดือน จําแนกตามระดับความพึงพอใจ

ตอนโยบายฯ และลักษณะทางประชากร/สังคม

83 ตาราง 26 รอยละของประชาชน จําแนกตามการทราบนโยบายการจัดสรรคาตอบแทนอาสาสมคัร

ใหสาธารณสุขประจําหมูบาน (อสม.) และลักษณะทางประชากร/สังคม

84 ตาราง 27 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบายการจัดสรรคาตอบแทนใหอาสาสมัครสาธารณสุข

ประจําหมูบาน (อสม.) จาํแนกตามระดบัความพึงพอใจตอนโยบายการจัดสรรคาตอบแทนฯ และลักษณะทางประชากร/สังคม

85

Page 70: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

57

สารบัญตารางสถิติ (ตอ) หนา

ตาราง 28 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบายการจัดสรรคาตอบแทนใหอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน (อสม.) จาํแนกตามความคิดเห็นตอการดําเนนินโยบายการจัดสรรเงินคาตอบแทนฯ ตลอดไป และลักษณะทางประชากร/สังคม

86 ตาราง 29 รอยละของประชาชน จําแนกตามการทราบนโยบายนมโรงเรียน และลักษณะทาง

ประชากร/สังคม

87 ตาราง 30 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบายนมโรงเรียน จาํแนกตามระดับความพึงพอใจตอ

นโยบายฯ และลักษณะทางประชากร/สังคม

88 ตาราง 31 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบายนมโรงเรียน จาํแนกตามความคิดเห็นตอการ

ดําเนนินโยบายฯ ตลอดไป และลักษณะทางประชากร/สังคม

89 ตาราง 32 รอยละของประชาชน จําแนกตามการทราบนโยบายเพิ่มคาตอบครองชีพใหกาํนัน

ผูใหญบาน แพทยประจําตาํบล สารวัตรกํานนั ผูชวยผูใหญบานฝายปกครอง และผูชวยผูใหญบานฝายรักษาความสงบ และลักษณะทางประชากร/สังคม

90 ตาราง 33 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบายเพิ่มคาครองชีพใหกํานนั ผูใหญบาน แพทยประจํา

ตําบล สารวัตรกํานนั ผูชวยผูใหญบานฝายปกครอง และผูชวยผูใหญบานฝายรักษาความสงบ จําแนกตามระดับความพึงพอใจตอนโยบายฯ และลักษณะทางประชากร/สังคม

91 ตาราง 34 รอยละของประชาชน จาํแนกตามการทราบนโยบายการกูเงนิจากตางประเทศ และ

ลักษณะทางประชากร/สังคม

92 ตาราง 35 รอยละของประชาชนที่ทราบนโยบายการกูเงินจากตางประเทศ จําแนกตามความคิดเห็น

ตอการดําเนนินโยบายฯ และลักษณะทางประชากร/สังคม

93 ตาราง 36 รอยละของประชาชน จาํแนกตามการทราบนโยบายการเพิ่มภาษเีหลา - บุหร่ี และ

ลักษณะทางประชากร/สังคม

94 ตาราง 37 รอยละของประชาชนที่ทราบนโยบายการเพิ่มภาษีเหลา - บุหร่ี จําแนกตามความคิดเห็น

ตอการดําเนนินโยบายฯ และลักษณะทางประชากร/สังคม

95 ตาราง 38 รอยละของประชาชน จาํแนกตามระดับความพึงพอใจตอการบริหารงานของรัฐบาล

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชวีะ นายกรัฐมนตรี และลักษณะทางประชากร/สังคม

96 ตาราง 39 รอยละของประชาชน จําแนกตามระดับความมัน่ใจตอรัฐบาลในการแกไขปญหาดาน

เศรษฐกิจของประเทศ และลักษณะทางประชากร/สังคม

97

Page 71: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

59

ตาราง 1 รอยละของประชาชนผูตอบสัมภาษณ จําแนกตามลักษณะทางประชากร/สังคม และภาค

ลักษณะทางประชากร/สังคม ทั่ว

ประเทศ กรุงเทพ-มหานคร

ภาคกลาง (ยกเวน กทม.)

ภาคเหนือ ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ

ภาคใต

เพศ 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 • ชาย 48.0 48.5 45.6 48.6 47.6 49.5 • หญิง 52.0 51.5 54.4 51.4 52.4 50.5

อายุ 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 • 18 -19 ป 5.9 6.7 5.2 5.3 6.2 6.1 • 20 - 29 ป 17.0 23.7 16.0 13.5 13.5 17.8 • 30 - 39 ป 23.1 25.8 23.3 18.1 22.0 26.0 • 40 - 49 ป 24.7 22.3 22.8 26.0 27.5 25.2 • 50 - 59 ป 17.8 12.4 19.2 22.9 19.7 15.0 • 60 ปขึ้นไป 11.5 9.1 13.5 14.2 11.1 9.9

ระดับการศึกษา 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 • ไมเคยเรียน 2.5 1.2 3.2 4.4 0.9 3.1 • ประถมศึกษา 40.5 22.5 40.3 52.3 53.3 35.0 • มัธยมศึกษา 27.6 30.4 29.7 24.8 25.6 27.5 • ปวช. ปวส. / ปวท. / อนุปริญญา 12.9 14.8 13.7 8.3 9.5 17.7 • ปริญญาตรีและสูงกวา 16.5 31.1 13.1 10.2 10.7 16.7

สถานภาพการทํางาน 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 • ขาราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 9.4 8.8 8.1 7.8 12.0 10.3 • พนักงาน/ลูกจางเอกชน 16.9 33.2 22.0 8.3 7.6 13.2 • คาขาย/ประกอบธุรกิจสวนตัว 19.5 21.7 21.1 18.5 17.0 19.1 • เกษตรกร 21.4 0.4 13.9 29.8 34.5 28.4 • รับจางทั่วไป/กรรมกร 11.8 8.9 13.6 15.6 11.2 10.0 • นักเรียน/นักศึกษา 7.4 9.4 5.6 6.6 6.6 8.7 • แมบาน 7.9 10.0 9.0 7.2 6.6 6.6 • วางงาน/ไมมีงานทํา 5.7 7.6 6.7 6.2 4.5 3.7

Page 72: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

60

ตาราง 2 รอยละของประชาชน จําแนกตามระดับการติดตามการปฏิบัติงาน/การนําเสนอผลการปฏิบัติงานของรัฐบาลภายใตการนาํของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี และลักษณะทางประชากร/สังคม

ระดับการติดตาม ลักษณะทางประชากร/สังคม รวม

เปนประจํา เปนบางครั้ง ไมไดติดตาม

เพศ 100.0 22.5 60.3 17.2 • ชาย 100.0 26.4 59.1 14.5 • หญิง 100.0 18.9 61.4 19.7

อายุ 100.0 22.5 60.3 17.2 • 18 -19 ป 100.0 9.0 66.8 24.2 • 20 - 29 ป 100.0 18.1 66.4 15.5 • 30 - 39 ป 100.0 23.9 61.1 15.0 • 40 - 49 ป 100.0 22.2 62.2 15.6 • 50 - 59 ป 100.0 27.5 54.6 17.9 • 60 ปขึ้นไป 100.0 25.2 52.3 22.5

ระดับการศึกษา 100.0 22.5 60.3 17.2 • ไมเคยเรียน 100.0 12.4 58.5 29.1 • ประถมศึกษา 100.0 19.8 58.2 22.0 • มัธยมศึกษา 100.0 22.3 61.9 15.8 • ปวช. ปวส. / ปวท. / อนุปริญญา 100.0 20.9 65.2 13.9 • ปริญญาตรี และสูงกวา 100.0 34.4 59.7 5.9

สถานภาพการทํางาน 100.0 22.5 60.3 17.2 • ขาราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 100.0 44.4 51.1 4.5 • พนักงาน/ลูกจางเอกชน 100.0 19.1 65.3 15.6 • คาขาย/ประกอบธุรกิจสวนตัว 100.0 24.5 59.7 15.8 • เกษตรกร 100.0 19.8 60.7 19.5 • รับจางทั่วไป/กรรมกร 100.0 18.1 62.1 19.8 • นักเรียน/นักศึกษา 100.0 12.7 66.5 20.8 • แมบาน 100.0 17.7 60.1 22.2 • วางงาน/ไมมีงานทํา 100.0 26.9 52.0 21.1

Page 73: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

61

ตาราง 3 รอยละของประชาชน จาํแนกตามระดับการตดิตามรายการ “เชื่อมัน่ประเทศไทยกบันายกฯ อภิสิทธิ์” และลักษณะทางประชากร/สังคม

ระดับการติดตาม ลักษณะทางประชากร/สังคม รวม

เปนประจํา เปนบางครั้ง ไมไดติดตาม

เพศ 100.0 7.5 37.7 54.8 • ชาย 100.0 9.2 40.6 50.2 • หญิง 100.0 6.0 35.2 58.8

อายุ 100.0 7.5 37.7 54.8 • 18 -19 ป 100.0 4.2 29.0 66.8 • 20 - 29 ป 100.0 4.9 39.3 55.8 • 30 - 39 ป 100.0 7.0 39.2 53.8 • 40 - 49 ป 100.0 7.3 40.8 51.9 • 50 - 59 ป 100.0 8.7 37.8 53.5 • 60 ปขึ้นไป 100.0 12.4 30.5 57.1

ระดับการศึกษา 100.0 7.5 37.7 54.8 • ไมเคยเรียน 100.0 3.3 29.4 67.3 • ประถมศึกษา 100.0 7.2 32.0 60.8 • มัธยมศึกษา 100.0 7.4 40.6 52.0 • ปวช. ปวส. / ปวท. / อนุปริญญา 100.0 7.5 39.2 53.3 • ปริญญาตรี และสูงกวา 100.0 9.3 50.1 40.6

สถานภาพการทํางาน 100.0 7.5 37.7 54.8 • ขาราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 100.0 12.0 54.0 34.0 • พนักงาน/ลูกจางเอกชน 100.0 6.5 39.3 54.2 • คาขาย/ประกอบธุรกิจสวนตัว 100.0 9.1 39.1 51.8 • เกษตรกร 100.0 6.0 34.1 59.9 • รับจางทั่วไป/กรรมกร 100.0 6.5 36.8 56.7 • นักเรียน/นักศึกษา 100.0 4.4 30.9 64.7 • แมบาน 100.0 7.0 32.6 60.4 • วางงาน/ไมมีงานทํา 100.0 10.6 34.1 55.3

Page 74: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

62

ตาราง 4 รอยละของประชาชนที่ติดตามรายการ “เชื่อมั่นประเทศไทยกับนายกฯ อภิสิทธิ์” จําแนกตามแหลงขอมูลทีติ่ดตามรายการฯ และลักษณะทางประชากร/สังคม

แหลงขอมูลที่ติดตามรายการ 1/

ลักษณะทางประชากร/สังคม โทรทัศน หนังสือพิมพ วิทยุ อินเทอรเน็ต รับฟง จากผูอื่น

หอ กระจายขาว

เพศ 93.8 9.8 9.7 1.8 0.3 0.2 • ชาย 94.0 10.0 10.1 1.5 0.3 0.1 • หญิง 93.5 9.6 9.3 2.2 0.3 0.2

อายุ 93.8 9.8 9.7 1.8 0.3 0.2 • 18 -19 ป 89.5 15.7 9.9 8.3 0.4 .. • 20 - 29 ป 93.8 12.0 11.4 2.7 0.4 .. • 30 - 39 ป 92.2 11.0 10.0 2.4 0.3 0.2 • 40 - 49 ป 94.0 9.4 8.7 1.3 0.2 0.2 • 50 - 59 ป 94.6 8.4 10.4 0.9 0.3 0.1 • 60 ปขึ้นไป 96.7 5.5 8.1 .. 0.3 0.3

ระดับการศึกษา 93.8 9.8 9.7 1.8 0.3 0.2 • ไมเคยเรียน 97.4 .. 7.5 1.0 .. .. • ประถมศึกษา 94.9 4.7 8.1 0.2 0.2 0.2 • มัธยมศึกษา 93.5 12.8 11.1 1.4 0.3 .. • ปวช. ปวส. / ปวท. / อนุปริญญา 93.0 12.0 12.0 2.5 0.3 0.4 • ปริญญาตรี และสูงกวา 92.2 15.1 9.6 5.3 0.5 0.2

สถานภาพการทํางาน 93.8 9.8 9.7 1.8 0.3 0.2 • ขาราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 93.4 13.4 8.9 4.4 0.5 0.1 • พนักงาน/ลูกจางเอกชน 92.0 12.0 10.3 2.4 0.2 0.3 • คาขาย/ประกอบธุรกิจสวนตัว 93.6 11.7 8.7 1.0 0.2 0.2 • เกษตรกร 96.0 3.5 9.4 0.3 0.2 .. • รับจางทั่วไป/กรรมกร 92.3 10.6 12.9 0.6 0.4 0.2 • นักเรียน/นักศึกษา 90.0 13.5 8.9 7.7 0.3 .. • แมบาน 95.1 7.9 8.9 1.2 0.5 0.5 • วางงาน/ไมมีงานทํา 96.7 8.8 10.9 0.6 0.3 ..

หมายเหตุ 1/ : ตอบไดมากกวา 1 คําตอบ

Page 75: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

63

ตาราง 5 รอยละของประชาชน จําแนกตามการทราบนโยบายการจัดสรรเงินคาครองชีพของรัฐบาล และลักษณะทางประชากร/สังคม

การทราบนโยบาย ลักษณะทางประชากร/สังคม รวม

ทราบ ไมทราบ

เพศ 100.0 91.9 8.1 • ชาย 100.0 92.4 7.6 • หญิง 100.0 91.4 8.6

อายุ 100.0 91.9 8.1 • 18 -19 ป 100.0 90.2 9.8 • 20 - 29 ป 100.0 96.2 3.8 • 30 - 39 ป 100.0 96.4 3.6 • 40 - 49 ป 100.0 93.4 6.6 • 50 - 59 ป 100.0 89.0 11.0 • 60 ปขึ้นไป 100.0 79.8 20.2

ระดับการศึกษา 100.0 91.9 8.1 • ไมเคยเรียน 100.0 65.7 34.3 • ประถมศึกษา 100.0 87.2 12.8 • มัธยมศึกษา 100.0 95.3 4.7 • ปวช. ปวส. / ปวท. / อนุปริญญา 100.0 97.7 2.3 • ปริญญาตรี และสูงกวา 100.0 99.4 0.6

สถานภาพการทํางาน 100.0 91.9 8.1 • ขาราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 100.0 99.3 0.7 • พนักงาน/ลูกจางเอกชน 100.0 98.6 1.4 • คาขาย/ประกอบธุรกิจสวนตัว 100.0 95.3 4.7 • เกษตรกร 100.0 86.6 13.4 • รับจางทั่วไป/กรรมกร 100.0 88.1 11.9 • นักเรียน/นักศึกษา 100.0 93.2 6.8 • แมบาน 100.0 89.1 10.9 • วางงาน/ไมมีงานทํา 100.0 82.8 17.2

Page 76: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

64

ตาราง 6 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโนบายการจัดสรรเงนิคาครองชีพของรัฐบาล จาํแนกตามครัวเรือน ที่สมาชกิในครวัเรือนมี/ไมมีสิทธิ์จากการจัดสรรเงินฯ และลักษณะทางประชากร/สังคม

ครัวเรือนที่สมาชิกในครัวเรือน ลักษณะทางประชากร/สังคม รวม

มีสิทธิ์และไดใชสิทธิ์

มีสิทธิ์แตไมไดใชสิทธิ์

ไมมีสิทธิ์

ไมแนใจ/ ไมทราบ

เพศ 100.0 35.8 3.4 59.9 0.9

• ชาย 100.0 34.3 3.3 61.5 0.9 • หญิง 100.0 37.3 3.6 58.4 0.7

อายุ 100.0 35.8 3.4 59.9 0.9

• 18 -19 ป 100.0 34.0 4.6 60.0 1.4 • 20 - 29 ป 100.0 53.9 3.8 41.5 0.8 • 30 - 39 ป 100.0 42.9 3.9 52.5 0.7 • 40 - 49 ป 100.0 29.6 3.3 66.5 0.6 • 50 - 59 ป 100.0 26.1 2.5 70.2 1.2 • 60 ปขึ้นไป 100.0 24.2 3.0 71.8 1.0

ระดับการศึกษา 100.0 35.8 3.4 59.9 0.9

• ไมเคยเรียน 100.0 23.9 2.5 72.4 1.2 • ประถมศึกษา 100.0 22.7 2.4 74.0 0.9 • มัธยมศึกษา 100.0 37.7 3.9 57.4 1.0 • ปวช. ปวส. / ปวท. / อนุปริญญา 100.0 57.6 4.2 37.6 0.6 • ปริญญาตรี และสูงกวา 100.0 51.2 5.0 43.3 0.5

สถานภาพการทํางาน 100.0 35.8 3.4 59.9 0.9

• ขาราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 100.0 51.9 4.1 43.5 0.5 • พนักงาน/ลูกจางเอกชน 100.0 75.8 5.4 18.6 0.2 • คาขาย/ประกอบธุรกิจสวนตัว 100.0 26.2 2.7 70.5 0.6 • เกษตรกร 100.0 15.9 2.1 80.8 1.2 • รับจางทั่วไป/กรรมกร 100.0 24.7 3.0 71.3 1.0 • นักเรียน/นักศึกษา 100.0 35.2 5.0 58.3 1.5 • แมบาน 100.0 32.8 3.4 62.3 1.5 • วางงาน/ไมมีงานทํา 100.0 33.5 3.1 62.0 1.4

Page 77: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

65

ตาราง 7 รอยละของครวัเรอืนที่สมาชิกในครัวเรือนมีสิทธิ์และไดใชสิทธิ์จากการจัดสรรเงนิคาครองชีพของรัฐบาล จาํแนกตามเรื่องทีน่าํเงนิไปใชประโยชน และลกัษณะทางประชากร/สังคม

เรื่องทีน่ําเงินไปใชประโยชน

ลักษณะทางประชากร/สังคม คาอุปโภคบริโภค

ชําระหนี้สิน

เก็บออมไว

ยังไมไดรับเงินในรอบแรก

ใหพอแม ญาติ

อื่นๆ 1/ ไมระบุ

เพศ 27.8 3.7 3.0 0.5 0.1 0.3 0.5 • ชาย 26.4 3.7 2.8 0.3 0.1 .. 0.8 • หญิง 29.0 3.7 3.1 0.6 0.1 .. 0.6

อายุ 27.8 3.7 3.0 0.5 0.1 0.3 0.5 • 18 -19 ป 25.2 3.0 4.5 0.2 .. 0.2 1.1 • 20 – 29 ป 39.9 5.9 6.4 0.9 .. .. 0.8 • 30 – 39 ป 33.6 5.0 2.7 0.7 0.2 0.1 0.6 • 40 – 49 ป 23.4 3.2 2.0 0.1 0.2 0.1 0.7 • 50 – 59 ป 21.0 1.8 1.9 0.4 0.1 0.2 0.6 • 60 ปขึ้นไป 18.9 2.2 1.7 0.5 0.2 0.1 0.5

ระดับการศึกษา 27.8 3.7 3.0 0.5 0.1 0.3 0.5 • ไมเคยเรียน 18.7 1.5 3.8 0.0 .. .. .. • ประถมศึกษา 17.7 2.2 1.4 0.4 0.0 0.1 0.8 • มัธยมศึกษา 29.3 3.7 2.8 0.7 0.2 0.3 0.7 • ปวช. ปวส. / ปวท. / อนุปริญญา 43.5 8.1 5.1 0.3 .. 0.1 0.6 • ปริญญาตรี และสูงกวา 39.8 4.2 5.9 0.4 0.2 .. 0.6

สถานภาพการทํางาน 27.8 3.7 3.0 0.5 0.1 0.3 0.5 • ขาราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 42.9 3.8 3.8 0.3 0.2 .. 0.9 • พนักงาน/ลูกจางเอกชน 57.3 9.6 7.4 0.5 0.1 0.2 0.6 • คาขาย/ประกอบธุรกิจสวนตัว 20.0 2.0 2.2 0.8 0.1 0.2 1.0 • เกษตรกร 12.8 1.1 1.3 0.3 0.0 0.1 0.4 • รับจางทั่วไป/กรรมกร 17.7 3.9 1.5 0.4 0.3 0.2 0.7 • นักเรียน/นักศึกษา 26.3 3.4 4.4 0.0 .. 0.1 1.1 • แมบาน 27.2 2.9 1.1 0.9 0.3 .. 0.3 • วางงาน/ไมมีงานทํา 25.3 4.4 2.0 0.5 .. 0.3 1.0

หมายเหตุ : คิดรอยละจากประชาชนที่ระบุวาทราบนโยบายการจัดสรรเงินคาครองชีพของรัฐบาล 1/ ไดแก นําไปประกอบธุรกิจสวนตัว รักษาสุขภาพ ซอมแซมท่ีอยูอาศัย

Page 78: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

66

ตาราง 8 รอยละของประชาชนที่ทราบนโนบายการจัดสรรเงินคาครองชีพของรัฐบาล จําแนกตามระดับความพึงพอใจตอนโยบายการจัดสรรเงินฯ และลกัษณะทางประชากร/สังคม

ระดับความพึงพอใจ ลักษณะทางประชากร/สังคม รวม

มาก ปานกลาง นอย ไมพึงพอใจ

เพศ 100.0 30.8 44.5 12.3 12.4 • ชาย 100.0 28.9 44.3 12.1 14.7 • หญิง 100.0 32.5 44.8 12.4 10.3

อายุ 100.0 30.8 44.5 12.3 12.4 • 18 -19 ป 100.0 30.2 45.3 17.0 7.5 • 20 - 29 ป 100.0 37.0 43.0 10.1 9.9 • 30 - 39 ป 100.0 31.1 44.5 11.2 13.2 • 40 - 49 ป 100.0 28.5 44.9 12.5 14.1 • 50 - 59 ป 100.0 26.9 44.2 14.4 14.5 • 60 ปขึ้นไป 100.0 32.6 46.2 11.5 9.7

ระดับการศึกษา 100.0 30.8 44.5 12.3 12.4 • ไมเคยเรียน 100.0 36.7 45.3 11.6 6.4 • ประถมศึกษา 100.0 27.8 46.7 13.9 11.6 • มัธยมศึกษา 100.0 30.3 43.0 12.3 14.4 • ปวช. ปวส. / ปวท. / อนุปริญญา 100.0 38.4 40.7 10.0 10.9 • ปริญญาตรี และสูงกวา 100.0 32.6 44.9 9.6 12.9

สถานภาพการทํางาน 100.0 30.8 44.5 12.3 12.4 • ขาราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 100.0 32.4 42.5 10.6 14.5 • พนักงาน/ลูกจางเอกชน 100.0 47.5 38.8 6.8 6.9 • คาขาย/ประกอบธุรกิจสวนตัว 100.0 25.4 46.4 12.8 15.4 • เกษตรกร 100.0 24.0 47.1 15.9 13.0 • รับจางทั่วไป/กรรมกร 100.0 26.2 44.8 13.8 15.2 • นักเรียน/นักศึกษา 100.0 31.5 46.3 14.1 8.1 • แมบาน 100.0 33.3 44.9 10.5 11.3 • วางงาน/ไมมีงานทํา 100.0 31.3 44.3 11.4 13.0

Page 79: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

67

ตาราง 9 รอยละของประชาชนที่ทราบนโนบายการจัดสรรเงินคาครองชีพของรัฐบาล จําแนกตามความคิดเหน็ตอการดําเนนินโยบายการจัดสรรเงินฯ ตอไปอีก และลักษณะทางประชากร/สังคม

ความคิดเห็น ลักษณะทางประชากร/สังคม รวม

เห็นดวย ไมเห็นดวย

เพศ 100.0 83.0 17.0 • ชาย 100.0 79.7 20.3 • หญิง 100.0 86.0 14.0

อายุ 100.0 83.0 17.0 • 18 -19 ป 100.0 87.3 12.7 • 20 - 29 ป 100.0 85.4 14.6 • 30 - 39 ป 100.0 82.7 17.3 • 40 - 49 ป 100.0 81.7 18.3 • 50 - 59 ป 100.0 80.4 19.6 • 60 ปขึ้นไป 100.0 85.1 14.9

ระดับการศึกษา 100.0 83.0 17.0 • ไมเคยเรียน 100.0 92.6 7.4 • ประถมศึกษา 100.0 84.2 15.8 • มัธยมศึกษา 100.0 81.9 18.1 • ปวช. ปวส. / ปวท. / อนุปริญญา 100.0 84.5 15.5 • ปริญญาตรี และสูงกวา 100.0 79.2 20.8

สถานภาพการทํางาน 100.0 83.0 17.0 • ขาราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 100.0 78.5 21.5 • พนักงาน/ลูกจางเอกชน 100.0 88.5 11.5 • คาขาย/ประกอบธุรกิจสวนตัว 100.0 78.9 21.1 • เกษตรกร 100.0 83.1 16.9 • รับจางทั่วไป/กรรมกร 100.0 81.1 18.9 • นักเรียน/นักศึกษา 100.0 87.6 12.4 • แมบาน 100.0 86.3 13.7 • วางงาน/ไมมีงานทํา 100.0 83.1 16.9

Page 80: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

68

ตาราง 10 รอยละของประชาชน จาํแนกตามการทราบนโยบายสนับสนุนการจัดการศึกษาฟรี 15 ป และลักษณะทางประชากร/สังคม

การทราบนโยบาย ลักษณะทางประชากร/สังคม รวม

ทราบ ไมทราบ

เพศ 100.0 92.0 8.0 • ชาย 100.0 92.1 7.9 • หญิง 100.0 92.0 8.0

อายุ 100.0 92.0 8.0 • 18 -19 ป 100.0 92.1 7.9 • 20 - 29 ป 100.0 91.2 8.8 • 30 - 39 ป 100.0 96.4 3.6 • 40 - 49 ป 100.0 93.7 6.3 • 50 - 59 ป 100.0 89.8 10.2 • 60 ปขึ้นไป 100.0 84.7 15.3

ระดับการศึกษา 100.0 92.0 8.0 • ไมเคยเรียน 100.0 76.6 23.4 • ประถมศึกษา 100.0 89.7 10.3 • มัธยมศึกษา 100.0 93.7 6.3 • ปวช. ปวส. / ปวท. / อนุปริญญา 100.0 93.8 6.2 • ปริญญาตรี และสูงกวา 100.0 96.9 3.1

สถานภาพการทํางาน 100.0 92.0 8.0 • ขาราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 100.0 98.8 1.2 • พนักงาน/ลูกจางเอกชน 100.0 90.7 9.3 • คาขาย/ประกอบธุรกิจสวนตัว 100.0 93.3 6.7 • เกษตรกร 100.0 92.2 7.8 • รับจางทั่วไป/กรรมกร 100.0 89.3 10.7 • นักเรียน/นักศึกษา 100.0 92.7 7.3 • แมบาน 100.0 89.7 10.3 • วางงาน/ไมมีงานทํา 100.0 86.9 13.1

Page 81: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

69

ตาราง 11 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโนบายสนับสนุนการจัดการศึกษาฟรี 15 ป จําแนกตามครัวเรือนที่สมาชกิในครวัเรือนม/ีไมมีสิทธิ์จากนโยบายฯ และลักษณะทางประชากร/สังคม

ครัวเรือนทีส่มาชิกในครัวเรือน ลักษณะทางประชากร/สังคม รวม

มีสิทธิ์และไดใชสิทธิ์

มีสิทธิ์แตไมไดใชสิทธิ์

ไมมีสิทธิ์

ไมแนใจ/ ไมทราบ

เพศ 100.0 53.9 2.3 40.7 3.1

• ชาย 100.0 52.3 2.5 42.0 3.2 • หญิง 100.0 55.5 2.0 39.5 3.0

อายุ 100.0 53.9 2.3 40.7 3.1

• 18 -19 ป 100.0 58.0 0.8 34.7 6.5 • 20 - 29 ป 100.0 41.9 1.6 52.0 4.5 • 30 - 39 ป 100.0 60.2 3.5 33.6 2.7 • 40 - 49 ป 100.0 63.0 2.3 31.9 2.8 • 50 - 59 ป 100.0 47.8 2.1 47.8 2.3 • 60 ปขึ้นไป 100.0 44.5 1.6 51.9 2.0

ระดับการศึกษา 100.0 53.9 2.3 40.7 3.1

• ไมเคยเรียน 100.0 62.1 0.7 33.9 3.3 • ประถมศึกษา 100.0 57.8 1.5 38.4 2.3 • มัธยมศึกษา 100.0 58.4 2.5 35.4 3.7 • ปวช. ปวส. / ปวท. / อนุปริญญา 100.0 49.1 2.9 43.5 4.5 • ปริญญาตรี และสูงกวา 100.0 37.8 3.8 55.5 2.9

สถานภาพการทํางาน 100.0 53.9 2.3 40.7 3.1

• ขาราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 100.0 46.6 3.5 49.1 0.8 • พนักงาน/ลูกจางเอกชน 100.0 44.7 2.6 48.0 4.7 • คาขาย/ประกอบธุรกิจสวนตัว 100.0 52.5 3.0 42.0 2.5 • เกษตรกร 100.0 63.8 1.5 32.3 2.4 • รับจางทั่วไป/กรรมกร 100.0 59.2 2.3 34.9 3.6 • นักเรียน/นักศึกษา 100.0 55.5 0.7 37.7 6.1 • แมบาน 100.0 52.7 2.1 43.2 2.0 • วางงาน/ไมมีงานทํา 100.0 43.3 2.3 50.0 4.4

Page 82: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

70

ตาราง 12 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโนบายสนับสนุนการจัดการศึกษาฟรี 15 ป จําแนกตามระดับความพึงพอใจตอนโยบายฯ และลักษณะทางประชากร/สังคม

ระดับความพึงพอใจ ลักษณะทางประชากร/สังคม รวม

มาก ปานกลาง นอย ไมพึงพอใจ

เพศ 100.0 52.5 40.7 5.0 1.8 • ชาย 100.0 51.0 41.3 5.4 2.3 • หญิง 100.0 53.8 40.1 4.6 1.5

อายุ 100.0 52.5 40.7 5.0 1.8 • 18 -19 ป 100.0 53.9 39.1 7.0 .. • 20 - 29 ป 100.0 49.5 44.1 4.7 1.7 • 30 - 39 ป 100.0 50.9 41.5 5.5 2.1 • 40 - 49 ป 100.0 54.7 39.7 3.9 1.7 • 50 - 59 ป 100.0 50.4 40.4 6.4 2.8 • 60 ปขึ้นไป 100.0 57.9 37.3 3.4 1.4

ระดับการศึกษา 100.0 52.5 40.7 5.0 1.8 • ไมเคยเรียน 100.0 53.0 40.0 7.0 .. • ประถมศึกษา 100.0 55.1 39.5 4.3 1.1 • มัธยมศึกษา 100.0 51.3 41.6 4.9 2.2 • ปวช. ปวส. / ปวท. / อนุปริญญา 100.0 50.4 40.9 6.8 1.9 • ปริญญาตรี และสูงกวา 100.0 48.8 41.9 5.3 4.0

สถานภาพการทํางาน 100.0 52.5 40.7 5.0 1.8 • ขาราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 100.0 47.2 44.1 4.8 3.9 • พนักงาน/ลูกจางเอกชน 100.0 50.1 42.1 6.0 1.8 • คาขาย/ประกอบธุรกิจสวนตัว 100.0 50.9 41.6 4.8 2.7 • เกษตรกร 100.0 53.9 40.3 4.6 1.2 • รับจางทั่วไป/กรรมกร 100.0 56.4 38.0 4.0 1.6 • นักเรียน/นักศึกษา 100.0 53.4 39.8 6.1 0.7 • แมบาน 100.0 54.2 38.4 6.3 1.1 • วางงาน/ไมมีงานทํา 100.0 56.4 38.0 3.8 1.8

Page 83: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

71

ตาราง 13 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโนบายสนับสนุนการจัดการศึกษาฟรี 15 ป จําแนกตามความคิดเห็นตอการดําเนินนโยบายฯ ตอไปอีก และลักษณะทางประชากร/สังคม

ความคิดเห็น ลักษณะทางประชากร/สังคม รวม

เห็นดวย ไมเห็นดวย

เพศ 100.0 97.9 2.1 • ชาย 100.0 97.7 2.3 • หญิง 100.0 98.1 1.9

อายุ 100.0 97.9 2.1 • 18 -19 ป 100.0 99.3 0.7 • 20 - 29 ป 100.0 98.6 1.4 • 30 - 39 ป 100.0 97.7 2.3 • 40 - 49 ป 100.0 98.0 2.0 • 50 - 59 ป 100.0 96.6 3.4 • 60 ปขึ้นไป 100.0 98.6 1.4

ระดับการศึกษา 100.0 97.9 2.1 • ไมเคยเรียน 100.0 100.0 .. • ประถมศึกษา 100.0 98.2 1.8 • มัธยมศึกษา 100.0 98.6 1.4 • ปวช. ปวส. / ปวท. / อนุปริญญา 100.0 97.2 2.8 • ปริญญาตรี และสูงกวา 100.0 96.1 3.9

สถานภาพการทํางาน 100.0 97.9 2.1 • ขาราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 100.0 96.4 3.6 • พนักงาน/ลูกจางเอกชน 100.0 97.5 2.5 • คาขาย/ประกอบธุรกิจสวนตัว 100.0 97.2 2.8 • เกษตรกร 100.0 98.7 1.3 • รับจางทั่วไป/กรรมกร 100.0 98.1 1.9 • นักเรียน/นักศึกษา 100.0 98.9 1.1 • แมบาน 100.0 98.4 1.6 • วางงาน/ไมมีงานทํา 100.0 98.5 1.5

Page 84: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

72

ตาราง 14 รอยละของประชาชน จาํแนกตามการทราบนโยบายการเพิ่มศักยภาพผูวางงาน และลกัษณะทางประชากร/สังคม

การทราบนโยบาย ลักษณะทางประชากร/สังคม รวม

ทราบ ไมทราบ

เพศ 100.0 51.8 48.2 • ชาย 100.0 54.1 45.9 • หญิง 100.0 49.6 50.4

อายุ 100.0 51.8 48.2 • 18 -19 ป 100.0 56.6 43.4 • 20 - 29 ป 100.0 60.6 39.4 • 30 - 39 ป 100.0 57.2 42.8 • 40 - 49 ป 100.0 52.2 47.8 • 50 - 59 ป 100.0 46.6 53.4 • 60 ปขึ้นไป 100.0 34.4 65.6

ระดับการศึกษา 100.0 51.8 48.2 • ไมเคยเรียน 100.0 25.9 74.1 • ประถมศึกษา 100.0 38.3 61.7 • มัธยมศึกษา 100.0 58.1 41.9 • ปวช. ปวส. / ปวท. / อนุปริญญา 100.0 64.1 35.9 • ปริญญาตรี และสูงกวา 100.0 74.9 25.1

สถานภาพการทํางาน 100.0 51.8 48.2 • ขาราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 100.0 76.8 23.2 • พนักงาน/ลูกจางเอกชน 100.0 63.5 36.5 • คาขาย/ประกอบธุรกิจสวนตัว 100.0 51.7 48.3 • เกษตรกร 100.0 39.7 60.3 • รับจางทั่วไป/กรรมกร 100.0 44.6 55.4 • นักเรียน/นักศึกษา 100.0 57.3 42.7 • แมบาน 100.0 44.5 55.5 • วางงาน/ไมมีงานทํา 100.0 46.9 53.1

Page 85: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

73

ตาราง 15 รอยละของประชาชนที่ทราบนโนบายการเพิ่มศักยภาพผูวางงาน จําแนกตามครัวเรือนที่สมาชกิในครัวเรือนม/ีไมมีสิทธิ์จากนโยบายฯ และลักษณะทางประชากร/สังคม

ครัวเรือนทีส่มาชิกในครัวเรือน ลักษณะทางประชากร/สังคม รวม มีสิทธิ์และ

ไดใชสิทธิ์ มีสิทธิ์แต

ไมไดใชสิทธิ์ ไมมีสิทธิ์

ไมแนใจ/ ไมทราบ

เพศ 100.0 4.3 7.7 80.5 7.5

• ชาย 100.0 4.0 6.4 82.0 7.6 • หญิง 100.0 4.6 9.0 78.9 7.5

อายุ 100.0 4.3 7.7 80.5 7.5

• 18 -19 ป 100.0 4.0 8.1 72.2 15.7 • 20 - 29 ป 100.0 6.1 11.4 71.5 11.0 • 30 - 39 ป 100.0 4.5 7.9 79.7 7.9 • 40 - 49 ป 100.0 4.5 7.8 82.6 5.1 • 50 - 59 ป 100.0 3.2 4.8 87.5 4.5 • 60 ปขึ้นไป 100.0 1.8 3.5 89.2 5.5

ระดับการศึกษา 100.0 4.3 7.7 80.5 7.5

• ไมเคยเรียน 100.0 2.5 4.6 82.9 10.0 • ประถมศึกษา 100.0 2.8 7.0 84.7 5.5 • มัธยมศึกษา 100.0 5.5 7.8 77.2 9.5 • ปวช. ปวส. / ปวท. / อนุปริญญา 100.0 4.8 9.2 76.5 9.5 • ปริญญาตรี และสูงกวา 100.0 4.8 7.7 81.3 6.2

สถานภาพการทํางาน 100.0 4.3 7.7 80.5 7.5

• ขาราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 100.0 4.0 2.7 89.7 3.6 • พนักงาน/ลูกจางเอกชน 100.0 4.2 8.0 78.9 8.9 • คาขาย/ประกอบธุรกิจสวนตัว 100.0 3.3 7.9 80.7 8.1 • เกษตรกร 100.0 3.6 6.5 85.2 4.7 • รับจางทั่วไป/กรรมกร 100.0 5.5 9.2 77.7 7.6 • นักเรียน/นักศึกษา 100.0 4.6 4.9 76.9 13.6 • แมบาน 100.0 3.8 12.4 76.2 7.6 • วางงาน/ไมมีงานทํา 100.0 9.7 18.9 58.7 12.7

Page 86: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

74

ตาราง 16 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโนบายการเพิ่มศักยภาพผูวางงาน จาํแนกตามความคดิเห็นตอการดําเนินนโยบายฯ ตอไปอีก และลักษณะทางประชากร/สังคม

ความคิดเห็น ลักษณะทางประชากร/สังคม รวม

เห็นดวย ไมเห็นดวย

เพศ 100.0 96.4 3.6 • ชาย 100.0 95.6 4.4 • หญิง 100.0 97.2 2.8

อายุ 100.0 96.4 3.6 • 18 -19 ป 100.0 98.6 1.4 • 20 - 29 ป 100.0 97.4 2.6 • 30 - 39 ป 100.0 96.4 3.6 • 40 - 49 ป 100.0 95.7 4.3 • 50 - 59 ป 100.0 95.6 4.4 • 60 ปขึ้นไป 100.0 96.3 3.7

ระดับการศึกษา 100.0 96.4 3.6 • ไมเคยเรียน 100.0 100.0 .. • ประถมศึกษา 100.0 96.6 3.4 • มัธยมศึกษา 100.0 97.7 2.3 • ปวช. ปวส. / ปวท. / อนุปริญญา 100.0 95.4 4.6 • ปริญญาตรี และสูงกวา 100.0 94.8 5.2

สถานภาพการทํางาน 100.0 96.4 3.6 • ขาราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 100.0 94.7 5.3 • พนักงาน/ลูกจางเอกชน 100.0 95.9 4.1 • คาขาย/ประกอบธุรกิจสวนตัว 100.0 96.9 3.1 • เกษตรกร 100.0 96.9 3.1 • รับจางทั่วไป/กรรมกร 100.0 96.4 3.6 • นักเรียน/นักศึกษา 100.0 97.8 2.2 • แมบาน 100.0 96.9 3.1 • วางงาน/ไมมีงานทํา 100.0 96.8 3.2

Page 87: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

75

ตาราง 17 รอยละของประชาชน จาํแนกตามการทราบนโยบายชมุชนพอเพียง และลกัษณะทางประชากร/สังคม

การทราบนโยบาย ลักษณะทางประชากร/สังคม รวม

ทราบ ไมทราบ

เพศ 100.0 61.0 39.0 • ชาย 100.0 62.8 37.2 • หญิง 100.0 59.3 40.7

อายุ 100.0 61.0 39.0 • 18 -19 ป 100.0 57.2 42.8 • 20 - 29 ป 100.0 57.7 42.3 • 30 - 39 ป 100.0 64.7 35.3 • 40 - 49 ป 100.0 64.6 35.4 • 50 - 59 ป 100.0 62.5 37.5 • 60 ปขึ้นไป 100.0 49.9 50.1

ระดับการศึกษา 100.0 61.0 39.0 • ไมเคยเรียน 100.0 38.3 61.7 • ประถมศึกษา 100.0 57.6 42.4 • มัธยมศึกษา 100.0 63.8 36.2 • ปวช. ปวส. / ปวท. / อนุปริญญา

100.0 62.3 37.7

• ปริญญาตรี และสูงกวา 100.0 68.7 31.3 สถานภาพการทํางาน 100.0 61.0 39.0

• ขาราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ

100.0 80.5 19.5

• พนักงาน/ลูกจางเอกชน 100.0 55.4 44.6 • คาขาย/ประกอบธุรกิจสวนตัว 100.0 61.9 38.1 • เกษตรกร 100.0 60.0 40.0 • รับจางทั่วไป/กรรมกร 100.0 62.3 37.7 • นักเรียน/นักศึกษา 100.0 59.5 40.5 • แมบาน 100.0 52.1 47.9 • วางงาน/ไมมีงานทํา 100.0 53.9 46.1

Page 88: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

76

ตาราง 18 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโนบายชมุชนพอเพียง จาํแนกตามความคิดเห็นตอการดําเนนินโยบายฯ ตอไปอีก และลักษณะทางประชากร/สังคม

ความคิดเห็น ลักษณะทางประชากร/สังคม รวม

เห็นดวย ไมเห็นดวย

เพศ 100.0 97.7 2.3 • ชาย 100.0 97.6 2.4 • หญิง 100.0 97.8 2.2

อายุ 100.0 97.7 2.3 • 18 -19 ป 100.0 98.9 1.1 • 20 - 29 ป 100.0 98.3 1.7 • 30 - 39 ป 100.0 97.6 2.4 • 40 - 49 ป 100.0 97.1 2.9 • 50 - 59 ป 100.0 97.6 2.4 • 60 ปขึ้นไป 100.0 97.9 2.1

ระดับการศึกษา 100.0 97.7 2.3 • ไมเคยเรียน 100.0 98.2 1.8 • ประถมศึกษา 100.0 97.6 2.4 • มัธยมศึกษา 100.0 98.0 2.0 • ปวช. ปวส. / ปวท. / อนุปริญญา 100.0 97.6 2.4 • ปริญญาตรี และสูงกวา 100.0 97.3 2.7

สถานภาพการทํางาน 100.0 97.7 2.3 • ขาราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 100.0 97.6 2.4 • พนักงาน/ลูกจางเอกชน 100.0 98.2 1.8 • คาขาย/ประกอบธุรกิจสวนตัว 100.0 96.4 3.6 • เกษตรกร 100.0 98.3 1.7 • รับจางทั่วไป/กรรมกร 100.0 97.7 2.3 • นักเรียน/นักศึกษา 100.0 98.1 1.9 • แมบาน 100.0 97.0 3.0 • วางงาน/ไมมีงานทํา 100.0 98.3 1.7

Page 89: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

77

ตาราง 19 รอยละของประชาชน จาํแนกตามการทราบนโยบายการใหเบี้ยยังชพีกบัผูสูงอาย ุและลักษณะทางประชากร/สังคม

การทราบนโยบาย ลักษณะทางประชากร/สังคม รวม

ทราบ ไมทราบ

เพศ 100.0 96.8 3.2 • ชาย 100.0 96.7 3.3 • หญิง 100.0 96.9 3.1

อายุ 100.0 96.8 3.2 • 18 -19 ป 100.0 89.7 10.3 • 20 - 29 ป 100.0 94.4 5.6 • 30 - 39 ป 100.0 97.2 2.8 • 40 - 49 ป 100.0 97.9 2.1 • 50 - 59 ป 100.0 98.1 1.9 • 60 ปขึ้นไป 100.0 98.6 1.4

ระดับการศึกษา 100.0 96.8 3.2 • ไมเคยเรียน 100.0 98.1 1.9 • ประถมศึกษา 100.0 97.6 2.4 • มัธยมศึกษา 100.0 96.1 3.9 • ปวช. ปวส. / ปวท. / อนุปริญญา 100.0 95.6 4.4 • ปริญญาตรี และสูงกวา 100.0 96.7 3.3

สถานภาพการทํางาน 100.0 96.8 3.2 • ขาราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 100.0 98.7 1.3 • พนักงาน/ลูกจางเอกชน 100.0 94.3 5.7 • คาขาย/ประกอบธุรกิจสวนตัว 100.0 97.8 2.2 • เกษตรกร 100.0 98.7 1.3 • รับจางทั่วไป/กรรมกร 100.0 96.9 3.1 • นักเรียน/นักศึกษา 100.0 90.9 9.1 • แมบาน 100.0 96.7 3.3 • วางงาน/ไมมีงานทํา 100.0 96.9 3.1

Page 90: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

78

ตาราง 20 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโนบายการใหเบี้ยยังชพีกับผูสูงอาย ุ จาํแนกตามครัวเรือนที่สมาชิกในครัวเรือนม/ีไมมีสิทธิ์จากนโยบายการใหเบี้ยยังชพีฯ และลักษณะทางประชากร/สังคม

ครัวเรือนทีส่มาชิกในครัวเรือน ลักษณะทางประชากร/สังคม รวม มีสิทธิ์และ

ไดใชสิทธิ มีสิทธิ์แต

ไมไดใชสิทธิ์ ไมมีสิทธิ์

ไมแนใจ/ ไมทราบ

เพศ 100.0 38.1 2.3 57.7 1.9

• ชาย 100.0 37.0 2.5 58.5 2.0 • หญิง 100.0 39.1 2.1 57.0 1.8

อายุ 100.0 38.1 2.3 57.7 1.9

• 18 -19 ป 100.0 35.3 1.7 58.4 4.6 • 20 - 29 ป 100.0 34.1 1.6 61.0 3.3 • 30 - 39 ป 100.0 33.3 2.2 62.5 2.0 • 40 - 49 ป 100.0 32.4 1.3 65.0 1.3 • 50 - 59 ป 100.0 28.0 1.3 69.9 0.8 • 60 ปขึ้นไป 100.0 81.7 7.3 9.8 1.2

ระดับการศึกษา 100.0 38.1 2.3 57.7 1.9

• ไมเคยเรียน 100.0 56.3 0.9 40.1 2.7 • ประถมศึกษา 100.0 41.5 2.3 55.2 1.0 • มัธยมศึกษา 100.0 36.4 2.3 59.4 1.9 • ปวช. ปวส. / ปวท. / อนุปริญญา 100.0 30.7 1.8 63.7 3.8 • ปริญญาตรี และสูงกวา 100.0 34.0 2.7 60.2 3.1

สถานภาพการทํางาน 100.0 38.1 2.3 57.7 1.9

• ขาราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 100.0 30.7 3.1 64.4 1.8 • พนักงาน/ลูกจางเอกชน 100.0 30.5 1.9 64.9 2.7 • คาขาย/ประกอบธุรกิจสวนตัว 100.0 36.6 2.3 59.6 1.5 • เกษตรกร 100.0 38.9 1.8 58.3 1.0 • รับจางทั่วไป/กรรมกร 100.0 38.0 2.1 57.6 2.3 • นักเรียน/นักศึกษา 100.0 37.0 1.7 56.6 4.7 • แมบาน 100.0 45.2 3.3 50.2 1.3 • วางงาน/ไมมีงานทํา 100.0 64.8 3.7 29.7 1.8

Page 91: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

79

ตาราง 21 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโนบายการใหเบี้ยยังชพีกบัผูสูงอาย ุจําแนกตามระดบัความพึงพอใจตอนโยบายการใหเบี้ยยงัชีพฯ และลกัษณะทางประชากร/สังคม

ระดับความพึงพอใจ ลักษณะทางประชากร/สังคม รวม

มาก ปานกลาง นอย ไมพึงพอใจ

เพศ 100.0 54.7 39.1 4.3 1.9 • ชาย 100.0 53.4 39.9 4.4 2.3 • หญิง 100.0 55.9 38.4 4.2 1.5

อายุ 100.0 54.7 39.1 4.3 1.9 • 18 -19 ป 100.0 51.8 43.1 3.8 1.3 • 20 - 29 ป 100.0 50.4 42.5 5.1 2.0 • 30 - 39 ป 100.0 52.7 40.3 5.0 2.0 • 40 - 49 ป 100.0 54.5 39.8 4.0 1.7 • 50 - 59 ป 100.0 53.8 40.2 4.1 1.9 • 60 ปขึ้นไป 100.0 67.5 27.4 3.1 2.0

ระดับการศึกษา 100.0 54.7 39.1 4.3 1.9 • ไมเคยเรียน 100.0 66.2 31.0 1.6 1.2 • ประถมศึกษา 100.0 58.1 37.0 3.6 1.3 • มัธยมศึกษา 100.0 53.4 40.2 4.6 1.8 • ปวช. ปวส. / ปวท. / อนุปริญญา 100.0 50.1 42.4 4.8 2.7 • ปริญญาตรี และสูงกวา 100.0 49.1 41.9 5.8 3.2

สถานภาพการทํางาน 100.0 54.7 39.1 4.3 1.9 • ขาราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 100.0 53.6 38.5 5.0 2.9 • พนักงาน/ลูกจางเอกชน 100.0 50.5 42.6 4.7 2.2 • คาขาย/ประกอบธุรกิจสวนตัว 100.0 51.5 42.0 5.1 1.4 • เกษตรกร 100.0 57.3 38.1 3.0 1.6 • รับจางทั่วไป/กรรมกร 100.0 56.6 37.5 4.5 1.4 • นักเรียน/นักศึกษา 100.0 51.3 43.9 3.6 1.2 • แมบาน 100.0 59.0 33.2 5.3 2.5 • วางงาน/ไมมีงานทํา 100.0 62.1 31.0 3.5 3.4

Page 92: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

80

ตาราง 22 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโนบายการใหเบี้ยยังชพีกับผูสูงอาย ุ จาํแนกตามความคดิเห็นตอการดําเนินนโยบายการใหเบี้ยยังชพีฯ ตลอดไป และลักษณะทางประชากร/สังคม

ความคิดเห็น ลักษณะทางประชากร/สังคม รวม

เห็นดวย ไมเห็นดวย

เพศ 100.0 98.9 1.1 • ชาย 100.0 98.6 1.4 • หญิง 100.0 99.1 0.9

อายุ 100.0 98.9 1.1 • 18 -19 ป 100.0 98.8 1.2 • 20 - 29 ป 100.0 98.9 1.1 • 30 - 39 ป 100.0 99.0 1.0 • 40 - 49 ป 100.0 98.9 1.1 • 50 - 59 ป 100.0 98.5 1.5 • 60 ปขึ้นไป 100.0 99.3 0.7

ระดับการศึกษา 100.0 98.9 1.1 • ไมเคยเรียน 100.0 100.0 .. • ประถมศึกษา 100.0 99.3 0.7 • มัธยมศึกษา 100.0 98.8 1.2 • ปวช. ปวส. / ปวท. / อนุปริญญา 100.0 98.3 1.7 • ปริญญาตรี และสูงกวา 100.0 98.1 1.9

สถานภาพการทํางาน 100.0 98.9 1.1 • ขาราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 100.0 97.9 2.1 • พนักงาน/ลูกจางเอกชน 100.0 99.0 1.0 • คาขาย/ประกอบธุรกิจสวนตัว 100.0 98.8 1.2 • เกษตรกร 100.0 99.2 0.8 • รับจางทั่วไป/กรรมกร 100.0 99.5 0.5 • นักเรียน/นักศึกษา 100.0 98.7 1.3 • แมบาน 100.0 99.3 0.7 • วางงาน/ไมมีงานทํา 100.0 97.9 2.1

Page 93: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

81

ตาราง 23 รอยละของประชาชน จาํแนกตามการทราบนโยบาย 5 มาตรการ 6 เดือน และลักษณะทางประชากร/สังคม

การทราบนโยบาย ลักษณะทางประชากร/สังคม รวม

ทราบ ไมทราบ

เพศ 100.0 90.9 9.1 • ชาย 100.0 91.4 8.6 • หญิง 100.0 90.5 9.5

อายุ 100.0 90.9 9.1 • 18 -19 ป 100.0 80.6 19.4 • 20 - 29 ป 100.0 85.6 14.4 • 30 - 39 ป 100.0 91.8 8.2 • 40 - 49 ป 100.0 94.1 5.9 • 50 - 59 ป 100.0 93.6 6.4 • 60 ปขึ้นไป 100.0 90.5 9.5

ระดับการศึกษา 100.0 90.9 9.1 • ไมเคยเรียน 100.0 84.3 15.7 • ประถมศึกษา 100.0 92.6 7.4 • มัธยมศึกษา 100.0 90.4 9.6 • ปวช. ปวส. / ปวท. / อนุปริญญา 100.0 87.9 12.1 • ปริญญาตรี และสูงกวา 100.0 90.4 9.6

สถานภาพการทํางาน 100.0 90.9 9.1 • ขาราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 100.0 94.7 5.3 • พนักงาน/ลูกจางเอกชน 100.0 89.4 10.6 • คาขาย/ประกอบธุรกิจสวนตัว 100.0 92.1 7.9 • เกษตรกร 100.0 93.9 6.1 • รับจางทั่วไป/กรรมกร 100.0 89.9 10.1 • นักเรียน/นักศึกษา 100.0 80.4 19.6 • แมบาน 100.0 91.0 9.0 • วางงาน/ไมมีงานทํา 100.0 87.2 12.8

Page 94: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

82

ตาราง 24 รอยละของประชาชนที่ทราบนโยบาย 5 มาตรการ 6 เดือน จาํแนกตามครัวเรือนที่ไดรับประโยชนจากนโยบาย 5 มาตรการ 6 เดือน และลักษณะทางประชากร/สังคม

ครัวเรือนที่ไดรับประโยชน1

ลักษณะทางประชากร/สังคม รวม รวม

การใชไฟฟา ไมเกิน 90 หนวย/เดือน

การใชนํ้าประปา ไมเกิน 30 ลบ.ม./เดือน

การชะลอ การปรับราคากาซ LPG

รถประจําทางไมปรับอากาศฯ ฟรี

รถไฟชั้น 3 ไมปรับ

อากาศฯ ฟรี

ไมไดรับประโยชน

เพศ 100.0 69.0 75.0 30.9 19.3 9.9 2.6 31.0 • ชาย 100.0 68.6 76.1 30.2 19.6 9.4 2.2 31.4 • หญิง 100.0 69.4 74.0 31.5 19.1 10.4 2.9 30.6

อายุ 100.0 69.0 75.0 30.9 19.3 9.9 2.6 31.0 • 18 -19 ป 100.0 70.4 71.0 34.4 12.8 15.4 3.3 29.6 • 20 - 29 ป 100.0 68.4 71.6 34.4 18.4 16.5 3.5 31.6 • 30 - 39 ป 100.0 66.8 72.7 33.9 19.3 11.3 2.6 33.2 • 40 - 49 ป 100.0 68.6 76.0 30.2 20.2 8.4 3.3 31.4 • 50 - 59 ป 100.0 71.6 77.7 26.1 21.5 7.1 1.6 28.4 • 60 ปขึ้นไป 100.0 70.2 78.6 28.8 17.8 4.8 1.0 29.8

ระดับการศึกษา 100.0 69.0 75.0 30.9 19.3 9.9 2.6 31.0 • ไมเคยเรียน 100.0 76.5 88.8 25.1 15.6 1.9 1.5 23.5 • ประถมศึกษา 100.0 72.0 84.0 21.6 17.2 4.7 1.8 28.0 • มัธยมศึกษา 100.0 69.0 73.1 32.6 19.6 10.9 3.6 31.0 • ปวช. ปวส. / ปวท. / อนุปริญญา 100.0 63.5 64.0 44.6 18.0 17.7 2.4 36.5 • ปริญญาตรี และสูงกวา 100.0 63.2 53.2 50.5 28.2 21.7 3.7 36.8

สถานภาพการทํางาน 100.0 69.0 75.0 30.9 19.3 9.9 2.6 31.0 • ขาราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 100.0 64.9 66.8 39.9 29.4 9.3 2.6 35.1 • พนักงาน/ลูกจางเอกชน 100.0 66.7 59.0 47.4 17.1 25.0 3.6 33.3 • คาขาย/ประกอบธุรกิจสวนตัว 100.0 57.1 65.7 38.7 25.7 10.2 3.0 42.9 • เกษตรกร 100.0 77.8 92.7 12.2 16.7 1.6 1.5 22.2 • รับจางทั่วไป/กรรมกร 100.0 74.5 80.9 28.0 16.4 7.8 2.3 25.5 • นักเรียน/นักศึกษา 100.0 70.3 67.4 32.1 16.6 18.8 6.1 29.7 • แมบาน 100.0 68.0 69.5 37.0 16.6 10.9 1.8 32.0 • วางงาน/ไมมีงานทํา 100.0 74.1 71.2 40.8 16.2 6.8 1.7 25.9

หมายเหตุ 1/ : หมายถึง ตอบไดมากกวา 1 คําตอบ

Page 95: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

83

ตาราง 25 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบาย 5 มาตรการ 6 เดือน จําแนกตามระดับความพงึพอใจตอนโยบายฯ และลักษณะทางประชากร/สังคม

ระดับความพึงพอใจ ลักษณะทางประชากร/สังคม รวม

มาก ปานกลาง นอย ไมพึงพอใจ

เพศ 100.0 43.9 43.5 9.0 3.6 • ชาย 100.0 41.8 45.3 9.0 3.9 • หญิง 100.0 45.8 42.0 8.9 3.3

อายุ 100.0 43.9 43.5 9.0 3.6 • 18 -19 ป 100.0 45.5 43.5 8.1 2.9 • 20 - 29 ป 100.0 43.0 43.8 8.8 4.4 • 30 - 39 ป 100.0 41.9 45.1 9.7 3.3 • 40 - 49 ป 100.0 43.1 44.4 8.6 3.9 • 50 - 59 ป 100.0 44.2 42.4 9.5 3.9 • 60 ปขึ้นไป 100.0 49.1 40.5 7.9 2.5

ระดับการศึกษา 100.0 43.9 43.5 9.0 3.6 • ไมเคยเรียน 100.0 49.1 42.1 5.5 3.3 • ประถมศึกษา 100.0 45.9 42.7 8.6 2.8 • มัธยมศึกษา 100.0 42.6 43.8 9.4 4.2 • ปวช. ปวส. / ปวท. / อนุปริญญา 100.0 43.4 43.5 8.3 4.8 • ปริญญาตรี และสูงกวา 100.0 39.5 46.1 10.3 4.1

สถานภาพการทํางาน 100.0 43.9 43.5 9.0 3.6 • ขาราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 100.0 41.2 45.5 8.3 5.0 • พนักงาน/ลูกจางเอกชน 100.0 44.1 44.1 8.4 3.4 • คาขาย/ประกอบธุรกิจสวนตัว 100.0 37.1 44.9 11.9 6.1 • เกษตรกร 100.0 46.5 44.2 7.3 2.0 • รับจางทั่วไป/กรรมกร 100.0 48.6 41.2 7.7 2.5 • นักเรียน/นักศึกษา 100.0 43.6 44.4 8.9 3.1 • แมบาน 100.0 45.2 39.2 11.6 4.0 • วางงาน/ไมมีงานทํา 100.0 48.2 41.4 7.5 2.9

Page 96: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

84

ตาราง 26 รอยละของประชาชน จาํแนกตามการทราบนโยบายการจดัสรรคาตอบแทนอาสาสมัครใหสาธารณสุขประจําหมูบาน (อสม.) และลักษณะทางประชากร/สังคม

การทราบนโยบาย ลักษณะทางประชากร/สังคม รวม

ทราบ ไมทราบ

เพศ 100.0 66.0 34.0 • ชาย 100.0 67.5 32.5 • หญิง 100.0 64.6 35.4

อายุ 100.0 66.0 34.0 • 18 -19 ป 100.0 54.6 45.4 • 20 - 29 ป 100.0 57.2 42.8 • 30 - 39 ป 100.0 69.0 31.0 • 40 - 49 ป 100.0 72.7 27.3 • 50 - 59 ป 100.0 68.6 31.4 • 60 ปขึ้นไป 100.0 59.2 40.8

ระดับการศึกษา 100.0 66.0 34.0 • ไมเคยเรียน 100.0 51.5 48.5 • ประถมศึกษา 100.0 66.7 33.3 • มัธยมศึกษา 100.0 66.0 34.0 • ปวช. ปวส. / ปวท. / อนุปริญญา 100.0 61.4 38.6 • ปริญญาตรี และสูงกวา 100.0 70.1 29.9

สถานภาพการทํางาน 100.0 66.0 34.0 • ขาราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 100.0 85.0 15.0 • พนักงาน/ลูกจางเอกชน 100.0 52.2 47.8 • คาขาย/ประกอบธุรกิจสวนตัว 100.0 67.1 32.9 • เกษตรกร 100.0 75.3 24.7 • รับจางทั่วไป/กรรมกร 100.0 64.3 35.7 • นักเรียน/นักศึกษา 100.0 54.4 45.6 • แมบาน 100.0 57.6 42.4 • วางงาน/ไมมีงานทํา 100.0 56.2 43.8

Page 97: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

85

ตาราง 27 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบายการจดัสรรคาตอบแทนใหอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน (อสม.) จาํแนกตามระดับความพึงพอใจตอนโยบายการจัดสรรคาตอบแทนฯ และลักษณะทางประชากร/สังคม

ระดับความพึงพอใจ ลักษณะทางประชากร/สังคม รวม

มาก ปานกลาง นอย ไมพึงพอใจ

เพศ 100.0 35.8 53.9 7.6 2.7 • ชาย 100.0 36.3 53.0 8.0 2.7 • หญิง 100.0 35.3 54.8 7.3 2.6

อายุ 100.0 35.8 53.9 7.6 2.7 • 18 -19 ป 100.0 39.7 47.8 11.8 0.7 • 20 - 29 ป 100.0 34.0 55.4 8.1 2.5 • 30 - 39 ป 100.0 31.8 57.1 7.4 3.7 • 40 - 49 ป 100.0 36.4 53.9 6.8 2.9 • 50 - 59 ป 100.0 37.6 51.5 8.9 2.0 • 60 ปขึ้นไป 100.0 40.1 52.1 5.6 2.2

ระดับการศึกษา 100.0 35.8 53.9 7.6 2.7 • ไมเคยเรียน 100.0 39.7 50.3 8.8 1.2 • ประถมศึกษา 100.0 38.0 54.3 6.0 1.7 • มัธยมศึกษา 100.0 37.8 51.2 7.9 3.1 • ปวช. ปวส. / ปวท. / อนุปริญญา 100.0 32.0 54.7 10.2 3.1 • ปริญญาตรี และสูงกวา 100.0 28.2 57.5 9.9 4.4

สถานภาพการทํางาน 100.0 35.8 53.9 7.6 2.7 • ขาราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 100.0 34.9 51.5 8.4 5.2 • พนักงาน/ลูกจางเอกชน 100.0 29.9 56.7 10.3 3.1 • คาขาย/ประกอบธุรกิจสวนตัว 100.0 33.6 56.4 8.3 1.7 • เกษตรกร 100.0 40.3 51.6 6.1 2.0 • รับจางทั่วไป/กรรมกร 100.0 33.4 56.6 5.9 4.1 • นักเรียน/นักศึกษา 100.0 38.1 50.9 10.2 0.8 • แมบาน 100.0 33.4 57.2 7.1 2.3 • วางงาน/ไมมีงานทํา 100.0 42.3 48.4 6.9 2.4

Page 98: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

86

ตาราง 28 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบายการจดัสรรคาตอบแทนใหอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน (อสม.) จําแนกตามความคิดเหน็ตอการดําเนนินโยบายการจดัสรรเงินคาตอบแทนฯ ตลอดไป และลักษณะทางประชากร/สังคม

ความคิดเห็น ลักษณะทางประชากร/สังคม รวม

เห็นดวย ไมเห็นดวย

เพศ 100.0 96.3 3.7 • ชาย 100.0 96.4 3.6 • หญิง 100.0 96.2 3.8

อายุ 100.0 96.3 3.7 • 18 -19 ป 100.0 97.0 3.0 • 20 - 29 ป 100.0 96.8 3.2 • 30 - 39 ป 100.0 95.6 4.4 • 40 - 49 ป 100.0 96.5 3.5 • 50 - 59 ป 100.0 96.1 3.9 • 60 ปขึ้นไป 100.0 96.5 3.5

ระดับการศึกษา 100.0 96.3 3.7 • ไมเคยเรียน 100.0 95.8 4.2 • ประถมศึกษา 100.0 97.5 2.5 • มัธยมศึกษา 100.0 96.1 3.9 • ปวช. ปวส. / ปวท. / อนุปริญญา 100.0 95.4 4.6 • ปริญญาตรี และสูงกวา 100.0 93.9 6.1

สถานภาพการทํางาน 100.0 96.3 3.7 • ขาราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 100.0 93.0 7.0 • พนักงาน/ลูกจางเอกชน 100.0 96.1 3.9 • คาขาย/ประกอบธุรกิจสวนตัว 100.0 96.6 3.4 • เกษตรกร 100.0 97.7 2.3 • รับจางทั่วไป/กรรมกร 100.0 96.5 3.5 • นักเรียน/นักศึกษา 100.0 97.0 3.0 • แมบาน 100.0 95.6 4.4 • วางงาน/ไมมีงานทํา 100.0 95.4 4.6

Page 99: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

87

ตาราง 29 รอยละของประชาชน จําแนกตามการทราบนโยบายนมโรงเรียน และลักษณะทางประชากร/สังคม

การทราบนโยบาย ลักษณะทางประชากร/สังคม รวม

ทราบ ไมทราบ

เพศ 100.0 92.2 7.8 • ชาย 100.0 91.8 8.2 • หญิง 100.0 92.6 7.4

อายุ 100.0 92.2 7.8 • 18 -19 ป 100.0 90.1 9.9 • 20 - 29 ป 100.0 91.8 8.2 • 30 - 39 ป 100.0 95.0 5.0 • 40 - 49 ป 100.0 94.0 6.0 • 50 - 59 ป 100.0 91.8 8.2 • 60 ปขึ้นไป 100.0 85.1 14.9

ระดับการศึกษา 100.0 92.2 7.8 • ไมเคยเรียน 100.0 83.5 16.5 • ประถมศึกษา 100.0 90.6 9.4 • มัธยมศึกษา 100.0 93.7 6.3 • ปวช. ปวส. / ปวท. / อนุปริญญา 100.0 92.7 7.3 • ปริญญาตรี และสูงกวา 100.0 95.2 4.8

สถานภาพการทํางาน 100.0 92.2 7.8 • ขาราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 100.0 97.3 2.7 • พนักงาน/ลูกจางเอกชน 100.0 91.2 8.8 • คาขาย/ประกอบธุรกิจสวนตัว 100.0 93.5 6.5 • เกษตรกร 100.0 91.6 8.4 • รับจางทั่วไป/กรรมกร 100.0 91.5 8.5 • นักเรียน/นักศึกษา 100.0 91.4 8.6 • แมบาน 100.0 90.3 9.7 • วางงาน/ไมมีงานทํา 100.0 88.7 11.3

Page 100: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

88

ตาราง 30 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบายนมโรงเรียน จาํแนกตามระดับความพึงพอใจตอนโยบายฯ และลักษณะทางประชากร/สังคม

ระดับความพึงพอใจ ลักษณะทางประชากร/สังคม รวม

มาก ปานกลาง นอย ไมพึงพอใจ

เพศ 100.0 52.3 39.3 5.4 3.0 • ชาย 100.0 50.2 39.6 6.6 3.6 • หญิง 100.0 54.0 39.1 4.4 2.5

อายุ 100.0 52.3 39.3 5.4 3.0 • 18 -19 ป 100.0 50.3 40.5 7.2 2.0 • 20 - 29 ป 100.0 48.3 42.4 6.3 3.0 • 30 - 39 ป 100.0 52.5 38.3 5.7 3.5 • 40 - 49 ป 100.0 54.3 37.4 5.0 3.3 • 50 - 59 ป 100.0 51.3 40.6 5.4 2.7 • 60 ปขึ้นไป 100.0 55.2 38.7 3.4 2.7

ระดับการศึกษา 100.0 52.3 39.3 5.4 3.0 • ไมเคยเรียน 100.0 58.7 37.6 2.6 1.1 • ประถมศึกษา 100.0 55.2 39.1 3.7 2.0 • มัธยมศึกษา 100.0 52.2 38.7 6.2 2.9 • ปวช. ปวส. / ปวท. / อนุปริญญา 100.0 49.2 40.6 6.3 3.9 • ปริญญาตรี และสูงกวา 100.0 45.1 40.4 8.6 5.9

สถานภาพการทํางาน 100.0 52.3 39.3 5.4 3.0 • ขาราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 100.0 49.8 36.8 8.2 5.2 • พนักงาน/ลูกจางเอกชน 100.0 45.2 44.1 6.5 4.2 • คาขาย/ประกอบธุรกิจสวนตัว 100.0 52.2 39.0 5.7 3.1 • เกษตรกร 100.0 56.9 38.3 3.4 1.4 • รับจางทั่วไป/กรรมกร 100.0 55.1 37.3 4.5 3.1 • นักเรียน/นักศึกษา 100.0 49.0 41.0 7.8 2.2 • แมบาน 100.0 55.7 36.9 5.4 2.0 • วางงาน/ไมมีงานทํา 100.0 48.4 42.7 3.9 5.0

Page 101: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

89

ตาราง 31 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบายนมโรงเรียน จาํแนกตามความคิดเห็นตอการดําเนินนโยบายฯ ตลอดไป และลักษณะทางประชากร/สังคม

ความคิดเห็น ลักษณะทางประชากร/สังคม รวม

เห็นดวย ไมเห็นดวย

เพศ 100.0 97.9 2.1 • ชาย 100.0 97.5 2.5 • หญิง 100.0 98.3 1.7

อายุ 100.0 97.9 2.1 • 18 -19 ป 100.0 98.7 1.3 • 20 - 29 ป 100.0 97.7 2.3 • 30 - 39 ป 100.0 98.2 1.8 • 40 - 49 ป 100.0 97.6 2.4 • 50 - 59 ป 100.0 97.8 2.2 • 60 ปขึ้นไป 100.0 98.0 2.0

ระดับการศึกษา 100.0 97.9 2.1 • ไมเคยเรียน 100.0 100.0 .. • ประถมศึกษา 100.0 98.5 1.5 • มัธยมศึกษา 100.0 98.0 2.0 • ปวช. ปวส. / ปวท. / อนุปริญญา 100.0 97.6 2.4 • ปริญญาตรี และสูงกวา 100.0 95.8 4.2

สถานภาพการทํางาน 100.0 97.9 2.1 • ขาราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 100.0 95.7 4.3 • พนักงาน/ลูกจางเอกชน 100.0 97.9 2.1 • คาขาย/ประกอบธุรกิจสวนตัว 100.0 97.8 2.2 • เกษตรกร 100.0 99.1 0.9 • รับจางทั่วไป/กรรมกร 100.0 97.7 2.3 • นักเรียน/นักศึกษา 100.0 98.0 2.0 • แมบาน 100.0 97.9 2.1 • วางงาน/ไมมีงานทํา 100.0 97.1 2.9

หมายเหตุ : .. หมายถึง มีจํานวนเล็กนอย

Page 102: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

90

ตาราง 32 รอยละของประชาชน จาํแนกตามการทราบนโยบายเพิ่มคาตอบครองชีพใหกาํนัน ผูใหญบาน แพทยประจาํตําบล สารวัตรกํานนั ผูชวยผูใหญบานฝายปกครอง และผูชวยผูใหญบานฝายรักษาความสงบ และลักษณะทางประชากร/สังคม

การทราบนโยบาย ลักษณะทางประชากร/สังคม รวม

ทราบ ไมทราบ

เพศ 100.0 65.3 34.7 • ชาย 100.0 69.4 30.6 • หญิง 100.0 61.6 38.4

อายุ 100.0 65.3 34.7 • 18 -19 ป 100.0 49.4 50.6 • 20 - 29 ป 100.0 57.2 42.8 • 30 - 39 ป 100.0 67.9 32.1 • 40 - 49 ป 100.0 72.2 27.8 • 50 - 59 ป 100.0 68.8 31.2 • 60 ปขึ้นไป 100.0 58.9 41.1

ระดับการศึกษา 100.0 65.3 34.7 • ไมเคยเรียน 100.0 44.8 55.2 • ประถมศึกษา 100.0 64.6 35.4 • มัธยมศึกษา 100.0 66.1 33.9 • ปวช. ปวส. / ปวท. / อนุปริญญา 100.0 60.9 39.1 • ปริญญาตรี และสูงกวา 100.0 73.0 27.0

สถานภาพการทํางาน 100.0 65.3 34.7 • ขาราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 100.0 88.5 11.5 • พนักงาน/ลูกจางเอกชน 100.0 53.9 46.1 • คาขาย/ประกอบธุรกิจสวนตัว 100.0 67.4 32.6 • เกษตรกร 100.0 73.1 26.9 • รับจางทั่วไป/กรรมกร 100.0 61.2 38.8 • นักเรียน/นักศึกษา 100.0 52.1 47.9 • แมบาน 100.0 53.8 46.2 • วางงาน/ไมมีงานทํา 100.0 56.3 43.7

Page 103: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

91

ตาราง 33 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบายเพิ่มคาครองชีพใหกาํนนั ผูใหญบาน แพทยประจําตําบล สารวัตรกํานัน ผูชวยผูใหญบานฝายปกครอง และผูชวยผูใหญบานฝายรักษาความสงบ จําแนกตามระดับความพงึพอใจตอนโยบายฯ และลักษณะทางประชากร/สังคม

ระดับความพึงพอใจ ลักษณะทางประชากร/สังคม รวม

มาก ปานกลาง นอย ไมพึงพอใจ

เพศ 100.0 29.8 54.7 10.4 5.1 • ชาย 100.0 29.8 53.8 11.0 5.4 • หญิง 100.0 29.8 55.6 9.8 4.8

อายุ 100.0 29.8 54.7 10.4 5.1 • 18 -19 ป 100.0 37.7 50.7 7.9 3.7 • 20 - 29 ป 100.0 28.5 55.8 10.8 4.9 • 30 - 39 ป 100.0 26.3 56.6 10.3 6.8 • 40 - 49 ป 100.0 29.9 54.7 10.2 5.2 • 50 - 59 ป 100.0 31.0 53.4 11.4 4.2 • 60 ปขึ้นไป 100.0 33.4 53.1 10.2 3.3

ระดับการศึกษา 100.0 29.8 54.7 10.4 5.1 • ไมเคยเรียน 100.0 26.7 58.8 2.8 11.7 • ประถมศึกษา 100.0 30.8 56.2 10.1 2.9 • มัธยมศึกษา 100.0 33.0 52.9 8.6 5.5 • ปวช. ปวส. / ปวท. / อนุปริญญา 100.0 23.6 56.8 12.6 7.0 • ปริญญาตรี และสูงกวา 100.0 26.4 51.8 13.7 8.1

สถานภาพการทํางาน 100.0 29.8 54.7 10.4 5.1 • ขาราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 100.0 33.6 46.5 11.0 8.9 • พนักงาน/ลูกจางเอกชน 100.0 23.4 58.7 11.4 6.5 • คาขาย/ประกอบธุรกิจสวนตัว 100.0 26.1 58.1 10.1 5.7 • เกษตรกร 100.0 31.1 55.7 10.0 3.2 • รับจางทั่วไป/กรรมกร 100.0 30.4 56.1 8.7 4.8 • นักเรียน/นักศึกษา 100.0 36.6 50.5 9.0 3.9 • แมบาน 100.0 29.1 55.8 11.5 3.6 • วางงาน/ไมมีงานทํา 100.0 35.6 46.9 14.5 3.0

Page 104: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

92

ตาราง 34 รอยละของประชาชน จําแนกตามการทราบนโยบายการกูเงินจากตางประเทศ และลักษณะทางประชากร/สังคม

การทราบนโยบาย ลักษณะทางประชากร/สังคม รวม

ทราบ ไมทราบ

เพศ 100.0 62.2 37.8 • ชาย 100.0 66.6 33.4 • หญิง 100.0 58.2 41.8

อายุ 100.0 62.2 37.8 • 18 -19 ป 100.0 56.0 44.0 • 20 - 29 ป 100.0 64.9 35.1 • 30 - 39 ป 100.0 68.4 31.6 • 40 - 49 ป 100.0 64.1 35.9 • 50 - 59 ป 100.0 58.6 41.4 • 60 ปขึ้นไป 100.0 51.4 48.6

ระดับการศึกษา 100.0 62.2 37.8 • ไมเคยเรียน 100.0 37.0 63.0 • ประถมศึกษา 100.0 51.2 48.8 • มัธยมศึกษา 100.0 67.1 32.9 • ปวช. ปวส. / ปวท. / อนุปริญญา 100.0 70.5 29.5 • ปริญญาตรี และสูงกวา 100.0 83.8 16.2

สถานภาพการทํางาน 100.0 62.2 37.8 • ขาราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 100.0 86.5 13.5 • พนักงาน/ลูกจางเอกชน 100.0 68.4 31.6 • คาขาย/ประกอบธุรกิจสวนตัว 100.0 68.3 31.7 • เกษตรกร 100.0 52.5 47.5 • รับจางทั่วไป/กรรมกร 100.0 53.9 46.1 • นักเรียน/นักศึกษา 100.0 61.9 38.1 • แมบาน 100.0 52.1 47.9 • วางงาน/ไมมีงานทํา 100.0 56.5 43.5

Page 105: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

93

ตาราง 35 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบายการกูเงินจากตางประเทศ จําแนกตามความคดิเห็นตอการดําเนนินโยบายฯ และลักษณะทางประชากร/สังคม

ความคิดเห็น ลักษณะทางประชากร/สังคม รวม

เห็นดวย ไมเห็นดวย

เพศ 100.0 45.2 54.8 • ชาย 100.0 46.2 53.8 • หญิง 100.0 44.2 55.8

อายุ 100.0 45.2 54.8 • 18 -19 ป 100.0 46.6 53.4 • 20 - 29 ป 100.0 48.6 51.4 • 30 - 39 ป 100.0 44.5 55.5 • 40 - 49 ป 100.0 44.1 55.9 • 50 - 59 ป 100.0 43.2 56.8 • 60 ปขึ้นไป 100.0 47.4 52.6

ระดับการศึกษา 100.0 45.2 54.8 • ไมเคยเรียน 100.0 60.0 40.0 • ประถมศึกษา 100.0 41.5 58.5 • มัธยมศึกษา 100.0 44.4 55.6 • ปวช. ปวส. / ปวท. / อนุปริญญา 100.0 46.2 53.8 • ปริญญาตรี และสูงกวา 100.0 51.7 48.3

สถานภาพการทํางาน 100.0 45.2 54.8 • ขาราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 100.0 48.7 51.3 • พนักงาน/ลูกจางเอกชน 100.0 47.2 52.8 • คาขาย/ประกอบธุรกิจสวนตัว 100.0 42.7 57.3 • เกษตรกร 100.0 44.7 55.3 • รับจางทั่วไป/กรรมกร 100.0 45.3 54.7 • นักเรียน/นักศึกษา 100.0 45.9 54.1 • แมบาน 100.0 39.0 61.0 • วางงาน/ไมมีงานทํา 100.0 49.0 51.0

Page 106: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

94

ตาราง 36 รอยละของประชาชน จําแนกตามการทราบนโยบายการเพิ่มภาษีเหลา - บุหร่ี และลกัษณะทางประชากร/สังคม

การทราบนโยบาย ลักษณะทางประชากร/สังคม รวม

ทราบ ไมทราบ

เพศ 100.0 61.8 38.2 • ชาย 100.0 66.5 33.5 • หญิง 100.0 57.5 42.5

อายุ 100.0 61.8 38.2 • 18 -19 ป 100.0 57.8 42.2 • 20 - 29 ป 100.0 65.8 34.2 • 30 - 39 ป 100.0 67.8 32.2 • 40 - 49 ป 100.0 63.9 36.1 • 50 - 59 ป 100.0 58.8 41.2 • 60 ปขึ้นไป 100.0 47.1 52.9

ระดับการศึกษา 100.0 61.8 38.2 • ไมเคยเรียน 100.0 33.7 66.3 • ประถมศึกษา 100.0 51.3 48.7 • มัธยมศึกษา 100.0 66.1 33.9 • ปวช. ปวส. / ปวท. / อนุปริญญา 100.0 71.0 29.0 • ปริญญาตรี และสูงกวา 100.0 82.9 17.1

สถานภาพการทํางาน 100.0 61.8 38.2 • ขาราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 100.0 84.1 15.9 • พนักงาน/ลูกจางเอกชน 100.0 68.1 31.9 • คาขาย/ประกอบธุรกิจสวนตัว 100.0 70.5 29.5 • เกษตรกร 100.0 51.1 48.9 • รับจางทั่วไป/กรรมกร 100.0 55.7 44.3 • นักเรียน/นักศึกษา 100.0 61.9 38.1 • แมบาน 100.0 49.7 50.3 • วางงาน/ไมมีงานทํา 100.0 52.3 47.7

Page 107: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

95

ตาราง 37 รอยละของประชาชนทีท่ราบนโยบายการเพิ่มภาษีเหลา - บุหร่ี จําแนกตามความคดิเห็นตอการดําเนินนโยบายฯ และลกัษณะทางประชากร/สังคม

ความคิดเห็น ลักษณะทางประชากร/สังคม รวม

เห็นดวย ไมเห็นดวย

เพศ 100.0 75.7 24.3 • ชาย 100.0 72.5 27.5 • หญิง 100.0 79.0 21.0

อายุ 100.0 75.7 24.3 • 18 -19 ป 100.0 76.1 23.9 • 20 - 29 ป 100.0 77.0 23.0 • 30 - 39 ป 100.0 74.7 25.3 • 40 - 49 ป 100.0 76.0 24.0 • 50 - 59 ป 100.0 74.8 25.2 • 60 ปขึ้นไป 100.0 76.8 23.2

ระดับการศึกษา 100.0 75.7 24.3 • ไมเคยเรียน 100.0 73.8 26.2 • ประถมศึกษา 100.0 73.0 27.0 • มัธยมศึกษา 100.0 73.4 26.6 • ปวช. ปวส. / ปวท. / อนุปริญญา 100.0 75.9 24.1 • ปริญญาตรี และสูงกวา 100.0 84.3 15.7

สถานภาพการทํางาน 100.0 75.7 24.3 • ขาราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 100.0 83.6 16.4 • พนักงาน/ลูกจางเอกชน 100.0 77.6 22.4 • คาขาย/ประกอบธุรกิจสวนตัว 100.0 71.2 28.8 • เกษตรกร 100.0 72.4 27.6 • รับจางทั่วไป/กรรมกร 100.0 73.7 26.3 • นักเรียน/นักศึกษา 100.0 79.4 20.6 • แมบาน 100.0 77.3 22.7 • วางงาน/ไมมีงานทํา 100.0 78.6 21.4

Page 108: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

96

ตาราง 38 รอยละของประชาชน จําแนกตามระดับความพึงพอใจตอการบริหารงานของรัฐบาล นายอภิสิทธิ์ เวชชาชวีะ นายกรัฐมนตรี และลักษณะทางประชากร/สังคม

ระดับความพึงพอใจ ลักษณะทางประชากร/สังคม รวม

มาก ปานกลาง นอย ไมพึงพอใจ

เพศ 100.0 19.8 55.6 18.0 6.6 • ชาย 100.0 17.4 55.5 19.3 7.8 • หญิง 100.0 22.0 55.7 16.8 5.5

อายุ 100.0 19.8 55.6 18.0 6.6 • 18 -19 ป 100.0 17.4 64.6 14.0 4.0 • 20 - 29 ป 100.0 20.7 58.5 15.6 5.2 • 30 - 39 ป 100.0 18.3 54.6 20.1 7.0 • 40 - 49 ป 100.0 19.0 55.3 19.0 6.7 • 50 - 59 ป 100.0 19.7 53.5 18.7 8.1 • 60 ปขึ้นไป 100.0 24.5 53.3 15.8 6.4

ระดับการศึกษา 100.0 19.8 55.6 18.0 6.6 • ไมเคยเรียน 100.0 26.1 57.9 13.2 2.8 • ประถมศึกษา 100.0 19.0 55.3 19.0 6.7 • มัธยมศึกษา 100.0 19.3 56.8 17.3 6.6 • ปวช. ปวส. / ปวท. / อนุปริญญา 100.0 21.9 53.6 17.6 6.9 • ปริญญาตรี และสูงกวา 100.0 20.6 55.3 17.4 6.7

สถานภาพการทํางาน 100.0 19.8 55.6 18.0 6.6 • ขาราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 100.0 18.6 55.7 17.9 7.8 • พนักงาน/ลูกจางเอกชน 100.0 21.1 54.4 18.7 5.8 • คาขาย/ประกอบธุรกิจสวนตัว 100.0 18.5 55.9 18.1 7.5 • เกษตรกร 100.0 19.6 53.0 20.6 6.8 • รับจางทั่วไป/กรรมกร 100.0 19.5 57.1 16.1 7.3 • นักเรียน/นักศึกษา 100.0 20.5 61.5 13.6 4.4 • แมบาน 100.0 20.9 57.1 16.0 6.0 • วางงาน/ไมมีงานทํา 100.0 22.4 55.6 17.1 4.9

Page 109: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต

97

ตาราง 39 รอยละของประชาชน จาํแนกตามระดับความมั่นใจตอรัฐบาลในการแกไขปญหาดานเศรษฐกิจของประเทศ และลักษณะทางประชากร/สังคม

ระดับความมั่นใจ ลักษณะทางประชากร/สังคม รวม

มาก ปานกลาง นอย ไมมั่นใจ

ไมแนใจ/ไมทราบ

เพศ 100.0 12.4 38.5 9.7 23.5 15.9 • ชาย 100.0 11.9 37.8 10.3 25.4 14.6 • หญิง 100.0 12.7 39.1 9.2 21.8 17.2

อายุ 100.0 12.4 38.5 9.7 23.5 15.9 • 18 -19 ป 100.0 10.9 43.8 8.5 19.5 17.3 • 20 - 29 ป 100.0 12.3 42.9 11.1 19.7 14.0 • 30 - 39 ป 100.0 11.1 39.0 10.5 24.3 15.1 • 40 - 49 ป 100.0 12.4 38.1 9.4 24.5 15.6 • 50 - 59 ป 100.0 12.6 34.4 8.7 26.6 17.7 • 60 ปขึ้นไป 100.0 15.0 36.3 9.0 22.2 17.5

ระดับการศึกษา 100.0 12.4 38.5 9.7 23.5 15.9 • ไมเคยเรียน 100.0 20.1 41.0 5.0 10.2 23.7 • ประถมศึกษา 100.0 11.6 35.4 9.0 25.0 19.0 • มัธยมศึกษา 100.0 12.1 40.3 10.1 23.2 14.3 • ปวช. ปวส. / ปวท. / อนุปริญญา 100.0 12.9 40.6 11.1 23.8 11.6 • ปริญญาตรี และสูงกวา 100.0 13.6 42.1 10.3 21.9 12.1

สถานภาพการทํางาน 100.0 12.4 38.5 9.7 23.5 15.9 • ขาราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 100.0 11.3 42.4 10.3 24.1 11.9 • พนักงาน/ลูกจางเอกชน 100.0 12.8 42.1 10.8 20.9 13.4 • คาขาย/ประกอบธุรกิจสวนตัว 100.0 11.5 37.5 10.7 26.6 13.7 • เกษตรกร 100.0 12.2 35.4 8.7 24.4 19.3 • รับจางทั่วไป/กรรมกร 100.0 11.6 38.1 9.0 25.0 16.3 • นักเรียน/นักศึกษา 100.0 12.0 44.6 8.7 19.6 15.1 • แมบาน 100.0 14.9 33.6 9.4 24.0 18.1 • วางงาน/ไมมีงานทํา 100.0 14.9 38.8 9.4 16.6 20.3

Page 110: หน้าปกservice.nso.go.th/nso/nsopublish/servopin/files/adminis...เผยแพร โดย ส าน กสถ ต พยากรณ ส าน กงานสถ ต