Top Banner
บทที่1 สภาพปจจุบันของโรงเรียน 1. ภาพรวมของโรงเรียน 1.1 ประวัติ โรงเรียนเมืองนครศรีธรรมราช เปดสอนครั้งแรก เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2499 เปนหลักสูตร มัธยมศึกษา (ม.1-3) สังกัดกองการศึกษาพิเศษ โดย นายชุม สมพันธ กํานันตําบลนาเคียน เปนที่ตั้ง โรงเรียน ตอมาไดเปลี่ยนเปน หลักสูตร ประถมศึกษาตอนปลาย (ป.5-7) สังกัดกรมสามัญศึกษา ป 2515 ไดยายมาอยูที่วัดจอมลาน (วัดราง) หมูที่ 1 ตําบลนาทราย ซึ่งมีเนื้อที่ประมาณ 21 ไรเศษ ซึ่ง เปนที่ตั้ง โรงเรียน จนถึงปจจุบัน ป2519 กรมสามัญศึกษาไดสั่งยุบโรงเรียนเมืองนครศรีธรรมราชซึ่ง เปดสอนตามหลักสูตรประถมศึกษาตอนปลาย และตั้งโรงเรียนตามชื่อเดิม แตเปลี่ยนแปลงหลักสูตร มัธยมศึกษาตอนตน สังกัดกองการมัธยมศึกษากรมสามัญศึกษา ป2527 กรมสามัญศึกษาไดอนุมัติให ขยายชั้นเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย ปจจุบันมีนักเรียน 55 หองรวม 2,012 คนมีขาราชการครู 104 คน ลูกจางประจํา 7 คน ลูกจางชั่วคราว(พนักงานบริการ) 8 คน ครูอัตราจาง 17 คน ในปการศึกษา 2553 ไดรับการคัดเลือกเปนโรงเรียนมาตรฐานสากล ปการศึกษา 2555 ไดผานการประเมินรับรองเปน โรงเรียนตนแบบโรงเรียนในฝน รุนที่ 3 และเปนสถานศึกษาแบบอยางการบริหารและการจัดการเรียนรู ตามผลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เปนโรงเรียนผูนํา ICT ที่มีบรรยากาศและสิ่งแวดลอมทีเอื้ออํานวยใหเปนโรงเรียนแหงการเรียนรู มีความพรอมในดานทรัพยากรวัสดุ เทคโนโลยี งบประมาณ และทรัพยากรบุคคล สามารถจัดการศึกษาไดอยางดีทั้งดานการบริหารและการจัดการหลักสูตรและการ เรียนรู ครูและบุคลากรทางการศึกษา และการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา ทําใหผูเรียนมี คุณภาพสูงตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และไดรับการพัฒนาอยางครบถวนทุกดานใหผูเรียน เปน“คนดี คนเกง อยูในสังคมอยางมีความสุข” เปนโรงเรียนที่สามารถจัดการศึกษาไดตามความ ตองการของชุมชนเปนที่ศรัทธาและยอมรับจากชุมชนเปนโรงเรียนตนแบที่สามารถเปนแบบอยางในการ พัฒนาคุณภาพและความเสมอภาคทางการศึกษาแกชุมชนและโรงเรียนอื่นได 1.2 ปรัชญาโรงเรียน “พัฒนาตน พัฒนาคน พัฒนางานใหมีคุณภาพและไดมาตรฐานสากล” 1.3 คติพจน “ปฺญา นรานํ รตนํ : ปญญาเปนแกวของนรชน” 1.4 สีประจําโรงเรียน “เขียว – ขาว” สีเขียว หมายถึง ความเจริญงอกงามของสติปญญา สีขาว หมายถึง ความบริสุทธ ความเปนคนดีมีวินัย 1.5 อักษรยอของโรงเรียน “ ม.น.ศ.” 2. วิสัยทัศน พันธกิจ เปาหมายและตัวชี้วัดความสําเร็จและกลยุทธของโรงเรียนเมือง นครศรีธรรมราช 2.1 วิสัยทัศน “ภายในป 2558 มุงพัฒนาคุณภาพผูเรียนสูมาตรฐานสากล สรางเยาวชนสูประชาคม อาเซียน ยึดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ภายใตความรวมมือของภาคีเครือขาย”
64

บทที่1 สภาพป จจุบันของโรงเรียน - MNSnew).pdf · 2014-03-11 · พันธกิจที่4...

Jan 29, 2020

Download

Documents

dariahiddleston
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: บทที่1 สภาพป จจุบันของโรงเรียน - MNSnew).pdf · 2014-03-11 · พันธกิจที่4 นํากระบวนการคิดสู

บทที่ 1สภาพปจจุบันของโรงเรียน

1. ภาพรวมของโรงเรียน

1.1 ประวัติโรงเรียนเมืองนครศรีธรรมราช เปดสอนครั้งแรก เม่ือวันท่ี 16 พฤษภาคม 2499 เปนหลักสูตร

มัธยมศึกษา (ม.1-3) สังกัดกองการศึกษาพิเศษ โดย นายชุม สมพันธ กํานันตําบลนาเคียน เปนท่ีตั้งโรงเรียน ตอมาไดเปลี่ยนเปน หลักสูตร ประถมศึกษาตอนปลาย (ป.5-7) สังกัดกรมสามัญศึกษาป 2515 ไดยายมาอยูท่ีวัดจอมลาน (วัดราง) หมูท่ี 1 ตําบลนาทราย ซึ่งมีเนื้อท่ีประมาณ 21 ไรเศษ ซึ่งเปนท่ีตั้ง โรงเรียน จนถึงปจจุบัน ป2519 กรมสามัญศึกษาไดสั่งยุบโรงเรียนเมืองนครศรีธรรมราชซึ่งเปดสอนตามหลักสูตรประถมศึกษาตอนปลาย และตั้งโรงเรียนตามชื่อเดิม แตเปลี่ยนแปลงหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนตน สังกัดกองการมัธยมศึกษากรมสามัญศึกษา ป2527 กรมสามัญศึกษาไดอนุมัติใหขยายชั้นเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย ปจจุบันมีนักเรียน 55 หองรวม 2,012 คนมีขาราชการครู 104 คนลูกจางประจํา 7 คน ลูกจางชั่วคราว(พนักงานบริการ) 8 คน ครูอัตราจาง 17 คน ในปการศึกษา2553 ไดรับการคัดเลือกเปนโรงเรียนมาตรฐานสากล ปการศึกษา 2555 ไดผานการประเมินรับรองเปนโรงเรียนตนแบบโรงเรียนในฝน รุนท่ี 3 และเปนสถานศึกษาแบบอยางการบริหารและการจัดการเรียนรูตามผลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เปนโรงเรียนผูนํา ICT ท่ีมีบรรยากาศและสิ่งแวดลอมท่ีเอ้ืออํานวยใหเปนโรงเรียนแหงการเรียนรู มีความพรอมในดานทรัพยากรวัสดุ เทคโนโลยี งบประมาณและทรัพยากรบุคคล สามารถจัดการศึกษาไดอยางดีท้ังดานการบริหารและการจัดการหลักสูตรและการเรียนรู ครูและบุคลากรทางการศึกษา และการระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษา ทําใหผูเรียนมีคุณภาพสูงตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และไดรับการพัฒนาอยางครบถวนทุกดานใหผูเรียนเปน“คนดี คนเกง อยูในสังคมอยางมีความสุข” เปนโรงเรียนท่ีสามารถจัดการศึกษาไดตามความตองการของชุมชนเปนท่ีศรัทธาและยอมรับจากชุมชนเปนโรงเรียนตนแบท่ีสามารถเปนแบบอยางในการพัฒนาคุณภาพและความเสมอภาคทางการศึกษาแกชุมชนและโรงเรียนอ่ืนได

1.2 ปรัชญาโรงเรียน “พัฒนาตน พัฒนาคน พัฒนางานใหมีคุณภาพและไดมาตรฐานสากล”1.3 คติพจน “ปฺญา นรานํ รตนํ : ปญญาเปนแกวของนรชน”1.4 สีประจําโรงเรียน “เขียว – ขาว”

สีเขียว หมายถึง ความเจริญงอกงามของสติปญญาสีขาว หมายถึง ความบริสุทธ ความเปนคนดีมีวินัย

1.5 อักษรยอของโรงเรียน “ ม.น.ศ.”2. วิสัยทัศน พันธกิจ เปาหมายและตัวช้ีวัดความสําเร็จและกลยุทธของโรงเรียนเมืองนครศรีธรรมราช

2.1 วิสัยทัศน “ภายในป 2558 มุงพัฒนาคุณภาพผูเรียนสูมาตรฐานสากล สรางเยาวชนสูประชาคมอาเซียน ยึดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ภายใตความรวมมือของภาคีเครือขาย”

Page 2: บทที่1 สภาพป จจุบันของโรงเรียน - MNSnew).pdf · 2014-03-11 · พันธกิจที่4 นํากระบวนการคิดสู

2.2 พันธกิจ และมาตรการพันธกิจท่ี 1 จัดหลักสูตรและกระบวนการเรียนรูตามความถนัดและความสามารถเฉพาะทางเปนท่ี

ประจักษมาตรการ : จัดหลักสูตรหองเรียนพิเศษความสามารถเฉพาะทางทุกกลุมสาระรวมท้ังดาน

ศิลปวัฒนธรรม ดนตรีและกีฬา เพ่ือแลกเปลี่ยนเรียนรูวัฒนธรรมของเยาวชนในกลุมประเทศอาเซียนพันธกิจท่ี 2 จัดหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู สูความเปนเลิศทางวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและ

เทคโนโลยีมาตรการ : เปดหองเรียนพิเศษ Science & Mathematic Program , ICT Program นักเรียน

ท่ัวไปทุกคนทุกระดับชั้น เรียนคอมพิวเตอรเพ่ิมเติม 2 คาบ/สัปดาห/ภาค เพ่ือเตรียมคนรองรับประชาคมอาเซียน

พันธกิจท่ี 3 จัดหลักสูตรและการเรียนรูสูความเปนเลิศทางภาษาไทย อังกฤษ จีนและภาษาของประเทศในกลุมอาเซียน

มาตรการ : นักเรียนท่ัวไป เรียนภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร และภาษาอังกฤษฟงพูด จากครูชาวตางชาติ 2 คาบ/สัปดาหตอภาคและเรียนภาษาตางประเทศท่ี 2 (ภาษาจีนเพ่ือการสื่อสาร) จากครูชาวจีน 2 คาบ/สัปดาหตอภาค นักเรียนกลุมสนใจ เลือกเรียนภาษาตางประเทศในกลุมประเทศอาเซียน ตามความสนใจ จากครูชาวตางชาติ 2 คาบ/สัปดาหตอภาค

พันธกิจท่ี 4 นํากระบวนการคิดสูการปฏิบัติโครงงานและนํากระบวนวิจัยสูหองเรียนโดยใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

มาตรการ 1) นักเรียนท่ัวไปทุกคน เรียนวิชากิจกรรมสรางสรรคโครงงาน และรายวิชา StudyIndependent 3 รายวิชา

IS1 : การสรางองคความรูและการคิดอิสระ (Research & Knowledge Formation)IS2 : การสื่อสารและการนําเสนอ (communication & Presentation)IS3 : กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน (Activity for Social & Public Benefit)

2) ครูจัดทําหลักสูตรบูรณาการโดยใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงทุกรายวิชาพันธกิจท่ี 5 จัดกระบวนการเรียนรูและกิจกรรมสรางจิตสํานึกพลเมืองมาตรการ : จัดกิจกรรมสรางจิตสํานึกพลเมืองใหมีความรับผิดชอบตอสังคมโลก โดย

-สรางจิตสํานึกตามคุณลักษณะประสงค 8 ประการ คือ รักชาติ ศาสน กษัตริย มีความซื่อสัตยสุจริต มีวินัยและความรับผิดชอบ ใฝเรียนรู อยูอยางพอเพียง มีความมุงม่ันและพัฒนางาน รักความเปนไทย มีจิตสาธารณะ

พันธกิจท่ี 6 พัฒนาครูใหมีความรูความสามารถเชี่ยวชาญในการสอนเทียบเคียงมาตรฐานสากลโดยใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

มาตรการ : พัฒนาครูดานเทคนิคการใชสื่อและ ICT เปนเครื่องมือในการเรียนรู พัฒนาครไูทยใหสอนวิชาวิทยาศาสตร คณิตศาสตร ภาษาอังกฤษและ ICT โดยใชภาษาอังกฤษเปนสื่อในการสอน ตามโครงการ EIS

พันธกิจท่ี 7 พัฒนาระบบบริหารและการจัดการดวยระบบคุณภาพและเทคโนโลยีสารสนเทศเตรียมรับการประเมิน School Quality Award , Obec Quality Award และ Thailand QualityAward

Page 3: บทที่1 สภาพป จจุบันของโรงเรียน - MNSnew).pdf · 2014-03-11 · พันธกิจที่4 นํากระบวนการคิดสู

มาตรการ : บริหารเชิงคุณภาพโดยใชระบบประกันคุณภาพภายในท่ีเขมแข็ง เพ่ือรองรับการประเมินภายนอก S.Q.A.,OBEC.Q.A. และ T.Q.A. และมีระบบบริหารโดยใช ICT ทุกกลุมบริหาร มีสื่อ ICT และหองเรียนคุณภาพ โดยผูเรียนมีแท็ปเล็ต หรือคอมพิวเตอรพกพาสําหรับการเรียนรูทุกคนโดยใชกลุมสาระเปนฐานในการบริหาร ใหเปนโรงเรียนผูนําดาน ICT

พันธกิจท่ี 8 จัดโรงเรียนใหเปนอุทยานการศึกษาและโลกแหงการเรียนรูปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและประชาคมอาเซียน

มาตรการ : มีหองสมุดโลก จัดตั้งธนาคารปญญา (มีคลินิกเรียนรู 8 กลุมสาระ ท่ีมีสื่อการสอนของครูและขอสอบ ผูเรียนสามารถเขาไปเรียนรูดวยตนเองได จัดบรรยากาศทางกายภาพและทางวิชาการใหเอ้ือตอการเรียนรูปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและประชาคมอาเซียน

พันธกิจท่ี 9 พัฒนาผูเรียนใหมีความรูดานการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมของอาเซียนมาตรการ : จัดใหชุมนุมอาเซียน ใหนักเรียนขับเคลื่อนกิจกรรมเพ่ือรองรับประชาคมอาเซียน

รวมกับสภานักเรียน เพ่ือพัฒนาสมรรถนะผูเรียนท้ังดานความสามารถในการคิด การสื่อสาร การแกปญหา การใชทักษะชีวิต และการใชเทคโนโลยี3. เปาหมาย

เปาหมายท่ี 1 นักเรียนท่ีเรียนตามความถนัดและความสามารถเฉพาะทางเปนท่ีประจักษมีความสามารถแขงขัน ในระดับชาติและนานาชาติไดรอยละ 3-5

เปาหมายท่ี 2 นักเรียนท่ีเรียนหองเรียนพิเศษทางดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี มีความสามารถแขงขันในระดับชาติและนานาชาติไดรอยละ 3-5

เปาหมายท่ี 3 ผูเรียนมีความรูและทักษะการฟง พูดภาษาอังกฤษ ภาษาไทย จีนและภาษาของประเทศในอาเซียน และใชภาษาเพ่ือการสื่อสารได 75 %

เปาหมายท่ี 4 ผูเรียนมีความรูทักษะข้ันพ้ืนฐานตามหลักสูตร ผลการเรียนระดับ 1-4 รอยละ 95และระดับ3-4 รอยละ 60 นักเรียนทํากิจกรรมสรางสรรคโครงงานปละ 1 โครงงาน นักเรียนมีความรูทางคอมพิวเตอร สามารถใชแท็ปเล็ตและอินเตอรเน็ตไดรอยละ 100 และผานการประเมินในระดับชาติ(o-net) อยูในระดับดี

เปาหมายท่ี 5 ผูเรียนมีจิตสํานึกพลเมืองรอยละ 90เปาหมายท่ี 6 ครูไดรับการพัฒนาอยางนอยปละ 20 ชั่วโมง และครูมีคุณธรรมจริยธรรม 98 %

เลื่อนวิทยฐานะรอยละ 5 ตอป ครูมีความรูทางคอมพิวเตอร สามารถใชแท็ปเล็ตและอินเตอรเน็ตไดเปาหมายท่ี 7 โรงเรียนมีระบบบริหารและการจัดการดวยระบบคุณภาพและมีเทคโนโลยี

สารสนเทศท่ีทันสมัยเปาหมายท่ี 8 โรงเรียนมีอุทยานการศึกษาและโลกแหงการเรียนรูประชาคมอาเซียนท่ีทันสมัยเปาหมายท่ี 9 ผูเรียนใหมีความรูดานการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมของอาเซียน

รอยละ 954. กลยุทธของโรงเรียน

เพ่ือใหการบริหารมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพทางโรงเรียนไดรวมกันกําหนดกลยุทธ เพ่ือใหเปนไปตามวิสัยทัศน พันธกิจ เปาหมายและตัวชี้วัดความสําเร็จ ดังนี้

กลยุทธท่ี 1 พัฒนาคุณภาพผูเรียนสูมาตรฐานสากลกลยุทธท่ี 2 พัฒนาระบบการดูแลชวยเหลือนักเรียน

Page 4: บทที่1 สภาพป จจุบันของโรงเรียน - MNSnew).pdf · 2014-03-11 · พันธกิจที่4 นํากระบวนการคิดสู

กลยุทธท่ี 3 พัฒนาหลักสูตรและระบบการเรียนรูโดยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกลยุทธท่ี 4 สรางจิตสํานึกพลเมืองกลยุทธท่ี 5 สรางเครือขายรวมพัฒนาและการสงเสริมสมรรถนะผูเรียนกลยุทธท่ี 6 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษากลยุทธท่ี 7 พัฒนาระบบบริหารคุณภาพและเทคโนโลยี

3. คุณลักษณะอันพึงประสงคของนักเรียนโรงเรียนเมืองนครศรีธรรมราช ใชหลักคุณธรรม8 มาตรฐาน ดังนี้

มาตรฐานท่ี 1 รักชาติ ศาสน กษัตริยตัวชี้วัด 1.1 เปนพลเมืองดีของชาติตัวชี้วัด 1.2 ธํารงไวซึ่งความเปนชาติไทยตัวชี้วัด 1.3 ศรัทธา ยึดม่ัน และปฏิบัติตนตามหลักของศาสนาตัวชี้วัด 1.4 เคารพ เทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริยตัวชี้วัด 1.5 รวมกิจกรรมวันสําคัญของชาติ ศาสนา พระมหากษัตริยตามท่ีโรงเรียนกําหนดทุก

ครั้งมาตรฐานท่ี 2 มีความซ่ือสัตยสุจริต

ตัวชี้วัด 2.1 ประพฤติตรงตามความเปนจริงตอตนเองท้ังทางกาย วาจา ใจตัวชี้วัด 2.2 ประพฤติตรงตามความเปนจริงตอผูอ่ืนท้ังทางกาย วาจา ใจตัวชี้วัด 2.3 ทําการบานหรืองานท่ีครูมอบหมายดวยตนเองไมลอกผูอ่ืนตัวชี้วัด 2.4 รักษาคําม่ันสัญญาตัวชี้วัด 2.5 ปฏิบัติตามคําพูดตัวชี้วัด 2.6 ไมหลอกขมขูเอาเงินหรือทรัพยสินจากผูอ่ืน

มาตรฐานท่ี 3 มีวินัยและความรับผิดชอบตัวชี้วัด 3.1 ปฏิบัติตามขอตกลง กฎเกณฑ ระเบียบ ขอบังคับ ของครอบครัว โรงเรียนและ

สังคมตัวชี้วัด 3.2 รับผิดชอบตองานท่ีมอบหมายและทํางานท่ีมอบหมายดวยความเต็มใจตัวชี้วัด 3.3 ยอมรับผิดตอการกระทําของตนและปรับปรุงใหดีข้ึนตัวชี้วัด 3.4 แตงกายถูกตองตามระเบียบของโรงเรียนตัวชี้วัด 3.5 ทําเวรประจําวันสะอาด จัดหองเรียน โตะเกาอ้ีเปนระเบียบตัวชี้วัด 3.6 มีมารยาทและสัมมาคารวะตอครู ผูปกครองและรุนพ่ีตัวชี้วัด 3.7 มีความรูรักสามัคคี ไมทะเลาะวิวาท

มาตรฐานท่ี 4 ใฝเรียนรูตัวชี้วัด 4.1 ตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียนและเขารวมกิจกรรมการเรียนรูตัวชี้วัด 4.2 แสวงหาความรูจากแหลงเรียนรูตางๆ ท้ังภายในและภายนอกโรงเรียน ดวยการ

เลือกใชสื่ออยางเหมาะสม สรุปเปนองคความรูและสามารถนําไปใชในชีวิตประจําวันไดตัวชี้วัด 4.3 รวมกิจกรรมการสอนซอมเสริม/ คลินิกเพ่ือการเรียนรู สัปดาหละ 1 คาบ

อยางนอย 80 %ตัวชี้วัด 4.5 เขาหองสมุดอยางนอยสัปดาหละ 2 ครั้ง

Page 5: บทที่1 สภาพป จจุบันของโรงเรียน - MNSnew).pdf · 2014-03-11 · พันธกิจที่4 นํากระบวนการคิดสู

ตัวชี้วัด 4.6 สืบคนขอมูลจากเอกสาร สื่อ หนังสือ อินเตอรเน็ตอยางนอยสัปดาหละ 2 ครั้งมาตรฐานท่ี 5 อยูอยางพอเพียง

ตัวชี้วัด 5.1 ดําเนินชีวิตอยางพอประมาณ มีเหตุผล รอบคอบ มีคุณธรรมตัวชี้วัด 5.2 มีภูมิคุมกันในตัวท่ีดีปรับตัวเพ่ืออยูในสังคมไดอยางมีความสุขตัวชี้วัด 5.3 ปลูกผักสวนครัวท่ีบานคนละ 1 แปลงตัวชี้วัด 5.4 จัดทําบัญชีครัวเรือนทุกเดือนตัวชี้วัด 5.5 มีเงินฝากกับธนาคารโรงเรียนทุกเดือน

มาตรฐานท่ี 6 มีความมุงม่ันในการทํางานตัวชี้วัด 6.1 ตั้งใจและรับผิดชอบในการปฏิบัติหนาท่ีการงานตัวชี้วัด 6.2 ทํางานดวยความเพียรพยายามและอดทนเพ่ือใหงานสําเร็จตามเปาหมายตัวชี้วัด 6.3 สนใจรวมกิจกรรมการเรียนการสอนตัวชี้วัด 6.4 ไมปลอยงานใหคางและทํางานเต็มความสามารถตัวชี้วัด 6.5 สนทนาแลกเปลี่ยนเรียนรูกับสมาชิกในกลุมและเพ่ือนตัวชี้วัด 6.6 สืบคนขอมูลจากเอกสาร สื่อ หนังสือหรืองานท่ีครูมอบหมายตัวชี้วัด 6.7 จัดทําบันทึกยอ สรุป องคความรูเปนแผนท่ีความคิดจากการเรียนและการ

ปฏิบัติงานทุกหนวยการเรียนรูมาตรฐานท่ี 7 รักความเปนไทย

ตัวชี้วัด 7.1 ภาคภูมิใจในขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปะวัฒนธรรมไทยและมีความกตัูญูกตเวที

ตัวชี้วัด 7.2 เห็นคุณคาและใชภาษาไทยในการสื่อสารไดอยางถูกตอง เหมาะสมตัวชี้วัด 7.3 อนุรักษ สืบทอด ภูมิปญญาไทยตัวชี้วัด 7.4 ไมประพฤติสอไปในทางชูสาว

มาตรฐานท่ี 8 มีจิตสาธารณะตัวชี้วัด 8.1 ชวยเหลือผูอ่ืนดวยความเต็มใจโดยไมหวังผลตอบแทนตัวชี้วัด 8.2 เขารวมกิจกรรมท่ีเปนประโยชนตอโรงเรียน ชุมชนและสังคมตัวชี้วัด 8.3 ปลอดอบายมุขทุกชนิดและไมสูบบุหรี่ตัวชี้วัด 8.4 มีน้ําใจชวยเหลือและบริการครู เพ่ือน โดยไมหวังผลตอบแทนตัวชี้วัด 8.5 รวมกิจกรรมพัฒนาโรงเรียน ภาคเรียนละ 1 ครั้งตัวชี้วัด 8.6 รวมกิจกรรมพัฒนาชุมชน ภาคเรียนละ 1 ครั้ง

Page 6: บทที่1 สภาพป จจุบันของโรงเรียน - MNSnew).pdf · 2014-03-11 · พันธกิจที่4 นํากระบวนการคิดสู

2. สภาพปจจุบัน2.1 ขอมูลนักเรียน

1) ขอมูลนักเรียน 3 ปยอนหลัง

ปการศึกษา แผนช้ันเรียน แผนจํานวนนักเรียน ม.ตน/ม.ปลาย จํานวนหอง รวม2553 12 : 12 : 12 : 6 : 7 : 6 407 : 394 : 412 : 244 : 290 : 188 54 2,0522554 12 : 12 : 12 : 7 : 6 : 6 407 : 394 : 412 : 244 : 290 : 188 55 2,0122555 12 : 12 : 12 : 6 : 7 : 6 407 : 394 : 412 : 244 : 290 : 188 55 1,935

2) แผนการรับนักเรียนท่ัวไป ปการศึกษา 2556-2558

ช้ัน

2556 2557 2558จํานวนหอง

จํานวนนักเรียน

จํานวนหอง

จํานวนนักเรียน

จํานวนหอง

จํานวนนักเรียน

มัธยมศึกษาปท่ี 1 12 407 12 495 13 540มัธยมศึกษาปท่ี 2 12 394 12 407 12 495มัธยมศึกษาปท่ี 3 12 412 12 394 12 407

รวม ม.ตน 36 1,213 36 1,296 37 1,442มัธยมศึกษาปท่ี 4 6 244 8 310 8 310มัธยมศึกษาปท่ี 5 7 290 7 244 8 310มัธยมศึกษาปท่ี 6 6 188 6 290 7 244

รวม ม.ปลาย 19 722 21 844 23 864รวมท้ังสิ้น 55 1,935 57 2,140 60 2,306

3) แผนการรับนักเรียนหองเรียนพิเศษภาคภาษาอังกฤษ (English Program : E.P.)ม.1-3 ปการศึกษา 2556-2558

ช้ัน

2556 2557 2558จํานวนหอง จํานวน

นักเรียนจํานวนหอง จํานวนหอง จํานวน

นักเรียนจํานวนนักเรียน

มัธยมศึกษาปท่ี 1 - - 1 36 1 36มัธยมศึกษาปท่ี 2 - - - - 1 36มัธยมศึกษาปท่ี 3 - - - - - -

รวม ม.ตน - - 1 36 2 72

Page 7: บทที่1 สภาพป จจุบันของโรงเรียน - MNSnew).pdf · 2014-03-11 · พันธกิจที่4 นํากระบวนการคิดสู

4) แผนการรับนักเรียนหองเรียนพิเศษภาคภาษาอังกฤษ (Mini English Program :M.E.P.) ม.1-3 ปการศึกษา 2556-2558

ช้ัน

2556 2557 2558จํานวนหอง จํานวน

นักเรียนจํานวนหอง จํานวนหอง จํานวน

นักเรียนจํานวนนักเรียน

มัธยมศึกษาปท่ี 1 1 16 1 36 1 36มัธยมศึกษาปท่ี 2 - - 1 16 1 36มัธยมศึกษาปท่ี 3 - - - - 1 16

รวม ม.ตน 1 16 2 52 3 88

4) แผนการรับนักเรียนหองเรียนพิเศษวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร (Science & MathProgram : S.M.P.) ม.1-3 ปการศึกษา 2556-2558

ช้ัน

2556 2557 2558จํานวนหอง จํานวน

นักเรียนจํานวนหอง จํานวนหอง จํานวน

นักเรียนจํานวนนักเรียน

มัธยมศึกษาปท่ี 1 1 38 1 36 1 36มัธยมศึกษาปท่ี 2 1 31 1 38 1 36มัธยมศึกษาปท่ี 3 1 26 1 31 1 38

รวม ม.ตน 3 95 3 105 3 110

5) แผนการรับนักเรียนหองเรียนพิเศษวิทยศาสตร-คณิตศาสตรภาคภาษาอังกฤษโดยครูชาวไทย (English Integrate Study Program : E.I.S.P) ม.1-3 ปการศึกษา 2556-2558

ช้ัน

2556 2557 2558จํานวนหอง จํานวน

นักเรียนจํานวนหอง จํานวนหอง จํานวน

นักเรียนจํานวนนักเรียน

มัธยมศึกษาปท่ี 1 1 15 1 36 1 36มัธยมศึกษาปท่ี 2 1 20 1 15 1 36มัธยมศึกษาปท่ี 3 - - 1 20 1 15

รวม ม.ตน 2 35 3 71 3 87

Page 8: บทที่1 สภาพป จจุบันของโรงเรียน - MNSnew).pdf · 2014-03-11 · พันธกิจที่4 นํากระบวนการคิดสู

6) แผนการรับนักเรียนหองเรียนพิเศษเทคโนโลยีสารสนเทศ (InformationTechnology & Communicate Program : ITC.P.) ม.1-3 ปการศึกษา 2556-2558

ช้ัน

2556 2557 2558จํานวนหอง จํานวน

นักเรียนจํานวนหอง จํานวนหอง จํานวน

นักเรียนจํานวนนักเรียน

มัธยมศึกษาปท่ี 1 1 31 1 36 1 36มัธยมศึกษาปท่ี 2 1 24 1 31 1 36มัธยมศึกษาปท่ี 3 1 25 1 24 1 31

รวม ม.ตน 3 80 3 91 3 103

3) ขอมูลเกี่ยวกับครูและบุคลากรทางการศึกษา

ฝาย /กลุมสาระการเรียนรู

ปการศึกษา 2556 ปการศึกษา 2557 ปการศึกษา 2558จํานวนครู

(คน)ขาด/เกิน

จํานวนครู(คน)

ขาด/เกิน

จํานวนครู(คน)

ขาด/เกิน

1. ฝายบริหาร 5 - 5 - 5 -2. ฝายปฏิบัติการสอน

2.1 กลุมสาระภาษาไทย 11 - 11 - 11 -2.2 กลุมสาระภาษาตางประเทศ 12 -15 12 -15 12 -152.3 กลุมสาระวิทยาศาสตร 15 -1 15 -1 15 -12.4 กลุมสาระคณิตศาสตร 11 -3 11 -3 11 -32.5 กลุมสาระสังคมศึกษา ฯ 14 - 13 -1 13 -12.6 กลุมสาระสุขศึกษาและ

พลศึกษา8 +2 8 +2 8 +2

2.7 กลุมสาระศิลปะ 4 -2 4 -2 4 -22.8 กลุมสาระการงานอาชีพ

และเทคโนโลยี-อุตสาหกรรม-คหกรรม-เกษตรกรรม-ธุรกิจ/คอมพิวเตอร

28411

-+1+1-2

28411

-+1+1-2

28411

-+1+1-2

3. กิจกรรมพัฒนาผูเรียน3.1 งานบริการแนะแนว 1 -1 1 -1 1 -13.2 งานบริการสุขภาพอนามัย 1 -1 1 -1 1 -13.3 งานบริการหองสมุด 1 -1 1 -1 1 -1

4. ธุรการ/พนักงานราชการ 1 -4 1 -4 1 -45. ครูอัตราจาง

5.1 ครูชาวไทย 17 - 17 - 17 -5.2 ครูชาวตางประเทศ 14 - 14 - 14 -

Page 9: บทที่1 สภาพป จจุบันของโรงเรียน - MNSnew).pdf · 2014-03-11 · พันธกิจที่4 นํากระบวนการคิดสู

ฝาย /กลุมสาระการเรียนรู

ปการศึกษา 2556 ปการศึกษา 2557 ปการศึกษา 2558จํานวนครู

(คน)ขาด/เกิน

จํานวนครู(คน)

ขาด/เกิน

จํานวนครู(คน)

ขาด/เกิน

6. ลูกจางประจํา6.1 พนักงานขับรถ - -3 - -3 - -36.2 พนักงานบริการ 6 - 6 - 6 -6.3 ชางปูน 1 - 1 - 1 -

7. ลูกจางช่ัวคราว(พนักงานบริการ)7.1 พนักงานบริการ 6 - 6 - 6 -7.2 พนักงานขับรถ 2 - 2 - 2 -7.3 ยามรักษาราชการ 2 - 2 - 2 -

รวม

4) ขอมูลเกี่ยวกับทรัพยากร4.1) ท่ีดิน จํานวน 22 ไร 1งาน4.2) อาคารเรียนและอาคารประกอบ

4.2.1) มีอาคารเรียน 5 หลัง

แบบอาคาร จํานวน(หลัง) จํานวนหอง/หนวยอาคารเรียน แบบ๐๑๗ (อนุญาตรื้อถอนแลว) 1 6อาคารเรียน แบบ๓๑๘ 3 54อาคารเรียน แบบ๓๒๔ ล/๒๗ 1 24รวม 5 84

4.2.2) มีอาคารประกอบ หลังดังนี้

แบบอาคาร จํานวน(หลัง) จํานวนหอง/หนวยโรงฝกงาน 1 1หอประชุม ๑๐๐/๒๗ 1 1โรงฝกงาน ๒๐๔/๒๗ 1 2หอประชุมโรอาหาร แบบ๑๐๑ ล /๒๗(พิเศษ) 1 2หองน้ํา-หองสวม แบบ 6 ท่ี/27 5 30รวม 9 36

Page 10: บทที่1 สภาพป จจุบันของโรงเรียน - MNSnew).pdf · 2014-03-11 · พันธกิจที่4 นํากระบวนการคิดสู

4.3) ขอมูลเกี่ยวกับงบประมาณ ปงบประมาณ 2556-25584.3.1) รายรับ

ประเภทงบประมาณปการศึกษา 2556 ปการศึกษา 2557 ปการศึกษา 2558

ภาค 1/56 ภาค2/56 ภาค1/57 ภาค2/57 ภาค1/58 ภาค2/581. เงินอุดหนุนท่ัวไป(รายหัว) 3,494,550 3,494,550 3,814,600 3,814,600 3,650,350 3,650,3502. เงินอุดหนุนปจจัยพ้ืนฐาน 758,125 758,125 810,000 810,000 901,250 901,2503. เงินอุดหนุนเรียนฟรี 15 ป 5,399,338 5,399,338 5,876,419 5,876,419 6,227,008 6,227,0084. เงินรายไดของสถานศึกษา 745,020 745,020 750,000 750,000 800,000 800,0005. เงินระดมทุนเรียนคอมเพ่ิมเติม 774,000 774,000 844,000 844,000 898,400 898,4006. เงินระดมทุนเรียนอังกฤษ

จากครูชาวตางชาติ1,161,000 1,161,000 1,266,000 1,266,000 1,347,600 1,347,600

7. เงินระดมทุนเรียนภาษาจีน 774,000 774,000 844,000 844,000 898,400 898,4008. เงินระดมทุนคาจางครูและบุคลากร

1,161,000 1,161,000 1,266,000 1,266,000 1,347,600 1,347,600

9. เงินระดมทุนคาสาธารณูปโภค 774,000 774,000 844,000 844,000 898,400 898,40010. เงินระดมทุนจากนักเรียนMEP 121,600 121,600 395,200 395,200 668,800 668,80011. เงินระดมทุนจากนักเรียน SMP. 285,000 285,000 315,000 315,000 330,000 330,00012. เงินระดมทุนจากนักเรียน EIS 42,000 42,000 85,200 85,200 104,400 104,40013 เงินระดมทุนจากนักเรียน ITCP 232,000 232,000 263,900 263,900 298,700 298,70014. เงินงบประมาณจาก สพฐ.

14.1 โครงการโรงเรยีนอาเซียน 460,000 485,000 460,000 460,000 460,000 460,00014.2 โครงการโรงเรยีน

มาตรฐานสากล20,000 20,000 20,000 20,000 20,000 20,000

14.3 คาจางเจาหนาท่ีธุรการ 108,000 180,000 180,000 180,000 180,000 180,00014.4 คาครุภัณฑท่ีดินและ

ส่ิงกอสราง500,000 590,000 5,000,000 18,000,000

15. อื่นๆ 330,000 330,000 330,000 330,000 330,000 330,000รวมท้ังสิ้น 17,139,633 17,326,633 18,364,319 23,364,319 37,360,908 19,360,908

34,466,266 41,728,638 56,721,816

Page 11: บทที่1 สภาพป จจุบันของโรงเรียน - MNSnew).pdf · 2014-03-11 · พันธกิจที่4 นํากระบวนการคิดสู

5. ผลการทดสอบระดับชาติ (O-NET)5.1 ผลการทดสอบระดับชาติ (O-NET) ม.3 ป 2554-2555

กลุมสาระการเรียนรู ผลการสอบ O-NET ม.3ป 2554 ป 2555 มูลคา

ภาษาไทย 48.03 55.97 +7.94สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 41.77 50.37 +8.60วิทยาศาสตร 29.63 34.94 +5.31คณิตศาสตร 29.43 24.81 -4.62ภาษาตางประเทศ 26.69 26.50 -0.19สุขศึกษาและพลศึกษา 48.89 58.27 +9.38ศิลปะ 44.87 45.16 +0.29การงานอาชีพและเทคโนโลยี 49.09 50.42 +1.33เฉลี่ย 39.80 43.31 +3.51

จากตาราง แสดงใหเห็นวา คะแนนผลการทดสอบระดับชาติ O-NET ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 3 ในปการศึกษา 2555 ท่ีมีคะแนนเฉลี่ยสูงกวาปการศึกษา 2554 จํานวน 6 กลุมสาระการเรียนรู ไดแก คะแนนการสอบในกลุมสาระวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ภาษาไทย วิทยาศาสตร การงานอาชีพและเทคโนโลยี และศิลปะ สวนกลุมสาระวิชาท่ีมีคะแนนปการศึกษา 2555 ท่ีมีคะแนนเฉลี่ยต่ํากวาปการศึกษา 2554 จํานวน 2 กลุมสาระการเรียนรูไดแก กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร และภาษาตางประเทศ

5.2 ผลการทดสอบระดับชาติ (O-NET) ม.6 ป 2554-2555

กลุมสาระการเรียนรู ผลการสอบ O-NET ม.6ป 2554 ป 2555 มูลคา

ภาษาไทย 44.03 47.97 3.94สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 32.74 35.32 2.58วิทยาศาสตร 27.24 31.00 3.76คณิตศาสตร 18.17 17.46 -0.71ภาษาตางประเทศ 18.91 16.87 -2.04สุขศึกษาและพลศึกษา 56.82 52.34 -4.48ศิลปะ 28.50 32.27 3.77การงานอาชีพและเทคโนโลยี 51.86 46.72 -5.14เฉลี่ย 34.78 34.99 0.21

จากตาราง แสดงใหเห็นวา คะแนนผลการทดสอบระดับชาติ O-NET ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 6 โดยภาพรวม ในปการศึกษา 2555 ท่ีมีคะแนนเฉลี่ยสูงกวาปการศึกษา 2554รอยละ 0.21 และเม่ือพิจารณารายกลุมสาระ พบวา ในปการศึกษา 2555 ท่ีมีคะแนนเฉลี่ยสูงกวา

Page 12: บทที่1 สภาพป จจุบันของโรงเรียน - MNSnew).pdf · 2014-03-11 · พันธกิจที่4 นํากระบวนการคิดสู

ปการศึกษา 2554 จํานวน 4 กลุมสาระการเรียนรู ไดแก คะแนนการสอบในกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ศิลปะ วิทยาศาสตร และสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สวนกลุมสาระวิชาท่ีมีคะแนนปการศึกษา 2555 ท่ีมีคะแนนเฉลี่ยต่ํากวาปการศึกษา 2554 จํานวน 4 กลุมสาระการเรียนรู ไดแกการงานอาชีพและเทคโนโลยี สุขศึกษาและพลศึกษา ภาษาตางประเทศ และคณิตศาสตร

6. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 8 กลุมสาระการเรียนรูทุกระดับช้ัน (ม.1-ม.6) ปการศึกษา2554-2555

กลุมสาระการเรียนรู ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ม.1-6ป 2554 ป 2555 มูลคา

ภาษาไทย 55.43 52.12 -3.31คณิตศาสตร 42.97 45.42 +2.45วิทยาศาสตร 53.94 54.03 +0.09สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 59.24 58.54 -0.07สุขศึกษาและพลศึกษา 81.39 82.76 +1.37ศิลปะ 74.62 74.14 -0.48การงานอาชีพและเทคโนโลยี 71.35 73.86 +2.51ภาษาตางประเทศ 53.87 53.38 -0.49เฉลี่ย 61.60 61.78 +0.18

จากตาราง แสดงใหเห็นวา คะแนนผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1-6ในปการศึกษา 2555 ท่ีมีคะแนนเฉลี่ยสูงกวาปการศึกษา 2554 จํานวน 4 กลุมสาระการเรียนรู ไดแกคะแนนการสอบในกลุมสาระวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี คณิตศาสตร สุขศึกษาและพลศึกษาและวิทยาศาสตร สวนกลุมสาระวิชาท่ีมีคะแนนปการศึกษา 2555 ท่ีมีคะแนนเฉลี่ยต่ํากวาปการศึกษา2554 จํานวน 4 กลุมสาระการเรียนรู ไดแก กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาษาตางประเทศ ศิลปะและสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

7. ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม จาก สมศ.

มาตรฐาน/ตัวบงช้ี คาเฉลี่ย แปรผล รอยละตัวบงชี้ท่ี 1 ผูเรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตท่ีดี 9.42 ดีมาก 94.20ตัวบงชี้ท่ี 2 ผูเรียนมีคุณธรรมจริยธรรมและคานิยมท่ีพึงประสงค 8.19 ดี 81.90ตัวบงชี้ท่ี 3 ผูมีความใฝรูและเรียนรูอยางตอเนื่อง 8.22 ดี 82.20ตัวบงชี้ท่ี 4 ผูเรียนคิดเปนทําเปน 7.98 ดี 79.80ตัวบงชี้ท่ี 5 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียน 9.19 พอใช 45.95

Page 13: บทที่1 สภาพป จจุบันของโรงเรียน - MNSnew).pdf · 2014-03-11 · พันธกิจที่4 นํากระบวนการคิดสู

มาตรฐาน/ตัวบงช้ี คาเฉลี่ย แปรผล รอยละตัวบงชี้ท่ี 6 ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ 8.00 ดี 80.00ตัวบงชี้ ท่ี 7 ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษา 5.00 ดีมาก 100.00ตัวบงชี้ ท่ี 8 พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในโดยสถานศึกษาและตนสังกัดของสถานศึกษา 4.61 ดีมาก 92.20กลุมตัวบงช้ีอัตลักษณตัวบงชี้ท่ี 9 ผลการพัฒนาตามปรัชญาปณิธานพันธกิจและวัตถุประสงคของการจัดตั้งสถานศึกษา 5.00 ดีมาก 100.00ตัวบงชี้ ท่ี 10 ผลการพัฒนาตามจุดเนนและจุดเดนท่ีสงผลสะทอนเปนเอกลักษณของสถานศึกษา 5.00 ดีมาก 100.00กลุมตัวบงช้ีมาตรการสงเสริมตัวบงชี้ท่ี 11 ผลกานดําเนินงานโครงการพิเศษเพ่ือสงเสริมบทบาทของสถานศึกษา 5.00 ดีมาก 100.00ตัวบงชี้ท่ี 12 ผลการสงเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพ่ือยกระดับมาตรฐานรักษามาตรฐานและพัฒนาสูความเปนเลิศ ท่ีสอดคลองกับแนวทางการปฏิรูปการศึกษา 5.00 ดีมาก 100.00

จากตาราง แสดงใหเห็นวา มาตรฐานตัวบงชี้ท่ีมีผลการประเมินในระดับดีมากจํานวน 7 ตัวบงชี้ไดแก ตัวบงชี้ ท่ี ๑ ผูเรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตท่ีดี คาเฉลี่ย 9.42 (คิดเปนรอยละ 94.20)ตัวบงชี้ท่ี 7 ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษา คาเฉลี่ย 5.00 (คิดเปนรอยละ 100 ) ตัวบงชี้ท่ี 8 พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในโดยสถานศึกษาและตนสังกัดของสถานศึกษา คาเฉลี่ย 4.61 (คิดเปนรอยละ 92.20) ตัวบงชี้ท่ี 9 ผลการพัฒนาตามปรัชญาปณิธานพันธกิจและวัตถุประสงคของการจัดตั้งสถานศึกษา คาเฉลี่ย 5.00 (คิดเปนรอยละ 100) ตัวบงชี้ท่ี 10ผลการพัฒนาตามจุดเนนและจุดเดนท่ีสงผลสะทอนเปนเอกลักษณของสถานศึกษา คาเฉลี่ย 5.00(คิดเปนรอยละ 100) ตัวบงชี้ท่ี 11 ผลการดําเนินงานโครงการพิเศษเพ่ือสงเสริมบทบาทของสถานศึกษาคาเฉลี่ย 5.00 (คิดเปนรอยละ 100) ตัวบงชี้ท่ี 12 ผลการสงเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพ่ือยกระดับมาตรฐานรักษามาตรฐานและพัฒนาสูความเปนเลิศท่ีสอดคลองกับแนวทางการปฏิรูปการศึกษาคาเฉลี่ย 5.00 (คิดเปนรอยละ 100) มาตรฐานตัวบงชี้ท่ีมีผลการประเมินในระดับดี จํานวน 4 ตัวบงชี้ไดแก ตัวบงชี้ท่ี 2 ผูเรียนมีคุณธรรมจริยธรรมและคานิยมท่ีพึงประสงคคาเฉลี่ย 8.19 (คิดเปนรอยละ81.90 ) ตัวบงชี้ท่ี 3 ผูมีความใฝรูและเรียนรูอยางตอเนื่อง คาเฉลี่ย 8.22 (คิดเปนรอยละ 82.20)ตัวบงชี้ท่ี 4 ผูเรียนคิดเปนทําเปน คาเฉลี่ย 7.98 (คิดเปนรอยละ 79.80) ตัวบงชี้ท่ี 6 ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ คาเฉลี่ย 8.00 (คิดเปนรอยละ 80.00) และมาตรฐานตัวบงชี้ท่ีมีผลการประเมินในระดับพอใช จํานวน 1 ตัวบงชี้ ไดแก ตัวบงชี้ท่ี 5 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียน คาเฉลี่ย 9.19 (คิดเปนรอยละ 45.50)

Page 14: บทที่1 สภาพป จจุบันของโรงเรียน - MNSnew).pdf · 2014-03-11 · พันธกิจที่4 นํากระบวนการคิดสู

บทที่ 2

การประเมินองคการ

1. การควบคุมคุณภาพ ไดกําหนดภาระงานและมาตรฐานการปฏิบัติงานของครู และบุคลากรทุกงาน ไดสรางคูมือในการพัฒนาบุคลากรท้ัง 6 หมวด คือ 1) ระบบการนําองคกร 2) ระบบการวางแผนเชิงกลยุทธ 3) ระบบการมุงเนนผูเรียนและผูมีสวนไดเสีย 4) ระบบการวัด วิเคราะหและการจัดการความรู 5) ระบบการพัฒนาบุคลากร 6) ระบบการจัดการกระบวนการ เพ่ือใหการทํางานเปนไปตามระบบอยางมีคุณภาพและไดมาตรฐาน

2. การตรวจสอบคุณภาพ ไดทําการการทบทวนและตรวจสอบคุณภาพโดยใหมีการจัดทํารายงานการประเมินตนเองรายบุคคล (SSR) และหนวยงานยอยจัดรายงานการประเมินตนเอง(SAR) พรอมท้ังเขียนจุดเดน(PLUS) จุดท่ีควรพัฒนา (MINUS) และสิ่งท่ีตองการในอนาคต(INTERESTING)

3. การประเมินคุณภาพ ไดทําการประเมินคุณภาพของครู ของกลุมงานและของโรงเรียนโดยรวมโดยคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา และจัดทําขอมูลสารสนเทศทุกมาตรฐานและจัดทํารายงานการประเมินตนเอง (SAR) ของสถานศึกษาทุกป พรอมท้ังเขียนจุดเดน(PLUS) จุดท่ีควรพัฒนา (MINUS) และสิ่งท่ีตองการในอนาคต (INTERESTING) และจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรูทุกภาคเรียนเพ่ือนําจุดท่ีควรพัฒนาไปวางแผนปรับปรุงแกไขและพัฒนาการบริหารและการจัดการศึกษาอยางตอเนื่องเพ่ือใหมีคุณภาพเปนไปตามมาตรฐานการศึกษา สงผลใหโรงเรียนไดรับการรับรองคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ในการประเมินคุณภาพการศึกษาภายนอกรอบสามจากสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(องคกรมหาชน) และสงผลตอคุณภาพผูเรียน ครู โรงเรียน

Page 15: บทที่1 สภาพป จจุบันของโรงเรียน - MNSnew).pdf · 2014-03-11 · พันธกิจที่4 นํากระบวนการคิดสู

บทที่ 3ทิศทางของโรงเรียนเมอืงนครศรีธรรมราช

การบริหารกิจการสถานศึกษาใหเปนไปตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ นโยบายและวัตถุประสงคของสถานศึกษา ตองอาศัยปรัชญาการศึกษาอยางนอย 3 ปรัชญา คือ ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม ซึ่งตองพัฒนาผูเรียนท้ังดานรางกาย อารมณ สังคมและสติปญญา พุทธปรัชญา ซึ่งตองพัฒนาจิตสํานึก ปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมใหเปนคนดีท่ียั่งยืนและตองใชปรัชญาปฏิรูปนิยม ซึ่งตองกลาตัดสินใจเปนผูนําเปลี่ยนแปลง จึงตองใชปรัชญาปฏิรูปนิยม ซึ่งตองปฏิรูประบบบริหารและการจัดการท่ีกระจายอํานาจกระจายโอกาส ปฏิรูปครูและบุคลากรทางการศึกษา โดยปรับวิธีเรียนเปลี่ยนวิธีสอนเนนการนํากระบวนการคิดสูการปฏิบัติโครงงานตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงและภูมิปญญาทองถ่ิน ปฏิรูปวัสดุอุปกรณและอาคารสถานท่ี ใหมีสื่อ ICT และสื่อท่ีทันสมัย หองเรียนมีบรรยากาศทางวิชาการสถานท่ีมีบรรยากาศทางกายภาพท่ีเอ้ือตอการเปนแหลงเรียนรู นอกจากนั้นตองอาศัยองคประกอบสําคัญหลายประการ ตองใชเทคนิค วิธีการ กลยุทธท่ีหลากหลายตองใชท้ังศาสตรและศิลป เพ่ือมุงสูการประกันคุณภาพการศึกษา โดยดําเนินการดังนี้

1. ใหมีหนวยงานปฏิบัติการ 5 กลุม ดังนี้(1.1) กลุมบริหารท่ัวไป(1.2) กลุมบริหารงานบุคคล(1.3) กลุมบริหารงบประมาณ(1.4) กลุมบริหารวิชาการ(1.5) กลุมบริหารกิจการนักเรียน

2. วิเคราะหสภาพแวดลอมของโรงเรียน2.1 การวิเคราะหสภาพแวดลอมภายใน

โรงเรียนไดดําเนินการใหนักเรียน ครู ผูปกครองและชุมชน รวมกันวิเคราะหจุดแข็งจุดออน โอกาสและอุปสรรค ในการดําเนินงานปรากฏดังนี้

ดาน ประเด็นสําคัญ จุดแข็งหรือจุดออน

1. S1: โครงสรางและนโยบายสถานศึกษา

1.1 แผนภูมิโครงสรางการบริหารสถานศึกษาโรงเรียนมีแผนภูมิและคูมือการบริหารสถานศึกษา

+

1.2 นโยบายสถานศึกษา โรงเรียนกําหนดวิสัยทัศน พันธกิจเปาประสงค กลยุทธและนโยบายในการบริหาร

+

2. S2: ผลผลิตและบริการ

2.1 ดานคุณภาพผูเรียน1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียน -2) คุณลักษณะอันพึงประสงคของผูเรียน +3) สมรรถนะของผูเรียน -

Page 16: บทที่1 สภาพป จจุบันของโรงเรียน - MNSnew).pdf · 2014-03-11 · พันธกิจที่4 นํากระบวนการคิดสู

ดาน ประเด็นสําคัญ จุดแข็งหรือจุดออน

2.2 ดานการบริการ1) การใหบริการดานครูและบุคลากร +2) การใหบริการดานวิชาการ -3) การใหบริการดานสถานท่ี +4) การใหบริการชุมชน -

2.3 ความพึงพอใจตอการบริหารจัดการ +3. M1: บุคลากร 3.1 ดานครู

1) ครูมีความรูความสามารถและเชี่ยวชาญในการจัดการเรียนรูและกิจกรรมพัฒนาผูเรียน +

2) ครูมีความรูความสามารถในการดําเนินงานตามระบบการดูแลชวยเหลือนักเรียน

-

3) ครูมีความรูความสามารถในการปฏิบัติงานตามโครงสรางการบริหารสถานศึกษา

+

3.2 บุคลากรทางการศึกษา1) ครูอัตราจางท้ังชาวไทยและตางประเทศ มีความรู

ความสามารถและเชี่ยวชาญในการจัดการเรียนรูและกิจกรรมพัฒนาผูเรียน

+

2) ครูอัตราจางท้ังชาวไทยและตางประเทศ มีความรูความสามารถในการดําเนินงานตามระบบการดูแลชวยเหลือนักเรียน

-

3) ครูอัตราจางท้ังชาวไทยและตางประเทศ มีความรูความสามารถในการปฏิบัติงานตามโครงสรางการบริหารสถนศึกษา

-

4) ลูกจางประจํามีความรูความสามารถในการปฏิบัติงานอยางมีประสิทธิภาพ

+

5) ลูกจางชั่วคราว(พนักงานบริการ) มีความรูความสามารถในการปฏิบัติงานอยางมีประสิทธิภาพ

+

4. M2:ประสิทธิภาพทางการเงิน

4.1 มีแผนปฏิบัติราชการในการใชงบประมาณ -4.1 มีแผนปฏิบัติราชการในการใชงบประมาณ -4.3 การระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษา -4.4 ประสิทธิภาพการใชเงินท่ีเนนผลผลิต -4.5 การใชทรัพยากรอยางคุมคาของสถานศึกษา +

5. M3: วัสดุทรัพยากร

5.1 ความเพียงพอและคุณภาพของวัสดุอุปกรณในสถานศึกษา +5.2 อาคารสถานท่ีและสภาพแวดลอมเอ้ือตอการจัดการเรียนรู +

Page 17: บทที่1 สภาพป จจุบันของโรงเรียน - MNSnew).pdf · 2014-03-11 · พันธกิจที่4 นํากระบวนการคิดสู

ดาน ประเด็นสําคัญ จุดแข็งหรือจุดออน

6. M4: การบริหารจัดการ

6.1 มีการบริหารเชิงระบบ โดยมีระบบหลักและระบบสนับสนุน 12ระบบ ดังนี้

ระบบสนับสนุน1) ระบบการนําองคกร -2) ระบบการวางแผนเชิงกลยุทธ -3) ระบบการมุงเนนผูเรียนและผูมีสวนไดเสีย -4) ระบบการวัดวิเคราะหและการจัดการความรู -5) ระบบการพัฒนาบุคลากร -6) ระบบการจัดการกระบวนการ -7) ระบบการบริหารและการจัดการ -8) ระบบภาคีเครือขาย -9) ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ --ระบบหลัก1) ระบบการจัดการเรียนรู -2) ระบบการดูแลชวยเหลือนักเรียน -3) ระบบกิจกรรมพัฒนาผูเรียน -

6.2 การบริหารแบบมีสวนรวม โดยการมอบอํานาจ กระจายอํานาจในการบริหารจัดการสถานศึกษาใหครูและบุคลากร

+

6.3 การประชาสัมพันธ -

2.2 การวิเคราะหสภาพแวดลอมภายนอก

ดาน ประเด็นสําคัญโอกาสหรือ

อุปสรรค1. S : ดานสังคมและวัฒนธรรม

1.1 ดานสังคม ชุมชนรอบโรงเรียนเปนแหลงซื้อขายยาเสพติดทําใหนักเรียน มีโอกาสติดยาเสพติด

-

1.2 ดานวัฒนธรรม ประเพณีและวัฒนธรรมทองถ่ินทําใหนักเรียนมีจิตสํานึกในการรักษาประเพณีและวัฒนธรรม

+

2. T : ดานเทคโนโลยี

2.1 ความกาวหนาทางดานเทคโนโลยี สงผลใหโรงเรียนตองปรับหลักสูตรใหสอดคลองกับความตองการบริโภคเทคโนโลยี

+

2.2 คอมพิวเตอรมีราคาถูกลงทําใหโรงเรียนสามารถจัดซื้อจัดหามาใชในการจัดบริการสารสนเทศของโรงเรียนได

+

Page 18: บทที่1 สภาพป จจุบันของโรงเรียน - MNSnew).pdf · 2014-03-11 · พันธกิจที่4 นํากระบวนการคิดสู

ดาน ประเด็นสําคัญโอกาสหรือ

อุปสรรค3. E : ดานเศรษฐกิจ

3.1 ชุมชนมีรายไดนอยฐานะทางเศรษฐกิจไมเทาเทียมมีผลกระทบตอการใหการสนับสนุนการศึกษา

-

3.2 อบต. และ อบจ.เขามามีสวนรวมการศึกษาโดยสนับสนุนงบประมาณอยางตอเนื่อง

-

4. P : ดานการเมืองและกฎหมาย

4.1 การปฏิรูประบบงบประมาณแบบมุงเนนผลงานทําใหการบริหารงานมีอิสระมากข้ึน

+

4.2 ระเบียบพัสดุ ฯ ทําใหการบริหารมีความโปรงใส ตรวจสอบได +

2.3 จุดแข็ง (Strengths) = Sโรงเรียนมีแผนภูมิโครงสรางการบริหารสถานศึกษาโรงเรียนมีแผนภูมิและคูมือการบริหาร

สถานศึกษา มีการกําหนดนโยบายสถานศึกษา วิสัยทัศน พันธกิจ เปาประสงค กลยุทธในการบริหารผูเรียนคุณลักษณะอันพึงประสงคของผูเรียน มีการใหบริการดานครูและบุคลากร การใหบริการดานสถานท่ี ผูมีสวนไดเสียมีความพึงพอใจตอการบริหารจัดการ ครูมีความรูความสามารถและเชี่ยวชาญในการจัดการเรียนรูและกิจกรรมพัฒนาผูเรียน มีความสามารถในการปฏิบัติงานตามโครงสรางการบริหารสถนศึกษา ครูอัตราจางท้ังชาวไทยและตางประเทศ มีความรูความสามารถและเชี่ยวชาญในการจัดการเรียนรูและกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ลูกจางประจําและลูกจางชั่วคราว(พนักงานบริการ) มีความรูความสามารถในการปฏิบัติงานอยางมีประสิทธิภาพ มีการใชทรัพยากรอยางคุมคาของสถานศึกษาอาคารสถานท่ีและสภาพแวดลอมเอ้ือตอการจัดการเรียนรู มีการบริหารแบบมีสวนรวม โดยการมอบอํานาจ กระจายอํานาจในการบริหารจัดการสถานศึกษาใหครูและบุคลากร

2.4 จุดออนผูเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนต่ํา ยังไมมีการพัฒนาสมรรถนะของผูเรียน

อยางชัดเจน2.5 โอกาส(Opportunities) = O

ประเพณีและวัฒนธรรมทองถ่ินทําใหนักเรียนมีจิตสํานึกในการรักษาประเพณีและวัฒนธรรม ความกาวหนาทางดานเทคโนโลยี สงผลใหโรงเรียนตองปรับหลักสูตรใหสอดคลองกับความตองการบริโภคเทคโนโลยี คอมพิวเตอรมีราคาถูกลงทําใหโรงเรียนสามารถจัดซื้อจัดหามาใชในการจัดบริการสารสนเทศของโรงเรียนได การปฏิรูประบบงบประมาณแบบมุงเนนผลงานทําใหการบริหารงานมีอิสระมากข้ึน ระเบียบพัสดุ ฯ ทําใหการบริหารมีความโปรงใส ตรวจสอบได

2.6 อุปสรรค (Threats)ดานสังคม ชุมชนรอบโรงเรียนเปนแหลงอบายมุขทําใหนักเรียน มีโอกาสติดยาเสพติด

ชุมชนมีรายไดนอยฐานะทางเศรษฐกิจไมเทาเทียมมีผลกระทบตอการใหการสนับสนุนการศึกษาองคการบริหารสวนตําบลและองคการบริหารสวนจังหวัดไมมีสวนรวมในการสนับสนุนงบประมาณอยางตอเนื่อง

Page 19: บทที่1 สภาพป จจุบันของโรงเรียน - MNSnew).pdf · 2014-03-11 · พันธกิจที่4 นํากระบวนการคิดสู

3. แนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา เพ่ือมุงสูการประกันคุณภาพการศึกษา โดยใชกระบวนการบริหาร ToPSTAR3.1 ระบบ ToPSTAR

การบริหารกิจการสถานศึกษาใหเปนไปตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ นโยบายและวัตถุประสงคของสถานศึกษา ตองอาศัยปรัชญาการศึกษาอยางนอย 3 ปรัชญา คือ ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม ซึ่งตองพัฒนาผูเรียนท้ังดานรางกาย อารมณ สังคมและสติปญญา พุทธปรัชญา ซึ่งตองพัฒนาจิตสํานึก ปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมใหเปนคนดีท่ียั่งยืนและตองใชปรัชญาปฏิรูปนิยม ซึ่งตองกลาตัดสินใจเปนผูนําเปลี่ยนแปลง จึงตองใชปรัชญาปฏิรูปนิยม ซึ่งตองปฏิรูประบบบริหารและการจัดการท่ีกระจายอํานาจกระจายโอกาส ปฏิรูปครูและบุคลากรทางการศึกษา โดยปรับวิธีเรียนเปลี่ยนวิธีสอนเนนการนํากระบวนการคิดสูการปฏิบัติโครงงานตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงและภูมิปญญาทองถ่ินปฏิรูปวัสดุอุปกรณและอาคารสถานท่ี ใหมีสื่อ ICT และสื่อท่ีทันสมัย หองเรียนมีบรรยากาศทางวิชาการสถานท่ีมีบรรยากาศทางกายภาพท่ีเอ้ือตอการเปนแหลงเรียนรู นอกจากนั้นตองอาศัยองคประกอบสําคัญหลายประการ ตองใชเทคนิค วิธีการ กลยุทธท่ีหลากหลายตองใชท้ังศาสตรและศิลป เพ่ือมุงสูการประกันคุณภาพการศึกษา

ทางโรงเรียนจึงไดนําหลักการแนวคิดและทฤษฎีการบริหารเชิงระบบรูปแบบToPSTAR แนวคิดหลักการท่ีสถาบันวิจัยและพัฒนาการเรียนรู ไดทําการวิจัยและพัฒนาสถานศึกษาท่ีเขารวมโครงการ ซึ่งสถานศึกษานํามาใชในการพัฒนาคุณภาพของโรงเรียนโดยใชกระบวนการบริหารรูปแบบ ToPSTAR มาจากคําดังนี้

To คือ Thinking over หมายถึง การคิดใหมทําใหมเพ่ือเด็กเมืองนครศรีธรรมราชทุกคน โดยใหนักเรียน ครู ผูปกครองรวมกันวิเคราะหปญหา ความตองการ โดยใชทฤษฎี PMI(P=Plus , M=Minus , I=Interesting) และ ทฤษฏี FIVE WHY เพ่ือกําหนดวิสัยทัศน พันธกิจเปาประสงคและกลยุทธในการดําเนินการ

P คือ Plan หมายถึง การวางระบบในการบริหารสถานศึกษา โดยประชุมครูทบทวนระบบท่ีเปนอยู และเสนอแนวทางปรับปรุงระบบใหดีข้ึนทุกระบบ ทบทวนวิสัยทัศน พันธกิจ เขียนแผนปฏิบัติราชการของกลุมงาน

S คือ System หมายถึง ระบบในการบริหารสถานศึกษา ประกอบดวย 3 ระบบหลักไดแก ระบบการเรียนรู ระบบการดูแลชวยเหลือนักเรียน ระบบกิจกรรมพัฒนาผูเรียนและ 7 ระบบสนับสนุนคือ ระบบการนําองคกร ระบบยุทธศาสตรการพัฒนา ระบบบริหารและจัดการ ระบบการพัฒนาบุคลากร ระบบการดูแลคุณธรรมวิชาชีพ ระบบชุมชนสัมพันธและระบบสารสนเทศโดยแตละระบบมีคูมือการบริหารคุณภาพทุกระบบ

T คือ Team หมายถึง ทีมในการบริหารในการควบคุมคุณภาพและการปฏิบัติงานตามระบบ ซึ่งทุกระบบประกอบดวย 3 ทีมคือ ทีมนํา ทีมบริหารคุณภาพและทีมทํา

A คือ Assessment หมายถึง การประเมินผลการดําเนินงานตามข้ันตอนของระบบและการปฏิบัติงานทุกฝาย การประเมินทบทวนตรวจสอบคุณภาพโดยใชวงจร PDCA ประเมินอยางนอย 2 รอบ จึงสรุปเพ่ือคนหา Best Practice

R คือ Reflection หมายถึง การรายงานผลสะทอนระดับคุณภาพของระบบสถาบันวิจัยและพัฒนาการเรียนรูเพ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษา (2547 : 172) กลาววา การเขียน

Page 20: บทที่1 สภาพป จจุบันของโรงเรียน - MNSnew).pdf · 2014-03-11 · พันธกิจที่4 นํากระบวนการคิดสู

รายงานผลสะทอนระดับคุณภาพของระบบ ควรมีลักษณะขององคประกอบอยางชัดเจนตรงประเด็นกระชับ ครอบคลุมในทุกประเด็น สะทอนผลการตรวจสอบไดอยางชัดเจน ไมมีอคติปราศจากขอโตแยง

Page 21: บทที่1 สภาพป จจุบันของโรงเรียน - MNSnew).pdf · 2014-03-11 · พันธกิจที่4 นํากระบวนการคิดสู

วิเคราะหผูเรียนรายบุคคล

จัดกลุมผูเรียนปรับพ้ืนฐาน

ออกแบบแผนการจัดการเรียนรูหลากหลาย

จัดกิจกิจกรรมการเรยีนรูที่หลากหลาย

นิเทศภายในแลกเปลีย่นเรียนรู

รายงานผลการสอนและรายงานวิจัย

ซอมเสริมปรับปรุงพัฒนา

ผ่าน

ไม่ผ่าน

ผาน

บันทึกหลังสอน/รายงานปญหา

ซอมเสริมสอบแกตัว

ประเมินผลกอนเรียน

ประเมินผลการเรยีนแตละหนวย

ประเมินผลรวม

วิเคราะหคําอธิบายรายวิชาและหนวยการเรียนรู

3.2 ระบบหลัก 3 ระบบ คือ ระบบการเรียนรู ระบบกิจกรรมพัฒนาผูเรียนระบบการดูแลชวยเหลือนักเรียน มีกระบวนการปฏิบัติงานดังนี้

(1) ระบบการจัดการเรียนรู ใหมีคณะกรรมการบริหารคุณภาพระบบการจัดการเรียนรูคณะหนึ่ง โดยใหผูอํานวยการโรงเรียนทําหนาท่ีเปนประธานคณะกรรมการบริหารคุณภาพระบบการจัดการเรียนรู ใหรองผูอํานวยการกลุมบริหารวิชาการ เปนรองประธาน ซึ่งมีหัวหนากลุมสาระการเรียนรูทุกกลุม เปนกรรมการ และหัวหนางานสํานักงานกลุมบริหารวิชาการ เปนกรรมการและเลขานุการ และใหขาราชการครูผูสอนทุกคนเปนทีมทํา โดยดําเนินงานตามคูมือบริหารคุณภาพระบบการจัดการเรียนรู ท่ีคณะกรรมการบริหารคุณภาพระบบการจัดการเรียนรู กําหนด โดยผานความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารคุณภาพสถานศึกษา ตาม FLOW CHART ท่ี 1

FLOW CHART ท่ี 1 ระบบการจัดการเรียนรู โรงเรียนมาตรฐานสากล

ผานหรือไม

ผานหรือไม

ผาน

ไมผาน

ผานหรือไมไมผาน

Page 22: บทที่1 สภาพป จจุบันของโรงเรียน - MNSnew).pdf · 2014-03-11 · พันธกิจที่4 นํากระบวนการคิดสู

(2) ระบบกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ใหมีคณะกรรมการบริหารคุณภาพระบบกิจกรรมพัฒนาผูเรียนคณะหนึ่ง ประกอบดวย รองผูอํานวยการกลุมบริหารวิชาการ ทําหนาท่ีเปนประธานคณะกรรมการบริหารคุณภาพระบบกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ใหผูชวยรองผูอํานวยการกลุมบริหารวิชาการท่ีรับผิดชอบกิจกรรมพัฒนาผูเรียน เปนรองประธาน ซึ่งมีหัวหนางานในกลุมงานกิจกรรมพัฒนาผูเรียนทุกงานเปนกรรมการ และหัวหนากลุมกิจกรรมพัฒนาผูเรียน เปนกรรมการและเลขานุการ และใหขาราชการครูทุกคนท่ีเปนท่ีปรึกษาชมรม ชุมนุม ผูกํากับลูกเสือเนตรนารี ผูนํายุวกาชาดและผูบําเพ็ญประโยชน เปนทีมทํา โดยดําเนินงานตามคู มือบริหารคุณภาพระบบกิจกรรมพัฒนาผู เรียนท่ีคณะกรรมการบริหารคุณภาพระบบกิจกรรมพัฒนาผูเรียนกําหนดโดยผานความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารคุณภาพสถานศึกษา ตาม FLOW CHART ท่ี 2

FLOW CHART ท่ี 2 ระบบกิจกรรมพัฒนาผูเรียน โรงเรียนโรงเรียนมาตรฐานสากล

เลือกกจิกรรม

ศึกษาวิเคราะหมาตรฐานและตัวช้ีวัดของหลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผูเรียน

วิเคราะหผูเรียน สํารวจความพรอมและความตองการของผูเรียน

ใหขอมูลและช้ีแจงแนวทางในการปฏิบัติกิจกรรม

กิจกรรมพัฒนาผูเรยีน

กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน

กิจกรรมตามความถนัดและความสนใจ

กิจกรรมตามท่ีโรงเรียนกําหนด(ลส.,นน.,ยว.,บพ.)

จัดนักเรยีนเขากลุม

นักเรียนรวมวางแผนกับอาจารยท่ีปรึกษา

ดําเนินการจัดกิจกรรมตามแผน

ผ่านหรือไม่

ประเมินผล

รายงานผลการจดักิจกรรมพัฒนาผูเรยีน

ปรับปรุงแกไข/พัฒนาไมผาน

ผาน

Page 23: บทที่1 สภาพป จจุบันของโรงเรียน - MNSnew).pdf · 2014-03-11 · พันธกิจที่4 นํากระบวนการคิดสู

(3) ระบบการดูแลชวยเหลือนักเรียน ใหมีคณะกรรมการบริหารคุณภาพระบบการดูแลชวยเหลือนักเรียนคณะหนึ่ง ประกอบดวยรองผูอํานวยการกลุมบริหารกิจการนักเรียน ทําหนาท่ีเปนประธานคณะกรรมการบริหารคุณภาพระบบการดูแลชวยเหลือนักเรียน ใหผูชวยรองผูอํานวยการกลุมบริหารกิจการนักเรียน ท่ีรับผิดชอบระบบการดูแลชวยเหลือนักเรียนทําหนาท่ีเปนรองประธาน ซึ่งมีหัวหนางานในกลุมบริหารกิจการนักเรียน ทุกงานและหัวหนาระดับทุกระดับชั้น เปนกรรมการ และหัวหนากลุมงานระบบการดูแลชวยเหลือนักเรียน เปนกรรมการและเลขานุการ และใหขาราชการครูทุกคนท่ีเปนท่ีอาจารยท่ีปรึกษา เปนทีมทํา โดยดําเนินงานตามคูมือบริหารคุณภาพระบบการดูแลชวยเหลือนักเรียน ท่ีคณะกรรมการบริหารคุณภาพระบบการดูแลชวยเหลือนักเรียนกําหนด โดยผานความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารคุณภาพสถานศึกษา ตาม FLOW CHART ท่ี 3

FLOW CHART ท่ี 3 ระบบการดูแลชวยเหลือนักเรียน โรงเรียนโรงเรียนมาตรฐานสากล

ศึกษานักเรียนเปนรายบุคคล

คัดกรองนักเรียน

จัดกิจกรรมสงเสรมิ (โฮมรูม / แนะแนว /ทักษะชีวิต /ประชุมผูปกครองช้ันเรียน)

เยี่ยมบานและใหความชวยเหลือ

กํากับติดตามพฤติกรรม

จัดกิจกรรมปองกันและแกไขปญหา

ปรับปรุง / พัฒนา

ผานหรือไม

ประเมินผล

รายงานผลการดูแลชวยเหลือนักเรียน

ปรับปรุง / พัฒนา

ผาน

ไมผาน

ดีขึ้นหรือไม

ไมดีขึ้น

ดีขึ้น

ดีขึ้นหรือไม

ไมดีขึ้น

ดีขึ้น

เสี่ยง

ไมเสี่ยง

สงตอครูแนะแนว

สงตอภายนอก

Page 24: บทที่1 สภาพป จจุบันของโรงเรียน - MNSnew).pdf · 2014-03-11 · พันธกิจที่4 นํากระบวนการคิดสู

วิเคราะหมาตรฐานและตัวบงชี ้สมศ.,สพฐ.,สพม.

ปรับปรุง/พัฒนา

ประชาพิจารณ

ปฏิบตัิการนําองคกรดกิจกิจกรรมการเรยีนรูที่หลากหลาย

ประเมินผลการนําองคกร

ปรับปรุง/พัฒนา

กําหนดแนวทางการนําองคกร

3.3 ใหมีกระบวนการทํางานเชิงระบบ โดยมีกระบวนการทํางานระบบยอย 10 ระบบ ดังนี้(1) ระบบการนําองคกร ใหมีคณะกรรมการบริหารคุณภาพระบบการนําองคกรคณะ

หนึ่งประกอบดวย รองผูอํานวยการแตละกลุม ทําหนาท่ีเปนประธานคณะกรรมการบริหารคุณภาพระบบการนําองคกร และผูชวยรองผูอํานวยการแตละกลุม ทําหนาท่ีเปนรองประธาน ซึ่งมีหัวหนางานในแตละกลุมบริหารเปนกรรมการและหัวหนางานสํานักงานกลุมบริหารแตละกลุม เปนกรรมการและเลขานุการ และใหขาราชการครูท่ีปฏิบัติหนาท่ีหัวหนางาน/ผูชวยหัวหนางาน/กรรมการทุกคนในกลุมแตละกลุมเปนทีมทําในแตละกลุมโดยดําเนินงานตามคู มือบริหารคุณภาพระบบนําองคกร ท่ีคณะกรรมการบริหารคุณภาพระบบการนําองคกรกําหนด โดยผานความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารคุณภาพสถานศึกษา ตาม FLOW CHART ท่ี 4

FLOW CHART ท่ี 4 ระบบการนําองคกร โรงเรียนเมืองโรงเรียนมาตรฐานสากล

เห็นดวยหรือไม

บรรลุหรือไม

เห็นดวย

ไมเห็นดวย

รายงานผลการนําองคกร

กําหนดเปาหมายและตัวชี้วดัความสําเร็จ

ไมบรรลุ

บรรลุ

Page 25: บทที่1 สภาพป จจุบันของโรงเรียน - MNSnew).pdf · 2014-03-11 · พันธกิจที่4 นํากระบวนการคิดสู

วิเคราะหจุดแข็ง จุดออน โอกาสและอุปสรรค

ปรับปรุง/พัฒนา

ประชาพิจารณ

จัดทําแผนพัฒนาคุณภาพ 4 ป

จัดทําแผนปฏิบตัิราชการประจําป

ปรับปรุง/พัฒนา

ทบทวนวิสัยทัศน พันธกิจ เปาประสงคและคุณลักษณะอันพึงประสงคของผูเรียน

ประเมินผล

(2) ระบบยุทธศาสตรการพัฒนา ใหมีคณะกรรมการบริหารคุณภาพระบบยุทธศาสตรการพัฒนาคณะหนึ่งประกอบดวย รองผูอํานวยการทุกกลุมทําหนาท่ีเปนประธานคณะกรรมการบริหารคุณภาพระบบยุทธศาสตรการพัฒนา และผูชวยรองผูอํานวยการทุกกลุมทําหนาท่ีเปนรองประธานซึ่งมีหัวหนางานทุกงานในแตละกลุม เปนกรรมการ และหัวหนากลุมงานแผนงานกลุมบริหารแตละกลุม เปนกรรมการและเลขานุการ และใหขาราชการครูท่ีปฏิบัติหนาท่ีหัวหนางาน/ผูชวยหัวหนางาน/กรรมการทุกคนในกลุมบริหารแตละกลุมเปนทีมทําในแตละกลุม โดยดําเนินงานตามคูมือบริหารคุณภาพระบบยุทธศาสตรการพัฒนา ท่ีคณะกรรมการบริหารคุณภาพกลุมบริหารงบประมาณกําหนด โดยผานความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารคุณภาพสถานศึกษา ตาม FLOW CHART ท่ี 5

FLOW CHART ท่ี 5 ระบบยุทธศาสตรการพัฒนา โรงเรียนโรงเรียนมาตรฐานสากล

เห็นดวยหรือไม

บรรลุหรือไม

เห็นดวย

ไมเห็นดวย

รายงานผลการดําเนินงาน

ศึกษาสภาพปจจุบัน ปญหาและความตองการ

ไมบรรลุ

บรรลุ

Page 26: บทที่1 สภาพป จจุบันของโรงเรียน - MNSnew).pdf · 2014-03-11 · พันธกิจที่4 นํากระบวนการคิดสู

กําหนดคุณลักษณะอันพึงประสงคของนักเรียน/ความคาดหวังของผูมีสวนไดเสีย

นิเทศภายใน

กําหนดแนวปฏิบตัิ /แผนงาน/โครงการ

ดําเนินงานตามแนวปฏบิัติ/แผนงาน/โครงการ

ปรับปรุง/พัฒนา

ประเมินทบทวน ตรวจสอบคุณภาพ

พัฒนาคุณภาพอยางตอเน่ือง

(3) ระบบการมุงเนนผูเรียนและผูมีสวนไดเสีย ใหมีคณะกรรมการบริหารคุณภาพระบบการมุงเนนผูเรียนและผูมีสวนไดเสีย คณะหนึ่งประกอบดวย รองผูอํานวยการกลุมบริหารกิจการนักเรียน ทําหนาท่ีเปนประธานคณะกรรมการบริหารคุณภาพระบบการมุงเนนผูเรียนและผูมีสวนไดเสีย และผูชวยรองผูอํานวยการกลุมบริหารกิจการนักเรียน ทําหนาท่ีเปนรองประธาน ซึ่งมีหัวหนางานทุกงานในกลุมบริหารกิจการนักเรียน เปนกรรมการ และหัวหนาระดับชั้นทุกระดับ เปนกรรมการ โดยมีหัวหนางานภาคีเครือขาย เปนกรรมการและเลขานุการ และใหขาราชการครูท่ีปฏิบัติหนาท่ีครูท่ีปรึกษาทุกคนเปนทีมทํา โดยดําเนินงานตามคูมือบริหารคุณภาพระบบการมุงเนนผูเรียนและผูมีสวนไดเสีย ท่ีคณะกรรมการบริหารคุณภาพกลุมบริหารกิจการนักเรียนกําหนด โดยผานความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารคุณภาพสถานศึกษา ตาม FLOW CHART ท่ี 6

FLOW CHART ท่ี 6 ระบบการมุงเนนผูเรียนและผูมีสวนไดเสีย โรงเรียนมาตรฐานสากล

เห็นดวยหรือไม

บรรลุหรือไม

เห็นดวย

ไมเห็นดวย

รายงานการประเมินความพึงพอใจ

ศึกษาวิเคราะหความตองการของผูเรียนและผูมีสวนไดเสยี

ไมบรรลุ

บรรลุ

Page 27: บทที่1 สภาพป จจุบันของโรงเรียน - MNSnew).pdf · 2014-03-11 · พันธกิจที่4 นํากระบวนการคิดสู

กําหนดแผนการวัดวิเคราะหและการจดัการความรู

ปรับปรุง/แกไข/พัฒนา

ดําเนินการวัดวิเคราะหและการจดัการความรู

นิเทศภายในแลกเปลีย่นเรียนรู

ประเมินผลวัดวิเคราะหและการจัดการความรู

คนหาวิธีการปฏิบตัิที่เปนเลิศโดยใช KM

(4) ระบบการวัดวิเคราะหและการจัดการความรู ใหมีคณะกรรมการบริหารคุณภาพระบบการวัดวิเคราะหและการจัดการความรู คณะหนึ่งประกอบดวย รองผูอํานวยการกลุมบริหารวิชาการ ทําหนาท่ีเปนประธานคณะกรรมการบริหารคุณภาพระบบการวัดวิเคราะหและการจัดการความรู และผูชวยรองผูอํานวยการกลุมบริหารวิชาการ ทําหนาท่ีเปนรองประธาน ซึ่งมีหัวหนางานวัดผลทุกคนในกลุมกลุมสาระการเรียนรู เปนกรรมการ และหัวหนางานวัดผลการศึกษา เปนกรรมการและเลขานุการ โดยดําเนินงานตามมือบริหารคุณภาพระบบการวัดวิเคราะหและการจัดการความรูท่ีคณะกรรมการบริหารคุณภาพระบบกลุมบริหารวิชาการกําหนด โดยผานความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารคุณภาพสถานศึกษา ตาม FLOW CHART ท่ี 7

FLOW CHART ท่ี 7 ระบบวัดวิเคราะหและการจัดการความรู โรงเรียนมาตรฐานสากล

บรรลุหรือไม

บรรลุ

ไมบรรลุ

รายงานผลการพัฒนา

ศึกษาวิเคราะหมาตรฐานและตัวชีว้ัด

Page 28: บทที่1 สภาพป จจุบันของโรงเรียน - MNSnew).pdf · 2014-03-11 · พันธกิจที่4 นํากระบวนการคิดสู

วิเคราะหความตองการพัฒนา

ทบทวน/แกไข

เขียนแผนงาน/โครงการ

ขออนุมัติแผนพัฒนาครูและบุคลากร

ปรับปรุง/พัฒนา

ประเมินผลการพัฒนา

ดําเนินการพัฒนาครูและบุคลากร

(5) ระบบการพัฒนาบุคลากร ใหมีคณะกรรมการบริหารคุณภาพระบบการพัฒนาบุคลากร คณะหนึ่งประกอบดวย รองผูอํานวยการกลุมบริหารงานบุคคล ทําหนาท่ีเปนประธานคณะกรรมการบริหารคุณภาพระบบการพัฒนาบุคลากร และผูชวยรองผูอํานวยการกลุมบริหารงานบุคคลทําหนาท่ีเปนรองประธานซึ่งมีหัวหนางานทุกงานในกลุมบริหารงานบุคคล เปนกรรมการ และหัวหนากลุมงานพัฒนาบุคลากร เปนกรรมการและเลขานุการ โดยดําเนินงานตามมือบริหารคุณภาพระบบการพัฒนาบุคลากร ท่ีคณะกรรมการบริหารคุณภาพระบบกลุมบริหารงานบุคคลกําหนด โดยผานความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารคุณภาพสถานศึกษา ตาม FLOW CHART ท่ี 8

FLOW CHART ท่ี 8 ระบบพัฒนาบุคลากร โรงเรียนมาตรฐานสากล

เห็นดวยหรือไม

บรรลุหรือไม

เห็นดวย

ไมเห็นดวย

รายงานผลการพัฒนา

สํารวจความตองการของครูและบุคลากร

ไมบรรลุ

บรรลุ

Page 29: บทที่1 สภาพป จจุบันของโรงเรียน - MNSnew).pdf · 2014-03-11 · พันธกิจที่4 นํากระบวนการคิดสู

2. P = Plan (การวางระบบ)

ปรับปรุงแกไข/พัฒนา

3. S = System(จัดทําคูมือบริหารคุณภาพระบบ)

4. T = Team(สรางทีมนํา ทีมบรหิารคุณภาพและทมีทําทุกระบบ)

ปรับปรุง/พัฒนา

5. A = Assessment(การประเมินการดําเนินงานตามระบบทุกระบบ)

พัฒนาคุณภาพอยางตอเน่ือง

(6) ระบบการจัดการกระบวนการ ใหมีคณะกรรมการบริหารคุณภาพระบบการจัดการกระบวนการ คณะหนึ่งประกอบดวย ผูอํานวยการทําหนาท่ีเปนประธานคณะกรรมการบริหารคุณภาพระบบการจัดการกระบวนการ รองผูอํานวยการกลุมบริหารท่ัวไป ทําหนาท่ีเปนรองประธาน ซึ่งมีรองผูอํานวยการ และผูชวยรองผูอํานวยการทุกกลุม เปนกรรมการ และหัวหนาธุรการและเลขานุการเปนกรรมการและเลขานุการ และใหขาราชการครูท่ีปฏิบัติหนาท่ีหัวหนางาน/ผูชวยหัวหนางาน/กรรมการทุกคนในกลุมบริหารแตละกลุมเปนทีมทําในแตละกลุม โดยดําเนินงานตามคูมือบริหารคุณภาพระบบการจัดการกระบวนการ ท่ีคณะกรรมการบริหารคุณภาพระบบการจัดการกระบวนการกําหนดโดยผานความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารคุณภาพสถานศึกษา ตาม FLOW CHART ท่ี 9

FLOW CHART ท่ี 9 ระบบการจัดการกระบวนการ โรงเรียนมาตรฐานสากล

เห็นดวยหรือไม

บรรลุหรือไม

เห็นดวย

ไมเห็นดวย

6. Reflexive(รายงานการประเมินตนเอง : SAR)

ของระบบ )

1. To = Thinking Over(การคิดวิเคราะหสภาพบรบิท ตามมาตรฐาน

การศึกษา)

ไมบรรลุ

บรรลุ

Page 30: บทที่1 สภาพป จจุบันของโรงเรียน - MNSnew).pdf · 2014-03-11 · พันธกิจที่4 นํากระบวนการคิดสู

คัดเลือก สรรหาและแตงตั้ง

นิเทศใหคําปรึกษา

มอบหมายงาน/หนาที่ตามโครงสรางการบริหาร

กําหนดภาระงานและมาตรฐานการปฏบิัติงาน

ปรับปรุง/พัฒนา

ประเมินผลการปฏิบตัิงาน

ดําเนินการภาระงานและมาตรฐานการปฏิบตัิงาน

(7) ระบบการบริหารและการจัดการ ใหมีคณะกรรมการบริหารคุณภาพระบบการบริหารและการจัดการ คณะหนึ่งประกอบดวย รองผูอํานวยการทุกกลุมทําหนาท่ีเปนประธานคณะกรรมการบริหารคุณภาพระบบการบริหารและการจัดการ และผูชวยรองผูอํานวยการทุกกลุมทําหนาท่ีเปนรองประธานซึ่งมีหัวหนางานทุกงานในแตละกลุม เปนกรรมการ และหัวหนางานสํานักงานกลุมบริหารแตละกลุม เปนกรรมการและเลขานุการ และใหขาราชการครูท่ีปฏิบัติหนาท่ีหัวหนางาน/ผูชวยหัวหนางาน/กรรมการทุกคนในกลุมบริหารแตละกลุมเปนทีมทําในแตละกลุม โดยดําเนินงานตามคูมือบริหารคุณภาพระบบการบริหารและการจัดการ ท่ีคณะกรรมการบริหารคุณภาพระบบการบริหารและการจัดการ กําหนดโดยผานความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารคุณภาพสถานศึกษาตามFLOW CHART ท่ี 10

FLOW CHART ท่ี 10 ระบบการบริหารและการจัดการ โรงเรียนมาตรฐานสากล

ยอมรับหรือไม

บรรลุหรือไม

เห็นดวย

ไมยอมรับ

รายงานผลการประเมินตนเอง(SSR)

สํารวจความรูความสามารถ

ไมบรรลุ

บรรลุ

Page 31: บทที่1 สภาพป จจุบันของโรงเรียน - MNSnew).pdf · 2014-03-11 · พันธกิจที่4 นํากระบวนการคิดสู

คัดเลือกตัวแทนเครือขายผูปกครองระดับหองเรยีน/ชั้นเรยีน/โรงเรยีน

ประกาศแตงตั้งมอบหมายงาน

มีสวนรวมในการกําหนดแผนงาน/โครงการ

ปรับปรุง/พัฒนา

ประเมินผลการดาํเนินงาน

รวมกันปฏบิัติงานตามแผนงาน/โครงการ

(8) ระบบภาคีเครือขาย ใหมีคณะกรรมการบริหารคุณภาพระบบภาคีเครือขายคณะหนึ่งประกอบดวย รองผู อํานวยการกลุมบริหารกิจการนักเรียน ทําหนาท่ีเปนประธานคณะกรรมการบริหารคุณภาพระบบภาคีเครือขาย และผูชวยรองผูอํานวยการกลุมบริหารกิจการนักเรียน ทําหนาท่ีเปนรองประธาน ซึ่งมีหัวหนางานทุกงานในกลุมบริหารกิจการนักเรียน เปนกรรมการ ผูชวยหัวหนางานภาคีเครือขาย ทุกคน เปนกรรมการ หัวหนางานภาคีเครือขาย เปนกรรมการและเลขานุการ โดยดําเนินงานตามคูมือบริหารคุณภาพระบบภาคีเครือขาย ท่ีคณะกรรมการบริหารคุณภาพระบบภาคีเครือขายกําหนด โดยผานความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารคุณภาพสถานศึกษาตาม FLOW CHART ท่ี 11

FLOW CHART ท่ี 11 ระบบภาคีเครือขาย โรงเรียนมาตรฐานสากล

บรรลุหรือไม

สรุปและรายงานผลการดําเนินงาน

ไมบรรลุ

บรรลุ

ชี้แจงแนวทางและระเบียบการสรางภาคีเครือขาย

Page 32: บทที่1 สภาพป จจุบันของโรงเรียน - MNSnew).pdf · 2014-03-11 · พันธกิจที่4 นํากระบวนการคิดสู

ออกแบบและพัฒนาเครื่องในการเก็บขอมูล

เก็บรวบรวมขอมูล

วิเคราะหขอมูล

ปรับปรุง/พัฒนา

นําเสนอขอมูล

(9) ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ใหมีคณะกรรมการบริหารคุณภาพระบบเทคโนโลยีสารสนเทศคณะหนึ่งประกอบดวย รองผูอํานวยการกลุมบริหารท่ัวไป ทําหนาท่ีเปนประธานคณะกรรมการบริหารคุณภาพระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และผูชวยรองผูอํานวยการกลุมบริหารท่ัวไปทําหนาท่ีเปนรองประธาน ซึ่งมีหัวหนางานสารสนเทศทุกกลุมบริหาร เปนกรรมการ ผูชวยหัวหนาศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศทุกคน เปนกรรมการ และหัวหนาศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ เปนกรรมการและเลขานุการ โดยดําเนินงานตามคูมือบริหารคุณภาพระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ท่ีคณะกรรมการบริหารคุณภาพระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ กําหนดโดยผานความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารคุณภาพสถานศึกษา ตาม FLOW CHART ท่ี 12

FLOW CHAT ท่ี 12 ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนมาตรฐานสากล

สมบูรณหรือไม

สรุปและรายงานผลการดําเนินงาน

ไมบรรลุ

ศึกษาวิเคราะหสารสนเทศทีต่องการใช

Page 33: บทที่1 สภาพป จจุบันของโรงเรียน - MNSnew).pdf · 2014-03-11 · พันธกิจที่4 นํากระบวนการคิดสู

3.2 ปรัชญาการศึกษา วิสัยทัศน พันธกิจ เปาหมายและตัวช้ีวัดความสําเร็จของโรงเรียนเมืองนครศรีธรรมราช

3.2.1 ปรัชญาการศึกษา“พัฒนาตน พัฒนาคน พัฒนางานใหมีคุณภาพและไดมาตรฐานสากล”

3.2.2 วิสัยทัศน “ภายในป 2558 มุงพัฒนาคุณภาพผูเรียนสูมาตรฐานสากล สรางเยาวชนสูประชาคมอาเซียน ยึดปรัชญาของเศรษฐกิพอเพียง ภายใตความรวมมือของภาคีเครือขาย”

3.3.3 พันธกิจ และมาตรการพันธกิจท่ี 1 จัดหลักสูตรและกระบวนการเรียนรูตามความถนัดและความสามารถเฉพาะทาง

เปนท่ีประจักษมาตรการ : จัดหลักสูตรหองเรียนพิเศษความสามารถเฉพาะทางทุกกลุมสาระรวมท้ังดาน

ศิลปวัฒนธรรม ดนตรีและกีฬา เพ่ือแลกเปลี่ยนเรียนรูวัฒนธรรมของเยาวชนในกลุมประเทศอาเซียนพันธกิจท่ี 2 จัดหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู สูความเปนเลิศทางวิทยาศาสตร

คณิตศาสตรและเทคโนโลยีมาตรการ : เปดหองเรียนพิเศษ Science & Mathematic Program , ICT Program

นักเรียนท่ัวไปทุกคนทุกระดับชั้น เรียนคอมพิวเตอรเพ่ิมเติม 2 คาบ/สัปดาห/ภาค เพ่ือเตรียมคนรองรับประชาคมอาเซียน

พันธกิจท่ี 3 จัดหลักสูตรและการเรียนรูสูความเปนเลิศทางภาษาไทย อังกฤษ จีนและภาษาของประเทศในกลุมอาเซียน

มาตรการ : นักเรียนท่ัวไป เรียนภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร และภาษาอังกฤษฟงพูด จากครูชาวตางชาติ 2 คาบ/สัปดาหตอภาคและเรียนภาษาตางประเทศท่ี 2 (ภาษาจีนเพ่ือการสื่อสาร) จากครูชาวจีน 2 คาบ/สัปดาหตอภาค นักเรียนกลุมสนใจ เลือกเรียนภาษาตางประเทศในกลุมประเทศอาเซียน ตามความสนใจ จากครูชาวตางชาติ 2 คาบ/สัปดาหตอภาค

พันธกิจท่ี 4 นํากระบวนการคิดสูการปฏิบัติโครงงานและนํากระบวนวิจัยสูหองเรียนโดยใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

มาตรการ : นักเรียนท่ัวไปทุกคน เรียนวิชากิจกรรมสรางสรรคโครงงาน และรายวิชา StudyIndependent 3 รายวิชา

IS1 : การสรางองคความรูและการคิดอิสระ (Research & Knowledge Formation)IS2 : การสื่อสารและการนําเสนอ (communication & Presentation)IS3 : กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน (Activity for Social & Public

Benefit): ครูจัดทําหลักสูตรบูรณาการโดยใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงทุกรายวิชา

พันธกิจท่ี 5 จัดกระบวนการเรียนรูและกิจกรรมสรางจิตสํานึกพลเมืองมาตรการ : จัดกิจกรรมสรางจิตสํานึกพลเมืองใหมีความรับผิดชอบตอสังคมโลก โดย

-สรางจิตสํานึกตามคุณลักษณะประสงค 8 ประการ คือ รักชาติ ศาสน กษัตริย มีความซื่อสัตยสุจริต มีวินัยและความรับผิดชอบ ใฝเรียนรู อยูอยางพอเพียง มีความมุงม่ันและพัฒนางานรักความเปนไทย มีจิตสาธารณะ

-2-

Page 34: บทที่1 สภาพป จจุบันของโรงเรียน - MNSnew).pdf · 2014-03-11 · พันธกิจที่4 นํากระบวนการคิดสู

พันธกิจท่ี 6 พัฒนาครูใหมีความรูความสามารถเชี่ยวชาญในการสอนเทียบเคียงมาตรฐานสากลโดยใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

มาตรการ : พัฒนาครูดานเทคนิคการใชสื่อและ ICT เปนเครื่องมือในการเรียนรู พัฒนาครูไทยใหสอนวิชาวิทยาศาสตร คณิตศาสตร ภาษาอังกฤษและ ICT โดยใชภาษาอังกฤษเปนสื่อในการสอนตามโครงการ EIS

พันธกิจท่ี 7 พัฒนาระบบบริหารและการจัดการดวยระบบคุณภาพและเทคโนโลยีสารสนเทศเตรียมรับการประเมิน School Quality Award , Obec Quality Award และ Thailand QualityAward

มาตรการ : บริหารเชิงคุณภาพโดยใชระบบประกันคุณภาพภายในท่ีเขมแข็ง เพ่ือรองรับการประเมินภายนอก S.Q.A.,OBEC.Q.A. และ T.Q.A. และมีระบบบริหารโดยใช ICT ทุกกลุมบริหาร มีสื่อ ICT และหองเรียนคุณภาพ โดยผูเรียนมีแท็ปเล็ต หรือคอมพิวเตอรพกพาสําหรับการเรียนรูทุกคนโดยใชกลุมสาระเปนฐานในการบริหาร ใหเปนโรงเรียนผูนําดาน ICT

พันธกิจท่ี 8 จัดโรงเรียนใหเปนอุทยานการศึกษาและโลกแหงการเรียนรูปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและประชาคมอาเซียน

มาตรการ : มีหองสมุดโลก จัดตั้งธนาคารปญญา (มีคลินิกเรียนรู 8 กลุมสาระ ท่ีมีสื่อการสอนของครูและขอสอบ ผูเรียนสามารถเขาไปเรียนรูดวยตนเองได) จัดบรรยากาศทางกายภาพและทางวิชาการใหเอ้ือตอการเรียนรูปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและประชาคมอาเซียน

พันธกิจท่ี 9 พัฒนาผูเรียนใหมีความรูดานการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมของอาเซียน

มาตรการ : จัดใหชุมนุมอาเซียน ใหนักเรียนขับเคลื่อนกิจกรรมเพ่ือรองรับประชาคมอาเซียนรวมกับสภานักเรียน เพ่ือพัฒนาสมรรถนะผูเรียนท้ังดานความสามารถในการคิด การสื่อสาร การแกปญหา การใชทักษะชีวิต และการใชเทคโนโลยี

3.3.4 เปาหมายเปาหมายท่ี 1 นักเรียนท่ีเรียนตามความถนัดและความสามารถเฉพาะทางเปนท่ีประจักษมี

ความสามารถแขงขัน ในระดับชาติและนานาชาติไดรอยละ 3-5เปาหมายท่ี 2 นักเรียนท่ีเรียนหองเรียนพิเศษทางดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและ

เทคโนโลยี มีความสามารถแขงขันในระดับชาติและนานาชาติไดรอยละ 3-5เปาหมายท่ี 3 ผูเรียนมีความรูและทักษะการฟง พูดภาษาอังกฤษ ภาษาไทย จีนและภาษา

ของประเทศในอาเซียน และใชภาษาเพ่ือการสื่อสารได 75 %เปาหมายท่ี 4 ผูเรียนมีความรูทักษะข้ันพ้ืนฐานตามหลักสูตร ผลการเรียนระดับ 1-4 รอยละ

95 และระดับ3-4 รอยละ 60 นักเรียนทํากิจกรรมสรางสรรคโครงงานปละ 1 โครงงาน นักเรียนมีความรูทางคอมพิวเตอร สามารถใชแท็ปเล็ตและอินเตอรเน็ตไดรอยละ 100 และผานการประเมินในระดับชาติ(o-net) อยูในระดับดี

เปาหมายท่ี 5 ผูเรียนมีจิตสํานึกพลเมืองรอยละ 90เปาหมายท่ี 6 ครูไดรับการพัฒนาอยางนอยปละ 20 ชั่วโมง และครูมีคุณธรรมจริยธรรม 98

% เลื่อนวิทยฐานะรอยละ 5 ตอป ครูมีความรูทางคอมพิวเตอร สามารถใชแท็ปเล็ตและอินเตอรเน็ตได

Page 35: บทที่1 สภาพป จจุบันของโรงเรียน - MNSnew).pdf · 2014-03-11 · พันธกิจที่4 นํากระบวนการคิดสู

เปาหมายท่ี 7 โรงเรียนมีระบบบริหารและการจัดการดวยระบบคุณภาพและมีเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีทันสมัย

เปาหมายท่ี 8 โรงเรียนมีอุทยานการศึกษาและโลกแหงการเรียนรูประชาคมอาเซียนท่ีทันสมัยเปาหมายท่ี 9 ผูเรียนใหมีความรูดานการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมของอาเซียน

รอยละ 95

Page 36: บทที่1 สภาพป จจุบันของโรงเรียน - MNSnew).pdf · 2014-03-11 · พันธกิจที่4 นํากระบวนการคิดสู

บทที่ 4กลยุทธและแผนที่ยุทธศาสตรของโรงเรียน

เพ่ือใหการบริหารมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพทางโรงเรียนไดรวมกันกําหนดกลยุทธและแผนท่ียุทธศาสตร เพ่ือใหเปนไปตามวิสัยทัศน พันธกิจ เปาหมายและตัวชี้วัดความสําเร็จ ดังนี้

4.1 กลยุทธของโรงเรียน ประกอบดวย 7 กลยุทธ ดังนี้กลยุทธท่ี 1 พัฒนาคุณภาพผูเรียนสูมาตรฐานสากลกลยุทธท่ี 2 พัฒนาระบบการดูแลชวยเหลือนักเรียนกลยุทธท่ี 3 พัฒนาหลักสูตรและระบบการเรียนรูโดยใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกลยุทธท่ี 4 สรางจิตสํานึกพลเมืองกลยุทธท่ี 5 สรางเครือขายรวมพัฒนาและการสงเสริมสมรรถนะผูเรียนกลยุทธท่ี 6 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษากลยุทธท่ี 7 พัฒนาระบบบริหารคุณภาพและเทคโนโลยี

Page 37: บทที่1 สภาพป จจุบันของโรงเรียน - MNSnew).pdf · 2014-03-11 · พันธกิจที่4 นํากระบวนการคิดสู

4.2 แผนท่ียุทธศาสตรโรงเรียนเมืองนครศรีธรรมราชวิสัยทัศน ภายในป 2558 “มุงพัฒนาคุณภาพผูเรียนสูมาตรฐานสากล สรางเยาวชนสูประชาคมอาเซียน ยึดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ภายใตความรวมมือของภาคีเครือขาย”

ประเด็นยุทธศาสตร

1.พัฒนาคุณภาพผูเรยีนสูมาตรฐานสากล 2.สรางเยาวชนสูประชาคมอาเซียน 3.พัฒนาการบริหารและการจดัการ

เรียนรู ยดึปรชัญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4.สรางภาคีเครือขายการเรียนรู

ประสิทธิผลตามพันธกิจ(Run thebusiness)

1.1 ผูเรียนมีความรูและทักษะเปนเลศิทางวิชาการสื่อสารไดสองภาษาล้ําหนาทางความคิดผลิตงานอยางสรางสรรค

1.2 ผูเรียนและครู มีความรับผิดชอบตอสังคมโลก

2.1 ผูเรียนและครูมีความรูและทักษะเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน

2.2 ผูเรียน ครูใชภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารในอาเซียนได

3.1 สถานศึกษามีรูปแบบการบริหารสถานศึกษาตนแบบเศรษฐกิจพอเพียง

3.2 ผูเรียนมีความรูความเขาใจและทําโครงงานโดยใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

4.1 มีเครือขายสภานักเรียนและเครือขายการเรียนรู

4.2 มีเครือขายผูปกครองและชุมชน

คุณภาพการใหบริการ

(Servecustomer)

นักเรียน ครูและผูปกครองมีความพึงพอใจในการบริหารและการจดัการเรยีนรูผูปกครองและชุมชนยอมรับและศรัทธาตอโรงเรียน

ประสิทธภิาพการจัดการ(Manage

Resources)

มีระบบการบริหารจดัการที่มีคุณภาพ

มีระบบสื่อและเครื่องมือในการจัดการเรยีนรูที่ทันสมัย

โรงเรียนมีหองปฏิบตัิเพ่ือการจัดการเรยีนรูประชาคมอาเซียน

โรงเรียนมีอุทยานการเรียนรูที่

ทันสมัย

โรงเรียนมีอุทยานการเรียนรูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

นักเรียนแกนนําเครือขายมีประสิทธภิาพการบริหารและการจัดการ

ผูปกครองและชุมชนการมีสวน

รวมในการบริหารและการ

จัดการ

การพัฒนาองคกร

(Capacitybuilding)

มีระบบการจัดการเรียนรู มีระบบการบริหารและการจดัการมีระบบสารสนเทศ มีระบบการนิเทศภายใน

มีระบบผูมีสวนไดสวนเสียมีระบบภาคีเครือขาย

Page 38: บทที่1 สภาพป จจุบันของโรงเรียน - MNSnew).pdf · 2014-03-11 · พันธกิจที่4 นํากระบวนการคิดสู

บทที่ 5กรอบกลยุทธของโรงเรียน

กลยุทธท่ี 1 พัฒนาคุณภาพผูเรียนสูมาตรฐานสากล

วัตถุประสงคเชิงกลยุทธ วิธีการและกิจกรรม ตัวชี้วัดความสําเร็จเปาหมาย

2556 2557 25581. เปนเลิศวิชาการ 1. สงเสริมความเปนเลิศ โดยการสอน

เสริม ติวเขม เขาคาย ศึกษาดูงาน

2. สงเสริมศักยภาพและความถนัดสําหรับนักเรียนหองเรียนพิเศษโดยมีการจัดอบรมโครงงาน เรียนรวมกับโรงเรียนอ่ืน3. สงเสริมเปนบุคคลแหงการเรียนรู4. สงเสริมแหลงเรียนรูและภูมิปญญาทองถ่ิน5. สนับสนุนการจัดการเรียนการสอน6. โครงการพัฒนาระบบการเรียนรูของกลุมสาระตาง ๆ7. โครงการพัฒนาหองปฏิบัติการ8. โครงการคลินิกเพื่อการเรียนรู9. โครงการคายรักการอาน

1. รอยละของนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ก า ร เ รี ย น ผ า น ก า ร ป ร ะ เ มิ นระดับชาติอยู ในระดับดี เปนที่ยอมรับจากสถาบันนานาชาติ2. รอยละของนักเ รียนมีความสามารถ ความถนัด เฉพาะทางเปนที่ประจักษ สามารถแขงขันในระดับชาติและนานาชาติ3. รอยละของนักเรียนสามารถเขาศึกษาตอในระดับที่สู ง ข้ึนจนถึงระดับอุดมศึกษาทั้งในประเทศและตางประเทศไดในอัตราสูง4. รอยละของนักเรียนมีผลการเ รี ย น ที่ ส า ม า ร ถ ถ า ย โ อ น กั บส ถ า น ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ ต า ง ๆ ใ นนานาชาติได

รอยละ 50

รอยละ 15

รอยละ 85

รอยละ 85

รอยละ 55

รอยละ 20

รอยละ 90

รอยละ 85

รอยละ 60

รอยละ 25

รอยละ 95

รอยละ 95

Page 39: บทที่1 สภาพป จจุบันของโรงเรียน - MNSnew).pdf · 2014-03-11 · พันธกิจที่4 นํากระบวนการคิดสู

วัตถุประสงคเชิงกลยุทธ วิธีการและกิจกรรม ตัวชี้วัดความสําเร็จ เปาหมาย2556 2557 2558

2. สื่อสารไดอยางนอย 2 ภาษา 1. ส ง พัฒน ากา ร เ รี ยนกา รสอ นภาษาตางประเทศ กับครูเจาของภาษา2. กิจกรรมสื่อกับชาวตางชาติ เชนการสัมภาษณ การเรียนรูวัฒนธรรม3. สงเสริมการใชภาษาที่สองในการสื่อสารในโรงเรียน4. โครงการเขาคายภาษาอังกฤษ(ENGLISH CAMP)5. โครงการพานักเรียน E.P.และ S.M.P. ศึกษาดูงานภายในและ

ตางประเทศ6. โครงการพัฒนาหองเรียนตนแบบภาษาตางประเทศโดยเชาคอมพิวเตอรสําหรับการเรียนรูภาษา 20 ชุดและ ติดตั้งโปรแกรมภาษา TELLMEMORE และ DISCOVERY7 โครงการแรลี่วิชาการ พานักเรียนโปรแกรม E.P. ไปถายทอดความรูใหนองในโรงเรียนประถมศึกษา

1. รอยละของนักเรียนใชภาษาไทยภาษาอังกฤษและภาษาตางประเทศอ่ืนๆ ในการสื่อสารไดดี2. รอยละของนักเรียนหองเรียนE.P.สามารถสอบผานการวัดระดับความสามารถทางภาษาจากสถาบันภาษานานาชาติ3. รอยละของนักเรียน E.P.และ S.M.P. ศึกษาดูงาน

ตางประเทศ

รอยละ 60

รอยละ 50

รอยละ 80

รอยละ 75

รอยละ 60

รอยละ 90

รอยละ 80

รอยละ 70

รอยละ 100

Page 40: บทที่1 สภาพป จจุบันของโรงเรียน - MNSnew).pdf · 2014-03-11 · พันธกิจที่4 นํากระบวนการคิดสู

วัตถุประสงคเชิงกลยุทธ วิธีการและกิจกรรม ตัวชี้วัดความสําเร็จ เปาหมาย2556 2557 2558

3. ล้ําหนาทางความคิด 1. กิจกรรมสงเสริมการทําโครงงาน2. เขียนเรียงความชั้นสูง3. โครงการจัดการเรียนรูแบบโครงงาน4. โครงการปลูกผักสวนครัวทั่วนครศรีธรรมราช5. โครงการสงเสริมอาชีพอิสระเพื่อการมีรายไดระหวางเรียน6. โครงการจัดตัง้บริษัทจําลอง7. โครงการจัดแสดงและนําเสนอโครงงานนักเรียน8. โครงการนํากระบวนการคิดและการวิจัยสูหองเรียน9. โครงการบริหารและจัดการเรียนรูบู รณากา รสู ก า รปฏิ บั ติ โ ค ร ง ง านเศรษฐกิจพอเพียงและ ภูมิปญญาทองถ่ิน

1. รอยละของนักเรียนสรางกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรูและจัดทําโครงงานที่เสนอแนวคิดเพื่อสาธารณประโยชนรวมกับนักเรียนนานาชาติ2. รอยละของนักเรียนมีความคิดสรางสรรค กลาเผชิญความเสี่ยงสามารถใชความคิดระดับสูง มีเหตุผล และวางแผนจั ดการสูเปาหมายที่ตั้งไวได3. รอยละของนักเรียนสามารถสรางสรรคความคิดใหมๆ เพื่ อประโยชนตอตนเอง สังคม และประเทศชาติ คานิยม และความเชื่อของตนเองและของผูอ่ืน

รอยละ 70

รอยละ 70

รอยละ 70

รอยละ 80

รอยละ 80

รอยละ 80

รอยละ 90

รอยละ 90

รอยละ 90

Page 41: บทที่1 สภาพป จจุบันของโรงเรียน - MNSnew).pdf · 2014-03-11 · พันธกิจที่4 นํากระบวนการคิดสู

วัตถุประสงคเชิงกลยุทธ วิธีการและกิจกรรม ตัวชี้วัดความสําเร็จ เปาหมาย2556 2557 2558

4. ผลิตงานอยางสรางสรรค 1. สงเสริมใหนักเรียนสรางชิ้นงานในดานตางๆ2. สงนักเรียนเขารวมกิจกรรมแขงขันในทุกระดับ

1. ร อยละของนักเ รียนมีความสามารถประเมิน แสวงหาสังเคราะห และใชขอมูลขาวสารอยางมีประสิทธิผลโดยนําเทคโนโลยีมาใชในการดําเนินกิจการใหสําเร็จ2. รอยละของนักเรียนมีความรอบรูด า น ทั ศ น ภ า พ ( ภ า ษ า ภ า พสัญลักษณ สัญรูป) รูจักตีความสรางสื่อในการพัฒนาการคิด การตัดสินใจ และการเรียนรูใหกาวหนาข้ึน3. รอยละของนักเรียนมีผลงานการประดิษฐ สรางสรรค และออกแบบผลง าน เ ข า ร ว มแข ง ขั น ใน เ วทีระดับชาติและนานาชาติ4. รอยละของนักเรียนสามารถใชเทคโนโลยี ในการเรียนรู ออกแบบสรางสรรคงานสื่อสาร นําเสนอ เผยแพรและแลกเปลี่ยนผลงานได ในระดับนานาชาติ

รอยละ 80

รอยละ 80

รอยละ 80

รอยละ 80

รอยละ 85

รอยละ 85

รอยละ 85

รอยละ 85

รอยละ 90

รอยละ 90

รอยละ 90

รอยละ 90

Page 42: บทที่1 สภาพป จจุบันของโรงเรียน - MNSnew).pdf · 2014-03-11 · พันธกิจที่4 นํากระบวนการคิดสู

วัตถุประสงคเชิงกลยุทธ วิธีการและกิจกรรม ตัวชี้วัดความสําเร็จ เปาหมาย2556 2557 2558

5. รวมกันรับผิดชอบตอสังคมโลก 1. สงเสริมนักเรียนดานคุณธรรมดานคุณธรรมจริยธรรมและคุณลักษณะอันพึงประสงค กิจกรรมจิตสาธารณะกิจกรรมวันสําคัญตางๆ/กิจกรรมของหายไดคืน2. จั ดทํ าแผนการสอนบู รณาการเศรษฐกิจพอเพียง /สวนพฤษศาสตร /รักษโลก

3. จัดกิจกรรมเขาคายอบรมคุณธรรมจริยธรรมนักเรียน4 โครงการอบรมนักเรียนในโรงเรียนทุกระดับชั้นสัปดาหละ 1 ชั่วโมง5.โครงการพานักเรียนไปวัด6. โครงการพัฒนาทักษะชีวิต7.โครงการอบรมนักเรียนหนาเสาธง8. โครงการธนาคารขยะ

1. รอยละของนักเรียนมีความตระหนักรู ในภาวการณของโลกสามารถเรียนรูและจัดการกับความซับซอน

2. รอยละของนักเรียนมีความรู ความเข า ใ จ และตระหนั ก ในความห ล า ก ห ล า ย ท า ง วั ฒ น ธ ร ร มขนบธรรมเนียมประเพณีของนานาชาติ3. รอยละของนักเรียนมีความสามารถระบุประเด็ นทางเศรษฐศาสตรวิ เ ค ร า ะห ผ ลกระทบของกา รเปลี่ ยนแปลงทางเศรษฐกิจและนโยบายสาธารณะ เปรียบเทียบคาใชจายและผลตอบแทน4. รอยละของนักเรียนมีความรับผิดชอบตอสงัคมและเปนพลเมืองดีสามารถจัดการและควบคุมการใชเทคโนโลยี เพื่ อส ง เสริ มให เ กิ ดประโยชนตอสาธารณะ และปกปองคุมครองสิ่งแวดลอมและอุดมการณประชาธิปไตยสังคมไทยและสังคมโลก

รอยละ 90

รอยละ 90

รอยละ 90

รอยละ 90

รอยละ 95

รอยละ 95

รอยละ 95

รอยละ 95

รอยละ 100

รอยละ 100

รอยละ 100

รอยละ 100

Page 43: บทที่1 สภาพป จจุบันของโรงเรียน - MNSnew).pdf · 2014-03-11 · พันธกิจที่4 นํากระบวนการคิดสู

วัตถุประสงคเชิงกลยุทธ วิธีการและกิจกรรม ตัวชี้วัดความสําเร็จ เปาหมาย2556 2557 2558

5. รวมกันรับผิดชอบตอสังคมโลก

9. โครงการพัฒนาระบบการดูแลชวยเหลือนักเรียน

9.1 โครงการเยี่ยมบานนักเรียน

9.2 โครงการจัดกิจกรรมแกไขคุณลักษณะที่ไมพึงประสงค

9.3 โครงการจัดทุนปจจัยพื้นฐานเปนคาพาหนะ คาอาหารและอุปกรณการเรียน

9.4 โครงการแนะแนวและการสงตอ

9.5 โครงการประชุมผูปกครองชั้นเรียน

9. รอยละของครูที่ปฏิบัติงานตามระบบการดูแลชวยเหลือนักเรียน

9.1 รอยละของครูที่เยี่ยมบานนักเรียน

9.2 รอยละของนักเรียนที่แกไขคุณลักษณะที่ไมพึงประสงค

9.3 รอยละของนักเรียนที่ได รับทุนป จจั ยพื้ นฐานเปนค าพาหนะ คาอาหารและอุปกรณการเรียน

9.4 รอยละของนักเรียนที่สงฝายการแนะแนวและการสงตอ

9.5 รอยละของผูปกครองที่มาประชุมผูปกครองชั้นเรียน

รอยละ 90

รอยละ 90

รอยละ 90

รอยละ 90

รอยละ 90

รอยละ 90

รอยละ 95

รอยละ 95

รอยละ 95

รอยละ 95

รอยละ 95

รอยละ 95

รอยละ 100

รอยละ 100

รอยละ 100

รอยละ 100

รอยละ 100

รอยละ 100

Page 44: บทที่1 สภาพป จจุบันของโรงเรียน - MNSnew).pdf · 2014-03-11 · พันธกิจที่4 นํากระบวนการคิดสู

กลยุทธท่ี 2 พัฒนาระบบการดูแลชวยเหลือนักเรียน

วัตถุประสงคเชิงกลยุทธ วิธีการและกิจกรรม ตัวชี้วัดความสําเร็จ เปาหมาย2556 2557 2558

1. เพ่ือพัฒนารูปแบบการบริหารระบบดูแลชวยเหลือนักเรียน

1.1 โรงเรียนพัฒนารูปแบบการพัฒนาระบบดูแลชวยเหลือนักเรียน

1.1 โรงเรียนมีรูปแบบการพัฒนาระบบดูแลชวยเหลือนักเรียน

1 รูปแบบ 1 รูปแบบ 1 รูปแบบ

2. เพ่ือใหครูและบุคลากรทางการศึกษาดําเนินงานตามระบบการดูแลชวยเหลือนักเรียน

2.1 ประชุมชี้แจงแนวทางในการปฏิบั ติ ง านและหน าที่ ของค รูตามข้ันตอนของระบบดู แลช วย เหลื อนักเรียน

2.1 รอยละของครูและบุคลากรทางการศึกษาดําเนินงานตามระบบการดูแลชวยเหลือนักเรียน

รอยละ 90 รอยละ 95 รอยละ 100

3. เพ่ือใหนักเรียนมีคุณลักษณะท่ีพึงประสงค โดยทําความดีสากล 5ประการ และคุณธรรม 8 ประการ

3.1 ศึกษาผูเรียนเปนรายบุคคล

3.2 คัดกรองนักเรียน เปนกลุมปกติกลุมเสี่ยง

3.3 เยี่ยมบานและใหความชวยเหลือ

3.4 กํากับติดตามพฤติกรรม

3.5 จัดกิจกรรมสงเสริม (โฮมรูม /แนะแนว /ทักษะชีวิต /ประชุมผูปกครองช้ันเรียน)

3.1 รอยละของครูที่ปรึกษาที่ศึกษาผูเรียนเปนรายบุคคล3.2 รอยละของครูที่ปรึกษาที่คัดกรองนักเรียน เปนกลุมปกติกลุมเสี่ยง3.3 รอยละของจํานวนนักเรียนที่ครูเยี่ยมบานและใหความชวยเหลือ3.4 รอยละของนักเรียนท่ีมีพฤติกรรมดีข้ึน3.5 รอยละของครูท่ีจัดกิจกรรมสงเสริม (โฮมรมู /แนะแนว /ทักษะชีวิต /ประชุมผูปกครองช้ันเรียน)

รอยละ 90

รอยละ 90

รอยละ 90

รอยละ 90

รอยละ 95

รอยละ 95

รอยละ 95

รอยละ 95

รอยละ 100

รอยละ 100

รอยละ 100

รอยละ 100

Page 45: บทที่1 สภาพป จจุบันของโรงเรียน - MNSnew).pdf · 2014-03-11 · พันธกิจที่4 นํากระบวนการคิดสู

วัตถุประสงคเชิงกลยุทธ วิธีการและกิจกรรม ตัวชี้วัดความสําเร็จ เปาหมาย2556 2557 2558

3.6 จัดกิจกรรมปองกันและแกไขปญหา

3.7 ประเมินผล3.8 รายงานผลดําเนนิงานตามระบบการดูแลชวยเหลือนักเรียน

3.6 รอยละของครูทีจ่ัดกิจกรรมปองกันและแกไขปญหา

3.7 รอยละของครูที่ประเมินผล3.8 รอยละของครูที่รายงานผลดํา เนินงานตามระบบการดูแลชวยเหลือนักเรียน

รอยละ 90

รอยละ 90รอยละ 90

รอยละ 95

รอยละ 95รอยละ 95

รอยละ 100

รอยละ 100รอยละ 100

กลยุทธท่ี 3 พัฒนาหลักสูตรและระบบการเรียนรูโดยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

วัตถุประสงคเชิงกลยุทธ วิธีการและกิจกรรม ตัวชี้วัดความสําเร็จ เปาหมาย2556 2557 2558

1. โ ร ง เ รี ย น จั ด ห ลั ก สู ต รท า ง เ ลื อ ก ที่ เ ที ย บ เ คี ย ง กั บหลักสูตรมาตรฐานสากลหรือหลักสูตรความเปนเลิศเฉพาะทาง

1. จัดหลักสูตรทางเลือกที่เทียบเคียงกับหลักสูตรมาตรฐานสากลหรือหลักสูตรความเปนเลิศเฉพาะทาง

1. มีหลักสูตรทางเลือกที่เทียบเคียงกับหลักสูตรมาตรฐานสากลหรือหลักสูตรความเปนเลิศเฉพาะทาง

อ ย า ง น อ ย1 หลักสูตร คือE.P. และวิทย-คณิต(S.M.P.)

อ ย า ง น อ ย1 หลักสูตร คือคอมพิวเตอร(C.P.) และการกีฬา(S.P.)

อ ย า ง น อ ย1 หลักสูตร คือภาษาจนี(CH.P.)

2. โ ร ง เ รี ยนจั ดหลั กสู ต รที่สงเสริมความเปนเลิศตอบสนองตอความถนัดและศักยภาพตามความตองการของผูเรียน

2. จัดหลักสูตรที่สงเสริมความเปนเลิศตอบสนองตอความถนัดและศักยภาพตามความตองการของผูเรียน

2. รอยละของจํานวนนักเรียนที่เลือกวิชาสาระเพิ่มเติมตามความสนใจและความถนัดภาคเรียนละ 1รายวิชา

เป ดหลั กสู ต รวิชาเพิ่มเติมทุกกลุมสาระทุกระดับชั้น

เปดหลักสูตรวิชาเพิ่มเติมทุกกลุมสาระทุกระดับชั้น

เ ป ด ห ลั ก สู ต รวิชาเพิ่มเติมทุกกลุมสาระทุกระดับชั้น

Page 46: บทที่1 สภาพป จจุบันของโรงเรียน - MNSnew).pdf · 2014-03-11 · พันธกิจที่4 นํากระบวนการคิดสู

วัตถุประสงคเชิงกลยุทธ วิธีการและกิจกรรม ตัวชี้วัดความสําเร็จ เปาหมาย2556 2557 2558

3. โรงเรียนจัดการเรียนการส อ น ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รูคณิตศาสตรและวิทยาศาสตรดวยภาษาอังกฤษ

3. จัดการเรียนการสอนสาระการเรียนรูคณิ ต ศ า สต ร แ ล ะ วิ ท ย า ศ า สต ร ด ว ยภาษาอังกฤษ

3. รอยละของนักเรียนที่เรียนคณิตศาสตรและวิทยาศาสตรดวยภาษาอังกฤษ

เปดหลักสูตรEIS

เปดหลักสูตรEIS

เปดหลักสูตรEIS

4. ปรับลดเนื้อหาเพิ่มความเข มข นของ 1) เนื้ อหาห รือกิจกรรมสูมาตรฐานสากล 2)เนื้อกิจกรรมสูสาระการเรียนรูที่สงเสริมความเปนเลิศ

4. ปรับลดเนื้อหาเพิ่มความเขมขนของ 1)เนื้อหาหรือกิจกรรมสูมาตรฐานสากล2) เนื้อหากิจกรรมสูสาระการเรียนรูที่สงเสริมความเปนเลิศ

4. รอยละของรายวิชาที่เพิ่มความเขมขนของเนื้อหาหรือกิจกรรมสูความเปนสากลหรือสงเสริมความเปนเลิศ

รอยละ 50 รอยละ 70 รอยละ 80

5. ลดเวลาสอนเพิ่มเวลาเรียนรูดวยตนเอง ใชหนังสือตํารา สื่อที่มีคุณภาพมาตรฐานสากล และจัดการเรียนการสอนโดยพัฒนาระบบหองเรียนคุณภาพ

5. สงเสริมใหนักเรียนไดศึกษาคนควาดวยตนเอง ใชหนั งสือตํารา เรียน สื่ อ ที่มีคุณภาพมาตรฐานสากลและจัดการเรียนการสอนโดยใชระบบหองเรียนคุณภาพ

5. ร อยละของค รูที่ ส ง เ ส ริม ใหนักเรียนไดศึกษาคนควาดวยตนเองใช หนั ง สื อตํ า ร า เ รี ยน สื่ อ ที่ มีคุณภาพมาตรฐานสากลและจัดการเรียนการสอนโดยใชระบบหองเรียนคุณภาพ

รอยละ 50 รอยละ 70 รอยละ 90

6. โรงเรียนใชระบบการวัดและประเมินผลแบบมาตรฐานสากลโ ด ย ป ร ะ เ มิ น จ า ก ก า ร ส อ บขอเขียน สอบปากเปลา สอบสัมภาษณ และสามารถโอนผลการเรียนกับสถานศึกษาระดับตางๆทั้งในและตางประเทศ

6. ใชระบบการวัดและประเมินผลแบบมาตรฐานสากลโดยประเมินจากการสอบขอเขียน สอบปากเปลา สอบสัมภาษณแ ล ะ ส า ม า ร ถ โ อ น ผ ล ก า ร เ รี ย น กั บส ถ า น ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ ต า ง ๆ ทั้ ง ใ น แ ล ะตางประเทศ

6. รอยละของครูที่ใชระบบการวัดแ ล ะ ป ร ะ เ มิ น ผ ล แ บ บมาตรฐานสากลโดยประเมินจากการสอบขอเขียน สอบปากเปลาสอบสัมภาษณ และสามารถโอนผลการเรียนกับสถานศึกษาระดับตางๆทั้งในและตางประเทศ

รอยละ 50 รอยละ 70 รอยละ 90

Page 47: บทที่1 สภาพป จจุบันของโรงเรียน - MNSnew).pdf · 2014-03-11 · พันธกิจที่4 นํากระบวนการคิดสู

กลยุทธท่ี 4 สรางจิตสํานึกพลเมือง

วัตถุประสงคเชิงกลยุทธ วิธีการและกิจกรรม ตัวชี้วัดความสําเร็จ เปาหมาย2556 2557 2558

1. เพื่อใหครูมีจิตสํานึกในการปฏิบัติงานตามระบบจัดการเรียนรู ระบบการดูแลชวยเหลอืนักเรียน ระบบกิจกรรมผูเรียน

1.1 ประชุมชี้แจงใหครูมีความรูความเขาใจในระบบจดัการเรียนรู ระบบการดูแลชวยเหลือนักเรียน และระบบกิจกรรมพัฒนาผูเรียน

1.1 รอยละของครูมีความรูความเขาใจในระบบจัดการเรียนรู ระบบการดูแลชวยเหลือนักเรียน และระบบกิจกรรมพัฒนาผูเรียน

รอยละ 90 รอยละ 97 รอยละ 99

2. เพื่อใหครูมีจิตสํานึกในการปฏิบัติงานตามโครงสรางการบริหารและระบบสนับสนนุ

2.1 ประชุมชี้แจงแนวปฏิบตัิงานตามโครงสรางการบริหารและระบบสนับสนนุ

2.1 รอยละของครูปฏิบัติงานตามโครงสรางการบริหารและระบบสนับสนนุ

รอยละ 90 รอยละ 97 รอยละ 99

3. เพื่อใหนักเรียนมีจิตสํานึกในการมีระเบียบวินยัและความรับผิดชอบ

3.1 จัดโครงการสรางจิตสาํนึกในการมีระเบยีบวินยัและความรับผิดชอบ

3.1 รอยละความพึงพอใจตอโครงการสรางจิตสํานึกในการมีระเบียบวินยัและความรับผิดชอบ

รอยละ 75 รอยละ 80 รอยละ 85

4. เพื่อใหนักเรียนมีจิตสํานึกในการรักษาความสะอาด

4.1 จัดโครงการสรางจิตสาํนึกในการรักษาความสะอาด

4.1 1 รอยละความพึงพอใจตอจัดโครงการสรางจิตสํานึกในการรักษาความสะอาด

รอยละ 75 รอยละ 80 รอยละ 85

5. เพื่อใหนักเรียนมีจิตสํานึกในการใฝเรียนรู

5.1 จัดโครงการสรางมีจิตสาํนึกในการใฝเรียนรูดวยระบบ Coaching

5.1 รอยละความพึงพอใจตอโครงการสรางมีจิตสํานึกในการใฝเรียนรูดวยระบบ Coaching

รอยละ 75 รอยละ 80 รอยละ 85

6. เพื่อใหนักเรียนมีจิตสํานึกในการลดโลกรอนดวยวิถีพอเพียง

6.1 จัดโครงการสรางจิตสาํนึกในการลดโลกรอนดวยวิถีพอเพียง

6.1 รอยละความพึงพอใจตอโครงการสรางจิตสํานึกในการลดโลกรอนดวยวิถีพอเพียง

รอยละ 75 รอยละ 80 รอยละ 85

7. เพื่อใหนักเรียนมีจิตสํานึกในประหยัดพลังงาน

7.1 จัดโครงการสรางจิตสาํนึกในการประหยัดพลังงาน

7.1 จัดโครงการสรางจิตสาํนึกในการประหยัดพลังงาน

รอยละ 75 รอยละ 80 รอยละ 85

Page 48: บทที่1 สภาพป จจุบันของโรงเรียน - MNSnew).pdf · 2014-03-11 · พันธกิจที่4 นํากระบวนการคิดสู

กลยุทธท่ี 5 สรางเครือขายรวมพัฒนาและการสงเสริมสมรรถนะผูเรียน

วัตถุประสงคเชิงกลยุทธ วิธีการและกิจกรรม ตัวชี้วัดความสําเร็จ เปาหมาย2556 2557 2558

1.โรงเรียนสรางเครือขายรวมพั ฒ น า ข อ ง โ ร ง เ รี ย นมาตรฐานสากล

2.จั ด กิ จ ก ร ร ม แ ล ก เ ป ลี่ ย นประสบการณระหวางโรงเรียนเครือขายมาตรฐานสากล

1.1.สรางเครือขายรวมพัฒนาทั้งระดับทองถ่ินระดับภูมิภาคระดับประเทศและตางประเทศ1.2.จัดกิจกรรมศึกษาดูงานกับโรงเรียนเครือขายในระดับภูมิภาค ระดับประเทศและระหวางประเทศ2.1.จัดกิจกรรมการเรียนรูแลกเปลี่ยนประสบการณทรัพยากรและภูมิปญญาระหวางเครือขายโรงเรียนรวมพัฒนา2.2.จั ด กิจกรรมให ค รูและนั ก เ รี ยนแลกเปลี่ยนเรียนรูกับบุคคลอ่ืนทั้งในและตางประเทศ

1.1 จํ า น ว น ข อ ง โ ร ง เ รี ย น ที่ มีเ ค รื อข า ย ร ว มพัฒนาทั้ ง ร ะดั บทองถ่ินระดับภูมิภาคระดับประเทศและตางประเทศ1.2 จํานวนของสถาบันอุดมศึกษาที่สนับสนุนทั้งภาครัฐและเอกชนทั้งในและตางประเทศ2.1 ร อ ย ล ะข อ ง นั ก เ รี ย น ที่ จั ดกิจกรรมการเรียนรูแลกเปลี่ยนป ร ะส บ กา รณ แ ล ะ ท รั พ ย า ก รระหวางเครือขายโรงเรียนรวมพัฒนา2.2 รอยละของนักเรียนที่จัดกิจกรรมแลกเปลี่ ยน เ รียน รู กับบุคคลอ่ืนทั้งในและตางประเทศ2.3 รอยละของครูที่จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรูกับบุคคลอ่ืนทั้งในและตางประเทศ

3

2

รอยละ 80

รอยละ 80

รอยละ 80

4

2

รอยละ 82

รอยละ 83

รอยละ 83

5

2

รอยละ 85

รอยละ 85

รอยละ 85

Page 49: บทที่1 สภาพป จจุบันของโรงเรียน - MNSnew).pdf · 2014-03-11 · พันธกิจที่4 นํากระบวนการคิดสู

วัตถุประสงคเชิงกลยุทธ วิธีการและกิจกรรม ตัวชี้วัดความสําเร็จ เปาหมาย2556 2557 2558

3. จัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียน 3.1 จัดกิจกรรมแนะแนว/ทักษะชีวิต/เพื่อสังคมและสาธารณประโยชน

3.2 จัดกิจกรรมในเคร่ืองแบบ เชนลูกเสือ-เนตนารี ยุวกาชาด ผูบําเพ็ญประโยชน นักศึกษาวิชาทหาร

3.3 จัดกิจกรรมชุมนุม/ชมรมตาง ๆ

3.4 โครงการทัศนศึกษาของนักเรียน

3.5 โครงการแขงขันกีฬาภายในและกีฬากลุม กีฬาอําเภอ กีฬาเขตและกีฬาจังหวัด3.6 โครงการเขาคายสงเสริมความเปนเลิศทางวิชาการและแกไขขอบกพรองนักเรียน3.7 โครงการจัดกิจกรรมวันสําคัญของชาติ ศาสนาและพระมหากษัตริย

1. รอยละของนักเรียนที่ผานกิจกรรมแนะแนว/ทักษะชีวิต/เพื่อสังคมและสาธารณประโยชน2. รอยละของนักเรียนที่ผานกิจกรรม ลูก เสือ-เนตนารี ยุ วก า ช า ด ผู บํ า เ พ็ ญป ร ะ โ ย ช นนักศึกษาวิชาทหาร3 รอยละของนักเรียนที่ผานกิจกรรมชุมนุม/ชมรมตาง ๆ4. รอยละของนักเรียนที่ไปรวมทัศนศึกษา5. รอยละของนักเรียนที่รวมกิจกรรมแขงขันกีฬาภายในและกีฬากลุมเครือขาย6. รอยละของนักเรียนที่เขาคายสงเสริมความเปนเลิศทางวิชาการและแกไขขอบกพรองนักเรียน7. รอยละของนักเรียนที่รวมกิจกรรมวันสําคัญของชาติ ศาสนาและพระมหากษัตริย

รอยละ 100

รอยละ 100

รอยละ 100

รอยละ 100

รอยละ 100

รอยละ 100

รอยละ 100

รอยละ 100

รอยละ 100

รอยละ 100

รอยละ 100

รอยละ 100

รอยละ 100

รอยละ 100

รอยละ 100

รอยละ 100

รอยละ 100

รอยละ 100

รอยละ 100

รอยละ 100

รอยละ 100

Page 50: บทที่1 สภาพป จจุบันของโรงเรียน - MNSnew).pdf · 2014-03-11 · พันธกิจที่4 นํากระบวนการคิดสู

กลยุทธท่ี 6 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา

วัตถุประสงคเชิงกลยุทธ วิธีการและกิจกรรม ตัวชี้วัดความสําเร็จ เปาหมาย2556 2557 2558

1. เพื่ อใหผู บ ริหารมีภาวะผู นํ าวิ สั ยทั ศนด านบ ริการการ ใช สื่ อเทคโนโลยีการไดอยาจัดการและการสื่อสารไดอยางมีคุณภาพ

1. ฝกอบรม

2. ศึกษาดูงาน

3. จัดประชุมเครือขายแลกเปลี่ยนเรียนรู

4. อบรมการใชภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสําหรับผูบริหาร

1. รอยละของผูบริหารที่ผานการอบรม

2. รอยละของผูบริหารที่ผานการศึกษาดูงาน

3. จํานวนคร้ังในการจัดประชุมเครือขายแลกเปลี่ยนเรียนรู

4. รอยละของผูบริหารที่สามารถใชภาษาในการสื่อสาร

รอยละ 100

รอยละ 60

1 คร้ัง

รอยละ 100

รอยละ 70

2 คร้ัง

รอยละ 100

รอยละ 80

2 คร้ัง

2. เพื่อใหครูมีความเชี่ยวชาญในการสื่อการใชภาษาในการสื่อสารการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู

1. ฝกอบรม2. ศึกษาดูงาน3. จัดประชุมเครือขายแลกเปลีย่น

เรียนรู4. อบรมการใชภาษาอังกฤษเพื่อการ

สื่อสารสําหรับครู

1. รอยละของครูมีความเชี่ยวชาญในการใชสื่อ

2. รอยละของครูมีความเชี่ยวชาญในการใชภาษาเพื่อการสื่อสาร

3. รอยละของครูมีผลงานการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู

รอยละ 60

รอยละ 60

รอยละ 50

รอยละ 75

รอยละ 75

รอยละ 75

รอยละ 80

รอยละ 80

รอยละ 903. เพื่อใหครูพัฒนาตนเองทางดานวิชาการและวิชาชีพ

1. สงครูไปอบรมประชุม สัมมนานอกสถานศึกษาอยางนอยปละ

10 ชั่วโมง2. จัดอบรมสัมมนาครูและบุคลากร

ภายในสถานศึกษาอยางนอยปละ10 ชั่วโมง

1. จํานวนชั่วโมงที่ครูไปอบรมป ร ะ ชุ ม สั ม ม น า ภ า ย น อ กสถานศึกษา2. จํานวนชั่วโมงที่ครูอบรมสัมมนาภายในสถานศึกษา

10 ชั่วโมง

10 ชั่วโมง

10 ชั่วโมง

10 ชั่วโมง

10 ชั่วโมง

10 ชั่วโมง

Page 51: บทที่1 สภาพป จจุบันของโรงเรียน - MNSnew).pdf · 2014-03-11 · พันธกิจที่4 นํากระบวนการคิดสู

กลยุทธท่ี 7 พัฒนาระบบบริหารคุณภาพและเทคโนโลยี

วัตถุประสงคเชิงกลยุทธ วิธีการและกิจกรรม ตัวชี้วัดความสําเร็จ เปาหมาย2556 2557 2558

1. โ รง เ รี ยนมีหลั กสู ตรของสถานศึกษาที่หลากหลาย

1. จัดระบบหองเรียนคุณภาพ1.1 โครงการหองเรียนพิเศษ

ดานภาษา

1.2 โครงการพิ เศษวิทยาศาสตร-คณิตศาสตรและเทคโนโลยี

1.3 โครงการสงเสริมการใชภาษาตางประเทศที่ 2 เพื่อการสื่อสาร2. ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร

2.1 ปรับโครงสรางเวลาเรียน

2.2 ปรับตําราเรียน และสื่อที่มีคุณภาพสูมาตรฐานสากล

2.3 ปรับปรุงระเบียบการวัดและประเมินผลมาตรฐานสากลและสามารถเทียบเคียงผลการเ รี ยน กับสถานศึ กษาทั้ ง ใ นประเทศและตางประเทศ

1.1.มีหลักสูตรหองเรียนพิเศษดานภาษาEnglish Program (E.P.) หรือMini English Program (M.E.P.)1.2.มีหลักสูตรหองเ รียนพิ เศษดานวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร (SMP.) และดานเทคโนโลยี (ICT.P.)1.3. โรงเรียนเปดสอนภาษาตางประเทศที่ 2 เพื่อการสื่อสาร

2.1 มีการปรับโครงสรางหลักสูตร

2.2 มีการปรับตําราเรียน และสื่อที่มีคุณภาพสูมาตรฐานสากล2.3 มีการปรับปรุงระเบียบการวัดและประเมินผลมาตรฐานสากลและสามารถเทียบเคียงผลการเรียนกับสถานศึกษาทั้งในประเทศและตางประเทศ

1 หองเรียน

3 หองเรียน

3 หองเรียน2 ภาษา

ปละ 1 คร้ัง

-

-

3 หองเรียน

3 หองเรียน

3 หองเรียน2 ภาษา

ปละ 1 คร้ัง

-

-

4 หองเรียน

3 หองเรียน

3 หองเรียน2 ภาษา

ปละ 1 คร้ัง

ปละ 1 คร้ัง

ปละ 1 คร้ัง

Page 52: บทที่1 สภาพป จจุบันของโรงเรียน - MNSnew).pdf · 2014-03-11 · พันธกิจที่4 นํากระบวนการคิดสู

วัตถุประสงคเชิงกลยุทธ วิธีการและกิจกรรม ตัวชี้วัดความสําเร็จ เปาหมาย2556 2557 2558

2. พัฒนาระบบบริหารจัดการ 3 พัฒนาระบบคุณภาพเพื่อร อ ง รั บ ก า ร ป ร ะ เ มิ น จ า กSchool Quality Awards(SCQA) Obec QualityAwards และ ThailandQuality Awards (TQA)

2. จัดระบบการจัดการความรู(KM) และการสรางนวัตกรรมเผ ยแพร ทั้ ง ใ นประ เทศและตางประเทศ3. สงเสริมการจัดทํา (BestPractice) วิธีปฏิบัติที่เปนเลิศ4. จัดใหมีการแลกเปลี่ยนเรียนรูทั้งในประเทศและตางประเทศ5. การบริหารจัดการบุคลากร

5.1 มีการบริหารดานบุคลากรอยางมีอิสระและคลองตัว

5.2 จัดสรรบุคลากรตามความตองการของโรงเรียน6. จัดทําโครงการระดมทรัพยากรเพื่อการจัดการศึกษา

1. รอยละของการประเมินมาตรฐานระดับชาติหรือระดับนานาชาติในระดับดีมาก

2. รอยละของการเผยแพรนวัตกรรมทั้งในประเทศและตางประเทศ

3. รองละของบุคลากรที่สามารถนําวิธีปฏิบัติที่เปนเลิศในโรงเรียน4. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรูในประเทศและตางประเทศ ปละ 2 คร้ัง5. รอยละของครูที่สอน

5.1 รอยละของครูที่สอนตรงตามวิชาเอก

6. รอยละของผูปกครองที่ เขารวมโครงการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา

รอยละ 80

รอยละ 20

รอยละ 20

2 คร้ัง

รอยละ 95

รอยละ 10

รอยละ 80

รอยละ 90

รอยละ 40

รอยละ 30

2 คร้ัง

รอยละ 100

รอยละ 10

รอยละ 90

รอยละ 100

รอยละ 50

รอยละ 50

2 คร้ัง

รอยละ 100

รอยละ 10

รอยละ 90

Page 53: บทที่1 สภาพป จจุบันของโรงเรียน - MNSnew).pdf · 2014-03-11 · พันธกิจที่4 นํากระบวนการคิดสู

วัตถุประสงคเชิงกลยุทธ วิธีการและกิจกรรม ตัวชี้วัดความสําเร็จ เปาหมาย2556 2557 2558

1. จัดชั้นเรียนหองเรียนคุณภาพจํานวนนักเรียนตอหองเรียนไมเกิน 40 คน2. จํานวนคาบสอนของครูตอสัปดาห3. จัดใหมีตําราเรียน หนังสือที่มีคุณภาพระดับมาตรฐานสากล

4. จัดใหมีคอมพิวเตอรพกพาสํ า ห รั บนั ก เ รี ยนห อ ง เ รี ย นคุณภาพ

1. รอยละของจํานวนหองเรียนคุณภาพที่มีนักเรียนไมเกิน 40 คนตอหองเรียน

2. รอยละของครูที่มีคาบสอนตอสัปดาหไมเกิน 20 คาบตอสัปดาห3. รอยละของตําราเรียน หนังสือเรียนที่มีคุณภาพระดับมาตรฐานสากลวิชาวิทยาศาสตร คณิตศาสตรภาษาตางประเทศที่ 24. รอยละของนักเรียนหองเรียนคุณภาพที่มีคอมพิวเตอรพกพา

รอยละ 40

รอยละ 100

รอยละ 50

รอยละ 100

รอยละ 50

รอยละ 100

รอยละ 60

รอยละ 100

รอยละ 60

รอยละ 100

รอยละ 70

รอยละ 100

Page 54: บทที่1 สภาพป จจุบันของโรงเรียน - MNSnew).pdf · 2014-03-11 · พันธกิจที่4 นํากระบวนการคิดสู

วัตถุประสงคเชิงกลยุทธ วิธีการและกิจกรรม ตัวชี้วัดความสําเร็จ เปาหมาย2556 2557 2558

3. พัฒนาปจจัยพื้นฐานของโรงเรียน

5. มีเครือขายอินเทอรเน็ตความเร็วสูงครอบคลุมพื้นที่ของโรงเรียน6. จัดใหมีหองเรียนe-Classroom หองทดลองหองปฏิบัติการและมีอุปกรณที่ทันสมัยทีพ่อเพียง7. จัดใหมีศูนยวิทยบริการ

5. รอยละของพื้นที่ที่มี เครือขายอินเทอรเน็ตความเร็วสูง

6. จํานวนหองเรียน e-Classroomหองทดลอง และหองปฏิบัติการ7. จํานวนศูนยวิทยบริการ (Resourcecenter)

รอยละ 80

20 หองเรียน

8 ศูนย

รอยละ 90

36 หองเรียน

12 ศูนย

รอยละ 100

48 หองเรียน

16 ศูนย4. เพื่อใหมีเครือขายรวมพัฒนาการศึกษา

1. สรางเครือขายรวมพัฒนาทั้งในระดับทองถ่ิน ระดับภูมิภาคระดับประเทศ และระหวางประเทศ2. จัดกิจกรรมการและเปลี่ยนเรียนรูแลกเปลี่ยนประสบการณและทรัพยากรระหวางเครือขายรวมพัฒนา

1. จํานวนโรงเรียนที่เปนเครือขายรวมพัฒนาในระดับทองถ่ิน ระดับภูมิภาคระดับประเทศ และระหวางประเทศ2. จํานวนคร้ังในการจัดกิจกรรมตอป

10 แหง

1 คร้ัง

20 แหง

1 คร้ัง

30 แหง

1 คร้ัง

Page 55: บทที่1 สภาพป จจุบันของโรงเรียน - MNSnew).pdf · 2014-03-11 · พันธกิจที่4 นํากระบวนการคิดสู

วัตถุประสงคเชิงกลยุทธ วิธีการและกิจกรรม ตัวชี้วัดความสําเร็จเปาหมาย

2556 2557 25585. โรงเรียนมีบรรยากาศเอ้ือ

ตอการเรียนรู1. จัดหาสื่อหนังสือคนควาประจําหองสมุดกลางและหองสมุดกลุมสาระใหเพียงพอกับจํานวนนักเรียน2. จัดหาคอมพิวเตอรสําหรับการเรียนการสอนและบริการอินเตอรเน็ตใหเพียงพอกับจํานวนนักเรียน3. จัดหาคอมพิวเตอรสําหรับบริหารและบริการให เพียงพอกับครูและบุคลากร

4. ปรับปรุงอาคารสถานที่และหองเรียนใหมาตรฐานและมีคุณภาพ

1. จํานวนหนังสือคนควาตอจํานวนจํานวนนักเรียน

2. จํานวนคอมพิวเตอรตอจํานวนนักเรียน

3. จํานวนคอมพิวเตอรสําหรับบริหารตอจํานวนครูและบุคลากร

4. มีหองเรียนคุณภาพทุกกลุมสาระและมีบรรยากาศทางกายภาพและทางวิชาการที่เอ้ือตอการเรียนรู

1 : 50

1 : 15

1 : 15

16 หอง

1 : 30

1 : 10

1 : 10

24 หอง

1 : 20

1 : 5

1 : 5

32 หอง

Page 56: บทที่1 สภาพป จจุบันของโรงเรียน - MNSnew).pdf · 2014-03-11 · พันธกิจที่4 นํากระบวนการคิดสู

บทที่ 6โครงการสนับสนุนกลยุทธของโรงเรียน

งาน / โครงการท่ีสนองกลยุทธกลยุทธท่ี 1 พัฒนาคุณภาพผูเรียนสูมาตรฐานสากล โรงเรียนไดดําเนินการจัดกิจกรรม/

โครงการ ดังนี้1.1 เปนเลิศทางวิชาการ โรงเรียนไดดําเนินการจัดกิจกรรม/โครงการ ดังนี้

1) โครงการวันวิชาการ”เมืองปริทรรศน” เพ่ือดํารงสภาพโรงเรียนตนแบบในฝน2) โครงการแขงขันทักษะทางวิชาการงานมัธยมศึกษาระดับเขต3) โครงการประกวดแขงขัน ศิลปะ ดนตรีและกีฬาภายในโรงเรียน4) โครงการประกวดรองเพลงและวงดนตรี5) โครงการยกระดับผลสอบ O-NET 8 กลุมสาระการเรียนรู6) โครงการพัฒนาทักษะการคิดสูความเปนเลิศ7) โครงการแขงขันทักษะทางวิชาการงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับภาค/

ระดับชาติ8)9) โครงการสัปดาหวันวิทยาศาสตรแหงชาติ10) โครงการสอบแข ง ขันวั ดแววอัจฉริยะวิชาวิทยาศาสตร คณิตศาสตร

ภาษาอังกฤษและคอมพิวเตอร ระดับประถมศึกษา11) โครงการสงเสริมอัจฉริยภาพดานกีฬา12) โครงการแขงขันกรีฑาสูความเปนเลิศ13) โครงการพัฒนาคุณภาพผูเรียนสูความเปนเลิศ14) โครงการหนังสือเรียน15) โครงการแขงขันทักษะเทคโนโลยีคอมพิวเตอรของกลุมโรงเรียนผูนํา 46ICT16) โครงการเรียนปรับพ้ืนบาน ม.1 และ 417) งานวัดผลการศึกษา

1.2 สื่อสารไดสองภาษา โรงเรียนไดดําเนินการจัดกิจกรรม/โครงการ ดังนี้1) โครงการเขาคายภาษาอังกฤษ (ENGLISH CAMP)2) โครงการพานักเรียนทัศนศึกษาดูงานภายในประเทศ3) โครงการเสียงตามสายดวยภาษาตางประเทศ4) โครงการนําเสนอโครงงานดวยภาษาอังกฤษ5) โครงการคลินิกภาษาตางประเทศ

1.3 ล้ําหนาทางความคิด ผลิตงานอยางสรางสรรค โรงเรียนไดดําเนินการจัดกิจกรรม/โครงการ ดังนี้

1) โครงการนําเสนอโครงงานนักเรียนดวยความเรียงข้ันสูง2) โครงการเขาคายพัฒนาโครงงานท่ีผานประเมินระดับดีเดน3) โครงการประกวดผลงานนักเรียน

Page 57: บทที่1 สภาพป จจุบันของโรงเรียน - MNSnew).pdf · 2014-03-11 · พันธกิจที่4 นํากระบวนการคิดสู

4) โครงการหนึ่งคนหนึ่งงาน1) โครงการจัดการเรียนรูแบบโครงงาน2) โครงการปลูกผักสวนครัวท่ัวเมืองคอน3) โครงการสงเสริมอาชีพอิสระเพ่ือการมีรายไดระหวางเรียน4) โครงการจัดตั้งบริษัทจําลอง5) โครงการจัดแสดงและนําเสนอโครงงานนักเรียน6) โครงการนํากระบวนการคิดและการวิจัยสูหองเรียน7) โครงการจัดทําหลักสูตรบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงและภูมิปญญาทองถ่ิน8) โครงการบริหารและจัดการเรียนรูบูรณาการสูการปฏิบัติโครงงานเศรษฐกิจ

พอเพียงและภูมิปญญาทองถ่ิน9) โครงการฝกทักษะอาชีพ

กลยุทธท่ี 2 พัฒนาระบบการดูแลชวยเหลือนักเรียน โรงเรียนไดดําเนินการจัดกิจกรรม/โครงการ ดังนี้

1) โครงการบานกับโรงเรียน2) โครงการพัฒนาระบบดูแลชวยเหลือนักเรียน3) โครงการปฐมนิเทศนักเรียนใหม4) โครงการพัฒนาทักษะชีวิตสูภัยยาเสพติด5) โครงการเยี่ยมบานเฝาระวังพฤติกรรมเบี่ยงเบน6) โครงการเขาคายปรับพฤติกรรม7) โครงการจัดกิจกรรมแกไขคุณลักษณะท่ีไมพึงประสงค8) โครงการจัดทุนปจจัยพ้ืนฐานเปนคาพาหนะคาอาหารและอุปกรณการเรียน9) โครงการแนะแนวและการสงตอ10) โครงการประชุมผูปกครองชั้นเรียน11) งานประกันอุบัติเหตุ12) โครงการสวัสดิการนักเรียน13) โครงการจัดหาเครื่องแบบนักเรียนตามนโยบายเรียนฟรี 15 ปอยางมีคุณภาพ14) โครงการอุปกรณการเรียนตามนโยบายเรียนฟรี 15 ปอยางมีคุณภาพกลยุทธท่ี 3 พัฒนาหลักสูตรและระบบการเรียนรูโดยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

โรงเรียนไดดําเนินการจัดกิจกรรม/โครงการ ดังนี้1) โครงการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาและหลักสูตรปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง2) โครงการพัฒนาระบบการเรียนรู 8 กลุมสาระการเรียนรู5) โครงการปรับปรุงและพัฒนาแหลงเรียนรู7) โครงการนํากระบวนการคิดและกระบวนการวิจัยสูหองเรียน8) โครงการวิจัยในชั้นเรียน9) โครงการพัฒนาเทคนิคการสอน10) โครงการพัฒนาสื่อและเอกสารประกอบสอน11) โครงการจัดหาหนังสือเรียนตามนโยบายเรียนฟรี 15 ปอยางมีคุณภาพ

Page 58: บทที่1 สภาพป จจุบันของโรงเรียน - MNSnew).pdf · 2014-03-11 · พันธกิจที่4 นํากระบวนการคิดสู

กลยุทธท่ี 4 สรางจิตสํานึกพลเมือง โรงเรียนไดดําเนินการจัดกิจกรรม/โครงการ ดังนี้4.1 นักเรียนรับผิดชอบและมีวินัย โรงเรียนไดดําเนินการจัดกิจกรรม/โครงการ ดังนี้

1) โครงการเขาคายอบรมคุณธรรม “5 หองชีวิต”นักเรียน ม.1 และ 42) โครงการคายคุณธรรมนักเรียน ม.2 และ ม.53) โครงการคายคุณธรรมนักเรียน ม.3 และ ม.64) โครงการอบรมทักษะชีวิตนักเรียนในโรงเรียน ทุกระดับชั้นสัปดาหละ 1 ชั่วโมง5) โครงการพานักเรียนไปวัด โดยใหนักเรียน ม.2,3 และ ม.4,5 ไปวัดอยางนอยภาค

เรียนละ 1 ครั้ง6) โครงการลานบุญ ลานปญญา7) โครงการอบรมนักเรียนหนาเสาธง โดยใหนักเรียนแกนนํา กรรมการ

นักเรียนนํานักเรียนสรางวินัยและแกไขพฤติกรรม ตรวจการแตงกาย ตรวจเช็คชื่อการมาโรงเรียนระเบียบวินัยในการเขาแถว การรองเพลงชาติ เพลงประจําวนัและการสวดมนตไหวพระ การแผเมตตา

8) โครงการธนาคารขยะ ใหนักเรียนเก็บขยะมาฝากธนาคาร9) โครงการพัฒนาหองจริยธรรม10) โครงการสรางระเบียบวินัยในชั้นเรียน

4.2 นักเรียนมีนิสัยใฝเรียนรู โรงเรียนไดดําเนินการจัดกิจกรรม/โครงการ ดังนี้1) โครงการสอนซอมเสริมและคลินิคเพ่ือการเรียนรู2) โครงการสรางจิตสํานึกในการใฝเรียนรู

4.3 นักเรียนมีนิสัยรักษาความสะอาด โรงเรียนไดดําเนินการจัดกิจกรรม/โครงการ ดังนี้1) โครงการพัฒนาทักษะชีวิต โดยครูท่ีปรึกษาอบรมและนํานักเรียนปฏิบัติใน

การดูแลรักษาความสะอาดพ้ืนท่ีเพ่ือฝกการดํารงชีวิตและรับผิดชอบรวมกัน สัปดาหละ 1 ชั่วโมง2) โครงการธนาคารขยะ ใหนักเรียนเก็บขยะมาฝากธนาคาร3) โครงการ Cleaning Day

4.4 นักเรียนมีสมาธิตั้งจิตม่ัน โรงเรียนไดดําเนินการจัดกิจกรรม/โครงการ ดังนี้1) โครงการฝกสมาธิ 5 นาทีท่ีหนาเสา2) โครงการนั่งสมาธิ 5 นาทีท่ีหองประชุมประจําสัปดาห3) โครงการนั่งสมาธิ 5 นาทีกอนเรียนวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

กลยุทธท่ี 5 สรางเครือขายรวมพัฒนาและการสงเสริมสมรรถนะผูเรียน โรงเรียนไดดําเนินการจัดกิจกรรม/โครงการ ดังนี้

5.1 โครงการเขาคายสงเสริมความเปนเลิศทางภาษาไทย5.2 โครงการเขาคายแกไขขอบกพรองทางภาษาไทย5.3 โครงการเขาคายสงเสริมความเปนเลิศทางภาษาตางประเทศ5.4 โครงการเขาคายแกไขขอบกพรองทางภาษาตางประเทศ5.5 โครงการเขาคายสงเสริมความเปนเลิศทางวิทยาศาสตร5.6 โครงการเขาคายแกไขขอบกพรองทางวิทยาศาสตร5.7 โครงการเขาคายสงเสริมความเปนเลิศทางคณิตศาสตร5.8 โครงการเขาคายแกไขขอบกพรองทางคณิตศาสตร

Page 59: บทที่1 สภาพป จจุบันของโรงเรียน - MNSnew).pdf · 2014-03-11 · พันธกิจที่4 นํากระบวนการคิดสู

5.9 โครงการเขาคายสงเสริมความเปนเลิศทางสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม5.10 โครงการเขาคายแกไขขอบกพรองทางสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม5.11 โครงการเขาคายสงเสริมความเปนเลิศทางสุขศึกษาและพลศึกษา5.12 โครงการเขาคายแกไขขอบกพรองทางสุขศึกษาและพลศึกษา5.13 โครงการเขาคายสงเสริมความเปนเลิศทางศิลปะ5.14 โครงการเขาคายแกไขขอบกพรองทางศิลปะ5.15 โครงการเขาคายสงเสริมความเปนเลิศทางการงานอาชีพและเทคโนโลยี5.16 โครงการเขาคายแกไขขอบกพรองทางการงานอาชีพและเทคโนโลยี5.17 โครงการจัดกิจกรรมสัปดาหวันภาษาไทย5.18 โครงการวันคริสตมาส5.19 โครงการจัดกิจกรรมสัปดาหวันตรุษจีน5.20 โครงการจัดกิจกรรมสัปดาหวันอาเซียน5.21 โครงการจัดกิจกรรมสัปดาหวันเขาพรรษา5.22 โครงการจัดกิจกรรมสัปดาหวันมาฆบูชา5.23 โครงการจัดกิจกรรมสัปดาหวันวิสาขบูชา5.24 โครงกาจัดกิจกรรมสัปดาหวันวิทยาศาสตร5.25 โครงการจัดกิจกรรมสัปดาหวันสุนทรภู5.26 โครงการจัดกิจกรรมสัปดาหวันแมแหงชาติ5.27 โครงการจัดกิจกรรมสัปดาหวันพอแหงชาติ5.28 โครงการจัดกิจกรรมวันสงทายปเกาตอนรับปใหม5.29 โครงการทัศนศึกษาแหลงเรียนรูภายนอกสถานศึกษา5.30 โครงการคายเตรียมความพรอมหองเรียนพิเศษ SMP5.31 โครงการคายเตรียมความพรอมหองเรียนพิเศษ EIS5.32 โครงการคายเตรียมความพรอมหองเรียนพิเศษ MEP5.33 โครงการคายเตรียมความพรอมหองเรียนพิเศษ ITCP5.34 โครงการ 1 คน 1 กีฬา5.35 โครงการแขงขันกีฬาจังหวัด5.36 โครงการแขงขันกีฬาดีวีชัน5.37 โครงการคายยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน5.38 โครงการศึกษาดงูานตางประเทศของนักเรียนหองเรียนพิเศษ5.39 โครงการศึกษาดูงานในประเทศของนักเรียนหองเรียนพิเศษ5.40 โครงการประกวดและนําเสนอผลงานโรงเรียนมาตรฐานสากล5.41 งานกิจกรรมลูกเสือ/นศท./กิจกรรมในเครื่องแบบ5.42 งานจัดกิจกรรมชุมนุม/ชมรม5.43 โครงการบริการการอาน5.44 โครงการคายรักการอาน5.45 โครงการวันปยะมหาราช

Page 60: บทที่1 สภาพป จจุบันของโรงเรียน - MNSnew).pdf · 2014-03-11 · พันธกิจที่4 นํากระบวนการคิดสู

5.46 โครงการวันวีระไทย5.47 งานสภานักเรียน/ประชาธิปไตย5.48 โครงการวันคลายวันสถาปนาโรงเรียน5.49 งานเครือขายผูปกครอง5.50 งานกิจกรรมการกุศล/อวยพรปใหมกลยุทธท่ี 6 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา โรงเรียนไดดําเนินการจัดกิจกรรม /

โครงการ ดังนี้6.1 โครงการพัฒนาครูการใชภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร6.2 โครงการพัฒนาครูการสอนโครงงานและการเขียนรายงานโครงงาน6.3 โครงการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา6.4 โครงการจางครูและบุคลากรทางการศึกษา6.5 โครงการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาหองเรียนพิเศษ6.6 โครงการสงครูไปประชุม อบรม สัมมนา6.7 โครงการจัดอบรมเทคนิคการใช ICT และ Tablet6.8 โครงการทํา MOU และศึกษาดูงานโรงเรียนในมาเลเซียและสิงคโปร6.9 โครงการทํา MOU และศึกษาดูงานโรงเรยีนในประเทศสาธารณประชาชนจีน6.10 โครงการศึกษาดูงานตางประเทศในกลุมอาเซียน(10+2+4+6)6.11 โครงการพัฒนาศักยภาพผูบริหารสูมาตรฐานสากล6.12 โครงการสวัสดิการยามรักษาการณ6.13 โครงการเลี้ยงรับรอง6.14 โครงการสวัสดิการครู-บุคลากรและครอบครัว6.15 โครงการแขงขันกีฬาประเพณีของครูและบุคลากรทางการศึกษา6.16 งานขอมูลและประวัติครู6.17 งานเครื่องราชอิสริยาภรณ6.18 โครงการปฐมนิเทศครูและบุคลากรใหม6.19 โครงการปฐมนิเทศครูและบุคลากรใหม6.20 โครงการนิเทศและติดตามผลการดําเนินงาน6.21 โครงการประเมินประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน6.22 โครงการพิจารณาความดีความชอบ6.23 โครงการจัดงานแสดงมุทิตาจิตและเกษียณอายุราชการกลยุทธท่ี 7 พัฒนาระบบบริหารคุณภาพและเทคโนโลยี โรงเรียนไดดําเนินการจัดกิจกรรม/

โครงการ ดังนี้7.1 งานบริหารสํานักงานกลุมสาระการเรียนรู/หองเรียนพิเศษ7.2 โครงการปรับปรุงและพัฒนาหองปฏิบัติการ 8 กลุมสาระการเรียนรู7.3 โครงการปรับปรุงและพัฒนาหองปฏิบัติการหองเรียนพิเศษ7.4 โครงการพัฒนาหองปฏิบัติการสนับสนุนการเรียนรู7.5 โครงการพัฒนาแผนงานและระบบสารสนเทศ 8 กลุมสาระการเรียนรู

Page 61: บทที่1 สภาพป จจุบันของโรงเรียน - MNSnew).pdf · 2014-03-11 · พันธกิจที่4 นํากระบวนการคิดสู

7.6 งานบริหารสํานักงาน 5 กลุมบริหาร7.7 โครงการพัฒนาแผนงานและระบบสารสนเทศ 5 กลุมบริหาร7.8 โครงการวิจัยและประเมินผลงานของ 5 กลุมบริหาร7.9 โครงการเชาบริการอินเตอรเน็ต7.10 โครงการนิเทศการสอน7.11 โครงการสรางศูนย ICT และคลินิคเพ่ือการเรียนรู7.12 โครงการเชาคอมพิวเตอรและอุปกรณ7.13 โครงการทําวิจัยในชั้นเรียน7.14 งานบริการแนะแนว 5 บริการ7.15 โครงการแนะแนวการศึกษาตอ7.16 โครงการพัฒนางานบริการแนะแนว7.17 โครงการทุนปจจัยพ้ืนฐาน7.18 งานสรรหาบรรจุและแตงตั้ง7.19 งานระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษา7.20 งานการเงินและบัญชี7.21 งานสาธารณูปโภค7.22 งานบริหารพัสดุและสินทรัพย7.23 งานปรับปรุงซอมแซมพัสดุ7.24 งานธนาคารโรงเรียน7.25 งานบริการยานพาหนะ7.26 งานเงินเดือน/สวัสดิการครู7.27 โครงการเรียนฟรี 15 ป7.28 โครงการติดตั้งระบบวงจรปด7.29 งานสารบรรณกลาง7.30 งานเลขานุการ7.31 งานคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน7.32 งานบริการสาธารณะ7.33 งานอาคารสถานท่ีและสภาพแวดลอม7.34 งานสหวิทยาเขตและ สพม.127.35 งานศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ7.36 งานประกันคุณภาพและระบบสารสนเทศ7.37 งานสือ่สารและการประชาสัมพันธ7.38 งานบริการสุขภาพอนามัย7.39 งานบริการโภชนาการและโรงอาหาร7.40 ศูนยสื่อและเทคโนโลยีทางการศึกษา7.41 งานสวัสดิการรานคา

Page 62: บทที่1 สภาพป จจุบันของโรงเรียน - MNSnew).pdf · 2014-03-11 · พันธกิจที่4 นํากระบวนการคิดสู

บทที่ 7การจัดสรรงบประมาณ

7.1 งบประมาณจําแนกตามกลยุทธ

กลยุทธ ปการศึกษา2556 2557 2558

กลยุทธท่ี 1 พัฒนาคุณภาพผูเรียนสูมาตรฐานสากล 1,300,000 1,900,000 3,200,000กลยุทธท่ี 2 พัฒนาระบบการดูแลชวยเหลือนักเรียน 3,000,000 3,400,000 4,500,000กลยุทธท่ี 3 พัฒนาหลักสูตรและระบบการเรียนรูโดยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 9,100,000 11,000,000 15,000,000กลยุทธท่ี 4 สรางจิตสํานึกพลเมือง 2,500,000 3,050,000 4,500,000กลยุทธท่ี 5 สรางเครือขายรวมพัฒนาและการสงเสริมสมรรถนะผูเรียน 3,500,000 4,500,000 5,000,000กลยุทธท่ี 6 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา 1,300,000 1,600,000 3,000,000กลยุทธท่ี 7 พัฒนาระบบบริหารคุณภาพและเทคโนโลยี 12,034,815 13,016,000 16,000,000สํารองจาย 1,993,451 3,000,638 5,521,816รวมท้ังสิ้น 34,728,266 41,466,638 56,721,816

Page 63: บทที่1 สภาพป จจุบันของโรงเรียน - MNSnew).pdf · 2014-03-11 · พันธกิจที่4 นํากระบวนการคิดสู

7.2 งบประมาณจําแนกตามกลุมบริหารและกลุมสาระการเรียนรู

กลุมบริหาร/กลุมสาระ ปการศึกษา2556 2557 2558

1. กลุมบริหารวิชาการ 14,942,593 14,942,593 14,942,5931.1 การบริหารวิชาการ 10,078,890 10,078,890 10,078,8901.2 กลุมสาระภาษาไทย 733,000 733,000 733,0001.3 กลุมสาระภาษาตางประเทศ 727,750 727,750 727,750

1.4 กลุมสาระวิทยาศาสตร 578,100 578,100 578,1001.5 กลุมสาระคณิตศาสตร 262,480 262,480 262,4801.6 กลุมสาระสังคมศึกษาฯ 707,500 707,500 707,5001.7กลุมสาระสุขศึกษา/พลศึกษา 517,600 517,600 517,600

1.8 กลุมสาระศิลปะ 474,500 474,500 474,5001.9 กลุมสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี 1,736,860 1,000,000 1,736,860

1.10 กลุมงาน Muni-English Program 261,826 261,826 261,8261.11 กลุมงาน Science & Math Program 587,264 587,264 587,2641.12 กลุมงาน EIS Program 434,826 434,826 434,8261.13 กลุมงาน ITC Program 574,372 574,372 574,3721.14 ศูนยอาเซียนศึกษา 240,000 240,000 240,0001.14 กลุมกิจกรรมพัฒนาผูเรียน 1,144,254 1,144,254 1,144,254

2. กลุมบริหารงบประมาณ 5,914,750 5,914,750 5,914,7503. กลุมบริหารงานบุคคล 6,858,408 6,858,408 6,858,4084. กลุมบริหารกิจการนักเรียน 1,220,234 1,220,234 1,220,2345. กลุมบริหารท่ัวไป 4,482,356 8,892,356 21,892,3566. งบสํารองจาย 1,993,451 1,304,890 1,776,846รวมท้ังสิ้น 34,728,266 41,466,638 56,721,816

Page 64: บทที่1 สภาพป จจุบันของโรงเรียน - MNSnew).pdf · 2014-03-11 · พันธกิจที่4 นํากระบวนการคิดสู

บทที่ 8การกํากับติดตามตรวจสอบคุณภาพและรายงาน

8.1 การกํากับติดตามผลการดําเนินงาน/โครงการ ใหหัวหนางานแผนงานโรงเรียน หัวหนาแผนงานของกลุมบริหารและกลุมสาระการเรียนรู ดําเนินการดังนี้

1) กํากับติดตามใหการดําเนินงาน/โครงการเปนไปตามแผนปฏิบัติราชการประจําปของโรงเรียน

2) รวบรวมรายงานผลการดําเนินงาน/โครงการ หลังจากดําเนินงาน/โครงการเสร็จสิ้นแลว ภายใน 15 วันทําการ

3) จัดทํารายงานสรุปผลการดําเนินงาน/โครงการเปนรูปเลมตามแบบท่ีโรงเรียนกําหนดภายในวันท่ี 15 มีนาคม ของทุกป

8.2 การตรวจสอบคุณภาพและรายงาน ใหหัวหนางานแผนงานและงบประมาณโรงเรียนดําเนินการดังนี้

1) ควบคุมการใชงบประมาณใหเปนไปตามแผนแผนปฏิบัติราชการประจําปของโรงเรียน2) รวบรวมรายงานผลการดําเนินงาน/โครงการ จากกลุมบริหารและกลุมสาระการเรียนรู

หลังดําเนินการเสร็จสิ้นแลว ภายใน 30 วันทําการ3) จัดทํารายงานสรุปปญหาอุปสรรคและขอเสนอจากการดําเนินงาน/โครงการของกลุม

บริหารและกลุมสาระการเรียนรู นํามาวิเคราะหและนําเสนอผูอํานวยการ ภายในวันท่ี 25 มีนาคมของทุกป

8.3 การรายงานผลการปฏิบัติงานของครุและบุคลากรทางการศึกษา ใหเปนไปตามระเบียบโรงเรียนเมืองนครศรีธรรมราช วาดวย ภาระงานและมาตรฐานการปฏิบัติกลุมบริหารงานบุคคลกลุมบริหารงบประมาณ กลุมบริหารวิชาการ กลุมบริหารท่ัวไปและกลุมบริหารกิจการนักเรียน และคูมือการประเมินประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของครแูละบุคลากรทางการศึกษา

8.4 การจัดทํารายงานการประเมินตนเอง(SAR)1) ใหขาราชการครูและลูกจางทุกคนจัดทํารายงานการประเมินตนเองตามแบบท่ีโรงเรียน

กําหนด2) ใหคณะกรรมการประเมินภายในแตละกลุมบริหารและกลุมสาระการเรียนรู จัดทํา

รายงานการประเมินตนเองของกลุมบริหารและกลุมสาระการเรียนรู ตามมาตรฐานท่ีรับผิดชอบ