Top Banner
ระเบียบวิธีวิจัยสําหรับนักวิจัยมือใหม ~ 1 ~ ฐณัฐ วงศสายเชื้อ บทที1 งานวิจัย 1.1 งานวิจัยและการพัฒนา การวิจัยและการพัฒนาทุกสรรพสิ่งในโลกนี้ลวน มีเปาหมายคือ การทําใหมนุษยมีชีวิตความเปนอยูที่ดีขึ้น มนุษยเรียนรูปญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นในการดํารงชีวิต แลวนําไปสูการพัฒนาและแกไขปญหาจากประสบการณ และการสังเกตสิ่งตางๆ ที่แวดลอมตัวมนุษย ตลอดจนการ พัฒนาตอยอดความคิดที่มีอยูใหดียิ่งขึ้นอยูเสมอ องค ความรูทางดานเทคโนโลยีมีบทบาทสําคัญตอการพัฒนา คนและสังคม ยกตัวอยางเชน ความสามารถในการผลิต อาหารกับการเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วของจํานวนประชากรทีธอมัส มัลธัส (Thomas E. Malthus) เสนอทฤษฎี ประชากร ในป . . 1798 ที่ตั้งขอสมมุติเกี่ยวกับ ประชากรที่มีการเพิ่มจํานวนขึ้นแบบอัตราทวีคูณ ขณะ การผลิตอาหารเพิ่มขึ้นแบบอัตราเพิ่มเชิงบวก หรือ จํานวนประชากรจะเพิ่มขึ้นในอัตราที่สูงกวาปริมาณ อาหารที่ผลิตได แนวโนมนี้อาจนําไปสูภาวะขาดแคลนอาหาร ยุคขาวยากหมากแพง การกอจลาจลหรือสงคราม ดวย ในขณะนั้น ขนาดของพื้นที่เพาะปลูกมีจํากัดและการผลิต อาหารเปนแบบเกษตรกรรมดังเดิม แนวคิดของมัลธัสถูก อภิปรายโตเถียงกันมากในวงวิชาการ หลังการเสนอ ทฤษฎีประชากรราว 150 นอรแมน อี . บอรล็อก (Norman E. Borlaug) นักวิทยาศาสตรชาวอเมริกันได วิจัยและนําเสนอเทคโนโลยีใหมที่ทําใหประเทศเม็กซิโก ผลิตอาหารเพิ่มขึ้นไดเปน 10 เทาภายใน 2 ทศวรรษ (Ortiz et al., 2007) ประมาณการวาผลงานวิจัยนีสามารถชวยเหลือมนุษยชาติใหพนจากความอดอยากนับ พันลานคน บอรล็อกไดรับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพใน . . 1970 และไดรับการยกยองวาเปน บิดาแหงการ ปฏิวัติเขียว กอนเสียชีวิตไปในป .. 2007 เทคโนโลยีการเกษตรในยุคปฏิวัติเขียว (Green Revolution) เนนการใหผลผลิตสูงดวยการปรับปรุงเมล็ด พันธุ การสรางระบบชลประทาน เทคนิคการจัดการ สมัยใหม อาทิ การทํานาปรัง และการใชสารเคมี อาทิ ปุยเคมี ยาฆาแมลงและยากําจัดวัชพืช (Hanson et al., 1982) อยางไรก็ตาม ปุยเคมีถือวามีบทบาทสําคัญมาก ที่สุดในการเพิ่มผลผลิตอาหารใหแกเกษตรกร เพราะการ ใชปุยเคมีสามารถเพิ่มผลผลิตใหแกเกษตรกรไดถึง 5 เทา (FAO, 1981) รายละเอียดดังภาพ 1.1 ตอไปนีภาพ 1.1 การใชปุยเคมีในการปลูกธัญพืชและปริมาณ ผลผลิตที่ไดรับ .. 2524 ผลผลิตธัญพืช (กิโลกรัมตอ 10,000 ตรม.) การใชปุยเคมี (กิโลกรัมตอ 10,000 ตรม.) ที่มา: FAO, 1981
16

บทที่ 1 งานวิจัย - Pirun Web Serverpirun.ku.ac.th/~fedutnw/pubs/cp01_research.pdf · บทที่ 1 งานวิจัย 1.1...

Aug 30, 2019

Download

Documents

dariahiddleston
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: บทที่ 1 งานวิจัย - Pirun Web Serverpirun.ku.ac.th/~fedutnw/pubs/cp01_research.pdf · บทที่ 1 งานวิจัย 1.1 งานวิจัยและการพ

ระเบียบวิธีวิจัยสําหรับนักวิจัยมือใหม ~ 1 ~ ฐณัฐ วงศสายเชื้อ

บทที่ 1

งานวิจัย

1.1 งานวิจัยและการพัฒนา การวิจัยและการพัฒนาทุกสรรพสิ่งในโลกนี้ลวน

มีเปาหมายคือ การทําใหมนุษยมีชีวิตความเปนอยูที่ดีขึ้น

มนุษยเรียนรูปญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นในการดํารงชีวิต

แลวนําไปสูการพัฒนาและแกไขปญหาจากประสบการณ

และการสังเกตสิ่งตางๆ ที่แวดลอมตัวมนุษย ตลอดจนการ

พัฒนาตอยอดความคิดที่มีอยูใหดียิ่งขึ้นอยูเสมอ องค

ความรูทางดานเทคโนโลยีมีบทบาทสําคัญตอการพัฒนา

คนและสังคม ยกตัวอยางเชน ความสามารถในการผลิต

อาหารกับการเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วของจํานวนประชากรที่

ธอมัส มัลธัส (Thomas E. Malthus) เสนอทฤษฎี

ประชากร ในป ค .ศ . 1798 ที่ตั้ งขอสมมุติ เกี่ยวกับ

ประชากรที่มีการเพิ่มจํานวนขึ้นแบบอัตราทวีคูณ ขณะ

การผลิตอาหารเพิ่มขึ้นแบบอัตราเพิ่มเชิงบวก หรือ

จํานวนประชากรจะเพิ่มขึ้นในอัตราที่ สูงกวาปริมาณ

อาหารที่ผลิตได

แนวโนมนี้อาจนําไปสูภาวะขาดแคลนอาหาร

ยุคขาวยากหมากแพง การกอจลาจลหรือสงคราม ดวย

ในขณะนั้น ขนาดของพื้นที่เพาะปลูกมีจํากัดและการผลิต

อาหารเปนแบบเกษตรกรรมดังเดิม แนวคิดของมัลธัสถูก

อภิปรายโตเถียงกันมากในวงวิชาการ หลังการเสนอ

ทฤษฎีประชากรราว 150 ป นอรแมน อี . บอร ล็อก

(Norman E. Borlaug) นักวิทยาศาสตรชาวอเมริกันได

วิจัยและนําเสนอเทคโนโลยีใหมที่ทําใหประเทศเม็กซิโก

ผลิตอาหารเพิ่มขึ้นไดเปน 10 เทาภายใน 2 ทศวรรษ

(Ortiz et al., 2007) ประมาณการวาผลงานวิจัยนี้

สามารถชวยเหลือมนุษยชาติใหพนจากความอดอยากนับ

พันลานคน บอรล็อกไดรับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพใน

ป ค.ศ. 1970 และไดรับการยกยองวาเปน บิดาแหงการ

ปฏิวัติเขียว กอนเสียชีวิตไปในป ค.ศ. 2007

เทคโนโลยีการเกษตรในยุคปฏิวัติเขียว (Green

Revolution) เนนการใหผลผลิตสูงดวยการปรับปรุงเมล็ด

พันธุ การสรางระบบชลประทาน เทคนิคการจัดการ

สมัยใหม อาทิ การทํานาปรัง และการใชสารเคมี อาทิ

ปุยเคมี ยาฆาแมลงและยากําจัดวัชพืช (Hanson et al.,

1982) อยางไรก็ตาม ปุยเคมีถือวามีบทบาทสําคัญมาก

ที่สุดในการเพิ่มผลผลิตอาหารใหแกเกษตรกร เพราะการ

ใชปุยเคมีสามารถเพิ่มผลผลิตใหแกเกษตรกรไดถึง 5 เทา

(FAO, 1981) รายละเอียดดังภาพ 1.1 ตอไปนี้

ภาพ 1.1 การใชปุยเคมีในการปลูกธัญพืชและปริมาณ

ผลผลิตที่ไดรับ ป พ.ศ. 2524

ผลผลิตธัญพืช (กิโลกรัมตอ 10,000 ตรม.)

การใชปุยเคมี (กิโลกรัมตอ 10,000 ตรม.)

ที่มา: FAO, 1981

Page 2: บทที่ 1 งานวิจัย - Pirun Web Serverpirun.ku.ac.th/~fedutnw/pubs/cp01_research.pdf · บทที่ 1 งานวิจัย 1.1 งานวิจัยและการพ

ระเบียบวิธีวิจัยสําหรับนักวิจัยมือใหม ~ 2 ~ ฐณัฐ วงศสายเชื้อ

แรงกดดันทางประชากรจากการเพิ่มจํานวน

ประชากรอยางรวดเร็ว กระตุนใหหนวยงานทั้งภาครัฐและ

เอกชนอยางเชน มูลนิธิ ร็อกกี้ เฟลเลอร (Rockefeller

Foundation) สนับสนุนบอร ล็อกในการทําวิจัยและ

คนควาเพื่อชวยผูคนใหพนจากความอดยากและสราง

ความมั่นคงทางอาหาร บอรล็อกนําความสําเร็จจาก

งานวิจัยในประเทศเม็กซิโกไปใชในการแกไขปญหาการ

ขาดแคลนอาหารในประเทศอินเดียและปากีสถาน

จากนั้นเทคโนโลยีการเกษตรนี้ก็ถูกเผยแพรไปสูภูมิภาค

ตางๆ ทั่วโลก (Hanson et al., 1982) อยางไรก็ตาม

ประสิทธิภาพในการผลิตอาหารในแตละประเทศก็ยังคงมี

ความแตกตางกันอยางชัดเจน ดังรายละเอียดในภาพ 1.2

ตอไปนี้

ภาพ 1.2 ผลผลิตธัญพืชตอพื้นที่เพาะปลูก ของประเทศคองโก ไทย จีนและสหรัฐอเมริกา ป พ.ศ. 2504 - 2552 ผลผลิตธัญพืช (กิโลกรัม / 10,000 ตรม.)

ป พ.ศ.

ที่มา: FAO

ยุคปฎิวัติเขียวเริ่มตนในชวงที่เกิดสงครามโลก

ครั้ งที่ 2 (ป พ .ศ . 2486) ในประเทศเม็กซิโก และ

เทคโนโลยีและองคความรูนี้ถูกเผยแพรไปยังประเทศ

อื่นๆ นับตั้งแตป พ.ศ. 2505 และระยะเวลาผานไปราว 5

ทศวรรษ ประสิทธิภาพในการผลิตอาหารของแตละ

ประเทศยังคงมีความแตกตางกันอยางเห็นไดชัด เชน

ประเทศจีนไดรับประโยชนจากเทคโนโลยีนี้มาก โดย

สามารถเพิ่มการผลิตอาหารไดมากขึ้นเกือบ 5 เทาตัว

แตผลผลิตตอพื้นที่ยังคงนอยกวา ประเทศสหรัฐอเมริกา

ซึ่งเปนประเทศพัฒนาแลวที่สามารถผลิตอาหารไดราว 7

ตันตอ 10,000 ตรม. แตประเทศสหรัฐอเมริกากลับมี

อัตราการเพิ่มผลผลิตขึ้นเพียง 3 เทานับตั้งแตป พ.ศ.

2504 สําหรับประเทศไทยซึ่งเปนประเทศกําลังพัฒนา

พบวา สามารถเพิ่มผลผลิตอาหารไดไมถึง 2 เทา แตเมื่อ

เทียบกับประเทศกําลังพัฒนาในทวีปแอฟริกา เชน

คองโก พบวาความสามารถในการผลิตอาหารแทบไมมี

การเปลี่ยนแปลงเลยตลอด 5 ทศวรรษ

แมวาเทคโนโลยีการปฎิวัติเขียวจะชวยใหเพิ่ม

ผลผลิตอาหาร แตการผลิตอาหารใหมีประสิทธิภาพ

สูงสุดนั้น ยังคงขึ้นอยูกับระดับการพัฒนาหรือเทคโนโลยี

ของแตละประเทศดวยเชนกัน ประเทศจีนนับเปน

ตัวอยางของการพัฒนาเทคโนโลยีอยางกาวกระโดด

เมื่อพิจารณาจากตัวชี้วัดระดับการพัฒนาทางดาน

วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่สําคัญประการหนึ่งคือ

การผลิตบทความวิจัยของแตละประเทศ ดังตาราง 1.1

ตอไปนี้

Page 3: บทที่ 1 งานวิจัย - Pirun Web Serverpirun.ku.ac.th/~fedutnw/pubs/cp01_research.pdf · บทที่ 1 งานวิจัย 1.1 งานวิจัยและการพ

ระเบียบวิธีวิจัยสําหรับนักวิจัยมือใหม ~ 3 ~ ฐณัฐ วงศสายเชื้อ

ตาราง 1.1 บทความวิจัยของประเทศคองโก ไทย จีน

และสหรัฐอเมริกา ป พ.ศ. 2503 – 2553

ป พ.ศ. คองโก ไทย จีน สหรัฐ

อเมริกา

2503 8 5 21 10,794

2505 3 4 12 14,611

2507 5 3 4 19,246

2509 3 8 6 23,135

2511 3 18 3 29,465

2513 5 30 6 34,828

2515 5 31 7 38,024

2517 3 168 15 68,801

2519 2 111 15 75,993

2521 3 145 70 81,952

2523 - 178 360 85,308

2525 5 199 1,190 97,512

2527 6 251 1,519 107,662

2529 8 249 2,247 114,892

2531 11 302 5,197 126,661

2533 28 362 6,586 149,594

2535 13 350 8,393 147,946

2537 17 423 12,455 179,155

2539 63 1,058 25,041 256,587

2541 69 1,388 33,057 246,120

2543 51 1,714 40,559 241,959

2545 55 1,955 48,814 221,633

2547 78 2,511 84,927 212,300

2549 129 4,118 150,732 256,527

2551 148 5,280 181,107 294,959

2553 222 6,406 212,165 338,111

อัตราเพิ่ม* 21.10 26.78 31.34 7.53

ที่มา: www.scopus.com

หมายเหตุ: เฉพาะจํานวนบทความวิจัย (Articles) เทานั้น

อัตราเพิ่ม* หมายถึง อัตราเพิ่มเฉลี่ยตอป

ความกาวหนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

ของประเทศสหรัฐอเมริกาเปนที่ยอมรับของคนทั่วโลก

และเปนประเทศที่บทความตีพิมพผลงานวิจัยมากที่สุด

ในโลกดวยเชนกัน โดยนักวิจัยในประเทศสหรัฐอเมริกา

รวมกันผลิตบทความจากงานวิจัย (Articles) ผานระบบ

ฐานขอมูลออนไลน Scopus จํานวน 338,111 บทความ

ในป พ.ศ. 2553 ขณะที่ประเทศจีนซึ่งเปนประเทศกําลัง

พัฒนาเพียงประเทศเดียวที่สามารถผลิตบทความวิจัย

มากกวาประเทศที่พัฒนาแลวอื่น เชน ญี่ปุน เยอรมัน

และอังกฤษ โดยในป พ.ศ. 2548 ประเทศจีนมีจํานวน

บทความวิจัยมากเปนอันดับที่ 5 และใน ป พ.ศ. 2549

ประเทศจีนก็สามารถยกระดับขึ้นเปนประเทศที่ มี

บทความวิจัยมากเปนอันดับที่ 2 ของโลกรองจาก

ประเทศสหรัฐอเมริกาเพียงประเทศเดียวเทานั้น (ฐณัฐ

วงศสายเชื้อ, 2553)

สําหรับประเทศไทย แมจะพบวามีจํานวน

บทความวิจัยเพิ่มขึ้นจํานวนมากเมื่อเทียบกับประเทศ

คองโกที่แทบไมมีการผลิตบทความวิจัยเลย แตหาก

นําไปเปรียบเทียบกับประเทศจีนและสหรัฐอเมริกาแลว

การพัฒนาทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีของ

ประเทศไทยยังคงลาหลังมากขึ้น ภาพที่ 1.2 และ ตาราง

1.1 ไดสะทอนใหเห็นอยางชัดเจนถึงความสําคัญของ

งานวิจัยที่มีตอการพัฒนาที่มีนัยวา ประเทศที่จะนําองค

ความรูและเทคโนโลยีปฎิวัติเขียวไปใชใหเกิดประโยชน

สูงสุดและมีประสิทธิภาพมากสุดนั้น จําเปนที่ประชากร

ของประเทศตองมีคุณภาพ ความรูความสามารถ และ

ความเชี่ยวชาญสูงดวย ดังนั้นการทรัพยากรมนุษยจึงมี

บทบาทสําคัญตอการพัฒนาประเทศในทุกมิติ ที่

จําเปนตองไดรับการพัฒนาไปดวยกัน

สํานักงานโครงการพัฒนาแหงสหประชาติ

(United Nations Development Programme: UNDP)

ซึ่งเปนองคการระหวางประเทศที่มีบทบาทสําคัญในการ

พัฒนาคนและสังคมระดับสากล ไดสรางตัวชี้วัดการ

พัฒนาที่ สํ าคัญ คือ ดัชนีการพัฒนาคน (Human

Development Index: HDI) ซึ่งประกอบดวยดัชนีชี้วัด

Page 4: บทที่ 1 งานวิจัย - Pirun Web Serverpirun.ku.ac.th/~fedutnw/pubs/cp01_research.pdf · บทที่ 1 งานวิจัย 1.1 งานวิจัยและการพ

ระเบียบวิธีวิจัยสําหรับนักวิจัยมือใหม ~ 4 ~ ฐณัฐ วงศสายเชื้อ

การพัฒนาขั้นพื้นฐาน 3 ดาน คือ ดานเศรษฐกิจ ดาน

สุขภาพ และดานการศึกษา ตัวชี้วัดการพัฒนานี้สะทอน

ระดับการพัฒนาทรัพยากรมนุษยของแตละประเทศได

เปนอยางดี ยกตัวอยางเชน การพัฒนาคนในประเทศ

สหรัฐอเมริกาจะพบวา ประชากรมีรายไดสูง สุขภาพ

แข็งแรงและการศึกษาสูง ซึ่งสะทอนใหเห็นวา ชาว

อเมริกันมีประสิทธิภาพสูงเชนกัน เมื่อเปรียบเทียบกับ

ประเทศอื่นจะพบวา การพัฒนาของประเทศไทย จีน

และคองโกยังลาหลังกวา

แมวาประเทศไทยจะมีระดับการพัฒนาที่

ดีกวาประเทศจีนและคองโก แตดัชนีวัดการพัฒนานี้ได

แสดงแนวโนมใหเห็นวา ประเทศจีนมีอัตราการพัฒนาที่

สูงกวาประเทศไทย และอนาคตอันใกลจะพัฒนารุดหนา

ประเทศไทยอยางรวดเร็วในการพัฒนาทั้ง 3 มิติ โดย

สังเกตจากดัชนีการศึกษาที่บงบอกวา ประชากรจีนมี

การศึกษาดีกวาคนไทยแลว ดานเศรษฐกิจของจีนไดมี

พัฒนาอยางรวดเร็วและตอเนื่อง และดานสุขภาพ

อนามัยของประชากรประเทศจีนก็มีการพัฒนาไมได

ดอยกวาประเทศไทยแตอยางใดเลย ดังภาพ 1.3 ดัชนี

วัดการพัฒนาเหลานี้ยืนยันไดวา ความกาวหนาดาน

งานวิจัยและเทคโนโลยีมีสวนสําคัญในการพัฒนาในมิติ

ตางๆ ทั้งทางดานเศรษฐกิจ ดานสาธารณสุข ดาน

การศึกษาและอื่นๆ ซึ่ งการพัฒนาตางๆ เหลานี้ มี

เปาหมายคือการยกระดับคุณภาพชีวิตและความเปนอยู

ของประชากรในแตละประเทศใหดีขึ้น

ภาพ 1.3 ดัชนีรายได สุขภาพ การศึกษา และการพัฒนาคนของประเทศคองโก ไทย จีนและสหรัฐอเมริกา

ป พ.ศ. 2523 – 2554

ดัชนีรายได ดัชนีสุขภาพ

ป พ.ศ. ป พ.ศ.

ดัชนีการศึกษา ดัชนีการพัฒนาคน

ป พ.ศ. ป พ.ศ.

ที่มา: UNDP

Page 5: บทที่ 1 งานวิจัย - Pirun Web Serverpirun.ku.ac.th/~fedutnw/pubs/cp01_research.pdf · บทที่ 1 งานวิจัย 1.1 งานวิจัยและการพ

ระเบียบวิธีวิจัยสําหรับนักวิจัยมือใหม ~ 5 ~ ฐณัฐ วงศสายเชื้อ

นอกจากการพัฒนาขั้นพื้นฐานแลว การ

ตอบสนองความตองการของมนุษยในดานตางๆ ที่

มากมายและหลากหลายก็มีบทบาทสําคัญตอการ

พัฒนาโดยผานขั้นตอนหรือกระบวนการวิจัย ความ

ตองการของมนุษยที่มีอยางไมส้ินสุดนั้น ถือเปนกุญแจ

สําคัญที่ผลักดันและกระตุนใหเกิดการวิจัยที่ขับเคล่ือน

ใหมนุษยไดมีการพัฒนาเพื่อใหคนในสังคมมีชีวิตความ

เปนอยูที่ดีและสะดวกสบายอยูตลอดเวลา อยางไรก็

ตาม การวิจัยและการพัฒนาไมไดจํากัดวงเพียงเฉพาะ

ศาสตรหนึ่งหรือสาขาวิชาใดโดยเฉพาะ หากแตเปน

กระบวนการไดมาซึ่งความรูความจริงในสิ่งที่มนุษย

สนใจตามศาสตรตางๆ

การไดมาซึ่งความรูหรือขอเท็จจริงนั้น ตองเปน

กระบวนการที่มีระบบ ระเบียบ แบบแผน และตรวจสอบ

วิธีการความถูกตองได ดังนั้นนักวิจัยในแตละศาสตรจึง

จําเปนตองเรียนรูวิทยาการวิจัย ลักษณะงานวิจัย

ความหมาย วัตถุประสงคและเหตุผลของการวิจัย

แนวคิด ทฤษฏี ประเภทของการวิจัย การกําหนดหัวขอ

ประเด็นการวิจัย วัตถุประสงคและคําถามวิจัย ใหเขาใจ

อยางทองแทเสียกอน กอนที่จะทําการเรียนรูเพื่อทํา

ความเขาใจในกระบวนการวิจัยสวนอื่นๆ สําหรับ

รายละเอียดตางๆ ในกระบวนการวิจัยของแตละขั้นตอน

นั้นไดจะทําการอธิบายตามลําดับตอไป

1.2 ความหมายของการวิจัย การวิจัยหรืองานวิจัยในภาษาอังกฤษใชคําวา

Research มาจากคําวา Re ที่ถูกใชเติมคํานําหนาศัพท

ซึ่งความหมาย การทําอยางใดอยางหนึ่งอีกครั้ง สวนคํา

วา Search หมายถึง การสอบสวน การคนหา การ

สํารวจ การตรวจคน หรือการเปดเผย เมื่อรวมกัน เปน

คําวา Research จึงหมายถึง การคนหาอยางระมัดระวัง

และละเอียดรอบคอบ หรือการตรวจสอบอยาง

ละเอียดลออ เปนตน ดังนั้นการวิจัยตองมีความหมาย

มากกวาการคนหาหรือสํารวจโดยทั่วไปที่มีขอมูลหรือ

คําตอบไดปรากฏแลวอยางชัดเจน นอกจากนี้เพราะเหตุ

ใดการคนหาในความหมายของการวิ จั ยนั้ น จึ ง

จําเปนตองทําอยางระมัดระวัง ละเอียดลออรอบคอบ

เนื่องจากสิ่งที่คนหานั้น ไมไดแสดงคําตอบที่อยาง

ชัดเจนหรือเที่ยงตรง ฉะนั้นการวิจัยจึงหมายถึง การ

คนหาความจริงอยางพิถีพิถันในสิ่งที่ยังไมสามารถหา

คําตอบไดอยางงาย หรือเปนการคนหาดวยวิธีการอยาง

เปนระบบ ระเบียบและมีขั้นตอนที่นาเชื่อถือ

บอยครั้งที่การวิจัยถูกใชเพื่ออธิบายกิจกรรม

คนหาขอมูลหรือขอเท็จจริง เชน การคนหาจํานวน

ประชากรรายจังหวัดของประเทศไทย และการสํารวจ

ความคิดเห็นหรือความตองการในประเด็นตางๆ ซึ่งเปน

การคนหาคําตอบอยางงาย การคนหาคําตอบนี้ใหความ

สนใจคือ ขอเท็จจริงของปรากฏการณมากกวาองค

ความรูใหมหรือการวิเคราะห การคนหาคําตอบกรณีที่

สอง เปนการคนหาความรูทั่วไปในหัวขอเฉพาะที่สนใจ

เชน การจัดการศึกษาของประเทศไทยในอดีตมีลักษณะ

อยางไร การคนหานี้เปนการทบทวนองคความรูที่มีอยู

โดยไมไดมีวัตถุประสงคจะสรางขอมูลหรือความรูใหม

หรืออีกนัยหนึ่งคือ การรวบรวมเพื่อสรุปคําตอบที่มีมาใน

อดีต และสําหรับการคนหาคําตอบลักษณะสุดทาย เปน

การรวบรวมขอมูลและปรากฏการณที่ เกิดขึ้นเพื่อ

กําหนดคําตอบในการคนหาที่แทจริง เชน การศึกษาตอ

มีความสัมพันธทางบวกกับความกาวหนาในชีวิต การ

รวบรวมและการวิเคราะหสารสนเทศหรือขอมูลชุดหนึ่ง

และบีบเคลน กล่ันกรอง จนเกิดความหมายใหมๆ จาก

ชุดขอมูลนั้น หรือ การพัฒนาเทคนิคหรือวิธีการแกไข

ปญหาใหมที่มีประสิทธิภาพดีขึ้นกวาเดิม ซึ่งหมายถึง

การวิจัยที่แทจริง

อยางไรก็ตามในการวิจัยที่แทจริงยังคงตอง

ประกอบดวยการคนหาจากสองวิธีแรกดวยคือ การ

สํารวจและทบทวนวรรณกรรม เพื่อชวยผูที่จะทําวิจัย

เรียนรูงานวิจัยที่เกี่ยวของในอดีต และสามารถออกแบบ

งานวิจัยไดอยางเหมาะสม มีทิศทางและในระยะเวลา

อันส้ัน นอกจากนี้งานวิจัยบางครั้งอาจจําเปนตองเก็บ

รวบรวมขอมูลใหมๆ จากการทดลอง การสํารวจหรือ

วิธีการอื่นๆ ดังภาพที่ 1.4 ตอไปนี้

Page 6: บทที่ 1 งานวิจัย - Pirun Web Serverpirun.ku.ac.th/~fedutnw/pubs/cp01_research.pdf · บทที่ 1 งานวิจัย 1.1 งานวิจัยและการพ

ระเบียบวิธีวิจัยสําหรับนักวิจัยมือใหม ~ 6 ~ ฐณัฐ วงศสายเชื้อ

ภาพ 1.4 งานวิจัยกับการคนหาทั่วไปที่มีตอการรับรูสถานการณหรือแนวทางสูองคความรูใหม

นอกจากงานวิจัยจะมีมิติที่กวางกวาการคนหา

ทั่วไปแลว ยังตองอาศัยวิธีทางวิทยาศาสตรอยางเปน

ระบบ มีระเบียบ มีขั้นตอนอยางชัดเจน เพื่อใหไดมาซึ่ง

ความรูหรือกระบวนการคนหาคําตอบ บางคําถามอาจ

หาคําตอบไดโดยการขอขอมูลจากหนวยงานที่เกี่ยวของ

ตางๆ ขั้นตอนนี้เรียกวา “การคนหาเบื้องตน” ส่ิงที่ไดจาก

ขั้นตอนนี้คือ การรับรูถึงสถานการณที่เราสนใจ สําหรับ

คําถามที่ไมสามารถหากคําตอบไดจากการขอขอมูลใน

ขั้นตอนแรกจําเปนตองดําเนินการขั้นที่สองคือ รวบรวม

และสํารวจขอมูลหลายแหงและสํารวจเอกสาร อัน

หมายถึงการทบทวนงานวิจัยที่เกี่ยวของ หากสามารถได

คําตอบหรือความรูอยางชัดเจนจากขั้นตอนนี้ เรียกวา

“การคนหาทบทวน” นั้นแสดงวามีองคความรูหรือผูอื่น

ศึกษาไวกอนแลว

ขั้นตอนนี้จึงเปนการรวบรวมองคความรูที่มีใน

อดีตและปจจุบัน จึงไมจําเปนตองทําการวิจัยก็สามารถ

ไดคําตอบ สําหรับงานวิจัยที่แทจริงจะไมสามารถหา

คําตอบไดจากขั้นตอนนี้ และตองจําเปนตองดําเนินการ

ในขั้นตอนที่สามหรือเรียกวา “การคนหาละเอียดออน”

คือ การกลั่นและสังเคราะหขอมูลที่รวมรวมในขั้นตอนที่

สองเพื่อใหไดองคความรูใหมที่ซอนหรือแฝงอยู รวมทั้ง

การพัฒนาวิธีการใหม ผูวิจัยจําเปนตองกระทําการบีบ

เคลนขอมูลที่รวบรวมเพื่อใหขอมูลผลุดความหมายใหม

ที่ซอนอยูจากขอมูลดิบออกมา สําหรับคําถามที่สามารถ

ไดคําตอบในขั้นตอนนี้ จึงจะนับไดวาเปนงานวิจัยแทจริง

และคําตอบที่ ไดถือวาเปนองคความรู ใหมอันเปน

ประโยชนในวงวิชาการหรือสังคม

1.3 เหตุผลของการวิจัย การพัฒนาในปจจุบันถูกขับเคลื่อนโดยองค

ความรู ซึ่งสถาบันการศึกษามีบทบาทสําคัญในการวิจัย

และพัฒนา ความกาวหนาในศาสตรและเทคโนโลยี โดย

เนนการผลิตและการกระจายสินคาหรือบริการที่ มี

ประสิทธิภาพสูง ดวยตนทุนต่ําที่สุดเพื่อตอบสนองตอ

ความตองการของคนมหาศาล (Salmi, 2009)

สถาบันการศึกษายังมีหนาที่ผลิตทรัพยากรมนุษยใหมี

ศักยภาพสูงช วยใหประเทศสามารถแข งขันทาง

เศรษฐกิจกับประเทศอื่นๆ ได (Hu et al., 2007) การยก

มาตรฐานคุณภาพชีวิตและแกไขปญหาสุขภาพของคน

ในประเทศกําลังพัฒนา (Sanders et al., 2004;

Stewart et al., 2004) การตัดสินใจในการกําหนด

นโยบายหรือวางแผนพัฒนาไดอยางมืออาชีพและชาญ

การคนหาเบ้ืองตน การคนหาทบทวน การคนหาละเอียดออน

ขอเท็จจริง (Fact) ขอเท็จจริง (Fact)

รายงาน, การทบทวนเอกสาร

(Report, Review)

รายงาน, การทบทวนเอกสาร

(Report, Review)

ขอเท็จจริง (Fact)

กล่ันขอมูลและพัฒนาวิธีการ

การคนหา (Search) …...………..……..………… ความเขมขนของงาน ….....…….….……………..… งานวิจัย (Research)

รูสถานการณ …..….…..……………… รวบรวมองคความรูที่มีในอดีต/ปจจุบัน ……..…..………… ไดองคความรูใหม 0% ……………........………….……..…… ระดับของความรูที่ไดจากการคนหา ……………….....…………..…… 100%

วิเคราะหขอมูล

รวบรวม/สํารวจขอมูลและเอกสาร

ขอขอมูล

การไดมา ของความรู (Extracting new meaning,

developing unique solutions)

0% ………………….………….....…....…. ระดับความละเอียดออนในการคนหา ……..…..…....……….….….…..……. 100%

Page 7: บทที่ 1 งานวิจัย - Pirun Web Serverpirun.ku.ac.th/~fedutnw/pubs/cp01_research.pdf · บทที่ 1 งานวิจัย 1.1 งานวิจัยและการพ

ระเบียบวิธีวิจัยสําหรับนักวิจัยมือใหม ~ 7 ~ ฐณัฐ วงศสายเชื้อ

ฉลาด (Nutt, 2011) และการเผยแพร แลกเปลี่ยนและสั่ง

สมองคความรูจากงานวิจัย เปดโอกาสใหผูอื่นนําองค

ความรู ไปพัฒนาตอยอดให เกิดความรู ใหม เสมอ

(Chistakis, 2010) สําหรับสาเหตุที่ตองมีการทําวิจัยนั้น

สามารถจําแนกไดหลายลักษณะดังตอไปนี้

1.3.1 เหตุผลดานศาสตร พฤติกรรมอยากรูอยากเห็นหรือความตองการ

ที่จะแสวงหาความจริง จากสิ่งที่สงสัยเปนพื้นฐานอยาง

หนึ่งของมนุษย ความอยากรูอยากเห็นชวยเสริมสราง

ความรูความเขาใจใหม พรอมกับการสะสมองคความรู

ขยายตัวมากขึ้น ขณะเดียวกันก็เปนการกระตุนใหเกิด

ความอยากรูอยากเห็นในเรื่องราวอื่นๆ ที่มนุษยสนใจ

มากขึ้น เมื่อองคความรูดังเดิมหรือที่มีอยูไมสามารถให

คําตอบที่นาเชื่อถือได หรือองคความรูดังเดิมมีความ

ขัดแยงกัน หรือขัดแยงกับปรากฏการณเชิงประจักษ เปน

ตน ดังนั้นเหตุผลที่ทําการวิจัยในมิติดานองคความรู

จําแนกได 3 ประเภท คือ การหาองคความรูใหม การ

หักลางความรูดังเดิม และการหาวิธีการใหม โดยมี

รายละเอียดดังตอไปนี้

• การคนหาองคความรูใหม การทําวิจัยในเรื่องที่

ยังไม มี ผู ใดไดทําการศึกษาไวกอนแลว หรือ

งานวิจัยเริ่มแรก ในปจจุบันเปนเรื่องคอนขางยาก

มากที่จะหาเรื่องหรือประเด็นใหมที่ยังไมมีผูใด

ทําการศึกษามาแลว แตบางครั้งงานวิจัยเริ่มแรก

อาจเกิดจากปรากฏการณดานเศรษฐกิจ สังคม

หรือส่ิงแวดลอมที่ผิดปกติจากอดีตและทําใหเกิด

ประเด็นใหมๆ ที่ยังไมมีผูใดศึกษามากอน อาจ

เพราะในอดีตที่ผานมายังไมเคยประสบปญหา

ดังกลาว หรือปญหาดังกลาวอาจระดับความ

รุนแรงที่ต่ํา หรือเทคโนโลยีในอดีตยังไมกาวหนา

เพียงพอที่จะทําการวิจัยหรือหาคําตอบได

• การหักลางแนวความคิดหรือทฤษฎีดั้งเดิม การคนหาคําตอบจากประเด็นที่ มีแนวคิดที่

แตกตางกัน หรือแนวคิดที่ขัดแยงกันที่เกิดขึ้นจาก

ความเชื่อและมุมมองที่ตางกัน ยกตัวอยางเชน ใน

อดีตมนุษยเชื่อวา โลกเปนศูนยกลางของจักรวาล

ดวงดาวตางๆ โคจรรอบโลก เมื่อมนุษยสามารถ

รับรูที่ปรากฏการณที่ขัดแยงความเชื่อดังกลาว

อาทิ การเกิดขางขึ้นขางแรมหรือเงาบนของดวง

จันทร หรือการคนพบทวีปอเมริกาของโคลัมบัส

ปรากฏการณ เหลานี้สามารถลบลางความเชื่อ

ดังเดิมมาสูองคความรูใหม คือ โลกมีลักษณะทรง

กลม และโลกถือเปนเพียงดาวเคราะหหนึ่งที่เปน

บริวารของดวงอาทิตย

• การคนหาวิธีการวิทยาการใหม การวิจัยเพื่อ

เพิ่มประสิทธิภาพจากสิ่งที่มีอยูแลวใหดีขึ้น เชน ใช

ระยะเวลานอยลง ใชทรัพยากรนอยลง หรือได

ผลผลิตมากขึ้น และบางครั้งอาจเปนการคนหา

ทรัพยากรอื่นมาทดแทนทรัพยากรที่ขาดแคลนหรือ

มีราคาแพง อาทิ การผลิตรถยนต ในยุคแรกเนน

การพัฒนาทางดานกําลังเครื่องยนตเพื่อทําใหรถ

สามารถวิ่งไดเร็ว แตเมื่อน้ํามันมีราคาแพงขึ้น ผูคน

ก็หันมาใหความสนใจถึงการประหยัดน้ํามัน และ

เมื่อน้ํามันมีราคาแพงขึ้นอีก ความสนใจจึงมุงไปที่

การคนหาพลังงานทดแทนที่มีตนทุนที่ต่ํากวา เชน

กาซธรรมชาติ น้ํามันที่สกัดไดจากพืช พลังงาน

ไฟฟา เปนตน

1.3.2 เหตุผลดานการใชประโยชน นักวิชาการบางทานระบุถึงสาเหตุในการทํา

วิจัยออกตามลักษณของการนําผลงานวิจัยไปใช

ประโยชน ซึ่งผูสนับสนุนทุนวิจัยหรือแหลงทุนไดแบง

งานวิจัยออกเปน 2 ประเภทหลัก ไดแก (1) งานวิจัยที่

สามารถนําเอาผลการวิจัยไปใชประโยชนที่เปนรูปธรรม

หรือเรียกวางานวิจัยประยุกต และ (2) งานวิจัยเพื่อ

พัฒนาองคความรูทางวิชาการ ซึ่งเรียกวา งานวิจัย

เบื้องตนหรืองานวิจัยบริสุทธ ซึ่งมีรายละเอียดดังตอไปนี้

• การวิจัยเบ้ืองตน (Basic research) หมายถึง

การวิ จั ย เพื่ อสร า งองคความรู ทางวิ ชาการ

การศึกษาที่ มุงคนหาขอเท็จจริง ความรูความ

Page 8: บทที่ 1 งานวิจัย - Pirun Web Serverpirun.ku.ac.th/~fedutnw/pubs/cp01_research.pdf · บทที่ 1 งานวิจัย 1.1 งานวิจัยและการพ

ระเบียบวิธีวิจัยสําหรับนักวิจัยมือใหม ~ 8 ~ ฐณัฐ วงศสายเชื้อ

เขาใจ สรางหรือหักลางแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวของ

กับปรากฏการณที่เกิดขึ้น โดยผลการศึกษาไมได

คาดหวังที่จะนําผลการศึกษาไปใชประโยชน

โดยตรงหรือทันที บอยครั้งที่การวิจัยเบื้องตนจะ

เปนองคความรูพื้นฐานสําหรับการวิจัยตอไป หรือ

การสะสมและเสริมสรางองคความรูตางๆ ในแต

ละศาสตรและสาขาวิชา

• การวิจัยประยุกต (Applied research) มี

เปาหมายในการนําผลการวิจัยที่ไดไปใชประโยชน

เปนหลัก เชน การทําวิจัยเพื่อแกไขปญหา และการ

นําผลการวิจัยมาประกอบการตัดสินใจในโครงการ

พัฒนาฯ กระบวนการ และวิธีการทํางาน ตางๆ ซึ่ง

ปจจุบันการวิจัยประยุกตเปนกลุมที่ได รับการ

ความสนใจและสนับสนุนจากแหลงทุนวิจัยมาก

เนื่องจากผลที่ไดมีประโยชนที่เปนรูปธรรมมากกวา

งานวิจัยเบื้องตน รวมทั้งตอบสนองความตองการ

ของผูใหทุนและคนในสังคมไดดี อีกทั้งผลการวิจัย

ในการวิจัยประยุกตบางโครงการอาจสามารถ

สรางมูลคาในการลงทุนหรือใหผลตอบแทนที่สูง

และเร็วกวา

1.3.3 เหตุผลดานบุคคลและองคกร

ง า น วิ จั ย เ กี่ ย ว กั บ ผู ค น จํ า น วนม ากทั้ ง

ผูสนับสนุนทุนวิจัยหรือแหลงทุนวิจัยจากภาครัฐและ

เอกชนที่เปนหนวยงานทั้งภายในประเทศและระหวาง

ประเทศ บริษัทและองคกรเอกชน มหาวิทยาลัย ผูผลิต

ผลงานวิจัย และผูใชผลงานวิจัย ซึ่งเหตุผลในการทําวิจัย

กแ็ตกตางกันตามบุคคลและหนวยงานที่เกี่ยวของดังนี้

• ผูสนับสนุนทุนวิจัยและแหลงทุนวิจัย

อ ง ค ก ร ร ะ ห ว า ง ป ร ะ เ ท ศ โ ด ย เ ฉ พ า ะ

สหประชาชาติ เชน UNDP, UNFPA, UNAIDS, ODC,

WHO, UNESCO และธนาคารโลก หรือองคกรใน

ประเทศพัฒนาแลว เชน USAID, CIDA, JICA,

Fulbright รวมทั้งหนวยงานภายในประเทศ เชน

สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.) สํานักงาน

กองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และหนวยงานอื่นๆ

เชน Rockefeller Foundation, The Wellcome Trust,

Bill & Melinda Gates Foundation เปนตน แมวาแหลง

ทุนวิจัยที่กลาวมาจะมีบทบาทหนาที่แตกตางกันไป แต

เหตุผลในการสนับสนุนใหเกิดการวิจัยนั้น ทุกองคกรตาง

มุงใหเกิดการพัฒนาขึ้นในสังคม สงเสริมใหผูคนมีชีวิต

ความเปนอยูที่ดี มีสิทธิและเสรีภาพเทาเทียมกัน สราง

สังคมพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน เพื่อใหเกิดความสันติสุข

ขึ้นในสังคมโลก

• บริษัทและองคกรเอกชน

งานวิจัยเริ่มมีบทบาทในภาคเอกชนมากขึ้น

บริษัทหรือองคกรเอกชนขนาดใหญมีจัดตั้งฝายวิจัยและ

พัฒนา (Research and Development: R&D) เนนการ

คิดคนและพัฒนาเทคโนโลยีใหม เพื่อการจดสิทธิบัตร

ตางๆ และสรางผลประโยชนทางธุรกิจ เชน บริษัทยาที่

สามารถคิดคน และผลิตยาหรือวัคซีนตัวใหม โดยเฉพาะ

อยางยิ่งยารักษาโรคมะเร็งจะสามารถสรางรายไดแก

บริษัทจํานวนมหาศาล หรือบริษัท Apple ที่ประสบ

ความสําเร็จในการผลิตและจําหนายนวัตกรรมใหมที่ได

จากการวิจัย เชน iPod, iPhone, และ iPad เปนตน

• มหาวิทยาลัยและสถาบันการศึกษา

มหาวิทยาลัยเปนหนวยงานหลักที่ผลิตผล

งานวิจัยและบุคลากรดานวิจัย สถาบันที่มีงานวิจัยมาก

จะได รับการจัดอันดับใหเปนมหาวิทยาลัยชั้นนํา มี

ชื่อเสียงและไดรับงบวิจัยในสัดสวนที่สูง เปนที่ยอมรับ

มากในวงวิชาการและสังคม หากมหาวิทยาลัยมี

งานวิจัยในศาสตรใดศาสตรหนึ่งมากก็จะสะทอนถึง

ความเปนเลิศหรือเปนแหลงเรียนรูที่ มีอาจารยและ

นักวิจัยที่มีความรูความสามารถสูง ทําใหสามารถดึงดูด

คนที่มีศักยภาพสูงมาเรียนหรือมารวมงาน รวมทั้งการ

ได รับการเชิญให เปนผูทรงคุณวุฒิที่ มีสวนในการ

ตัดสินใจและพิจารณาโครงการวิจัย หรือบางครั้งก็มีสวน

ในการกําหนดทิศทางงานวิจัยของชาติอีกดวย

Page 9: บทที่ 1 งานวิจัย - Pirun Web Serverpirun.ku.ac.th/~fedutnw/pubs/cp01_research.pdf · บทที่ 1 งานวิจัย 1.1 งานวิจัยและการพ

ระเบียบวิธีวิจัยสําหรับนักวิจัยมือใหม ~ 9 ~ ฐณัฐ วงศสายเชื้อ

• ผูผลิตงานวิจัย

การทํางานวิจัยโดยทั่วไปเปนกระบวนการเพื่อ

คนหาความรูความจริงในเรื่องหรือประเด็นที่ยังไมมีผูใด

ทําการศึกษามากอน เมื่อนักวิจัยคนพบองคความรูใหม

จะทําการเผยแพรสูวงวิชาการเพื่อแสดงความเปน

เจาของผลงานวิจัย ผลงานวิจัยที่เปนประโยชนตอมวล

มนุษยชาติจะไดรับการยกยองและการมอบรางวัล เชน

การมอบรางวัลโนเบล (Nobel Prize) ถือไดวาเปน

รางวัลอันทรงเกียรติสูงสุดของนักวิจัย นอกจากนี้การทํา

วิจัยเปนการแสดงออกถึงความรูความสามารถของตนสู

วงวิชาการ ผูที่สรางผลงานวิจัยที่ดีจะไดรับการยกยอง

ชื่นชมและเปนที่จดจําในกลุมนักวิจัยในปจจุบันและ

นักวิจัยรุนตอไป

• ผูใชผลงานวิจัย

แมวาทุกคนในโลกอาจไมใชผูทํางานวิจัย แตก็

มีสวนทําใหเกิดงานวิจัยขึ้นมาเชนกัน เพราะถือวาเปน

ผูใชผลงานวิจัยคนสุดทาย เมื่อเกิดปญหาขึ้นและมี

ผลกระทบมากและรุนแรงตอคนในสังคม เชน การขาด

แคลนอาหาร ซึ่งกระตุนใหนักวิจัยตองการหาวิธีการ

แกปญหาและกระตุนใหองคกรตางๆ สนับสนุนเงินทุน

วิจัย เพื่อพัฒนาเทคโนโลยีใหมที่สามารถทําการผลิต

อาหารขนานใหญ (Mass product) การเพาะปลูกที่

ใหผลผลิตตอบแทนที่มีประสิทธิภาพสูง ดวยตนทุนการ

ผลิตที่ต่ํา ซึ่งจะสงผลใหอาหารที่ผลิตไดมีราคาถูก

สําหรับทุกคนและมีประมาณอาหารที่เพียงพอสําหรับ

การบริโภคของคนทั่วโลก

1.4 ศาสตร แนวคิดทฤษฎีและความสาํคัญของการวิจยั

แมวาศาสตร หมายถึง ประมวลวิชาความรูที่มี

การสั่งสมมาในอดีต และถายทอดความรู แนวคิด

ทฤษฎีตางๆ สูคนรุนถัดไปผานการเรียนรูและการฝก

ปฏิบัติแลว ยังหมายถึง การสรางความรู ใหม เพื่อ

อธิบายขอเท็จจริงที่ทดสอบได และคาดการณเกี่ยวกับ

ปรากฏการณที่เกิดขึ้นทั่วไปในสังคมหรือตามธรรมชาติ

ฉะนั้นแตละศาสตรจึงมีการจําแนกความรูตางๆ ตาม

หมวดหมูออกเปนแนวคิดทฤษฎีตางๆ ซึ่งใชในการ

อธิบายปรากฏการณตามธรรมชาติที่เกิดขึ้นในสังคม

หรือโลก ผานกลุมตัวแปรและชี้ถึงความสัมพันธระหวาง

ตัวแปรภายในกลุมนั้น วามีมากนอยเพียงใดหรือมี

ทิศทางความสัมพันธอยางไร สําหรับความสามารถใน

การอธิบายตอปรากฏการณที่เกิดขึ้นของแนวคิดทฤษฎี

นั้น ตั้งอยูบนพื้นฐานที่สามารถทดสอบหรือพิสูจนได

ผานการสังเกต คนหาอยางละเอียดและเปนระบบ หรือ

การทําวิจัยนั้นเอง รายละเอียดดังภาพตอไปนี้

ภาพ 1.5 ความสัมพันธของศาสตร แนวคิดทฤษฎีและ

งานวิจัย ในวิธีวิทยาแบบอุปมานและอนุมาน

สําหรับงานวิจัยหรือการไดมาซึ่งองคความรู

ใหมจําแนกได 2 วิธี คือ การอนุมานและการอุปมาน ซึ่ง

การอนุมานใหหลักเหตุผลในต้ังสมมุติฐานหรือขอสงสัย

ที่สามารถพิสูจนได จากนั้นทําการเก็บรวบรวมขอมูล

และวิ เคราะหผล ผลการศึกษาที่ ไดจะทําให ผูวิจัย

สามารถทําการสรุปผลไดวา ควรยอมรับหรือปฏิเสธ

สมมุติฐานที่ตั้งไว สวนการอุปมาน อาศัยประสบการณ

และการสังเกตขอมูลชุดหนึ่ง และทําการคนหารูปแบบ

แบบแผนหรือความสัมพันธระหวางตัวแปรที่สนใจ ซึ่งผล

การศึกษาที่ไดอาจเปนองคความรูจากการทดลองใน

ประชากรที่ศึกษา ซึ่งทั้ งสองแนวทางอาจไดมาซึ่ ง

คําตอบที่แตกตางกัน ดังตาราง 1.2 ตอไปนี้

Page 10: บทที่ 1 งานวิจัย - Pirun Web Serverpirun.ku.ac.th/~fedutnw/pubs/cp01_research.pdf · บทที่ 1 งานวิจัย 1.1 งานวิจัยและการพ

ระเบียบวิธีวิจัยสําหรับนักวิจัยมือใหม ~ 10 ~ ฐณัฐ วงศสายเชื้อ

ตาราง 1.2 เปรียบเทียบวิธีการอนุมานและอุปมาน จากตัวอยางของความสัมพันธระหวางระดับการศึกษาและรายได

วิธีการอนุมาน (Deductive method) วิธีการอุปมาน (Inductive method)

1. ตั้งสมมุติฐาน: ผูมีการศึกษาสูงจะมีรายไดสูง รายได (บาทตอเดอืน)

1. รวบรวมขอมูลและการสังเกต รายได (บาทตอเดือน)

ระดับการศึกษา (จํานวนป) ระดับการศึกษา (จํานวนป)

2. รวบรวมขอมูลและการสังเกต รายได (บาทตอเดอืน)

2. คนหาแบบแผนความสัมพันธ รายได (บาทตอเดือน)

ระดับการศึกษา (จํานวนป) ระดับการศึกษา (จํานวนป)

3. สรุปผล: ยอมรับสมมุติฐานที่ตั้งไว รายได (บาทตอเดอืน)

3. สรุปผล: ความรูที่ไดจากการทดลอง รายได (บาทตอเดือน)

ระดับการศึกษา (จํานวนป) ระดับการศึกษา (จํานวนป)

สรุป: คําตอบที่ไดสามารถอธิบายไดรอยละ 42.09 สรุป: คําตอบที่ไดสามารถอธิบายไดรอยละ 60.52

Page 11: บทที่ 1 งานวิจัย - Pirun Web Serverpirun.ku.ac.th/~fedutnw/pubs/cp01_research.pdf · บทที่ 1 งานวิจัย 1.1 งานวิจัยและการพ

ระเบียบวิธีวิจัยสําหรับนักวิจัยมือใหม ~ 11 ~ ฐณัฐ วงศสายเชื้อ

ตารางที่ 1.1 แสดงความสัมพันธระหวางระดับ

การศึกษาและรายได วิธีการอนุมาน ผูวิจัยจะทําการตั้ง

สมมุติฐานโดยเชื่อวา ผูที่มีการศึกษาสูงจะมีรายไดสูงใน

ลักษณะความสัมพันธเชิงเสนตรง จากนั้นทําการเก็บ

รวมรวมขอมูลและวิ เคราะห ผลการวิ เคราะหพบ

ความสัมพันธทั้ ง ในลักษณะเสนตรงและ ระดับ

การศึกษาสามารถอธิบายความสัมพันธกับรายไดอยาง

มีนัยสําคัญทางสถิติ ไดถึงรอยละ 42 สวนวิธีการ

อุปมานนั้นพบความสัมพันธเชิงเสนโคงหรือ J-shape

ซึ่งสามารถอธิบายความสัมพันธไดรอยละ 60 เปนตน

นอกเหนือจากวิธีการไดมาซึ่งองคความรูใหม

แลว งานวิจัยยังเปนกลไกลสําคัญที่ทําใหศาสตรแตละ

แขนงพัฒนาสูงขึ้น ครอบคลุมเนื้อหาและสาระ หรือมี

ความเปนพหุศาสตรมายิ่งขึ้น งานวิจัยเพื่อคนหาองค

ความรูใหม และเติมเต็มความรูในแตละศาสตรและ

แนวคิดทฤษฎีที่ขาดหาย (Knowledge gap) ชองวาง

ของความรูนี้เปนภาระหนาที่ของนักวิจัยในแตละศาสตร

ตองคนหาความรูเพิ่มเติมตลอดเวลา เพื่อเสริมสง หรือ

ขั ด เ กลาองค ค วามรู ที่ มี อยู ให ส ามารถอธิ บ าย

ปรากฏการณที่เกิดขึ้นไดครอบคลุมและชัดเจน ดังภาพ

1.6 ตอไปนี้

ภาพ 1.6 องคความรูที่ขาดหายในศาสตร แนวคิดทฤษฎี

และการเตมิเต็มองคความรูดวยงานวิจัย

1.5 องคประกอบของรายงานการวจิัย การจัดทํารายงานเพื่อนําเสนอผลของการวิจัย

โดยทั่วไปนั้น ประกอบดวย 3 สวนคือ

1). สวนหนาของงานวิจัย สวนนี้ เปนส่ิงที่

นักวิจัยทําเปนลําดับสุดทาย เนื่องจากตองใหสวน

งานวิจัยและสวนทายเสร็จบริบูรณกอน จึงจะสามารถ

ดําเนินการในสวนหนานี้ได รายละเอียดของสวนหนา

ไดแก ปกรายงานการวิจัย บทคัดยอภาษาไทยและ

ภาษาอังกฤษ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญ

ตาราง สารบัญภาพหรือแผนภูมิ ตามลําดับ

2). สวนงานวิจัย จัดเปนสวนเนื้อหาที่สําคัญ

ของงานวิจัยและเปนสวนแรกที่ผูวิจัยตองทํา ซึ่งบางสวน

อาจเริ่มตั้งแตการจัดทํา “แบบเสนอโครงวิจัย” ซึ่งไดแก

บทนํา บททบทวนวรรณกรรม บทระเบียบวิธีการวิจัย

เมื่อแบบเสนอโครงการวิจัยไดรับความเห็นชอบจาก

ผูทรงคุณวุฒิใหดําเนินการได ผูวิจัยจะตองจัดทํา

เพิ่มเติมอีกไดแก บทวิเคราะหขอมูล และบทสรุปผล

อภิปรายผลและขอเสนอแนะ

3) . สวนทายของงานวิจัย จัดเปนสวนที่

รวบรวมแหลงอางอิงและเอกสารอื่นๆ ซึ่งเปนสวนที่

ผูวิจัยจะทําหลังจากสวนงานวิจัยแลวเสร็จ สวนทายนี้

ไดแก บรรณานุกรม ภาคผนวก และประวัติผูวิจัย เปน

ตน นอกจากการแบงงานวิจัยเปน 3 สวนหลักแลวยัง

สามารถแบงงานวิจัยตามเนื้อหาสาระสําคัญไดอีก 9

หัวขอดังตอไปนี้

1.5.1 ช่ือโครงการวิจัย นักวิจัยและวงวิชาการมักใหความสนใจเปน

อันดับแรกที่สามารถสะทอนถึงศาสตร ลักษณะการเก็บ

ขอมูล ประชากรเปาหมาย พื้นที่ศึกษา ประเด็น

สาระสําคัญของการวิจัย และคําสําคัญ อยางไรก็ตาม

นักวิจัยควรเลี่ยงการใชชื่อโครงการวิจัยซ้ํากับงานวิจัยที่

ทําแลวในอดีต และการตั้งชื่อที่ดีจะทําใหงานวิจัย

สามารถถูกคนพบ นําไปใชและอางอิงถึงจากนักวิจัยคน

อื่นๆ

Page 12: บทที่ 1 งานวิจัย - Pirun Web Serverpirun.ku.ac.th/~fedutnw/pubs/cp01_research.pdf · บทที่ 1 งานวิจัย 1.1 งานวิจัยและการพ

ระเบียบวิธีวิจัยสําหรับนักวิจัยมือใหม ~ 12 ~ ฐณัฐ วงศสายเชื้อ

1.5.2 นักวิจัยและคณะวิจัย ป จ จุ บั นนั ก วิ จั ย และคณะวิ จั ย จั ด เ ป น

องคประกอบหนึ่งในการประเมินของงานวิจัยของ

ผูทรงคุณวุฒิ โดยนักวิจัยควรเปนผูที่มีประสบการณดาน

งานวิจัยหรือมีความเชี่ยวชาญในสาขาที่จะทําวิจัยดวย

อยางไรก็ตาม การทําวิจัยเปนหมูคณะที่รวบรวมนักวิจัย

ที่มีความเชี่ยวชาญหลากหลายมิติเปนส่ิงที่ยอมรับกันใน

วงวิชาการอยางแพรหลาย

1.5.3 บทคัดยอ ส่ิงที่จะเชื้อเชิญใหนักวิจัยอื่นสนใจในลําดับถัด

มาคือ บทคัดยอ เนื่องเปนส่ิงที่นักวิจัยใชกล่ันกรอง

ง านวิ จั ย ที่ เ กี่ ย ว ข อ ง ม ากที่ สุ ด ดั ง นั้ น ส ว นนี้ จึ ง

ประกอบดวยสาระสําคัญของงานวิจัย เชน วัตถุประสงค

ของการวิจัย ระเบียบวิธีวิจัยพอสังเขป และที่สําคัญคือ

การนําเสนอขอคนพบใหมที่นาสนใจจากผลการวิจัย

และการชี้ถึงความโดดเดนของงานวิจัยที่มีมากกวา

งานวิจัยอื่นๆ อยางไร

1.5.4 บทนํา ปฐมบทจะระบุสภาพปญหาและมูลเหตุที่

นําไปสูการทําวิจัย ซึ่งงานวิจัยที่ดีควรมีผลกระทบชีวิต

ความเปนอยูของประชาชนสวนใหญ มีผลเปนบริเวณ

กวาง และมีความรุนแรงมาก เพื่อแสดงสิ่งที่ตองการ

ศึกษาและระดับความจําเปนเรงดวนที่ตองทําการวิจัย

ผานหัวขอตางๆ ไดแก ความเปนมาและความสําคัญ

ของปญหา วัตถุประสงคของการวิจัย คําถามวิจัย หรือ

ส่ิงที่ตองการคนหา ความสําคัญของงานวิจัย และ

ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ เปนตน

1.5.5 การทบทวนวรรณกรรม ทุติยบทเปนการตรวจสอบเอกสารงานวิจัย อัน

ไดแก แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ สําหรับ

นักวิจัยมือใหมบทนี้มีความจําเปนอยางมากที่จะทําให

งานวิจัยมีความเฉียบคมและมีความเปนไปไดในการ

ดําเนินงานวิจัย เพราะองคความรูที่ผานมาจะเปนเข็ม

ทิศที่ชวยใหนักวิจัยดําเนินงานวิจัยไดอยางถูกตอง รูวา

ตองการอะไร ตองทําอะไร ทําอยางไร เพื่อใหงานวิจัย

สามารถสําเร็จไดภายในระยะเวลาที่กําหนด สวนทาย

ของบทจะเปนการกลั่นกรองตัวแปรหรือประเด็นที่

ตองการพิสูจนบนฐานองคความรูที่ไดทบทวนมาผาน

กรอบแนวคิดทฤษฎีและกรอบการแนวคิดเพื่อการวิจัย

1.5.6 ระเบียบวิธีวิจัย ง า น วิ จั ย เ ป น ก า ร ค น ห า คํ า ต อ บ ด ว ย

กระบวนการทางวิทยาศาสตรอยางมีเหตุและผลในการ

รองรับทุกขั้นตอนการวิจัย ความเขมงวดในระเบียบแบบ

แผนนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อใหผลที่ไดมีความถูกตองและ

นาเชื่อถือ องคประกอบในบทนี้ไดแก ประชากร ขนาด

ตัวอยาง การไดมาซึ่งกลุมตัวอยาง เครื่องมือหรือ

แบบสอบถาม การเก็บรวบรวมขอมูลและแนวทางใน

การวิเคราะหขอมูล เพื่อใหสามารถตอบคําถามวิจัย

และนําไปสูวัตถุประสงคในการวิจัยที่ตองการในที่สุด

1.5.7 การวิเคราะหขอมูล บทนี้จะเปนการนําเสนอคุณลักษณะทั่วไปของ

กลุมตัวอยางในการวิจัยหรือบางครั้งเรียกการ สถิติ

พรรณนา การตรวจสอบความเหมาะสมของขอมูลตาม

เงื่อนไขของสถิติที่จะใชในการวิ เคราะห และการ

วิเคราะหขอมูลตามวัตถุประสงคของการวิจัยที่กําหนด

ไว การวิเคราะหนี้จะเปนการนําเสนอผลการวิเคราะห

และการแปลผลที่ ไดจากการวิ เคราะหขอมูลอยาง

ตรงไปตรงมา โดยปราศจากการแสดงความคิดเห็นหรือ

อภิปรายผล

1.5.8 สรุป อภิปรายผลและขอเสนอแนะ บทสุดทายจะเปนการสรุปผลการวิจัยใน

ประเด็นสําคัญ และนําผลที่ไดจากการวิเคราะหมา

ตีความและอภิปรายผลที่เชื่อมโยงไปยังแนวคิด ทฤษฎี

และเอกสารงานวิจัยที่ผานมา เพื่อสรุปขอคนพบจากผล

วิจัยที่มีความสอดคลองหรือขัดแยงจากแนวคิด ทฤษฎี

หรืองานวิจัยใด และเหตุใดผลที่ ไดจึงเหมือนหรือ

แตกตาง และประเด็นใดที่สามารถเรียกไดวาเปนขอ

คนพบใหมที่ยังไม มี ผู ใดคนพบ นอกจากนี้ยังตอง

Page 13: บทที่ 1 งานวิจัย - Pirun Web Serverpirun.ku.ac.th/~fedutnw/pubs/cp01_research.pdf · บทที่ 1 งานวิจัย 1.1 งานวิจัยและการพ

ระเบียบวิธีวิจัยสําหรับนักวิจัยมือใหม ~ 13 ~ ฐณัฐ วงศสายเชื้อ

นําเสนอแนวทางในการแกไขปญหาหรือประเด็นที่

นาสนใจในการทําวิจัยลําดับตอไป

1.5.9 บรรณานุกรม สวนนี้เปนรายการแสดงรายชื่อหนังสือและ

เอกสารอางอิง จัดเปนตัวชี้วัดอยางหนึ่งที่แสดงถึง

คุณภาพของงานวิจัยที่ดี ในประเด็นการคัดเลือก

แหลงขอมูลที่นา เชื่อถือในการอางอิ ง แหลงที่มา

ภายในประเทศหรือสากล รายช่ือของเจาของผลงานที่

ถูกอางถึงเปนผูทรงคุณวุฒิที่ได รับการยอมรับในวง

วิชาการดานนั้ นหรือ ไม นอกจากนี้ ในการจัดทํ า

บรรณานุกรมไมควรนําเอารายชื่อเอกสารอางอิงไม

เกี่ยวของกับงานวิจัยและไมมีอางถึงในสวนงานวิจัยมา

บรรจุไว เพราะจะทําใหความนาเชื่อถือของงานวิจัยดอย

คุณคาไป

องคประกอบตางๆ ในแตละสวนที่กลาวมา

ลวนแลวมีบทบาทและความสําคัญตองานวิจัย เพราะ

งานทุกสวนตองประกอบรวมกัน สอดคลอง กลมกลืน

รอยเรียงเขาเปนเนื้อหาเดียวกัน งานวิจัยจะขาดสวนใด

สวนหนึ่ง หรือแยกสวนใดสวนหนึ่งกันไมได ดังนั้นเมื่อ

การจัดทํารายงานวิจัยเสร็จแลวจําเปนอยางยิ่งที่นักวิจัย

จะทําการทบทวนองคประกอบตางๆ นับตั้งแตรายงาน

วิจัยหนาแรกจนถึงหนาสุดทาย อีกครั้งหนึ่งกอนที่จะ

นําเสนอหรือการเผยแพรรายงานวิจัย

1.6 ขั้นตอนการวิจัยในเชิงปฏิบัติ แมวาหัวขอและลําดับขั้นตอนในการวิจัยจะมี

ระบบแบบแผนแลวก็ตาม แตนักวิจัยมือใหมหรือผูที่ยัง

ไมเคยทํางานวิจัยยังคงตองเผชิญปญหาถึงส่ิงที่ตองทํา

เมื่อถึงการปฏิบัติหลายคนเจอปญหาถึงความไม

สอดคลองของแตละสวนของงานวิจัยอันสงตอคุณภาพ

ของงานวิจัยในที่สุด อยางไรก็ตามปญหานี้จะไมพบใน

กลุมนักวิจัยที่ชํานาญการแลว ลําดับขั้นตอนในการวิจัย

คลายกับขั้นตอนโดยปกติ แตเมื่อถึงขั้นตอนที่สําคัญ

จําเปนอยางยิ่งที่นักวิจัยตองตรวจสอบขั้นตอนตางๆ ใน

การวิจัยอยูเสมอ รายละเอียดดังภาพ 1.7 ตอไปนี้

ภาพ 1.7 ขั้นตอนงานวิจัยเชิงปฏิบัติ

ขั้ นตอนที่ 1 -9 เป นช ว งพัฒนาข อ เสนอ

โครงการวิจัย เพื่อไดรับอนุมัติโครงการแลว ขั้นตอน

ตอไปคือ การคัดเลือกตัวแปรและสรางเครื่องมือวิจัยนั้น

จําเปนตองตรวจสอบถึงความถูกตอง ครบถวนของ

เครื่องมือที่จะนําไปใชสามารถพิสูจนสมมุติฐานและ

ตอบคําถามวิจัยไดหรือไม เพราะเมื่อดําเนินการเก็บ

ขอมูลไปแลวจะทําการแกไข หรือเพิ่มเติมไมไดอีก และ

ขั้นตอนวิเคราะหขอมูลก็เชนกัน นักวิจัยจําเปนตอง

ต ร ว จสอบว า สถิ ติ วิ เ ค ร า ะห จ ะ สอดคล อ ง กั บ

วัตถุประสงคที่กําหนดไวหรือไม และขณะที่ทําการสรุป

ผลการวิจัย ซึ่งรวมทั้งการอภิปรายผลดวยนั้น นักวิจัย

ควรตรวจสอบแนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวของอีก

Page 14: บทที่ 1 งานวิจัย - Pirun Web Serverpirun.ku.ac.th/~fedutnw/pubs/cp01_research.pdf · บทที่ 1 งานวิจัย 1.1 งานวิจัยและการพ

ระเบียบวิธีวิจัยสําหรับนักวิจัยมือใหม ~ 14 ~ ฐณัฐ วงศสายเชื้อ

ครั้ง เพื่อใหการอภิปลายผลการวิจัยมีความเฉียบคม

มากที่สุด ขั้นตอนตอมาคือการจัดทํารายงาน ซึ่งนักวิจัย

ควรทําการทบทวนรายงานการวิจัยตั้งแตรายงานวิจัย

แผนแรกจนถึงแผนสุดทายอีกครั้ง กอนสงให คณะผูรวม

วิจั ย เพื่ อนนักวิ จัย ที่ ป รึกษาโครงการวิจั ย หรือ

ผูทรงคุณวุฒิใหขอแนะนําแลวปรับแก กอนทําการเสนอ

และเผยแพรผลงานวิจัย

1.7 จริยธรรมการวิจัย กระบวนการสวนใหญในการทําวิจัยมีความ

เกี่ยวของกับหลักจริยธรรมโดยทั่วไป โดยเฉพาะอยางยิ่ง

การวิจัยเชิงทดลองในมนุษยและการทดลองในสัตว

โครงการวิจัยที่เกี่ยวของและเปนประเด็นที่โตเถียงกัน

มากในวงวิชาการคือ การโคลนนิ่งมนุษย (Human

cloning) ซึ่ งหลายประเทศออกกฎหมายหามและ

ตอตานการทําวิจัยโคลนนิ่งในมนุษย บางประเทศหาม

ทําการโคลนนิ่งทุกรูปแบบ อาทิ หามการเพาะเลี้ยงตัว

ออนของมนุษย หามการเลือกเพศ หามการซื้อและขาย

ไขและอสุจิแตใชการบริจาคเพื่อการตั้งครรภแกคูสามี

ภรรยาที่มีบุตรยากได หรือหามการเปลี่ยนแปลงสาร

พันธุกรรม (DNA) ในมนุษย เปนตน

สําหรับจริยธรรมการวิจัยในสาขาสังคมศาสตร

แตกตางจากงานวิจัยทางวิทยาศาสตรขางตน เนื่องจาก

งานวิจัยทางสังคมศาสตรมักสรางผลกระทบทางดาน

จิตใจและความเชื่อ งานวิจัยที่ดีควรมีความซื่อตรงตอผล

การศึกษาและซื่อสัตยตอตัวผูวิจัยและผูตกเปนกลุม

ตัวอยาง โดยปราศจากการปดบังอําพรางหรือหลอกลวง

เพื่อผลประโยชนทางดานวิชาการ สําหรับหลักปฏิบัติ

เบื้องตนในการทําวิจัยอยางมีจริยธรรม 6 ประการ

(Dutton, 2010) ไดแก

1. งานวิจัยควรได รับการออกแบบ ทบทวนและ

ตรวจสอบจนมั่นใจวา เปนงานที่มีซื่อสัตยตอกลุม

ตัวอยาง มีคุณภาพ มีประโยชน โปรงใสและ

ตรวจสอบได

2. นักวิจัยและผูที่มีสวนเกี่ยวของในงานวิจัยจะตอง

ไดรับขอมูลที่ครบถวนในวัตถุประสงคของการวิจัย

กระบวนการวิจัย และเปาหมายของการนํา

ผลการวิจัยไปใช รวมถึงส่ิงที่อาจเปนความเสี่ยง

ตางตามมาหลังจากที่ทําการวิจัยแลว ซึ่งหาผูม่ี

สวนไดเสียไดรับทราบขอมูลดีแลว มีสิทธิที่จะ

ปฏิเสธในการรวมงานวิจัยได

3. ขอมูลที่เก็บจากกลุมตัวอยางถือส่ิงที่คณะผูวิจัย

ตองเก็บไวเปนความลับ และจะไมมีการเปดเผย

ชื่อ ที่อยูหรือคุณลักษณะใดๆ ก็ตามที่สามารถบงชี้

หรือระบุตัวของผูใหขอมูลได

4. ผูมีสวนรวมในงานวิจัยจะตองมาจากความสมัคร

ใจในการรวมโครงการและใหขอมูลสําหรับการ

วิจัย โดยปราศจากการบังคับขูเข็นใดๆ ทั้งส้ิน

5. งานวิจัยจะตองไมกอใหเกิดภัยอันตรายขึ้นกับผูมี

สวนเกี่ยวของในงานวิจัย ไมวาจะเปนกรณีใดๆ ทั้ง

ภัยทางดานสุขภาพจิต ภัยตอผูใหขอมูล ชุมชน

และสังคม

6. งานวิจัยและนักวิจัยตองมีอิสระ เสรีภาพและการ

แสดงถึงความเปนกลางอยางชัดเจน และความ

ขัดแยงใดๆ ที่จะมีอิทธิพลเหนืองานวิจัยหรือมี

อิ ท ธิ พลบา งส ว นจะต อ งถู ก เ ป ด เ ผยอย า ง

ตรงไปตรงมา

สําหรับนักวิ จัยมือใหมแล ว ปญหาเรื่ อ ง

จริยธรรมของนักวิจัยในขั้นตอนการวิจัยตางๆ มี

มากมาย เชน เกิดจากความไม รู เกิดจากความรัก

สะดวกสบาย หรือบางครั้งอาจเปนการเจตนากระทําผิด

อยางไรก็ตามจริยธรรมในการวิจัยนั้นเปนส่ิงที่ดีและควร

ปฏิบัติ การกระทําใดๆ ที่ผิดจริยธรรมการวิจัยนั้นยอม

นํามาซึ่งผลเสียไมเพียงเฉพาะตอตัวผูวิจัย แตอาจมี

ผลเสียตอผูที่มีสวนรวมในการวิจัย ชุมชนและสังคมดวย

เชนกัน สําหรับพฤติกรรมที่ไมเหมาะสมในการวิจัยใน

กลุมนักวิจัยที่ออนจริยธรรม อาทิ

Page 15: บทที่ 1 งานวิจัย - Pirun Web Serverpirun.ku.ac.th/~fedutnw/pubs/cp01_research.pdf · บทที่ 1 งานวิจัย 1.1 งานวิจัยและการพ

ระเบียบวิธีวิจัยสําหรับนักวิจัยมือใหม ~ 15 ~ ฐณัฐ วงศสายเชื้อ

1. การจางและรับจางทําวิจัยดวยมีเงินหรือการ

ผลประโยชนเปนการตอบแทน โดยเฉพาะอยางยิ่ง

การจางทําวิทยานิพนธในสถานศึกษา พฤติกรรม

เชนนี้เสมือนมะเร็งหรือเนื้อรายที่คอยกัดกรอน

ระบบการศึกษา การพัฒนาคนและการพัฒนา

ประเทศในมิติตางๆ

2. การตรวจสอบงานวิจัยที่ตนจะศึกษามีผูใด ได

ทําการศึกษามาแลว ซึ่งมักพบวามีการตรวจสอบ

ในวงจํากัด เชน คนหาภายในมหาวิทยาลัยที่ตน

ศึกษา ไมทําการคนหาตางมหาวิทยาลัยหรือคนหา

งานวิจัยของตางประเทศ บางครั้งจะพบวามีการ

ทําวิจัยเลียนแบบจากงานอื่น เชน เปล่ียนชื่อเรื่อง

เปล่ียนพื้นที่ หรือเปล่ียนกลุม เปนตน

3. หลีกเลี่ยงการระบุประชากรที่ศึกษาอยางชัดเจนใน

โครงการวิจัยที่มีมิติดานลบ เชน การเที่ยวหญิง

บริการ กินเหลา สูบบุหรี่หรือทะเลาะวิวาทของ

นักศึกษามหาวิทยาลัย ไมควรระบุชื่อสถานศึกษา

ชุมชน พื้นที่ศึกษาที่ชัดเจนหรือตรวจสอบได

4. การคัดลอกผลงานผูอื่นมาเปนของตน ในทาง

วิชาการเรียกวา การโจรกรรมทางวรรณกรรม

(Plagiarism) แมส่ิงที่รูเทาไมถึงการณแตเปน

พฤติกรรมที่ไมเหมาะสม ปญหานี้สามารถแกไขได

โดยตัวผูวิจัยทําการศึกษา อานและสรุปตามความ

เขาใจตน กอนลงมือเขียนดวยสํานวนตนเอง

5. การอางอิงผลงานหรือผลการศึกษา โดยเฉพาะ

อยางยิ่ง สูตรและสมการ วิธีการ แบบสอบถาม

ตารางขอมูล ภาพและแผนผังที่นํามาจากงานอื่นๆ

มักไมระบุแหลงที่มาและอางอิงผิดรูปแบบ หรือไม

ทําการจดบันทึกแหลงที่มาของขอมูลทุกครั้ง เมื่อ

จําเปนตองอางอิงถึงก็ไมสามารถคนหาตนฉบับได

6. การเลือกหรือการสุมตัวอยางในการวิจัยโดยอาศัย

ความสะดวก สบาย และรวดเร็วในการเก็บ เชน

การระบุที่จะเก็บขอมูลโดยการสุมตามโอกาส

ความนาจะเปน แตในทางปฏิบัติกับทําการเก็บ

ขอมูลโดยการสุมแบบบังเอิญ เปนตน

7. การแนะนําตัวของนักวิจัยมือใหมสวนใหญมักไม

เ ห็ นความสํ า คัญ ในการ ให ข อ มู ล เกี่ ย วกั บ

โครงการวิจัยแก ผูที่ตกเปนตัวอยางการวิจัย

เนื่องจากตองเสียเวลาในการทําความเขาใจและ

อธิบายความเปนมาของโครงการวิจัย

8. ขาดการสอบถามความสมัครใจในการใหขอมูล

หรือมอบแบบแสดงความยินยอมในการใหขอมูล

(Consent Form) แกกลุมตัวอยาง

9. บอยครั้งที่ ผูวิจัยไมทําการขออนุญาตผูตกเปน

ตัวอยางในการวิจัย เพื่อทําการบันทึกภาพและ

บันทึกเสียง และการจดบันทึกขอมูลอื่นๆ ที่ไม

เปดเผยใหกลุมตัวอยางทราบ

10. การสรางขอมูลเท็จ หมายถึง นักวิจัยหรือผูมีสวน

รวมในการวิจัยทําการตอบแบบสอบถามเองแทน

การเก็บขอมูลจากกลุมตัวอยาง โดยเปดเผย

หรือไมเปดเผยใหผูมีสวนรวมโครงการวิจัยทราบ

11. การวิเคราะหขอมูล บอยครั้งที่นักวิจัยไมทําการ

ตรวจสอบถึงความถูกตองในการเก็บขอมูล ลง

ขอมูลและบันทึกขอมูล กอนการวิเคราะห และการ

วิเคราะหมักทําการวิเคราะหนอยครั้ง เมื่อไดผลที่

แสดงถึงนัยสําคัญทางสถิติจะทําการยุติการ

วิเคราะหทันที

12. การแปลผล อภิปรายผลและขอเสนอแนะ เกินกวา

ขอคนพบหรือผลการวิจัย รวมทั้งการแปลผลโดย

ไมคํานึงถึงผลกระทบและความเสียหายที่อาจ

เกิ ดขึ้ นทางด านชุมชนและสั งคม หรื อการ

เสนอแนะในประเด็นที่ไมไดทําการศึกษา

ป ร ะ เ ด็ น จ ริ ย ธ ร ร ม ก า ร วิ จั ย เ ป น เ รื่ อ ง

ละเอียดออนตอการพัฒนาทรัพยากรมนุษย ชุมชนและ

สังคม หากสังคมใดมีนักวิจัยที่มีจริยธรรมการวิจัยที่ดี

งานวิจัยยอมชวยสงเสริมพัฒนาประเทศได และยัง

สะทอนถึ ง ระดับการพัฒนาทรัพยากรมนุษยที่ ดี

ยกระดับคุณภาพชีวิตและความเปนอยูของคนใหพน

จากความตองการพื้นฐานเพื่อยังชีพ สูการใชหลัก

Page 16: บทที่ 1 งานวิจัย - Pirun Web Serverpirun.ku.ac.th/~fedutnw/pubs/cp01_research.pdf · บทที่ 1 งานวิจัย 1.1 งานวิจัยและการพ

ระเบียบวิธีวิจัยสําหรับนักวิจัยมือใหม ~ 16 ~ ฐณัฐ วงศสายเชื้อ

ปราชญามาใชในการดําเนินชีวิต นอกจากจะทําให

ชุมชนนาอยูแลว สังคมมีสันติภาพอีกดวย

เอกสารประกอบการเขียนบทที่ 1: งานวิจัย

Babie, E. 2011. Introduction to Social Research. 5th Edition.

Wadsworth and Cengage Learning.

Bongaarts, J. 1996. Pressure and the Food Supply System

in the Developing World. Population and Development

Review, Vol.22 No.3, pp. 483-503.

Dutton, W.H. 2010. Six Principles to Guide Research Ethics

in Social Sciences.

http://people.oii.ox.ac.uk/dutton/2010/02/05/principles-

to-guide-research-ethics-in-the-social-sciences/.21

Mar 2012.

Ehrlich, P.R., Ehrlich, A.H. and Daily, G.C. 1993. Food

Security, Population and Environment. Population and

Development Review, Vol.19 No.1, pp. 1-32.

FAO. 1981. Crop Production Level and Fertilizer Use. FAO

Fertilizer and Plant Nutrition Bulletin, Vol.2, Food and

Agriculture Organization of The United Nations, Rome.

Hanson, H., Borlaug, N.E., and Anderson, R.G. 1982.

Wheat in the Third World. Westview Press,Boulder,

Colorado.

Malthus, T.R. 1798. An Essay on the Principle of

Population. 1st ed. 1798, online at the Library of

Economics and Liberty,

http://www.econlib.org/library/Malthus/malPop.html.

Acce… 15 Mar 2012.

Ortiz, R., Mowbray, D., Dowswell, C., and Rajaram, S.

2007. Dedication: Norman E. Borlaug,

The Humanitarian Plant Scientist Who Changed the

World. Plant Breeding Reviews, Vol.28. Edited by Jules

Janick, pp. 1-37.

World Bank. 1998. Knowledge for Development. The

International Bank for Reconstruction and

Development, The World Bank. Washington, D.C.

จรรจา สุวรรณฑัต. 2551. จริยธรรมการวิจัย. วารสารพัฒนา

สังคม. ปที่ 10 เลมที่ 2 หนา 71-77.

จรรยา เศรษฐบุตร. 2542. จริยธรรมในการวิจัยทางสังคมศาสตร.

วารสารประชากรและสังคม. ปที่ 7 ฉบับที่ 2.

หนา 19-31.

ฐณัฐ วงศสายเชื้อ. 2553. การตีพิมพผลงานวิจัยใน

วารสารวิชาการของอาจารยมหาวิทยาลัย. ภาควิชาการ

พัฒนาทรัพยากรมนุษยและชุมชน คณะศึกษาศาสตร

และพัฒนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขต

กําแพงแสน จังหวัดนครปฐม.

สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ. 2546. ระเบียบวิธีการวิจัยทาง

สังคมศาสตร. พิมพครั้งที่ 12. กรุงเทพมหานคร: สามลดา.

681 หนา.