Top Banner
มคอ.3 รายละเอียดของรายวิชา ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ภาควิชาสังคมศาสตร์ หมวดที1 ข้อมูลโดยทั่วไป 1. รหัสและชื่อรายวิชา MFS1102 การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ Object Oriented Programming 2. จํานวนหน่วยกิต 3 หน่วยกิต (2-2-5) 3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ แขนงวิชาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน อาจารย์ วิภาดา เชี่ยวชาญ 5. ภาคการศึกษา / ชั้นปีท่เรียน ภาคการศึกษาที2 /2558 ชั้นปีท1 หมู่เรียน 001-002 6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisite) (ถ้ามี ) ไม่มี 7. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisites) (ถ้ามี ) ไม่มี 8. สถานที่เรียน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา 9. วันที่จัดทําหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด 21 ธันวาคม 2558 หมวดที2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ จุดมุ่งหมายของรายวิชา เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ คลาสและองค์ประกอบของวัตถุ การสืบทอดและความหลากหลายรูปร่าง การการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเพื่อเชื่อมต่อฐานข้อมูล การจัดการความผิดปกติโดยมีข้อยกเว้น และการเขียนโปรแกรมประยุกต์ใช้กับการจัดการสารสนเทศ 2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม มีทักษะในการออกแบบ วิเคราะห์ออกแบบขั้นตอนของการเขียนโปรแกรมที่เหมาะสมและมีแนวคิดของการออกแบบซอฟท์แวร์เพื่อให้เกิดการ ทํางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
8

มคอ.3 รายละเอียดของรายวิชา ... · 2015-12-30 · 4 - บรรยาย นําเสนอด้วย PowerPoint -...

Mar 07, 2020

Download

Documents

dariahiddleston
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: มคอ.3 รายละเอียดของรายวิชา ... · 2015-12-30 · 4 - บรรยาย นําเสนอด้วย PowerPoint - ศึกษาจากเอกสารประกอบการสอน

มคอ.3

รายละเอียดของรายวิชา

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ภาควิชาสังคมศาสตร์

หมวดที่ 1 ข้อมูลโดยทั่วไป

1. รหัสและชื่อรายวิชา

MFS1102 การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ Object Oriented Programming

2. จํานวนหน่วยกิต 3 หน่วยกิต (2-2-5)

3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ แขนงวิชาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ

4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน อาจารย์วิภาดา เชี่ยวชาญ

5. ภาคการศึกษา / ชั้นปีที่เรียน ภาคการศึกษาที่ 2 /2558 ชั้นปีที่ 1 หมู่เรียน 001-002

6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisite) (ถ้ามี) ไม่มี

7. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisites) (ถ้ามี) ไม่มี

8. สถานที่เรียน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

9. วันที่จัดทําหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด 21 ธันวาคม 2558

หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค ์ จุดมุ่งหมายของรายวิชา เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ คลาสและองค์ประกอบของวัตถุ การสืบทอดและความหลากหลายรูปร่าง การการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเพื่อเชื่อมต่อฐานข้อมูล การจัดการความผิดปกติโดยมีข้อยกเว้น และการเขียนโปรแกรมประยุกต์ใช้กับการจัดการสารสนเทศ   2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม มีทักษะในการออกแบบ วิเคราะห์ออกแบบขั้นตอนของการเขียนโปรแกรมที่เหมาะสมและมีแนวคิดของการออกแบบซอฟท์แวร์เพื่อให้เกิดการทํางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

Page 2: มคอ.3 รายละเอียดของรายวิชา ... · 2015-12-30 · 4 - บรรยาย นําเสนอด้วย PowerPoint - ศึกษาจากเอกสารประกอบการสอน

2

หมวดที่ 3 ลักษณะและการดําเนินการ

1. คําอธิบายรายวิชา แนวคิดและหลักการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ คลาสและองค์ประกอบของวัตถุ การสืบทอดและ ความหลากหลายรูปร่าง การการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเพื่อเชื่อมต่อฐานข้อมูล การจัดการความผิดปกติโดยมีข้อยกเว้น และการเขียนโปรแกรมประยุกต์ใช้กับการจัดการสารสนเทศ Concepts and principles of Object-oriented programming; Class and various components of the object; Inheritance and polymorphism; Object-oriented management used by methods and class; Computer programming to connect database; Management irregularities with the exception; Application software in the information management.

2. จํานวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา

บรรยาย สอนเสริม การฝึกปฏิบัติ/งานภาคสน

าม/การฝึกงาน การศึกษาด้วยตนเอง

บรรยาย 30 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษา

สอนเสริมตามความต้องการของนักศึกษาเฉพาะราย

ฝึกปฏิบัติ 30 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษา

การศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมงต่อสัปดาห์

3. จํานวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คําปรึกษาและแนะนําทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล - อาจารย์ประจํารายวิชาตอบข้อสักถามจากนักศึกษาผ่าน e-Mail และเครือข่ายสังคมออนไลน์ และหากข้อคําถามใดที่มีประโยชน์ต่อนักศึกษาท่านอื่น อาจารย์ประจํารายวิชาจะนําขึ้นเว็บไซต์รายวิชานี้ - อาจารย์จัดเวลาให้คําปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)

หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา

1. คุณธรรม จริยธรรม

1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา

ให้แนวคิดและสร้างความเข้าใจแก่ผู้เรียนเพื่อให้ผู้เรียนมีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของข้อมูลส่วนบุคคล การไม่เปิดเผยข้อมูล การไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางซอฟต์แวร์ และไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา มีความซื่อสัตย์ในการจัดการหรือประกาศสารสนเทศอย่างเหมาะสม โดยมีคุณธรรมจริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้

- ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต - มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม - มีภาวะความเป็นผู้นําและผู้ตาม

สามารถทํางานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลําดับความสําคัญ - เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ - เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม

Page 3: มคอ.3 รายละเอียดของรายวิชา ... · 2015-12-30 · 4 - บรรยาย นําเสนอด้วย PowerPoint - ศึกษาจากเอกสารประกอบการสอน

3

- สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม - มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ

1.2 วิธีการสอน

- บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษาเกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้สารสนเทศอย่างเหมาะสม ศึกษาผลกระทบของสารสนเทศที่จะเผยแพร่

- มอบหมายงาน และชี้แจงข้อกําหนดในการส่งงาน เพื่อฝึกในเรื่องการตรงต่อเวลา และรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย

- สอดแทรกเรื่องคุณธรรม และจริยธรรมในระหว่างการพูดคุยซักถามปัญหา และให้คําปรึกษา 1.3 วิธีการประเมินผล

- พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา - มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นํามาทํารายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม

และไม่คัดลอกผลงานของผู้อื่นมาใส่ในงานของตนเอง - ประเมินผลการนําเสนองานที่มอบหมาย

2. ความรู้ 2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ องค์ความรู้ด้านการวิเคราะห์และการออกแบบ เพื่อการพัฒนาระบบตามที่ระบุในกรอบมาตรฐาน ได้แก ่ - ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับตรรกศาสตร์ อัลกอริทึมและรหัสเทียม - แผนภาพแสดงลําดับขั้นตอนการทํางาน (Flow Chart) - การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์แบบโครงสร้าง - คําสั่งแบบเงื่อนไข ตัวแปรอาเรย์ (Array) และ ชุดคําสั่งในการเขียนโปรแกรม (Function) - โครงสร้างข้อมูลเบื้องต้น (Data Structure) และโครงสร้างข้อมูลแบบต่างๆ

2.2 วิธีการสอน บรรยาย อภิปราย การทํางานกลุ่ม การนําเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา

และมอบหมายให้ค้นคว้าหางานวิจัยหรือบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนํามาสรุปและนําเสนอ การศึกษาโดยใช้ปัญหา และโครงงาน Problem base learning และ กระบวนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ

2.3 วิธีการประเมินผล

- สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฎี - นําเสนอสรุปการอ่านจากการค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้อง - การมีส่วนร่วมในการเรียนและการเสนอความคิดเห็นในหัวข้อที่คัดสรร

3 ทักษะทางปัญญา 3.1 ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา

- พัฒนาความสามารถในการใช้เครื่องมือต่างๆ ช่วยในการวิเคราะห์ระบบงาน สํารวจความความต้องการ - ความสามารถในการคิด วิเคราะห์และหาเหตุผลอย่างเป็นระบบ

ความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้ในวิชานี้เพื่อนาไปใช้ในการออกแบบ และเพื่อการแก้ปัญหา 3.2 วิธีการสอน

มอบหมายงานให้นักศึกษาวิเคราะห์ปัญหาและวิธีการป้องกันโดยใช้ความรู้ในวิชานี้และวิชาที่เรียนมาแล้วก่อน

Page 4: มคอ.3 รายละเอียดของรายวิชา ... · 2015-12-30 · 4 - บรรยาย นําเสนอด้วย PowerPoint - ศึกษาจากเอกสารประกอบการสอน

4

นี้และนําเสนอผลการวิเคราะห์ในรูปของรายงาน

3.3 วิธีการประเมินผล สอบกลางภาคและปลายภาค

โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์และประยุกต์ความรู้ที่ศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา

- พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน - พัฒนาความเป็นผู้นําและผู้ตามในการทํางานเป็นทีม - พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกําหนดเวลา - พัฒนาความเข้าใจในบริบทที่แตกต่างกันระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน ผู้เรียนกับผู้เรียน

รวมถึงผู้เรียนกับบุคคลภายนอกที่ต้องมีการประสานงานกัน 4.2 วิธีการสอน ให้ทํางานร่วมกันเป็นกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา มอบหมายงานกลุ่มและรายบุคคล

และการนําเสนอรายงาน 4.1 วิธีการประเมินผล

- รายงานที่นําเสนอ พฤติกรรมการทํางานเป็นทีม - รายงานการศึกษาด้วยตนเองและสรุปความรู้รวมถึงปัญหาต่างๆ ในการทํางานและการเรียนประจําสัปดาห์

5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา

- ทักษะการคิดคํานวณ เชิงตัวเลข และตรรกศาสตร์ - พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทํารายงาน

และนําเสนอในชั้นเรียน - พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต - ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งงานทางระบบ Cloud Computing

การสร้างห้องแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ เช่น Blog การสื่อสารการทํางานในกลุ่มผ่านห้องสนทนา Chat Room - ทักษะในการนําเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม

5.2 วิธีการสอน - มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต ์สื่อการสอนแบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Learning)

ศูนย์วิทยบริการของมหาวิทยาลัย และทํารายงาน จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ ตอบข้อซักถามและนําเสนอผลการทํางานกรณีศึกษา จัดส่งรายงานทางเทคนิค

- นําเสนอโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม - เน้นการสอนที่ใช้ปัญหานําความรู้ที่เกี่ยวข้องตาม และพัฒนาแนวคิดในการออกแบบระบบ

เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดปัญหา 5.3 วิธีการประเมินผล

- การจัดทํารายงาน และนําเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี - มีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย พร้อมทั้งตอบข้อซักถามของอาจารย์

หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล

Page 5: มคอ.3 รายละเอียดของรายวิชา ... · 2015-12-30 · 4 - บรรยาย นําเสนอด้วย PowerPoint - ศึกษาจากเอกสารประกอบการสอน

5

1. แผนการสอน สัปดาห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จํานวน

ชั่วโมง กิจกรรมการเรียนการสอน

สื่อที่ใช้ (ถ้ามี) ผู้สอน

1 อัลกอริทึม หลักและขั้นตอนการเขียนโปรแกรม

4 อภิปราย และทดสอบก่อนเรียน สื่อ : คอมพิวเตอร์ ,นําเสนอด้วย PowerPoint , แบบทดสอบ

อ.วิภาดา เชี่ยวชาญ

2 แนวคิดและหลักการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ

4 - บรรยาย นําเสนอด้วย PowerPoint - ศึกษาจากเอกสารประกอบการสอน - อภิปราย และฝึกปฏิบัติ

อ.วิภาดา เชี่ยวชาญ

3

คลาสและองค์ประกอบของวัตถุ

4 - บรรยาย นําเสนอด้วย PowerPoint - ศึกษาจากเอกสารประกอบการสอน - อภิปราย และฝึกปฏิบัติ

อ.วิภาดา เชี่ยวชาญ

4 วิธีการเชิงวัตถุและการออกแบบคลาส

4 - บรรยาย นําเสนอด้วย PowerPoint - ศึกษาจากเอกสารประกอบการสอน - อภิปราย และฝึกปฏิบัติ

อ.วิภาดา เชี่ยวชาญ

5

การสืบทอดและความหลากหลายรูปร่าง

4 - บรรยาย นําเสนอด้วย PowerPoint - ศึกษาจากเอกสารประกอบการสอน - อภิปราย และฝึกปฏิบัติ

อ.วิภาดา เชี่ยวชาญ

6

การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเพื่อเชื่อมต่อฐานข้อมูล

4 - บรรยาย นําเสนอด้วย PowerPoint - ศึกษาจากเอกสารประกอบการสอน - อภิปราย และฝึกปฏิบัติ

อ.วิภาดา เชี่ยวชาญ

7

การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเพื่อเชื่อมต่อฐานข้อมูล

4 - บรรยาย นําเสนอด้วย PowerPoint - ศึกษาจากเอกสารประกอบการสอน - อภิปราย และฝึกปฏิบัติ

อ.วิภาดา เชี่ยวชาญ

8 สอบกลางภาค 9

การจัดการความผิดปกติโดยมีข้อยกเว้น

4 - บรรยาย นําเสนอด้วย PowerPoint - ศึกษาจากเอกสารประกอบการสอน - อภิปราย และฝึกปฏิบัติ

อ.วิภาดา เชี่ยวชาญ

10 การเขียนโปรแกรมกราฟิกด้วยภาษาจาวา

4 - บรรยาย นําเสนอด้วย PowerPoint - ศึกษาจากเอกสารประกอบการสอน - อภิปราย และฝึกปฏิบัติ

อ.วิภาดา เชี่ยวชาญ

11

การเขียนโปรแกรมกราฟิกด้วยภาษาจาวา (ต่อ)

4 - บรรยาย นําเสนอด้วย PowerPoint - ศึกษาจากเอกสารประกอบการสอน - อภิปราย และฝึกปฏิบัติ

อ.วิภาดา เชี่ยวชาญ

12

การเขียนโปรแกรมประยุกต์ใช้กับการจัดการสารสนเทศ

4 - บรรยาย นําเสนอด้วย PowerPoint - ศึกษาจากเอกสารประกอบการสอน - อภิปราย และฝึกปฏิบัติ

อ.วิภาดา เชี่ยวชาญ

13

การเขียนโปรแกรมประยุกต์ใช้กับการจัดการสารสนเทศ

4 - บรรยาย นําเสนอด้วย PowerPoint - ศึกษาจากเอกสารประกอบการสอน

อ.วิภาดา เชี่ยวชาญ

Page 6: มคอ.3 รายละเอียดของรายวิชา ... · 2015-12-30 · 4 - บรรยาย นําเสนอด้วย PowerPoint - ศึกษาจากเอกสารประกอบการสอน

6

สัปดาห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จํานวนชั่วโมง

กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อที่ใช้ (ถ้ามี)

ผู้สอน

(ต่อ) - อภิปราย และฝึกปฏิบัติ 14

โครงงาน 1 4 - ศึกษาด้วยตนเองและจากเอกสารประกอบการสอน - ปฏิบัติการทําโครงงาน

อ.วิภาดา เชี่ยวชาญ

15 การตรวจสอบโครงงาน 4 - ประเมินผลการทําโครงงาน - อภิปราย และปฏิบัติการทําโครงงาน

อ.วิภาดา เชี่ยวชาญ

16 การนําเสนอโครงงาน 4 - นําเสนอด้วย PowerPoint และผลงานโครงงาน - อภิปราย และประเมินผล

อ.วิภาดา เชี่ยวชาญ

17 สอบปลายภาค 2 แผนการประเมินผลการเรียนรู้

ที่ ผลการเรียนรู้* วิธีการประเมิน สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล

1 1.1, 1.2, 1.4, 1.5, 2.1, 2.2, 3.1, 3.2, 4.2, 5.3

สอบกลางภาค สอบปลายภาค

8 16

30% 30%

2 1.1, 1.2, 1.4, 1.5, 2.1, 2.2, 3.1, 3.2, 4.2, 5.3

การทํางานและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย

ตลอดภาคการศึกษา

30%

3 1.1, 1.2, 1.4, 1.5, 2.1, 2.2, 3.1, 3.2, 4.2, 5.3

การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน

ตลอดภาคการศึกษา 10%

หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน

1. เอกสารและตําราหลัก สุดา เธียรมนตรี, คู่มือเรียนเขียนโปรแกรมภาษา Java .บริษัท ไอดีซี พรีเมียร์ จํากัด .กรุงเทพฯ: 2555.

วรเศรษฐ สุวรรณิก ,Java GUI using NetBeans (Edition2.0) สํานักพิมพ์วรรณิก .กรุงเทพฯ: 2551. Greg Gagne, Peter Baer Galvin, Abraham Silberschatz ,Operating System Concepts with Java

8ED. John Wiley & Sons (Asia) Pte Ltd : 2011. รศ.ธีรวัฒน์ ประกอบผล, คู่มือการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุภาษา JAVA OOP. สํานักพิมพ์ซิมพลิฟาย .กรุงเทพฯ:2555. 2. เอกสารและข้อมูลสําคัญ

-

Page 7: มคอ.3 รายละเอียดของรายวิชา ... · 2015-12-30 · 4 - บรรยาย นําเสนอด้วย PowerPoint - ศึกษาจากเอกสารประกอบการสอน

7

3. เอกสารและข้อมูลแนะนํา

เว็บไซต์ต่างๆ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น wikipedia คําอธิบายศัพท์ เว็บไซต์อาจารย์ผู้สอน : http://www.teacher.ssru.ac.th/wipada_ch/ เว็บไซต์เกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมและพัฒนาเว็บไซต์ : http://www.w3schools.com/

หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา

1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา

การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดทําโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนําแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

- การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน - การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน - แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา - ขอเสนอแนะผ่านเวบบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทําเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา

2. กลยุทธ์การประเมินการสอน

ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ - การสังเกตการณ์เรียนในชั้นของผู้เรียนและการมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ - ผลการสอบ - การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้

3. การปรับปรุงการสอน

หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้

- สัมมนาการจัดการเรียนการสอน - การวิจัยในและนอกชั้นเรียน

4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ

ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้

- การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจําหลักสูตร

- มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม

5. การดําเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน

และรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้

Page 8: มคอ.3 รายละเอียดของรายวิชา ... · 2015-12-30 · 4 - บรรยาย นําเสนอด้วย PowerPoint - ศึกษาจากเอกสารประกอบการสอน

8

- ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4