Top Banner
การวิเคราะห์ห่วงโซ่อุปทานและห่วงโซ่คุณค่า (Supply Chain and Value Chain) การผลิตสินค้าเกษตรในการดาเนินการรูปแบบ แปลงใหญ่ โดย เชิญ ไกรนรา สานักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคกลาง สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 26 พฤษภาคม 2558
19

การวิเคราะห์ห่วงโซ่อุปทานและห่วงโซ่การผลิตสินค้าเกษตรในรูปแบบแปลงใ�...

Feb 16, 2017

Download

Economy & Finance

Choen Krainara
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: การวิเคราะห์ห่วงโซ่อุปทานและห่วงโซ่การผลิตสินค้าเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่ในประเทศไทย

การวิเคราะห์ห่วงโซ่อุปทานและห่วงโซ่คุณค่า (Supply Chain and Value Chain)

การผลิตสินค้าเกษตรในการด าเนินการรูปแบบแปลงใหญ่

โดย

เชิญ ไกรนรา

ส านักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคกลาง

ส านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

26 พฤษภาคม 2558

Page 2: การวิเคราะห์ห่วงโซ่อุปทานและห่วงโซ่การผลิตสินค้าเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่ในประเทศไทย

หัวข้อการน าเสนอ1.เกี่ยวกับผู้บรรยาย2.ห่วงโซ่อุปทานการผลิตสินค้าเกษตรคืออะไร3. องค์ประกอบของอุปทานการผลิตสินค้าเกษตรมีอะไรบ้าง4.การวิเคราะห์ห่วงโซ่อุปทานการผลิต (Supply Chain) สินค้าเกษตรในการด าเนินการรูปแบบแปลงใหญ่5.การวิเคราะห์ห่วงโซ่การผลิต (Value Chain) สินค้าเกษตรในการด าเนินการรูปแบบแปลงใหญ่6.ฝึกปฏิบัติ6.1 การวิเคราะห์ห่วงโซ่อุปทานการผลิตสินค้าเกษตรแปลงใหญ่6.2 การวิเคราะห์ห่วงโซ่การผลิตพืชรายชนิด6.3 การจัดท าแผนการด าเนินงานเพื่อการผลิตสินค้าเกษตรในการด าเนินการรูปแบบแปลงใหญ่

Page 3: การวิเคราะห์ห่วงโซ่อุปทานและห่วงโซ่การผลิตสินค้าเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่ในประเทศไทย
Page 4: การวิเคราะห์ห่วงโซ่อุปทานและห่วงโซ่การผลิตสินค้าเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่ในประเทศไทย

1.เกี่ยวกับผู้บรรยายการศึกษา

• ปริญญาตรี นเิทศศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

• ปริญญาโท Urban Environmental Management จาก Asian Institute of Technology (AIT) ประเทศไทย

• Ph.D. Candidate สาขา Regional and Rural Development Planning จาก Asian Institute of Technology (AIT) ประเทศไทย

Page 5: การวิเคราะห์ห่วงโซ่อุปทานและห่วงโซ่การผลิตสินค้าเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่ในประเทศไทย

การท างาน: นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช านาญการ

• ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาอย่างยั่งยืนในพื้นที่ภาคกลางโดยเฉพาะการพัฒนาการเกษตรยั่งยืนและการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของสินค้าเกษตรและเกษตรกรในพื้นที่ภาคกลาง

• พิจารณาคุณภาพแผนพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัดในพื้นที่ภาคกลาง

• ให้ค าแนะน าและข้อเสนอแนะในการจัดท ายุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัดในพื้นที่ภาคกลาง

Page 6: การวิเคราะห์ห่วงโซ่อุปทานและห่วงโซ่การผลิตสินค้าเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่ในประเทศไทย

2.ห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) การผลิตสินค้าเกษตรคืออะไร

• คือเครือข่ายของอุปสงค์และอุปทานของสินค้าเกษตรที่มีความซับซ้อนและเป็นพลวัตร

• เป็นเครือข่ายของความเชื่อมโยงทางธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการจัดหาสินค้าและบริการที่เป็นความต้องการของผู้บริโภคคนสุดท้าย การจัดการห่วงโซ่การผลิตครอบคลุมการเคลื่อนย้ายท้ังหมดและการเก็บรักษาวัตถุดิบ ภารกิจที่เก่ียวข้องกับกระบวนการจัดท าสินค้าคงคลังและสินค้าส าเร็จรูปจากจุดที่ผลิตไปยังจุดของการบริโภค

• ใน 1 ห่วงโซ่อุปทานจะเชื่อมโยงกับหลายๆห่วงโซ่การผลิต (Value Chain)

Page 7: การวิเคราะห์ห่วงโซ่อุปทานและห่วงโซ่การผลิตสินค้าเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่ในประเทศไทย

3. องค์ประกอบของอุปทานการผลิตสินค้าเกษตรมีอะไรบ้างใน 1 ห่วงโซ่อุปทานประกอบด้วย 5 ห่วงโซ่อุปทานย่อย

โครงสรา้งพืน้ฐานและการขนส่ง

ปัจจัยการผลติ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

เกษตรกร กระบวนการผลิตและผลผลิต

การแปรรูป

ผู้บริโภค การตลาดและการกระจายสินค้า

Page 8: การวิเคราะห์ห่วงโซ่อุปทานและห่วงโซ่การผลิตสินค้าเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่ในประเทศไทย

ตัวอย่างการวิเคราะห์ปัญหาของห่วงโซ่อุปทานการผลิตสินค้า

เกษตรในพื้นที่ภาคกลาง1.ห่วงโซ่ย่อยโครงสร้างพื้นฐานและการขนส่ง• ระบบโลจิสติกส์ของพืชผลทางการเกษตรมีความยุ่งยากกว่า

สินค้าอื่นๆ เนื่องจากผลผลิตเน่าเสียง่าย ผลผลิตออกพร้อมกันท าให้อุปทานล้นตลาด และต้องการโลจิสติกส์ที่มีคุณภาพสูงเพื่อกระจายผลผลิต ตลอดทั้งต้องรักษามาตรฐานด้านความสะอาดของผลผลิต

• เกษตรกรขาดองค์ความรู้ด้านโลจิสติกส์โดยเฉพาะการจัดการในห่วงโซ่ของการรักษาความเย็น

• ราคาน้ ามันและก๊าซธรรมชาติสูงขึ้นส่งผลให้ต้นทุนการขนส่งที่สูงขึ้น

Page 9: การวิเคราะห์ห่วงโซ่อุปทานและห่วงโซ่การผลิตสินค้าเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่ในประเทศไทย

2.ห่วงโซ่ย่อยปัจจัยการผลิต ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

• หนี้สินของเกษตรกรทั้งในและนอกระบบเพิ่มสูงขึ้น และราคาปัจจัยการผลิตสูงขึ้น ส่งผลให้ต้นทุนการผลิตเพิ่มสูงขึ้น

• เกษตรกรจ านวนมากไม่มีที่ดินท ากินเป็นของตนเอง ต้องเช่าที่ดิน ส่วนเกษตรกรที่มีที่ดินจ านวนมากแต่ละปีตอ้งสูญเสียที่ดินให้กับสถาบันการเงิน และพื้นที่เกษตรกรรมในภาคกลางได้ลดลงไปมากเนื่องจากแปรเปลี่ยนไปเป็นพื้นที่เกษตรกรรมและเมือง

• ปัญหาดินเสื่อมโทรมจากการใช้สารเคมีติดต่อกันเป็นเวลานาน

Page 10: การวิเคราะห์ห่วงโซ่อุปทานและห่วงโซ่การผลิตสินค้าเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่ในประเทศไทย

• การเข้าไม่ถึงทรัพยากรการผลิตโดยเฉพาะน้ า ป่า และทรัพยากรพันธุกรรมทัง้หลายที่อยู่ในป่า

• น้ าเพื่อการเกษตรมีไม่เพียงพอ จึงต้องพึ่งพาน้ าท่าจากภาคเหนือ และมีการแย่งใช้น้ าระหวา่งภาคเกษตรกับภาคอุตสาหกรรม

• ผลกระทบจากสภาวะโลกรอ้นท าให้การคาดการณเ์กี่ยวกับฤดูกาลและภัยธรรมชาติโดยเฉพาะภัยแล้งและอุทกภยัท าได้ยากและมีแนวโน้มรุนแรงขึน้ รวมทั้งปัญหาการระบาดของโรคพืชและแมลงศัตรพูืช

Page 11: การวิเคราะห์ห่วงโซ่อุปทานและห่วงโซ่การผลิตสินค้าเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่ในประเทศไทย

3.ห่วงโซ่ย่อยเกษตรกร กระบวนการผลิตและผลผลิต• ยังเน้นกระบวนการผลิตที่ใช้ปัจจัยการผลิตเข้มข้น เช่น ปุ๋ยเคมี

และยาฆ่าแมลง โดยยังไม่ให้ความส าคัญกับการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรีย์ โดยเฉพาะปริมาณสินค้าเกษตรอินทรีย์ยังมีน้อย

• เกษตรกรบางส่วนมีปัญหาด้านสุขภาพเนื่องจากมีการใช้สารเคมีเพื่อการเกษตรติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน

• คนรุ่นใหม่จะเลือกท างาในเมืองใหญ่มากกว่าสืบทอดกิจการของครอบครวัทีต่่างจังหวัด

• สินค้าเกษตรที่ได้มาตรฐานเชิงการค้าระหว่างประเทศมีน้อย และมีปริมาณและคุณภาพไม่สม่ าเสมอและไม่ต่อเนื่องตลอดปี

Page 12: การวิเคราะห์ห่วงโซ่อุปทานและห่วงโซ่การผลิตสินค้าเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่ในประเทศไทย

4.ห่วงโซ่ย่อยการแปรรูป

• การแปรรูปสินค้าเกษตรยังมีน้อยและขาดการรวมกลุ่มเกษตรกรเพื่อแปรรูปสินค้าเกษตร

5.ห่วงโซ่ผู้บริโภค การตลาดและการกระจายสินค้า

• เกษตรกรขาดความรู้และให้ความส าคัญกับภาคการตลาดน้อย

ขาดการรวมกลุ่มในการขายสินค้าท าให้ขาดอ านาจการต่อรอง ขาดการเชื่อมโยงสินค้าและการตลาดระหว่างเกษตรกร หรือกลุ่มผู้ผลิตและผูซ้ื้ออย่างเป็นระบบ

• เงื่อนไข มาตรฐานและกฎระเบียบระหว่างประเทศต่างๆ ส่งผลต่อปริมาณการส่งออกสินค้าเกษตรของภาคกลาง

Page 13: การวิเคราะห์ห่วงโซ่อุปทานและห่วงโซ่การผลิตสินค้าเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่ในประเทศไทย

• ในระยะยาวปริมาณความตอ้งการอาหารจะเพิ่มขึ้นตามจ านวนประชากรทีเ่พิ่มมากขึ้น ส่งผลให้อาหารอาจขาดแคลนหรือมีราคาสูงขึน้ได้

• เกษตรกรไม่มีส่วนร่วมในการก าหนดราคาตลาด ราคาผลผลิตจึงไม่เป็นธรรม ไม่แน่นอน ผันผวน ตามอ านาจซื้อของพ่อค้าคนกลางซึง่ส่งผลกระทบต่อรายได้ของเกษตรกร

• ตลาดสนิค้าเกษตรอินทรีย์ยังมีน้อยส่งผลให้ผู้บริโภคยังไม่ตื่นตัวในการบริโภคสินค้าเกษตรอินทรีย์

Page 14: การวิเคราะห์ห่วงโซ่อุปทานและห่วงโซ่การผลิตสินค้าเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่ในประเทศไทย

4.การวิเคราะห์ห่วงโซ่อุปทานการผลิตสินค้าเกษตรในการ

ด าเนินการรูปแบบแปลงใหญ่• ศึกษาและเปรียบเทียบความคล้ายคลึงและความแตกต่างของ

ปัญหาของห่วงโซ่อุปทานการผลิตสินค้าเกษตรระหว่างภาคกลางและภาคเหนือ

• ประยุกต์ความคล้ายคลึงของประเด็นปัญหาของแต่ละห่วงโซ่อุปทานย่อยจากภาคกลางสู่ภาคเหนือ

• ประยุกต์แนวคิดดังกล่าวสู่การด าเนินการผลิตสินค้าเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่หรือคลัสเตอร์สินค้าเกษตรในภาคเหนือ

Page 15: การวิเคราะห์ห่วงโซ่อุปทานและห่วงโซ่การผลิตสินค้าเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่ในประเทศไทย

5.การวิเคราะห์ห่วงโซ่การผลิต (Value Chain) สินค้าเกษตร

ในการด าเนินการรูปแบบแปลงใหญ่ห่วงโซ่การผลิตหรือห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain) คือกิจกรรมทั้งหมดเพื่อใช้เพิ่มมูลค่าในการผลิตสินค้าหรือบริการซึง่มีกระบวนการผลิตหลายขั้นตอน ตั้งแต่การจัดการวัตถุดิบและปัจจัยอื่นๆ จนกระทั่งถึงการจัดส่งสินค้าและบริการให้ผูบ้ริโภคคนสุดท้าย

Page 16: การวิเคราะห์ห่วงโซ่อุปทานและห่วงโซ่การผลิตสินค้าเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่ในประเทศไทย

ประกอบด้วย 6 ห่วงโซ่ย่อยหรือขัน้ตอนการจัดหาปัจจัยการผลิต (ต้นน้ า)

การผลิต (กลางน้ า)

การรวบรวมผลผลิต การท าความสะอาดและการคัดเกรดสินค้า

การค้า/ค้าสง่ (ปลายน้ า)

การแปรรูปและบรรจุหีบห่อ

การขายปลีก/การส่งออก

Page 17: การวิเคราะห์ห่วงโซ่อุปทานและห่วงโซ่การผลิตสินค้าเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่ในประเทศไทย

ปัจจัยสนับสนุน

• การบริการที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ การเงิน สินเชื่อเพื่อการเกษตร การรับรองมาตรฐาน การให้ค าแนะน า การสง่เสริมการเกษตร เป็นต้น

• บรรยากาศทางธุรกิจ โอกาสทางธุรกิจหรือสภาวะตลาด

Page 18: การวิเคราะห์ห่วงโซ่อุปทานและห่วงโซ่การผลิตสินค้าเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่ในประเทศไทย

6.ฝึกปฏิบัติ6.1 การวิเคราะห์ห่วงโซ่อุปทานการผลิตสินค้าเกษตรแปลงใหญ่ค าถาม: ห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) ที่จ าเป็นส าหรับการผลิตสินค้าเกษตรแปลงใหญ่หรือแบบคลัสเตอร์ควรในพื้นที่ท่านรับผิดชอบควรประกอบด้วยอะไรบ้าง

6.2 การวิเคราะห์ห่วงโซ่การผลิตพืชรายชนิดฝึกวิเคราะห์ห่วงโซ่การผลิต (Value Chain) ส าหรับการผลิตสินค้าเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่ เป็นรายชนิดสินค้า เช่น ข้าว ล าไย ลิ้นจี่ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ผัก หรือพืชอื่นๆ ที่ท่านรับผิดชอบในแปลงใหญ่

6.3 การจัดท าแผนการด าเนินงานเพื่อการผลิตสินค้าเกษตรในการด าเนินการรูปแบบแปลงใหญ่ฝึกจัดท าแผนการด าเนินงานหรือแผนการผลิตสินค้าเกษตรเป้าหมายตามการวิเคราะห์ห่วงโซ่การผลิตข้อ 6.2

Page 19: การวิเคราะห์ห่วงโซ่อุปทานและห่วงโซ่การผลิตสินค้าเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่ในประเทศไทย

ขอบคุณครับ!

สอบถามเพิ่มเติม

Email: [email protected]

โทร.089-035-7233