Top Banner
สำนักงานหอพรรณไม สำนักวิจัยการอนุรักษปาไมและพันธุพืช กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช
225

01960-4_gp01_Cover ok.indd

Feb 05, 2017

Download

Documents

buithuy
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ISBN 978-974-286-628-0นางอั้ว คาง ยาว

Habenaria hosseusii Schltr.

สำนักงานหอพรรณไม

สำนักวิจัยการอนุรักษปาไมและพันธุพืช

กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช

Page 2: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

สำนักงานหอพรรณไม

สำนักวิจัยการอนุรักษปาไมและพันธุพืช

กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช

Page 3: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ที่ปรึกษา ดร. จำลอง เพ็ง คลาย ศ. ดร. ธวัช ชัย สันติสุข นาง ลี นา ผู พัฒน พงศ ดร. ชวลิต นิยม ธรรม ดร. กอง กานดา ช ยามฤต

ภาพประกอบ นาย ปรีชา การะ เกตุ นายปย ชาติ ไตร สาร ศรี นาย สมราน สุด ดี นาย ธรรมรัตน พุทธ ไทย นาย มนตรี ธน รส นางสาว วลัย พร วิศว ชยั วัฒน

ประสานงาน นาง เมธินี ตาฬุ มาศ สวัสดิ์ นางสาว นันทนภัส ภัทร หิรัญ ไตร สิน นาง ดวงใจ ชื่นชม กลิ่น

ปก และ รูป เลม นาย ปรีชา การะ เกตุ นางสาว วลัย พร วิศว ชัย วัฒน นางสาว ชิด ชนก คง เกตุ จัดพิมพ โดย สำนักงาน หอ พรรณไม สำนัก วิจัย การ อนุรักษ ปาไม และ พันธุพืช กรม อุทยาน แหงชาติ สัตวปา และพันธุพืชภายใต โครงการ ความ หลากหลาย ของ พรรณ พืช ใน กลุม ปา แกงกระจาน แผน งานวิจัย การ บริหาร จัดการ ความ หลากหลาย ทาง ชีวภาพ ใน พื้นที่ กลุม ปา แกงกระจาน

พิมพ ครั้ง ที่ 1 จำนวน 1,500 เลม สำหรับ เผยแพร หาม จำหนาย สงวน ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2552

พิมพ ที่ ชุมนุม สหกรณ การ เกษตร แหง ประเทศ ไทย จำกัด 79 ถนน งาม วงศวาน แขวง ลาดยาว เขต จตุจักร กรุงเทพฯ 10900

ขอมูล ทาง บรรณานุกรม ของ หอสมุด แหงชาติ

สำนักงาน หอ พรรณไม สำนัก วิจัย การ อนุรักษ ปาไม และ พันธุพืช กรม อุทยาน แหงชาติ สัตวปา และ พันธุพืช

ปาเต็ง รัง แมน้ำ ภาชี.-- กรุงเทพฯ : สำนักงาน หอ พรรณไม สำนัก วิจัย การ อนุรักษ ปาไม และ พันธุพืช, 2552.

224 หนา.

1. พฤกษศาสตร--ไทย. 2 ปาเต็ง รัง. I. สมราน สุด ดี, บรรณาธิการ. II. ชื่อเรื่อง.

581

ISBN 978-974-286-628-0

Page 4: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

โครงการ ความ หลากหลาย ของ พรรณ พืช ใน กลุม ปา แกงกระจาน

คณะ ผูจัดทำ หนังสือ ปาเต็ง รัง แมน้ำ ภาชี

1. นาย สมราน สุด ดี หัวหนา โครงการ วิจัย

2. นาย วรดลต แจม จำรูญ ผูชวย หัวหนา โครงการ วิจัย

3. นาย ธวัช ชัย วงศ ประเสริฐ ผู รวม โครงการ วิจัย

4. นาย ราชันย ภู มา ผู รวม โครงการ วิจัย

5. นาง เมธินี ตาฬุ มาศ สวัสดิ์ ผู รวม โครงการ วจิัย

6. นางสาว นันทนภัส ภัทร หิรัญ ไตร สิน ผู รวม โครงการ วิจัย

7. นายปย ชาติ ไตร สาร ศรี ผู รวม โครงการ วิจัย

8. นาย ทนง ศักดิ์ จง อนุรักษ ผู รวม โครงการ วิจัย

9. นาย ปรีชา การ ะเกตุ ผู รวม โครงการ วิจัย

10. นาย ปญญา มุกดา สนิท ผู รวม โครงการ วิจัย

11. นาย พา โชค พูดจา ผู รวม โครงการ วิจัย

12. นางสาว นันท วรรณ สุปน ตี ผู รวม โครงการ วิจัย

13. นางสาว นัยนา เทศนา ผู รวม โครงการ วิจัย

14. นางสาว สุคนธ ทิพย ศิริ มงคล ผู รวม โครงการ วิจัย

15. นางสาว โสมนัสสา แสง ฤทธิ์ ผู รวม โครงการ วิจัย

บรรณาธิการ

นาย สมราน สุด ดี

Page 5: 01960-4_gp01_Cover ok.indd
Page 6: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

คำนำ

หนงัสอื ปาเตง็ รงั แมนำ้ ภาช ี จดัพมิพขึ ้นภาย ใต โครงการ ความ หลากหลาย ของ พรรณ พชื ใน กลุม ปา แกง กระจาน แผน งานวจิยั การ บรหิาร จดัการ ความ หลากหลาย ทาง ชวีภาพ ใน พืน้ ที ่กลุม ปา แกงกระจาน ซึง่ ประกอบ ไป ดวย พืน้ ที ่ปา 4 ปา ได แก เขต รกัษา พนัธุ สตัวปา แมนำ้ ภาช ี อทุยาน แหงชาต ิเฉลมิ พระ เกยีรต ิไทย ประจนั อทุยาน แหงชาต ิแกงกระจาน และ อุทยาน แหงชาติ กุยบุรี ครอบคลุม พื้น ที่ จังหวัด ราชบุรี เพชรบุรี และ ประจวบคีรีขันธ คณะ ผูจัดทำ ได เลือก พื้น ที่ เขต รักษา พันธุ สัตวปา แมน้ำ ภาชี เปนตัว แทน ใน การ ศึกษา ความ หลากหลาย ของ สังคม พืช ปาเต็ง รัง ใน กลุม ปา แกงกระจาน เนื่องจาก มี พื้น ที่ ปาเต็ง รัง เปน บริเวณ กวาง พรรณไม บางชนิด พบ ได ใน ปาเต็ง รัง ทั่ว ไปทาง ภาคเหนือ และ ภาคตะวันออก เฉียง เหนือ แต บางชนิด พบ ได เฉพาะ ใน ปาเต็ง รัง บริเวณ แถบ น้ี เทา น้ัน คณะ ผูจัดทำ ได เนน ให ตระหนัก ถึง เร่ือง การ ใช ประโยชน จาก ปาเต็ง รัง ใน เชิง อนุรักษ ทั้งนี้ ก็ เพื่อ การ ใช ประโยชน อยาง ยั่งยืน เนื้อหา ใน หนังสือ ประกอบ ไป ดวย ชื่อ พฤกษศาสตร ที่ ถูกตอง คำ บรรยาย และ ขอมูล ตาง ๆ ทาง พฤกษศาสตร ตลอดจน ความ หมาย ของ ชือ่ พฤกษศาสตร พชื แตละ ชนดิ โดย ได เรยีงลำดบั จาก พชื กลุม เฟรน พชื ใบเลีย้ง เดีย่ว และ พชื ใบเลี้ยง คู รวม จำนวน พืช ทั้งสิ้น 5 1 วงศ 1 0 7 ชนิด ภาพประกอบ ได เนน ให เห็น ลักษณะ สำคัญ ตาง ๆ ที่ ใช ใน การ ตรวจสอบ ชนดิ พชื หนงัสอื เลม นี ้สำเรจ็ ลลุวง ลง ได ดวย ความ รวมมือ ของ คณะทำงาน ซึง่ แบง กนั ทำ หนา ที ่แตกตาง กนั ไป จน ปรากฏผล ออกมา เปน หนังสือ ที่ ใช อางอิง ใน ทางวิชาการ ดาน พฤกษศาสตร ได

( นาย ธวัช ชัย วงศ ประเสริฐ) หัวหนา สำนักงาน หอ พรรณไม

(4)

Page 7: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

คำ นิยม

คณะ ผูจัดทำ ขอ ขอบคุณ นางสาว วลัย พร วิศว ชัย วัฒน และ นางสาว ชิด ชนก คง เกตุ ผูชวย นัก วิจัย ที่ ชวย คนควา เอกสาร จัด เตรียม ขอมูล และ จัดทำ รูป เลม นาง สุมาลี นาค แดง นาง ดวงใจ ชื่นชม กลิ่น นางสาว สุมาลี สม งาม และ นางสาว พร พิมล คง พิรุณ ที่ ชวย ดูแลงาน ดาน ธุรการ ขอบคุณ ผู ถายภาพ ทุกทาน สำหรับ ภาพ ที่ สวยงาม จาก ภาคสนาม ขอ ขอบคณุ เจาหนาที ่เขต รกัษา พนัธุ สตัวปา แมนำ้ ภาช ีอทุยาน เฉลมิ พระ เกยีรต ิไทย ประจนั อทุยาน แหงชาต ิแกงกระจาน และ อุทยาน แหงชาติ กุยบุรี ที่ ให ความ ชวยเหลือ อยาง ดียิ่ง ใน การ ปฏิบัติ งาน ภาคสนาม ขอ ขอบคณุ คณะ ทีป่รกึษา และ นกั พฤกษศาสตร อาวโุส หลาย ๆ ทาน ที ่ได ให คำ แนะนำ ที ่เปน ประโยชน รศ.ดร. อบ ฉันท ไทย ทอง แหง ภาควิชา พฤกษศาสตร คณะ วิทยาศาสตร จุฬา ลง กรณ มหาวิทยาลัย ชวย ตรวจสอบ ชื่อ พืช ใน วงศ ดอกรัก คุณ ธีรวัฒน บุญ ทวี คุณ ชวย ตรวจสอบ ชื่อ เห็ด ตาง ๆ ขอ ขอบคณุ เจาหนาท่ี โครงการ การ บรหิาร จดัการ ความ หลากหลาย ทาง ชวีภาพ ใน พืน้ที ่กลุม ปา แกงกระจาน ที่ ชวย ให โครงการ ดำเนิน ไป ดวย ความ ราบรื่น

(5)

Page 8: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

บทนำ

Pteridophyte (เฟรน)LYGODIACEAE

Monocot (ใบเลี้ยง เดี่ยว)ARACEAEASPARAGACEAECOMMELINACEAEHYPOXIDACEAEORCHIDACEAESMILACACEAEZINGIBERACEAE

Dicot (ใบเลี้ยง คู)ACANTHACEAEANACARDIACEAEANNONACEAEAPOCYNACEAEASCLEPIADACEAEBURSERACEAECELASTRACEAE

COMBRETACEAECOMPOSITAECONNARACEAECONVOLVULACEAE

CUCURBITACEAEDIPTEROCARPACEAEEBENACEAE

ERYTHROXYLACEAEEUPHORBIACEAEFLACOURTIACEAEGUTTIFERAEIRVINGIACEAE

LABIATAE

สารบัญหนา1

10

12131415162122

24263236445256

58646668

727480

84869296102

104

(6)

Page 9: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

LECYTHIDACEAELEGUMINOSAELORANTHACEAELYTHRACEAEMELIACEAEMEMECYLACEAEMORACEAEMYRSINACEAEMYRTACEAEOCHNACEAEOLACACEAEPASSIFLORACEAERUBIACEAERUTACEAESAPINDACEAESAPOTACEAESIMAROUBACEAESTERCULIACEAESYMPLOCACEAETHYMELAEACEAETILIACEAEVISCACEAEVITACEAE

หนา124126144146148150152154156158160161162174176182184188192194196203204

สารบัญ

(7)

Page 10: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 1

ความหลากหลายของพันธุไมในปาเต็งรังและการใชประโยชนจากปาในเชิงอนุรักษ

ปาเตง็รงั(DryDeciduousDipterocarpForest)พบมากในภาคเหนอืและภาคตะวนัออกเฉยีงเหนอืและ

พบบางทางภาคตะวนัตกของประเทศบรเิวณจงัหวดักาญจนบรุีราชบรุีเพชรบรุีและประจวบครีขีนัธในภาคตะวนัออกเฉียงเหนือปาชนิดนี้จะพบไดมากที่สุดเมื่อเทียบกับพื้นที่ปาชนิดอื่นๆความสัมพันธระหวางชีวิตของชาวชนบทกับ

ปาเต็งรังมีมาชานาน การใชประโยชนตาง ๆ จากปาในการดำรงชีวิตประจำวันไดสืบทอดกันมานานตั้งแตสมัยบรรพบุรุษมีทั้งที่บันทึกไวเปนรูปภาพลายลักษณอักษรหรือเลาถายทอดสืบตอกันมาในปจจุบันความตองการในการใชประโยชนจากปามีมากขึ้นตามจำนวนของประชากรที่เพิ่มมากขึ้นในขณะที่พื้นที่ปาเต็งรังมีนอยลงทุกทีดวยสาเหตุตางๆ มากมายการตระหนกัและเลง็เหน็ถงึคณุคาของประโยชนที่ไดจากปาเตง็รงัจงึเปนสิง่จำเปนทัง้นี้เพือ่ทีจ่ะ

ใหปาตอบสนองความตองการของการใชประโยชนไดยาวนานและตลอดไป

การใชประโยชนจากพันธุไมปาเต็งรังมีความคลายคลึงกับการใชประโยชนจากปาชนิดอื่นๆแตกตางกันบางในแงของการนำไปใชประโยชนตามแตชนิดของพันธุไมนั้น ๆ ซึ่งสามารถแยกไดเปนประโยชนทางตรง และประโยชนทางออมดังนี้ี้

Page 11: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี2

ประโยชนทางตรง

ประโยชนทางตรงของปาเตง็รงัสวนใหญจะเกีย่วกบัปจจยั4ซึง่จำเปนสำหรบัการดำรงชวีติประจำวนัแยกไดเปนหัวขอยอยๆดังนี้

1.ไมใชในการกอสรางบานเรือนที่อยูอาศัยเครื่องเรือนรั้วเครื่องมือกอสรางตางๆเชนดามฆอนสิ่วเลื่อยยานพาหนะเชนเกวียนรถเข็นเครื่องมือทางดานการเกษตรเชนดามจอบมีดเสียมหรือผานไถซึ่งสมัยกอนที่ยังไมมีรถไถนา ดังเชนปจจุบัน ชาวชนบทอีสานสวนใหญใชควายไถนา ตัวไถ และผานไถ ใชไมเปนสวนประกอบหลักชนิดไมในปาเต็งรังที่อำนวยประโยชนเหลานี้ไดเชนไมยางเหียง(DipterocarpusobtusifoliusTeijsm.ex

Miq.)ยางกราด(DipterocarpusintricatusDyer)พลวงหรือตองตึงหรือกุง(D.tuberculatusRoxb.)เต็งหรือ

จิก(ShoreaobtusaWall.exBlume)รังหรือฮัง(ShoreasiamensisMiq.)พะยอม(Shorearoxburghii G.

Don)ประดู(PterocarpusmacrocarpusKurz)ฯลฯ

นอกจากการใชประโยชนในรปูเนือ้ไมแลวการใชประโยชนในรปูใบไมจากปาเตง็รงัก็มีมากและมีความสำคญัเชนกนัเชนหญาคา(Imperatacylindrica(L.)P.Beauv.)ใชมงุหลงัคาซึง่จะใหความรูสกึเยน็สบายไมรอนเหมอืน

มุงดวยสังกะสี ใบยางเหียงยางพลวง ใชเย็บทำฝาหรือมุงหลังคากันแดดและฝนหรือเย็บทำหมวกใสระหวางดำนาหรอืเลีย้งสตัวนอกจากนี้ยงัใชหอของเชนใบยางพลวงใชหอขาวเหนยีวหออาหารตางๆ เมือ่สมยั10กวาปทีผ่านมานิยมใชใบยางพลวงหอปลาทูนึ่งกันมากปจจุบันแทบไมปรากฏใหเห็น สวนใหญใชถุงพลาสติกซึ่งเปนวัสดุยอยสลาย

ยาก

Page 12: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 3

2.อาหารปาเต็งรังเปนแหลงอาหารของชาวชนบทมาชานานแยกกลาวไดเปนขอๆดังนี้

2.1เหด็ตางๆ เหด็หลายชนดิที่พบในปาเตง็รงัเปนที่นยิมรบัประทานพบไดมากในชวงฤดฝูนตวัอยางเชนเห็ดไขหาน(Amanitavaginata(Bull.)Lam.)เห็ดระโงกเหลือง(Amanitacaesarea(Scop.)Pers.)เห็ดระโงก

ขาว(AmanitaprincepsCorner&Bas)เห็ดลม(LentinuspolychrousLév.)เห็ดเพ็ก(Lentinusstrigosus (Schwien.)Fr.)เหด็ตบัเตา(BoletusedulisBull.exFr.)เหด็มนัปูใหญ(CantharelluscibariusFr.)เหด็นำ้หมาก(Russula sp.) เห็ดแดง (Russula rosea Pers.) เห็ดหลมขาว (Russula delica Fr.) เห็ดโคนซึ่งมีหลายชนิด

(Termitomyces spp.) เห็ดตีนแรด (Macrocybe crassa (Berk.) Pegler & Lodge) เห็ดเผาะ (Astraeus hygrometricus(Pers.)Morgan)โดยเฉพาะเหด็เผาะมกัพบมากใตตนไมในวงศยาง(Dipterocarpaceae)เชนเตง็

รังเหียงพลวงในปหนึ่งๆเห็ดเผาะทำรายไดใหชาวชนบทนับเปนเงินจำนวนไมนอยตัวอยางเชนบริเวณปาเต็งรังในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือในชวงตนฤดูฝนจะมีชาวบานจากหมูบานตางๆเหมารถไปเก็บเห็ดเผาะ

ในบรเิวณปาเตง็รงัวนัละหลายคนัรถนบัวาเปนแหลงหารายไดที่ดีสิง่ที่ตองคำนงึถงึก็คอืถาปาเตง็รงัถกูทำลายหมดไป

ไมแนใจวาจะมีปริมาณเห็ดเผาะใหเก็บไดในปริมาณเทาที่เปนอยูหรือไม ความสัมพันธระหวางเห็ดเผาะกับตนไมใน

วงศยางจะตองมีการศึกษาตอไป

เห็ดโคนในปาเต็งรังกลุมซายTermitomycesglobulusR.Heim&Gooss.

สองดอกขวาT. dypeatusR.Heim

Page 13: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี4

2.2ผักพืชในปาเต็งรังหลายชนิดใชเปนผักซึ่งจะหมุนเวียนกันออกตามแตฤดูกาลตัวอยางผักรับประทานสด เชน ใบออนและดอกของติ้ว (Cratoxylum formosum (Jack) Dyer ssp. formosum) ใบออนเสม็ด

(Syzygiumgratum(Wight)S.N.Mitra)ดอกและใบออนกระโดน(CareyasphaericaRoxb.)ใบออนเปราะหอม(KaempferiagalangaL.)ดอกของยางเหยีง(DipterocarpusobtusifoliusTeijsm.exMiq.)ใชจิม้เกลอืรบัประทานสดตัวอยางผักลวกหรือรับประทานสุกเชนผักหวาน(MelienthasuavisPierre)ใบออนชะมวง(Garciniacowa

Roxb.)ดอกขางครั่ง(DunbariabellaPrain)ชอดอกออนกระเจียวขาว(CurcumaparvifloraWall.)ชอดอกออนกระเจียวโคก(CurcumasingularisGagnep.)ใบออนดอกและผลออนอีนูน (AdeniaviridifloraCraib)ใบออนกระทกรก (Olaxpsittacorum(Willd.)Vahl) ใบออนพฤกษ (Albizia lebbeck (L.)Benth.) ใบออนกระทงลาย(CelastruspaniculatusWilld.)ดอกพะยอม(ShorearoxburghiiG.Don)ใชยำหรือชุบแปงทอดฯลฯ

2.3ผลไมและเมล็ดผลและเมล็ดของพืชในปาเต็งรังหลายชนิดรับประทานไดยกตัวอยางเชนผลสุกของหวาชนดิตางๆ (Syzygiumspp.)ผลสกุและกลบีเลีย้งที่หุมผลของสานใหญ(Dilleniaobovata(Blume)Hoogland)

เมล็ดแกของไมแดง(Xyliaxylocarpa(Roxb.)Taub.var.kerrii(Craib&Hutch.)I.C.Nielsen)ใชรับประทาน

สดผลและเนื้อในเมล็ดของมะกอกเลื่อมหรือกอกกัน (CanariumsubulatumGuillaumin) เนื้อหุมเมล็ดของผลตะครอสุก(Schleicheraoleosa(Lour.)Oken)เมล็ดกระบก(IrvingiamalayanaOliv.exA.W.Benn.)ผลสุกและเมล็ดของมะพอก (Parinari anamense Hance) ผลของสมอไทย (Terminalia chebula Retz.) ผลมะขามปอม(PhyllanthusemblicaL.)แปงจากเมล็ดของปรง(CycassiamensisMiq.)รับประทานไดผลสุก

ของมังเครชาง (Melastoma sanguineum Sims) ผลแกจะแตกออก เมล็ดซึ่งมีสีมวงรับประทานได ผลสุกของพลับพลา(MicrocostomentosaSm.)เนื้อในผลสุกของคำมอกหลวง(GardeniasootepensisHutch.)เมล็ดแกมะคาแต (Sindora siamensis Teijsm. exMiq.) ใชเผาหรือคั่วรับประทานได ในบางทองที่นอกจากจะใชรับประทานแลวยังใชเมล็ดมะคาแตในการเลนพนันเรียกวาเลนโบกโดยอุปกรณจะมีกระดงฟดขาวกะลามะพราวและเมล็ดมะคาแตโดยเอาเมล็ดมะคาแตผาครึ่งใสลงในกะลามะพราวเขยาแลวคว่ำลงบนกระดงแทงเปนเลขคูหรือ

คี่พบการเลนการพนันแบบนี้มากทางแถบอีสานใต

Page 14: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 5

2.4 พืชหัวตาง ๆ พืชหัวตาง ๆ ในปาเต็งรังที่ใชเปนอาหารสวนใหญจะพบในชวงตนฤดูฝน เนื่องจากในหนาแลงตนหรอืเถาของพชืพวกนี้ซึง่อยูเหนอืพืน้ดนิจะเหีย่วแหงสงัเกตไดยากคงเหลอืไวแตหวัใตดนิในชวงตนฤดฝูนตนและใบออนของพชืพวกนี้จะเจรญิขึน้มาใหมเปนที่สงัเกตไดงายซึง่สวนใหญชาวบานจะออกขดุพชืหวัในชวงนี้พชืหัวตางๆที่พบในปาเต็งรังตัวอยางเชนมันขมิ้นหรือวานพระฉิม(DioscoreabulbiferaL.)มันดงมันนกหรือมันหนู(DioscoreaglabraL.)มันเสา(DioscoreaalataL.)มันเทียนหรือมันออน(DioscoreadaunaeaPrain&Burkill)แหวประดูหรือคอนกอง(EriosemachinenseVogel)มีหัวขนาดเล็กกลิ่นและรสคลายมันแกวสำหรับมันชนิดตางๆชาวบานสามารถบอกชนิดไดจากการดูลักษณะตนออนที่แตกออกมาในชวงตนฤดูฝน

2.5อาหารจากสัตวในปาเต็งรังตัวอยางเชนนกกระตายสัตวเลื้อยคลานแมลงตางๆผึ้งฯลฯ

3.ยารกัษาโรคพชืในปาเตง็รงัหลายชนดิมีสรรพคณุเปนยาสมนุไพรทัง้ที่ใชโดยตรงหรอืตองผสมกบัสมนุไพรชนิดอื่นยกตัวอยางเชนเหมือดคน(Aporosavillosa(Wall.exLindl.)Baill.)เปลือกตนปรุงเปนยาขับลมในลำไสและขับระดูรากหรือแกนฝนน้ำกินแกไขมะขามปอม(PhyllanthusemblicaL.)ใชรากตมน้ำกินเปนยาลดไขผลสดหรือแหงกินขับเสมหะทำใหชุมคอน้ำคั้นผลสดแกทองเสียขับปสสาวะปรง(CycassiamensisMiq.)ยางที่ไดจากการเจาะตนใชทาแผลดูดหนองดับพิษและแกอาการอักเสบกูดเกี๊ยะ(Pteridiumaquilinum(L.)Kuhn)

หนอออนกินไดเปนยาฝาดสมาน รากตมน้ำกินเปนยาขับปสสาวะ ชวยการหมุนเวียนของระบบโลหิต มันขมิ้น (DioscoreabulbiferaL.)หัวตมสุกกินแกลำไสอักเสบแกบิดริดสีดวงทวารหั่นเปนแผนบางๆปดแผลแกอักเสบ

ปลาไหลเผือก(EurycomalongifoliaJack)รากเปนยาแกไขเปราะหอม(KaempferiagalangaL.)เหงาเปนยาขับลมแกทองเฟอโมกหลวง(Holarrhenapubescens(Buch.-Ham.)Wall.exG.Don)เปลือกแกบิดพะยอม(Shorea roxburghii G. Don) เปลือกตมเปนยาฝาดสมานแผล แกทองเดินและลำไสอักเสบ กระโดน (CareyasphaericaRoxb.)เปลือกตมสมานแผลแกเคล็ดเมื่อยดอกบำรุงกำลังหลังคลอดบุตรพังคี(CrotoncrassifoliusGeiseler)รากใชผสมสมุนไพรชนิดอื่นตมน้ำกินแกไขหญาหนูตนหรือโกกำแลน(Dianellaensifolia(L.)DC.)ใช

ทั้งตนผสมสมุนไพรอื่นตมน้ำดื่มรักษามะเร็งยางเหียง(DipterocarpusobtusifoliusTeijsm.exMiq.)เปลือกตนตมน้ำดื่มแกทองเสียน้ำมันยางสมานแผลแกหนองยางกราด(D. intricatusDyer)น้ำมันยางใชใสแผลยางพลวง

(D. tuberculatusRoxb.)รากตมน้ำกินแกตับอักเสบเต็ง(ShoreaobtusaWall.exBlume)เปลือกตนฝนกับน้ำปูนใสกินเปนยาฝาดสมานปอเตาไห(EnkleiasiamensisNervling)แกนแกประดงแกคันตามผิวหนังปอขี้ตุน(HelicteresangustifoliaL.) รากผสมสมุนไพรอื่นตมน้ำดื่มแกประดงมะพอก (Parinari anamenseHance)เปลือกตนประคบแกช้ำในแกปวดบวมหมีเหม็น(Litseaglutinosa(Lour.)C.B.Rob.)ใบและเมล็ดตำพอกฝแกปวดเปลือกตนแกบิดแกคันแกปวดมดลูกกะตังใบ(Leeaindica(Burm.f.)Merr.)รากแกไขขับเหงื่อครั่นเนื้อ

ครั่นตัวปวดเมื่อยตามรางกาย ประดู ( Pterocarpusmacrocarpus Kurz) แกนบำรุงโลหิต แกกษัย มะคาแต (SindorasiamensisTeijsm.exMiq.)เปลือกตนแกซางมหากาน(Linostomadacandrum(Roxb.)Wall.exMeisn.)ตนฝนน้ำเพียงเล็กนอยกินเปนยาถายแดง(Xyliaxylocarpa(Roxb.)Taub.var.kerrii(Craib&Hutch.)I.C.Neilsen)ดอกเขายาแกไขบำรุงหัวใจไซหิน(Tadehagigodefroyanum(Kuntze)Ohashi)รากตมน้ำดื่มแกอาเจียนมีเลือดออกทางปากและทวารหนักมะกอกเลื่อม(CanariumsubulatumGuillaumin)ยางทาแกคัน

ผลแกไข ขับเสมหะ ราชาวดีปา (Buddleja asiatica Lour.) แกโรคผิวหนัง เปนยาทำแทง จุกโรหินีหรือ

Page 15: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี6

เถาพุงปลา (Dischidiamajor (Vahl) Merr.) ใบแกทองเดิน รากเคี้ยวกับพลูแกไอ เกล็ดมังกรหรือไมเบี้ย(Dischidia nummularia R. Br.) ตนแกอักเสบ ปอดบวม ใบลดไข ตำพอกพวกโรคพุพอง มะเคว็ดหรือหนาม

เค็ด (Catunaregamtomentosa (BlumeexDC.)Tirveng.)ผลแกใชตีกับน้ำเปนฟองใชสระผมคำมอกหลวง(GardeniasootepensisHutch.)ใชในลักษณะเดียวกันคือเมล็ดจากผลแกตมน้ำผสมเปนยาสระผม พืชบางชนิดเปนพิษและบางอยางก็ใชเปนยาพิษ เชนรักใหญ (Glutausitata (Wall.)DingHou)ยางเปนพิษตอผิวหนัง ทำใหคัน แสลงใจ (Strychnos nux-vomica L.) เมล็ดใชเปนยาเบื่อหนูและสุนัข ขี้หนอน

(Scleropyrumwallichianum(Wight&Arn.)Arn.)พบไดบางในปาเตง็รงับางแหงดอกและใบออนถารบัประทาน

มากอาจเปนอันตรายถึงตายได

4.เชื้อเพลิงไดแกฟนและถานซึ่งใชในการหุงตมชาวชนบทไดอาศัยเก็บเศษไมกิ่งไมแหงจากปาเต็งรังมา

ทำฟนในอดตีตดัไมที่ลมขอนนอนไพรมาเผาถานหรอืใชนำ้มนัยางจากตนยางเหยีงยางกราดผสมเศษไมทำไตเพือ่ใหความสวางในยามค่ำคืนปจจุบันเชื้อเพลิงเหลานี้นับวันจะหายากขึ้นทุกวันตนไมในปาเต็งรังหลายชนิดที่มีคุณสมบัติใชเปนฟนและถานไดดีตัวอยางเชนเต็งรังกระบกโดยเฉพาะถานจากไมกระบกนับวาเปนถานที่มีคุณภาพสูงใน

ปาเต็งรังบางแหงจะมีไมสนขึ้นปะปนอยูเชนไมสนสองใบ(PinusmerkusiiJungh.&deVriese)ซึ่งเนื้อไมจะเปนเชื้อไฟที่ดีบางแหงมีวางขายในทองตลาดโดยมัดเปนมัดๆปจจุบันไมสนสองใบในปาเต็งรังเหลือนอยลงมากจึงไม

แนะนำใหใช เพราะจะเปนการสงเสริมใหมีการลักลอบตัดฟนเพื่อนำมาขาย อยางไรก็ตามความจำเปนในการใชฟนและถานก็ยงัมีอยูการประกอบอาหารบางอยางของชาวบานเชนการเผายางยงัไมสามารถใชเชือ้เพลงิหรอือปุกรณอื่นเชนแกสหรืออุปกรณไฟฟาแทนไดในทุกกรณีฉะนั้นการใชเชื้อเพลิงเหลานี้ตองเปนไปดวยความประหยัด

Page 16: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 7

6.สีและฝาดฟอกหนังตัวอยางเชนดอกดินแดง(AeginetiaindicaL.)ดอกสดหรือแหงคั้นน้ำใหสีมวงใชในการผสมแตงสีอาหาร เหมือดคน (Aporosa villosa (Wall. ex Lindl.) Baill.) เปลือกมียางแดง ใชเปนสียอม

มังเครชาง(MelastomasanguineumSims)รากผสมกับวัสดุอื่นยอมผาใหสีแดงใบผสมวัสดุอื่นใหสีมวงแดงผลใชยอมผาใหสีดำมะขามแป (Archidendronclypearia (Jack) I.C.Nielsen) เปลือกใชฟอกหนังและเครื่องมือ

จบัปลามะขามปอม(PhyllanthusemblicaL.)ผลออนและเปลอืกกิง่ใชฟอกหนงัใหสนีำ้ตาลแดงผลใชทำสียอมผม

เหมอืดหอม(SymplocosracemosaRoxb.)และเหมอืดหลวง(Symplocoscochinchinensis(Lour.)S.Mooressp.laurina(Retz.)Noot.)ใบใชยอมผาใหสีเหลอืงครามปา(IndigoferasootepensisCraib)ใชยอมผาใหสคีราม

หวาตางๆ(Syzygiumspp.)เปลือกใชยอมผาใหสีน้ำตาลดำเปลือกมีtanninใชฟอกแหจับปลานอกจากนี้พวกพลอง(Memecylonspp.)ก็ใชในการยอมผาเชนกัน การใชสีธรรมชาติจากพืชเหลานี้ในการยอมผานั้นสีที่ออกมาแตละครั้งจะมีความจางเขมไมเทากันแลวแต

ปริมาณและสวนผสมพรอมทั้งตัวmordantที่ใชในแตละครั้ง

5.ชนันำ้มนัและยางไมในอดตีนำ้มนัยางจากตนยางเหยีงยางกราดใชในการทำชนัยาเรอืหรอืใชยาเครือ่ง

จักสานจากไมไผเพื่อกันรั่ว ใชเปนภาชนะในการใสน้ำ ในปาเต็งรังที่มีสนผสม ยางสนใชทำยา ผสมสี ทำสบู เมล็ด

มะพอก(ParinarianamenseHance)ใหน้ำมันปจจุบันการใชประโยชนเหลานี้ลดลงไปมาก

7.อาหารสัตวชาวชนบทไดอาศัยปาเต็งรังเปนแหลงเลี้ยงสัตว เชนโคกระบือโดยเฉพาะในฤดูฝนพื้นที่เลี้ยงสัตวมีนอยเพราะตองใชในการทำนาหรือปลูกพืชเกษตรอื่นอาหารที่สัตวไดจากปาเชนหญาใบไมผลไมเมล็ด

ไมผลไมในปาเต็งรังบางชนิดเชนกระบก(IrvingiamalayanaOliv.exA.W.Benn.)โคกระบือชอบกินมากโดยจะกลนืทัง้เมลด็และถายมลูไวนอกคอกเลีย้งสตัวในชวงกลางคนืชาวชนบทใชวธิีเกบ็เมลด็กระบกจากคอกสตัวมาผาเอาเนื้อในรับประทานโดยที่ไมตองเขาไปเก็บในปานับเปนประโยชนอีกทางหนึ่ง

Page 17: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี8

ประโยชนทางออมอกีแงหนึง่ก็คอืเปนแหลงพกัผอนหยอนใจและศกึษาทางวชิาการดวยเหตุที่เปนปาโปรงพืน้ทีป่าไมรกทบึมากนกัจงึสะดวกในการเดนิเทีย่วชมศกึษาธรรมชาติพรรณไมในปาเตง็รงัหลายชนดิมีดอกสวยงาม

ทั้งที่เปนไมลมลุกไมพุมไมตนซึ่งจะหมุนเวียนออกตามฤดูกาลตัวอยางเชนไมลมลุกตางๆที่ออกดอกสวยงามในชวงหนาฝนเชนหญาดอกคำ(Hypoxis aureaLour.)กระเจียว(Curcuma cochinchinensis Gagnep.)เปราะ

ปา(Kaempferia roscoeanaWall.)เทพทาโร(Ceropegia arnottiana Wight)แตงแพะ(Gymnema griffithii

Craib)พูมวงสยาม(Argyreia siamensis (Kerr)Staples)พรรณไมอิงอาศัยตางๆเชนดางหรือหัวใจทศกัณฐ

(Hoya kerrii Craib)ออกดอกในหนาแลงพรรณไมบางชนิดมีศักยภาพในการนำมาปลูกเปนไมประดับได เชนคำมอกหลวง(Gardenia sootepensis Hutch.)ไมตนขนาดเลก็ถงึขนาดกลางดอกเริม่บานสขีาวแลวเปลีย่นเปนเหลอืงดอกขนาดใหญ กลิ่นหอมมาก โมกหลวง (Holarrhena pubescens (Buch.-Ham.)Wall. ex G. Don) ไมตน

ขนาดเล็กดอกสีขาวกลิ่นหอมตาลเหลืองหรือชางนาว(Ochna integerrima(Lour.)Merr.)ไมตนขนาดเล็กดอกสีเหลืองสดเวลาออกดอกผลัดใบเกือบหมดมองเห็นเหลืองทั้งตน

ประโยชนทางออมตางๆของปาไมเชนบรรเทาอุทกภัยบรรเทาการกัดชะของดินบรรเทาความรุนแรงของลมพายุ การทำใหมีความชุมชื้น มีฝนตกมากขึ้น มีน้ำไหลสม่ำเสมอ หรือเปนที่อยูอาศัยของสัตวปา ประโยชนเหลานี้แมปาเต็งรังจะไมเอื้อไดเทาปาชนิดอื่นเชนปาดิบชื้นปาดิบเขาปาดิบแลงแตก็นับวามีความสำคัญ

ประโยชนทางออม

นอกจากนี้ยงัมีกลวยไมตางๆ ในปาเตง็รงัที่มีดอกสวยงามตวัอยางเชนวานจงูนาง(GeodorumcitrinumJacks.)กลวยไมดินชอดอกตั้งขึ้นปลายโคงงอชี้ลงพื้นดินนางอั้วคางยาว(HabenariahosseusiiSchltr.)กลวยไมดินดอกขาวหายากพบตามแนวเทือกเขาตะนาวศรี เอื้องหนวดพราหมณ (Seidenfadeniamitrata (Rchb. f.)Garay)กลวยไมอิงอาศัยดอกสีขาวอมมวงใบเรียวยาวหอยลงเหมือนหนวดฯลฯ

พรรณไมในปาเต็งรังมีที่นาสนใจอีกมากมาย ถามีผูสนใจและศึกษามากขึ้น ก็จะกอใหเกิดความรูเพื่อที่จะนำไปใชประโยชนมากขึ้นปจจุบันความรูตางๆยังไมไดมีการบันทึกไวมากเทาที่ควรตัวอยางเชนขอมูลความรูทาง

ดานพฤกษศาสตรพื้นบานการใชประโยชนในดานสมุนไพรตางๆ

สรุป

จะเหน็ไดวาปาเตง็รงัเอือ้ประโยชนใหชาวชนบทมากมายแทบจะเรยีกไดวาปาเตง็รงัผกูพนักบัการดำรงชวีติของชาวชนบทฉะนั้นเปนสิ่งที่ตองตระหนักถึงความสำคัญของปาเต็งรังผูเกี่ยวของทุกฝายตองชวยกันปองกันรักษาการใชประโยชนจากปาตองเปนไปดวยความระมัดระวังเพื่อใหปาเต็งรังคงอยูและเอื้อประโยชนตลอดไป

สมรานสุดดี

Page 18: 01960-4_gp01_Cover ok.indd
Page 19: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี10

Lygodiaceae

Page 20: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 11

หญายายเภาLygodium flexuosum (L.) Sw.

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ

เฟรนเลื้อยเหงาคอนขางสั้นปกคลุมดวยขนสีน้ำตาลเขมหนาแนนใบประกอบแบบขนนกหลายชั้นออก

ตรงขามใบทอดเลื้อยยาวหลายเมตรกานใบประกอบที่แตกจากเหงาสีฟางแหงสวนโคนกานสีน้ำตาลเขมยาวไดถึง50ซม.หรือมากกวามีขนประปรายหรือเกือบเกลี้ยงสวนปลายกานมีปกแคบๆแกนกลางใบมีปกตลอดความยาว

มีขนประปรายที่ผิวดานบนแยกสาขาเปนแกนกลางชั้นแรกและแกนกลางชั้นที่2แกนกลางชั้นแรกสั้นมากยาวไดถึง5มม.ปกคลุมดวยขนสีน้ำตาลออนแกนกลางชั้นที่2แตกแบบขนนกชั้นเดียวหรือ2ชั้นใบยอยของกิ่งลางๆรูปนิ้วมือโคนรูปหัวใจใบยอยถัดขึ้นไปเปน3แฉกหรือเดี่ยวแฉกยาวไดถึง15ซม.กวางไดถึง2.5ซม.ปลายแหลม

หรือมนโคนรูปหัวใจขอบจักฟนเลื่อยแผนใบบางคลายกระดาษผิวดานบนเกลี้ยงดานลางมีขนประปรายตามเสนใบกานใบยอยชัดเจนยาวไดถึง1ซม.มีปกแคบๆมีขนประปรายกลุมอับสปอรยื่นออกมาจากขอบใบยอยยาวได

ถึง1ซม.กวางไดถึง1.5มม.เยื่อคลุมอับสปอรเกลี้ยง

นิเวศวิทยา พบทอดเลือ้ยบนไมพุมหรอืบนกิง่ของไมตนในที่คอนขางโลงในปาผลดัใบหรอืชายปาดบิความสงูตั้งแตใกลระดับน้ำทะเลจนถึงเปนพันเมตร

ประโยชน ตนใชขับเสมหะ ใบมีฤทธิ์ตอตานแบคทีเรีย ชาวอาขาใชแกแมลงกัดตอยปองกันอาการปวดขออาการแพลง โรคหิดผื่นแดงบาดแผลฝฝกบัวและแผลผุพองตนใชทำเชือกสานทำกระเปาตะกราใบรับประทานเปนผัก

การกระจายพันธุ ศรีลังกาอินเดียจีนตอนใตและตะวันตกเฉียงใตไตหวันไทยภูมิภาคอินโดจีนภูมิภาคมาเลเซียออสเตรเลีย

กระฉอกกูดกองกูดเครือกูดงอดแงดกูดแพะกูดยองตะเภาขึ้นหนตีนตะขาบผักตีนตกโต

ลิเภาใหญ

ประเทศไทย พบแทบทุกภาค

ที่มา ชื่อสกุลมีที่มาจากภาษากรีกคำวาlygodesซึ่งมีความหมายวาเลื้อยหรือออนหมายถึงลักษณะนิสัยที่เปนไมเลื้อยพันหรือหมายถึงลำตนกิ่งกานที่ออนดัดงายใชสานทำตะกราหรือเครื่องใช

ตาง ๆ สวนคำระบุชนิด flexuosum แปลวา ยืดหยุน โคงหรือออน คดเคี้ยวหรือบิด ซึ่งเปนลักษณะของพืชชนิดนี้

ชื่อสามัญ Climbingfern

Page 21: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี12

Araceae

บุกอีลอกPseudodracontium lacourii (Linden & André) N. E. Br.

ที่มา

ไมลมลุกหัวใตดินกลม เสนผานศูนยกลาง5-10ซม.สีน้ำตาลเหลือง โคนกานใบและกานชอดอกมีกาบบางคลายเยื่อสีเขียวออนหุมกาบยาว8-12ซม.กานใบยาว10-18ซม.ความหนาที่โคนกานใบ1-1.5ซม.กานสเีขยีวมีแถบสัน้สขีาวสลบัที่ปลายกานมีใบแยกเปน3กลุมแตละกลุมมีใบ5-7แฉกชอดอกโผลออกกอนการแตกใบเล็กนอยกานชอดอกยาว40-50ซม.กาบหุมชอดอกสีขาวอมเหลืองยาว7-9ซม.ปลายแหลมโคงงอมาดานหนาเลก็นอยแกนชอดอกยาว4-5ซม.สวนปลายสดุเปนสวนที่เปนหมนัถดัลงมาเปนกลุมดอกเพศผูสวนลางสดุเปนกลุม

ดอกเพศเมียรังไขรูปกรวยสั้นมีเสนผานศูนยกลาง2-3มม.ดอกเพศผูมีเกสรเพศผู5อันสีขาวนวลผลสุกสีแดงเมล็ดรูปไข1เมล็ด

นิเวศวิทยา พบตามที่โลงในปาเต็งรังออกดอกและเปนผลระหวางเดือนมีนาคม-พฤษภาคมการกระจายพันธุ ไทยลาวกัมพูชาเวียดนาม

ชือ่สกลุมาจากภาษากรกีคำวาpseudesแปลวาเทยีมกบัคำวาDracontiumซึง่เปนชือ่สกลุของพืชวงศAraceaeหมายความวาพืชสกุลนี้มีลักษณะใกลเคียงกับพืชสกุลDracontiumสวนคำ

ระบุชนิด lacourii ตั้งใหเปนเกียรติแก Mr. Lacour ผูเก็บตัวอยางพืชชนิดนี้จากภาคใตของเวียดนาม

ประเทศไทย ภาคตะวันออก:ชัยภูมิ;ภาคตะวันตกเฉียงใต:ราชบุรีและกาญจนบุรี

Page 22: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 13

Asparagaceae

สามสิบAsparagus racemosus Willd.

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ

ไมเลื้อยเนื้อแข็งเลื้อยยาว2-3ม.ลำตนสีเขียวมีหนามมีรากอวบน้ำใบที่แทจริงลดรูปเปนเกล็ดขนาดเล็ก

สวนที่เห็นคลายใบเรียกวาลำตนคลายใบ(cladodes)ออกเปนกระจุกหรือวงรอบรูปแถบกวางต่ำกวา1มม.ยาว1-2.5ซม.ปลายเรียวแหลมเปนรูปเคียวแผนใบมักโคงมีสัน3สันตามยาวชอดอกแบบชอกระจะหรือชอแยกแขนงออกที่ซอกใบหรือปลายกิ่งเปนชอเดี่ยวหรือออกหลายชอเปนกระจุกดอกสีขาวกลิ่นหอมกลีบรวม6กลีบรูปขอบ

ขนานหรือขอบขนานแกมรูปใบหอกกลับยาว3-4มม.เกสรเพศผูติดที่โคนของกลีบรวมยาว2-3มม.อับเรณูกลม

รังไขอยูเหนือวงกลีบรูปไขกลับมี3ชองแตละชองมีออวุล2เม็ดหรือมากกวายอดเกสรเพศเมียแยกเปน3แฉกผลมีเนื้อหนึ่งถึงหลายเมล็ดกลมหรือเปน3พูสีเขียวเปนมันเมล็ดสีดำ2-6เมล็ด

นิเวศวิทยา พบทั่วไปในปาโปรงหรือตามเขาหินปูนออกดอกและเปนผลระหวางเดือนมิถุนายน-สิงหาคมประโยชน ในอินเดีย รากใชเปนยากระตุนประสาทหรือยาชูกำลัง บรรเทาอาการระคายเคือง ขับปสสาวะ

และรักษาโรคทองเสียดอกดกกลิ่นหอมปลูกเปนไมประดับได

การกระจายพันธุ อาฟริกาอินเดียเอเชียตะวันออกเฉียงใตออสเตรเลีย

ที่มา ชื่อสกุลมาจากภาษากรีกคำวาasparagos,aspharagosหมายถึงแตกหนอหรือออกหนอสวน

คำระบุชนิดracemosusหมายถึงชอดอกที่เปนชอแบบชอกระจะ(raceme)

จวงเครือผักชีชางสามรอยราก

ชื่อสามัญ Nativeasparagus

ประเทศไทย พบทุกภาค

Page 23: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี14

ที่มา

นิเวศวิทยา พบตามที่ชื้นแฉะในทุงหญาหรือปาผลัดใบ ความสูงตั้งแตใกลระดับน้ำทะเลจนถึงประมาณ

1,500ม.ออกดอกและผลระหวางเดือนมิถุนายน-ธันวาคม

การกระจายพันธุ มาดากาสการศรีลังกาอินเดียจีนพมาไทยภูมิภาคอินโดจีนภูมิภาคมาเลเซียออสเตรเลีย

ชื่อสกุลตั้งขึ้นเปนเกียรติแกผูเก็บพรรณไมชาวอินเดียชื่อMurdannAliผูดูแลพิพิธภัณฑพืชในสวนพฤกษศาสตรSaharanpurของอินเดีย

ประเทศไทย พบแทบทุกภาค

Commelinaceae

หญาหงอนเงือกMurdannia gigantea (Vahl) G. Brückn.

ไมลมลกุอายุหลายปใบออกเปนกระจกุแบบกหุลาบซอนที่โคนตนเหงาตัง้ตรงลำตนรวมชอดอกยาวไดถงึ2ม.รากหนาใบที่โคนตนรูปแถบยาว20-50ซม.กวาง1-1.5ซม.ปลายเรียวแหลมเกลี้ยงกาบใบยาว5-10ซม.

เกล้ียงใบท่ีอยูสวนบนลดรูปดูคลายใบประดับชอดอกออกท่ีปลายยอดประกอบดวยชองวงแถวเด่ียว1-2ชอชองวง แถวเดีย่วมีดอกจำนวนมากสมีวงหรอืนำ้เงนิแกมมวงสมบรูณเพศสมมาตรดานขางดอกตมูมีเมอืกเหนยีวกลบีเลีย้งรูปเรือเกลี้ยงกลีบดอกรูปไขกลับเกสรเพศผูที่สมบูรณ2อันกานชูอับเรณูกางออกสวนลางมีขนอับเรณูรูปรีสีมวงเกสรเพศผูที่เปนหมัน4อันสวนบนมีขนรังไขอยูเหนือวงกลีบรูปรีมี1ชอมีออวุล2-3เม็ดผลแบบผลแหงแตกรูปรีแกมรูปไขปลายเปนจะงอยสั้นเมล็ดมีลวดลายแบบรางแห

ชื่อพอง CommelinagiganteaVahl,Aneilemagiganteum(Vahl)R.Br.

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ น้ำคางกลางเที่ยงหงอนนาค

Page 24: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 15

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ

ไมลมลุก สูง 15-20 ซม. ทุกสวนมีขน เหงากลม ใบเดี่ยว ออกเปนกระจุกใกลราก รูปแถบถึงรูปรีแคบปลายแหลมขอบเรียบกวาง4-6มม.ยาว10-26ซม.ชอดอกแบบชอกระจะออกกลางกลุมใบชอยาว4-8ซม.ใบ

ประดับรูปแถบหรือรูปใบหอกดอกในชอ1-2ดอกเสนผานศูนยกลางประมาณ1ซม.กลีบรวมสีเหลือง6กลีบรูปไขหรือรูปขอบขนานกวาง2-3มม.ยาว6-8มม.ปลายเปนติ่งหนามขอบเรียบผิวดานในเกลี้ยงดานนอกมีขนเปนแนวตามยาวตรงกลางกลีบเกสรเพศผู6อันกานชูอับเรณูเรียวเล็กเกลี้ยงรังไขอยูเหนือวงกลีบรูปขอบขนานยอดเกสรเพศเมียมีขนผลแบบผลแหงแตกยาวประมาณ7มม.แตกเปน3ซีกเมล็ดสีดำผิวมีปุม

ตาลเดี่ยว

ที่มา ชื่อสกุลมีที่มาจากมาจากภาษากรีกคำวาhypoแปลวาขางลางและoxysแปลวาปลายแหลม

หรอืคมหมายถงึใบรปูใบหอกหรอืหมายถงึผลทีค่อดหรอืยดืยาวไปทางดานโคนผลคำระบุชนดิaureaแปลวาสีเหลืองหมายถึงดอกที่มีสีเหลือง

Hypoxidaceae

หญาดอกคำHypoxis aurea Lour.

ประเทศไทย พบทุกภาค

นิเวศวิทยา พบตามทุงหญาและที่โลงในปาผลัดใบ ปาสน ไมพบในที่ระดับความสูงจากน้ำทะเลต่ำมากออกดอกและเปนผลระหวางเดือนพฤษภาคม-สิงหาคม

ประโยชน ใชเปนยาแกออนเพลีย รักษาอาการอาหารไมยอย โรคตา บำรุงรางกายใหแข็งแรง รักษาบาดแผล

การกระจายพันธุ อินเดียจีนญี่ปุนไตหวันพมาไทยภูมิภาคอินโดจีนและภูมิภาคมาเลเซีย

ชื่อสามัญ Stargrass,Yellowstargrass

Page 25: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี16

Orchidaceae

Page 26: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 17

วานจูงนางGeodorum citrinum Jacks.

เหงารูปรางเกือบกลมมีหัวใตดินจำนวนใบ2-3ใบใบดานบนสุดมีขนาดใหญสุดรูปรีแกมรูปขอบขนาน

กวาง7-8ซม.ยาว10-20ซม.มีเสนตามยาวชัดเจนมีกานใบเดนชัดชอดอกแบบชอกระจะยาวไดถึง25ซม.กานชอตั้งตรง แกนกลางที่ปลายชอดอกโคงลง กลีบเลี้ยงและกลีบดอกสีขาวหรือสีเหลืองออน กลีบเลี้ยงรูปขอบขนาน

แกมรูปใบหอกกวาง6-7มม.ยาว2-3ซม.กลีบคูขางมีขนาดใหญกวากลีบบนเล็กนอยกลีบดอกรูปใบหอกกลับกวางสัน้กวากลบีเลีย้งแตมีขนาดกวางกวาทัง้กลบีเลีย้งและกลบีดอกมีเสนตามยาวชดัเจนกลบีปากสัน้กวากลบีเลีย้งสีเหลืองออนถึงเหลืองเขมกวางประมาณ1.5ซม.เวาเขาดานในเปนแองขอบโคงลงดานนอกปลายกลีบปากเวาตื้น

ถึงเวาลึกโคงลงลักษณะคลายจะงอยมีเสนสีมวงแดงหนาแนนบริเวณปลายกลีบเสาเกสรสั้นและกวาง

ประโยชน ดอกสวยปลูกเปนไมประดับได

การกระจายพันธุ ภาคตะวันออกเฉียงเหนืออินเดียพมาไทยและมาเลเซีย

ที่มา ชื่อสกุลมาจากภาษากรีกคำวาge,geaแปลวาดินและคำวาdoronแปลวาของขวัญหมายถึงลกัษณะนสิยัที่มีปลายชอดอกโคงลงสูดนิเปรยีบเสมอืนเปนที่สำหรบัเกีย่วหรอืจงูสวนคำระบุชนดิcitrinumแปลวาสีlemon-yellowซึ่งเปนสีออกเหลืองซึ่งเปนสีดอกของกลวยไมชนิดนี้

ประเทศไทย พบทุกภาค

นิเวศวิทยา พบตามพื้นปาผลัดใบที่คอนขางชื้นออกดอกระหวางเดือนเมษายน-พฤษภาคม

Page 27: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี18

Orchidaceae

Page 28: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 19

กลวยไมดินสูงไดถึง1ม.มีหัวใตดินใบเรียงเวียนชอดอกเปนชอกระจะดอกในชอจำนวนมากสีขาวหรือ

ขาวแกมเขียวดอกบานกวางประมาณ2ซม.ใบประดับรูปใบหอกสั้นกวาความยาวกานดอกรวมรังไขกลีบเลี้ยง3กลีบกลีบเลี้ยงคูขางเบี้ยวเล็กนอยมีเสนตามยาว5เสนกลีบดอกแนบชิดใตกลีบเลี้ยงบนกลีบปากไมมีแฉกรูปชอนยาวขอบดานขางมวนขึ้นมีสันตามขวางที่โคนกลีบดานหนาเดือยเดือยรูปทรงกระบอกยื่นยาวอาจยาวไดถึง8ซม.

สวนปลายสีเขียวสวนโคนสีขาวสวนปลายกวางกวาสวนโคนเล็กนอย

นิเวศวิทยา พบบริเวณที่คอนขางโปรงในปาผลัดใบออกดอกชวงเดือนกันยายน-ตุลาคม

การกระจายพันธุ เปนพืชถิ่นเดียวของไทย(endemic)

ประเทศไทย พบทางภาคเหนือภาคตะวันออกและภาคตะวันตกเฉียงใตบริเวณกลุมปาแกงกระจานเปนจุด

ใตสุดที่พบกลวยไมชนิดนี้

ที่มา ชื่อสกุลมีที่มาจากภาษาลาตินคำวา habena ซึ่งแปลวาสายหนัง หมายถึงดอกที่มีเดือยยืดยาวคลายสายหนังสวนคำระบุชนิดhosseusiiตั้งใหเปนเกียรติแกC.C.Hosseusนักพฤกษศาสตรชาวเยอรมันที่เขามาสำรวจพรรณไมทางภาคเหนือของประเทศไทยระหวางปค.ศ.1904-1905

นางอั้วคางยาวHabenaria hosseusii Schltr.

ประโยชน ดอกดกและสวยงามสามารถนำมาขยายพันธุเปนไมประดับได

Page 29: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี20

ที่มา

นิเวศวิทยา พบในที่คอนขางโปรงในปาเตง็รงัปาดบิแลงปาเบญจพรรณหรอืปาดบิเขาทีส่งูจากระดบันำ้ทะเล350-1,500ม.ออกดอกชวงเดือนเมษายน-พฤษภาคม

การกระจายพันธุ พมาและไทย

ชื่อสกุลตั้งขึ้นใหเปนเกียรติแกทานGunnarSeidenfadenชาวเดนมารกอดีตเอกอัครราชทูตเดนมารกประจำประเทศไทยและเปนผูทำการศึกษาและตีพิมพผลงานวิชาการเกี่ยวกับกลวยไมไทยอยางตอเนื่องหลายสิบปจนถึงวาระสุดทายของชีวิตผลงานของทานเปนพื้นฐานอันสำคัญยิ่ง

สำหรับโครงการพรรณพฤกษชาติประเทศไทยพืชวงศกลวยไม สวนคำระบุชนิดmitrata แปลวาที่สวมศรีษะหรอืหมวกทรงสงูสำหรบัพระในครสิตศาสนาซึง่อาจหมายถงึลกัษณะโดยรวมของ

เสาเกสรที่ดูคลาย

ประเทศไทย พบแทบทุกภาคยกเวนภาคใต

Orchidaceae

เอื้องหนวดพราหมณSeidenfadenia mitrata (Rchb. f.) Garay

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ เอื้องกุหลาบสระบุรีเอื้องผมเงือกเอื้องผมผีพราย

กลวยไมอิงอาศัยลำตนยาว3-5ซม.รากจำนวนมากออกที่โคนตนลักษณะอวบยาวใบจำนวน3-5ใบรูปทรงกระบอกยาวสีเขียวเขมปลายเรียวแหลมเสนผานศูนยกลางสวนกวางสุดประมาณ0.5ซม.ยาว10-40ซม.

ใบหอยลูลงดานบนเปนรองตามยาวชอดอกแบบชอกระจะออกที่ซอกใบชอตั้งขึ้นกานชอยาว13-20ซม.ดอกเรียงคอนขางแนนมีกลิ่นหอมดอกบานเต็มที่กวางประมาณ1.5ซม.กานดอกยาวประมาณ2ซม.กลีบเลี้ยงสีขาวปลายกลีบสีมวงรูปรีแกมรูปขอบขนานกลีบดอกสีขาวขอบกลีบอาจมีสีมวงรูปรีแกมรูปไขกลับกลีบปากสีมวงแกมแดงกลางกลบีสจีางกวากลบีรปูรีแกมรปูไขปลายกลบีเวาตืน้โคนกลบีแตละขางมีติง่ขนาดเล็กฝาปดกลุมเรณูสมีวง

เขม

ชื่อพอง AeridesmitrataRchb.f.

ประโยชน ดอกและใบสวยขยายพันธุเปนไมประดับได

Page 30: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 21

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ

นิเวศวิทยา พบทั่วไปในปาเต็งรังทุงหญาเปดโลงออกดอกและเปนผลระหวางเดือนพฤษภาคม-สิงหาคม

การกระจายพันธุ อินเดียพมาไทยภูมิภาคอินโดจีนและภูมิภาคมาเลเซีย

เขืองเครือดาวฟาแลบ

ประเทศไทย พบทุกภาค

ที่มา ชื่อสกุลมีรากศัพทมาจากภาษากรีกโบราณคำวา smilax หรือ smilakos ซึ่งใชเรียกไมเถาที่มี

ผิวหยาบหมายถึงลำตนของพืชสกุลนี้บางชนิดที่มีหนามสวนคำระบุชนิดluzonensisหมายถึงเมืองลูซอนในประเทศฟลิปปนส

Smilacaceae

ยานทาดSmilax luzonensis C. Presl.

ไมเลื้อยยาวถึง5ม.ลำตนกลมหรือเปนเหลี่ยมเล็กนอยมีหนามกระจายหางๆใบเดี่ยวเรียงสลับรูปรีถึงรูปรีแกมรูปใบหอกกวาง2.5-7ซม.ยาว5-18ซม.ปลายกลมหรือเวาตื้นและเปนติ่งแหลมสั้นโคนกลมขอบเรียบแผนใบหนาคลายแผนหนังเกลี้ยงทั้งสองดานเสนใบหลัก5-7เสน3เสนกลางเดนชัดกวาเสนที่เหลือดานขางเชื่อม

กันเหนือโคนใบ3-5มม.กานใบยาว0.5-2ซม.มือพันยาวไดถึง12ซม.ชอดอกแบบชอซี่รม1-3ชอออกที่ซอกใบใกลปลายกิ่งดอกแยกเพศตางตนใบประดับยอยรูปไขกวางดอกสีเขียวกลีบรวม6กลีบรูปรีหรือรูปรีแกมรูปขอบขนานกลีบวงในมักแคบกวากลีบวงนอกชอดอกเพศผูมี20-40ดอกตอชอเกสรเพศผูจำนวน6อันอับเรณูรูปขอบ

ขนานชอดอกเพศเมียมี15-30ดอกตอชอรังไขอยูเหนือวงกลีบรูปรียาวประมาณ2มม.มี3ชองแตละชองมี

ออวุล1-2เม็ดมีเกสรเพศผูที่เปนหมัน3อันรูปคลายเข็มผลแบบผลมีเนื้อหนึ่งถึงหลายเมล็ดเสนผานศูนยกลาง5-6มม.มี1หรือ2เมล็ด

ประโยชน ในมาเลเซียใชเหงาเปนยาบำรุงพมาและไทย

พบแทบทุกภาคยกเวนภาคใต

เอื้องกุหลาบสระบุรีเอื้องผมเงือกเอื้องผมผีพรายAeridesmitrataRchb.f.

Page 31: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี22

ที่มา

นิเวศวิทยา พบตามที่คอนขางชื้นในปาผลัดใบหรือปาดิบแลง ตั้งแตใกลระดับน้ำทะเลจนถึงที่สูงประมาณ1,200ม.ออกดอกระหวางเดือนกรกฎาคม-สิงหาคม

ชื่อสกุลมีรากศัพทมาจากภาษาอาราบิกคำวา Kurkum ซึ่งหมายถึงขมิ้น สวนคำระบุชนิด

cochinchinensisหมายถึงภาคใตของเวียดนาม(ในอดีตตอนเหนือของเวียดนามเรียกTonkinตอนกลางเรียกAnnamตอนใตเรียกCochinchine)

Zingiberaceae

กระเจียวขาวปากเหลืองCurcuma cochinchinensis Gagnep.

ไมลมลุกสูง 40-60ซม. เหงาอวบน้ำ เนื้อในสีขาวหรือเหลืองออน ใบ1-5 ใบรูปขอบขนานแกมรูปไข

ปลายแหลมโคนสอบเล็กนอยหรือมนขอบเรียบแผนใบดานบนเกลี้ยงดานลางมีขนกวาง7.5-12ซม.ยาว12-35ซม.กาบใบมีขนาดใหญลักษณะเปนหลอดกานใบชอดอกตั้งตรงออกระหวางกลุมใบกานชอดอกยาวประมาณ5

ซม.มักจมอยูใตผิวดินชอดอกกวาง3-5.5ซม.ยาว6-8.5ซม.ใบประดับที่รองรับดอกสีขาวปลายสีชมพูออนรูปไขแกมรูปใบหอกปลายแหลมเกือบมนกวาง1.5-2ซม.ยาว3-4ซม.มีเสนสีชมพูจางตามยาวกลีบเลี้ยงโคนเชื่อมกัน

เปนหลอดปลายแยกเปน3แฉกสั้นๆปลายมีขนครุยหลอดกลีบดอกปลายแผเปนแฉกรูปขอบขนานปลายมีขนครยุเกสรเพศผูรปูแถบเปนจะงอยที่โคนแกนอบัเรณูสัน้ปลายมนเกสรเพศผูที่เปนหมนัรปูรีกวางหรอืรปูไขปลายมนขนาดเทากับกลีบปากกลีบปากคลายสี่เหลี่ยมสีขาวปลายแยกเปน2แฉกตรงกลางมีแถบกวางสีเหลืองตามยาวรังไขมีขนกานเกสรเพศเมียเกลี้ยง

การกระจายพันธุ ไทยและภูมิภาคอินโดจีน

ประเทศไทย ภาคเหนือ:นครสวรรคกำแพงเพชร;ภาคตะวันตกเฉียงใต:กาญจนบุรีประจวบคีรีขันธเพชรบุรี

ราชบุรี

ประโยชน ชอดอกสวยปลูกเปนไมประดับได

Page 32: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 23

นิเวศวิทยา พบทั่วไปตามปาไผพบบางในปาเต็งรังความสูงจากระดับน้ำทะเล80-400ม.

ประโยชน

การกระจายพันธุ อินเดียพมาไทย

ประเทศไทย ภาคเหนือ:เชียงใหมตาก;ภาคตะวันตกเฉียงใต:กาญจนบุรีราชบุรีประจวบคีรีขันธ

ที่มา ชือ่สกลุตัง้ใหเปนเกยีรติแกนกัธรรมชาติวทิยาชาวเยอรมนัEngelbertKaempfer(1651-1716)

สวนคำระบุชนดิroscoeanaตัง้ใหเปนเกยีรติแกWilliamRoscoeนกัพฤกษศาสตรผูกอตัง้สวนพฤกษศาสตรแหงเมืองลิเวอรพูลประเทศอังกฤษ

เปราะปาKaempferia roscoeana Wall.

Zingiberaceae

ชื่อสามัญ Peacocklily,Dwarfgingerlily

ไมลมลุกสูงประมาณ2ซม.เหงาหนาสั้นมีรากจำนวนมากมีลักษณะคลายหัวใบ2ใบแผแบนแนบ

ผิวดินแผนใบรูปวงกลมกวาง8-9ซม.ยาว8-12ซม.ปลายเปนติ่งหนามโคนรูปกลมหรือรูปลิ่มขอบเรียบแผนใบคอนขางหนา ผิวเกลี้ยงทั้งสองดาน ดานบนมีจุดดางสีเขียวเขม ไมมีกานใบ กาบใบหนายาวประมาณ 2.5 ซม.

ชอดอกสั้นปกคลุมดวย2กาบใบดอกจำนวนนอยใบประดับรูปขอบขนานปลายเรียวแหลมเกลี้ยงใบประดับยอยรูปแถบขอบมวนเกลี้ยงกลีบเลี้ยงยาวประมาณ2ซม.เกลี้ยงปลายแยกเปน2แฉกกลีบดอกโคนเชื่อมเปนหลอดยาวประมาณ4ซม.ปลายแยกเปนแฉกรูปขอบขนานกลีบปากสีขาวมีจุดเหลืองที่โคนปลายแยกเปน2แฉกแตละ

แฉกรูปไขกลับขนาดกวางประมาณ0.9ซม.ยาวประมาณ1.5ซม.ปลายแฉกกลมเกสรเพศผูไมมีกานเกสรเพศผูที่เปนหมันสีขาวรูปไขกลับกวางประมาณ8มม.ยาวประมาณ1.7ซม.รังไขอยูเหนือวงกลีบเกลี้ยงมี3ชองแตละ

ชองมีออวุลมีจำนวนมากกานเกสรเพศเมียรูปเสนดาย

พืชในสกุลKaempferiaเหงามีฤทธิ์เปนยากระตุนยาบำรุงรักษาโรคกระเพาะและขับลม

Page 33: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี24

Acanthaceae

Page 34: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 25

กระดูกไกนอยJusticia diffusa Willd.

ไมลมลกุสงู20-60ซม.มกัขึน้เปนกอกิง่เปนเหลีย่มเกลีย้งหรอืมีขนสัน้นุมประปรายใบเดีย่วเรยีงตรงขามรูปรีกวาง0.5-2.5ซม.ยาว1-5ซม.ปลายและโคนแหลมขอบเรียบแผนใบมีผลึกรูปเข็มขนาดใหญมีขนทั้งสอง

ดานกานใบยาวไดถึง1ซม.มีขนสั้นนุมชอดอกคลายชอเชิงลดออกที่ซอกใบและปลายกิ่งยาวไดถึง6ซม.มีขน

ประปรายใบประดบัรปูใบหอกแกมรปูแถบหรอืรปูแถบยาว4-5มม.ปลายมีขนสากใบประดบัยอยรปูใบหอกกลบีเลี้ยงยาว3-3.5มม.โคนเชื่อมกันปลายแยกเปน4แฉกรูปใบหอกปลายแหลมขอบเรียบดานบนมีขนสากกลีบ

ดอกสีชมพูหรือชมพูอมมวงรูปปากเปดยาว8-10มม.ผิวดานนอกมีขนประปรายกลีบปากบนยาวประมาณ2มม.ปลายเวาตื้นกลีบปากลางแผกวางยาวประมาณ4.5มม.ปลายแยกเปน3แฉกเกสรเพศผู2อันกานชูอับเรณูมีขนที่โคนอับเรณูมี2พูรูปขอบขนานหรือกลมรังไขอยูเหนือวงกลีบกานเกสรเพศเมียและยอดเกสรเพศเมียมีขน

ผลแบบผลแหงแตกรูปกลมหรือรียาว3-5มม.เกลี้ยงเมล็ด4เมล็ด

นิเวศวิทยา พบทัว่ไปตามทุงหญาหรอืทีโ่ลงในปาทีส่งูจากระดบันำ้ทะเลไดถงึ1,600ม.ออกดอกและเปนผลระหวางเดือนกรกฎาคม–มีนาคม

ประโยชน ในฟลิปปนส ใบใชภายนอกเปนยาสมานแผล รักษาผื่นผิวหนัง ในอินเดียใชเปนยาบำรุง ยาลด

เสมหะยาระบายยาขับปสสาวะใชชงหรือตมรักษาโรคหืดไอโรคไขขออักเสบปวดหลังทองอืด

ในจีนทั้งตนใชแกไขแกปวดเกี่ยวกับคอหอยและกลองเสียง

การกระจายพันธุ ปากีสถานอินเดียศรีลังกาพมาจีนไตหวันญี่ปุนไทยอินโดจีนคาบสมุทรมลายูฟลิปปนส

อินโดนีเซียติมอรออสเตรเลียและพบทั่วไปในอาฟริกาเขตรอน

ที่มา ชื่อสกุลตั้งใหเปนเกียรติแกนักพืชสวนชาวสกอต ชื่อ Jame Justic (1698-1763) สวนคำวา

diffusaแปลวากระจายอยางหลวมๆอาจหมายถึงดอกในชอที่กระจายอยางหลวมๆ

ประเทศไทย ภาคเหนอื:เชยีงใหมนครสวรรค;ภาคตะวนัออกเฉยีงเหนอื:เลย;ภาคตะวนัตกเฉยีงใต:กาญจนบรุี

ประจวบคีรีขันธราชบุรี

Page 35: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี26

Anacardiaceae

Page 36: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 27

ที่มา

ไมตนสูงไดถึง10ม.ยอดออนมีผงคลายแปงสีน้ำตาลแดงเมื่อแกเกลี้ยงใบเดี่ยวเรียงเวียนรูปขอบขนานแกมรูปไขกลับหรือรูปไขกลับปลายกลมหรือเวาตื้นโคนรูปลิ่มกวางหรือมนขอบเรียบแผนใบหนาคลายแผนหนัง

เสนกลางใบดานลางมีขนอุยเสนแขนงใบขางละ15-20เสนเรียงเกือบขนานกันชอดอกแบบชอแยกแขนงออกที่ซอกใบหรอืปลายกิง่มีผงคลายแปงสนีำ้ตาลแดงดอกไมมีกานดอกหรอืกานดอกสัน้กลบีเลีย้งปลายกลมเปนขนครยุกลบีดอกรปูขอบขนานจานฐานดอกเกลีย้งมีตอมเกสรเพศผู10อนัรงัไขอยูเหนอืวงกลบีมีขนผลแบบผลผนงัชัน้ใน

แข็งรูปกลมปกคลุมดวยขนสีน้ำตาลแดงปลายมีติ่งแหลม

นิเวศวิทยา พบตามปาเต็งรัง ปาเบญจพรรณแลง ปาชายหาด เขาหินปูน ตั้งแตความสูงใกลระดับน้ำทะเลจนถึงประมาณ450ม.

การกระจายพันธุ ไทยและภูมิภาคอินโดจีน

ชือ่สกลุตัง้ใหเปนเกยีรติแกนกัพฤกษศาสตรชาวสกอตชือ่FrancisBuchananHamilton(1762-1829)ซึ่งเก็บพรรณไมแถบประเทศเนปาลและอินเดียตอนเหนือคำระบุชนิดreticulataแปล

วารางแหซึ่งก็หมายถึงเสนใบของพืชชนิดนี้ที่เปนแบบรางแหชัดเจน

ประเทศไทย พบแทบทุกภาคยกเวนภาคใต

มะมวงหัวแมงวันBuchanania reticulata Hance

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ กรีดแมงวันรักเขาหัวแมงวันอาศัย

ประโยชน เนื้อไมใชทำดามเครื่องมือทางการเกษตร

Page 37: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี28

Anacardiaceae

Page 38: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 29

รักใหญGluta usitata (Wall.) Ding Hou

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ

ไมตนสูงไดถึง20ม.กิ่งออนปกคลุมดวยขนสีขาวกิ่งแกเกลี้ยงหรือมีขนสั้นๆใบเดี่ยวเรียงเวียนรูปไขกลับหรือรูปขอบขนานแกมรูปรีกวาง3.5-12ซม.ยาว8-20ซม.ปลายแหลมหรือกลมโคนมนหรือรูปลิ่มขอบเรียบ

แผนใบหนาคลายแผนหนงัเกลีย้งหรอืมีขนสัน้เสนแขนงใบขางละ15-25เสนนนูชดัเจนทางดานบนเปนแบบรางแหชัดเจนทางดานลางกานใบยาว1.5-2ซม.ชอดอกแบบชอแยกแขนงออกที่ปลายกิ่งหรือใกลปลายกิ่งยาวไดถึง35

ซม.มีขนสั้นนุมสีน้ำตาลปกคลุมดอกตูมรูปขอบขนานกวางประมาณ2.5มม.ยาวประมาณ5มม.มีขนประปรายที่ปลายมีขนเปนกระจุก ดอกสีขาว ขาวแกมชมพู หรือชมพูแกมแดงในดอกแก กลีบเลี้ยงรูปรางคลายหมวก กวาง0.7-1.8มม.ยาว3-7.5มม.ผิวดานในมีขนสั้นนุมกลีบดอกรูปขอบขนานกวาง1-2ซม.ยาว6-7ซม.ปลายแหลม

หรอืมนมีขนอยุหนาแนนกลบีดอกขยายขนาดขึน้และกลายเปนปกเมือ่ตดิผลจานฐานดอกเกลีย้งเกสรเพศผูประมาณ30อันยาวประมาณ1ซม.รังไขอยูเหนือวงกลีบผลแบบผลผนังชั้นในแข็งคอนขางกลมเสนผานศูนยกลาง1-3

ซม.ปกที่โคนกานผลสีแดง

นิเวศวิทยา พบขึ้นกระจายทั่วไปในปาผลัดใบทุงหญาโลงเขาหินปูนความสูงจากระดับน้ำทะเล100-1,000

ม.ออกดอกและเปนผลระหวางเดือนพฤศจิกายน-กุมภาพันธ

ประโยชน ไมใชทำเฟอรนิเจอรเสาคานรางรถไฟน้ำมันยางใชทำน้ำมันเคลือบเงาแตน้ำยางสดมีพิษทำให

ผิวหนังอักเสบ

การกระจายพันธุ อินเดียพมาไทยภูมิภาคอินโดจีนและภูมิภาคมาเลเซีย

มะเรียะรักฮักหลวง

ประเทศไทย พบทุกภาค

ที่มา ชื่อสกุลมีที่มาจากภาษาละตินคำวาglutenหรือglutinisแปลวายางเหนียวหมายถึงลักษณะตนที่มีน้ำยางสีแดงซึ่งจะเปลี่ยนเปนสีดำเมื่อสัมผัสกับอากาศ สวนคำระบุชนิด usitata แปลวาusefulคือมีประโยชนหมายถึงยางที่มีประโยชนใชทำน้ำมันเคลือบเงาได

ชื่อพอง MelanorrhoeausitataWall.

ชื่อสามัญ Redzebrawood,Vanishtree

Page 39: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี30

Anacardiaceae

Page 40: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 31

กุกLannea coromandelica (Houtt.) Merr.

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ

ไมตนขนาดกลางเปลือกตนเรียบหรือแตกเปนสะเก็ดเปลือกในมียางเหนียวกิ่งออนมีขนสั้นนุมและมีชอง

อากาศใบประกอบแบบขนนกปลายคี่เรียงเวียนความยาวใบประกอบ12-28ซม.กานใบประกอบยาว6-8ซม.รูปคลายทรงกระบอกใบยอย5-17ใบเรียงตรงขามกานใบยาว1-1.5มม.ใบยอยรูปไขกวาง3-4ซม.ยาว6-12ซม.ปลายแหลมถึงเรียวแหลม โคนกลมขอบเรียบหรือหยักมนมีขนสั้นนุมรูปดาวทั้งสองดาน เสนแขนงใบขางละ

ประมาณ8เสนตนเพศผูมีชอดอกแบบชอแยกแขนงยาว10-25ซม.ตนเพศเมียแตกแขนงนอยกวายาวไดถึง15ซม.กานดอกยาวไดถึง2มม.หรือไมมีกานดอกกลีบเลี้ยงโคนเชื่อมกันเปนหลอดยาวประมาณ1มม.ปลายแยกเปน

แฉกรูปไขถึงรูปขอบขนานขนาดกวางประมาณ1มม.ยาวประมาณ1.5มม.ปลายมนดานนอกเกลี้ยงหรือมีขนรูปดาวประปรายกลีบดอกรูปไขถึงรูปขอบขนานกวาง1-1.2มม.ยาว2-2.5มม.ปลายมนเกสรเพศผูในดอกเพศผูยาวประมาณ 2 มม. ในดอกเพศเมียยาวประมาณ 1 มม. หรือสั้นกวา ผลแบบผลผนังชั้นในแข็ง รูปไตแบน รูป

สี่เหลี่ยมคางหมูหรือรูปคลายสี่เหลี่ยมมุมฉากถึงรูปกลมยาวประมาณ1ซม.กวางประมาณ6มม.กานผลสั้นหรือ

เกือบไมมีกานมีกลีบเลี้ยงติดทน

นิเวศวิทยา พบตามปาผลัดใบ ตั้งแตใกลระดับน้ำทะเลจนถึงที่สูงประมาณ 1,500 ม. ออกดอกและเปนผลระหวางเดือนกรกฎาคม-มีนาคม

ประโยชน ในอินเดียเปลือกไมใชยอมแหยางไมใชในงานพิมพลายลงบนผืนผาฝายใบออนและยอดออนใชเปนอาหารสำหรบัคนหรอืใชเลีย้งสตัวเปลอืกมีรสขมใชสมานแผลและหามเลอืดเปนยาธาตุหรอื

ชวยเจรญิอาหารและใชแกปวดใชรกัษาบาดแผลรอยฟกชำ้แผลผุพองตาอกัเสบรนุแรงโรคเกาตแผลเปอยในกระเพาะอาหารปวดฟนอาการแพลงและทองรวงใบใชรักษาโรคเทาชางอาการอักเสบอาการปวดประสาทอาการแพลงและรอยฟกช้ำ

การกระจายพันธุ อินเดียศรีลังกาพมาจีนตอนใตไทยภูมิภาคอินโดจีนพบปลูกทั่วไปในภูมิภาคมาเลเซีย

กอกกั๋นชาเกาะชางโนมตะคร้ำหวีดออยชาง

ที่มา ชื่อสกุลมีที่มาจากภาษาลาตินคำวาlanaหรือlanaeแปลวาขนสัตวซึ่งหมายถึงขนที่มีลักษณะ

คลายขนสัตวที่บริเวณสวนที่ยังออนของตนหรือที่สวนรากของพืชในสกุลนี้บางชนิดหรือมาจากคำวาlanneที่เปนชื่อพื้นเมืองที่ชาวอาฟริกันในประเทศSenegambiaใชเรียก

ชื่อสามัญ Wodiertree

ประเทศไทย พบทุกภาค

ชื่อพอง Dialium coromandelicumHoutt., Odinawodier Roxb., Lanneawodier (Roxb.)Adelb.

Page 41: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี32

Annonaceae

Page 42: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 33

นมแมวปาEllipeiopsis cherrevensis (Pierre ex Finet & Gagnep.) R. E. Fr.

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ

ไมพุมสูงไดถึง3ม.ใบเดี่ยวเรียงเวียนรูปขอบขนานหรือรูปรีแกมรูปขอบขนานกวาง4-8ซม.ยาว6-12ซม.ปลายแหลมหรือมนโคนกลมหรือรูปหัวใจแผนใบบางคลายกระดาษถึงกึ่งหนาคลายแผนหนังมีขนทั้งสองดาน

เสนแขนงใบขางละ8-15เสนกานใบยาว5-8มม.มีขนใบประดับรูปใบหอกดอกเดี่ยวออกตรงขามกับใบกานดอกมีขนกลีบเลี้ยง3กลีบสีเขียวมีขนทั้งสองดานกลีบดอก6กลีบสีเหลืองออนกลีบชั้นนอก3กลีบรูปไข

ปลายมนหรือกลมกลีบชั้นใน3กลีบรูปขอบขนานแกมรูปใบหอกปลายแหลมหรือมนโคนกลีบดานในแตละขางมีกอนนูนกลีบชั้นนอกมีขนาดใหญกวากลีบชั้นในกลีบดอกทั้งสองวงมีขนทั้งสองดานเกสรเพศผูจำนวนมากคารเพลแยกรูปทรงกระบอกมีขนผลแบบผลกลุมรูปกลมหรือรีสุกสีเหลืองหรือแดงรสออกหวาน

นิเวศวิทยา พบตามปาเต็งรังและปาเบญจพรรณที่คอนขางโปรง ความสูงจากระดับน้ำทะเล 150-400 ม.

ออกดอกชวงเดือนเมษายน-กรกฎาคมเปนผลชวงเดือนกันยายน-ธันวาคม

ประโยชน รากตมรักษาโรคเกี่ยวกับลำไสเล็ก

การกระจายพันธุ ไทยและภูมิภาคอินโดจีน

พี้เขาพีพวนนอย

ที่มา ชื่อสกุลมีความหมายวาพืชสกุลEllipeiopsisมีลักษณะคลายสกุลEllipeiaซึ่งมีรากศัพทมาจาก

ภาษากรีกวาellipesหรือelleipoแปลวาขาดหรือไมมีซึ่งอาจหมายถึงออวุลของพืชสกุลนี้ที่มีจำนวนนอย

ประเทศไทย พบแทบทุกภาคยกเวนภาคใต

ชื่อพอง EillipeiacherrevensisPierreexFinet&Gagnep.

Page 43: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี34

Annonaceae

Page 44: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 35

พีพวนนอยUvaria rufa Blume

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ

ไมพุมหรอืไมรอเลือ้ยมกัทอดเลือ้ยบนตนไมสงูกิง่ออนปกคลมุดวยขนสนีำ้ตาลหนาแนนใบเดีย่วเรยีงเวยีน

รูปไขแกมรูปขอบขนานรูปรีแกมรูปขอบขนานหรือรูปรีแกมรูปไขกลับกวาง4-6ซม.ยาว6-15ซม.ปลายแหลมหรอืเรยีวแหลมโคนมนหรอืกลมขอบเรยีบแผนใบบางคลายกระดาษผวิดานบนมีขนประปรายดานลางมีขนหนาแนนกานใบยาว3-4มม.มีขนหนาแนนดอกออกตรงขามใบดอกเดี่ยวหรือออกเปนกระจุก2-3ดอกใบประดับรูปใบ

หอกมีขนหนาแนนกลีบเลี้ยง3กลีบเชื่อมติดกันที่โคนเล็กนอยปลายแยกเปน3แฉกสวนกวางที่โคน5-6มม.ยาว3-4มม.กลีบดอก6กลีบแยกเปน2วงๆละ3กลีบขนาดเทาๆกันสีแดงสดแลวเปลี่ยนเปนสีแดงเขมรูป

รีแกมรูปไขกลับกวาง4-6มม.ยาว8-10มม.ปลายมนหรือกลมมีขนทั้งสองดานดอกบานเต็มที่กลีบมักโคงลงไปทางกานดอกเกสรเพศผูจำนวนมากสีมวงแดงลักษณะคอนขางแบนคารเพลแยกจำนวนมากผลแบบผลกลุมมีไดถึง20ผลตอชอรูปรีหรือรูปรีแกมรูปขอบขนานยาวไดถึง4ซม.มีขนสีน้ำตาลปกคลุมผลเริ่มสุกสีเหลืองสุก

เต็มที่สีแดงกานผลยาว1-4ซม.เมล็ดรูปรีจำนวน10-20เมล็ด

นิเวศวิทยา พบทั่วไปในปาเต็งรังปาเบญจพรรณปาดิบแลงปาละเมาะหรือตามชายปาดิบตั้งแตใกลระดับน้ำทะเลจนถึงที่สูงประมาณ1,000ม.

ประโยชน ผลสกุรสหวานหรอืหวานอมเปรีย้วรบัประทานไดรากใชเปนยากระตุนการคลอดรากและเนือ้ไมรักษาอาการไขไมสม่ำเสมอผลสุกบดกับน้ำรักษาโรคหืด

การกระจายพันธุ หมูเกาะอันดามันและพมาจีนตอนใตไทยภูมิภาคอินโดจีนและภูมิภาคมาเลเซีย

ติงตังตีนตั่งเครือนมควายนมแมวนมแมวปานมวัวบุหงาใหญพีพวนสีมวนหำลิง

ที่มา ชื่อสกุลมาจากภาษาลาตินคำวาuvaแปลวาเปนกลุมหรือเปนพวงซึ่งหมายถึงลักษณะของผล

ที่เปนพวงสวนคำระบุชนิดrufaแปลวาแดงซึ่งอาจหมายถึงดอกหรือผลสุกที่เปนสีแดง

ชื่อพอง UvariaridleyiKing

ประเทศไทย พบทุกภาค

Page 45: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี36

Apocynaceae

Page 46: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 37

พุดทุงHolarrhena curtisii King & Gamble

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ

ไมพุมสูงไดถึง2ม.กิ่งออนมีขนสั้นนุมใบเดี่ยวออกเปนคูสลับตั้งฉากรูปไขกลับหรือรูปรีกวาง3-5ซม.ยาว6-12ซม.ปลายกลมเปนติ่งแหลมหรือเวาบุมโคนรูปลิ่มหรือมนขอบเรียบแผนใบหนาคลายแผนหนังมีขนสั้นนุมทั้งสองดานเสนแขนงใบขางละ12-16เสนกานใบยาว2-4มม.ชอดอกแบบชอกระจุกออกที่ปลายกิ่งหรือ

ซอกใบใกลปลายกิ่งยาวไดถึง12ซม.มีขนสั้นนุมใบประดับเล็กแคบยาว2-5มม.ดอกสีขาวกลิ่นหอมดอกบานเสนผานศูนยกลางประมาณ3ซม.กานดอกยอยยาว1-1.5ซม.กลีบเลี้ยง5กลีบรูปแถบกวาง0.8-1.2มม.ยาว

2.5-8มม.มีขนสั้นนุมทั้งสองดานกลีบดอกโคนเชื่อมกันเปนหลอดยาว8-15มม.ปลายแยกเปน5กลีบรูปไขกลับถึงรูปรีกวาง4-8มม.ยาว1.2-2ซม.ปลายกลมมีขนทั้งสองดานปากหลอดกลีบดอกสีขาวหรือเหลืองเกสรเพศผู5อันโคนกานชูอับเรณูมีขนสั้นนุมรังไขอยูเหนือวงกลีบคารเพลเชื่อม2อันผลแบบผลแตกแนวเดียว1คูกวาง

5-6มม.ยาว22-28ซม.ปลายผลชี้ขึ้นเมล็ดมีขนสั้นนุมมีกระจุกขนที่ปลายดานหนึ่ง

นิเวศวิทยา พบขึ้นตามริมถนนทุงหญาที่โลงคอนขางชื้นในปาผลัดใบดินมักเปนดินทรายความสูงตั้งแตใกล

ระดับน้ำทะเลจนถึงประมาณ400ม.ออกดอกและเปนผลตลอดป

ประโยชน เปลือกและรากแกอาการทองรวง

การกระจายพันธุ ไทยภูมิภาคอินโดจีนและคาบสมุทรมาลายู

นมราชสีหนมเสือน้ำนมเสือพุดทองพุดนาพุดน้ำพุดปามูกนอยมูกนั่งมูกนิ่งโมกนอยโมกนั่งโมกเตี้ยสรรพคุณหัสคุณใหญหัสคุณเทศ

ที่มา ชื่อสกุลมาจากภาษากรีกคำวาholosแปลวาทั้งหมดและคำวาarrhenแปลวาเพศผูหมายถึง

เกสรเพศผูทัง้หมดมีอบัเรณูที่fertileคอืไมเปนหมนัสามารถสบืพนัธุไดสวนคำระบุชนดิcurtisiiตั้งใหเปนเกียรติแกMr.CharlesCurtisผูเก็บพรรณไมแถบภาคใตฝงตะวันตกของไทยและแถบ

ตอนเหนือมาเลเซีย

ประเทศไทย พบทุกภาค

ชื่อพอง H.densifloraRidl.,H.latifoliaRidl.,H. similisCraib

Page 47: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี38

Apocynaceae

Page 48: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 39

โมกใหญHolarrhena pubescens (Buch.-Ham.) Wall. ex G. Don

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ

ไมพุมหรือไมตนขนาดเล็กสูงไดถึง15ม.กิ่งออนมีขนสั้นนุมใบเดี่ยวเรียงตรงขามสลับตั้งฉากรูปรีหรือรูปรีแกมรูปขอบขนานกวาง4-12ซม.ยาว5-20ซม.ปลายแหลมหรือเรียวแหลมโคนสอบหรือมนแผนใบบางคลายกระดาษเกลี้ยงหรือมีขนสั้นนุมทั้งสองดานเสนแขนงใบขางละ7-18เสนกานใบยาว2-3มม.ชอดอกแบบ

ชอกระจุกออกตามซอกใบหรือปลายกิ่งยาว4-10ซม.มีขนสั้นนุมใบประดับยาว1-4มม.รวงงายดอกสีขาวกลิ่น

หอมกลีบลี้ยง5กลีบรูปไขหรือรูปแถบยาว1.5-5มม.ดานนอกมีขนสั้นนุมดานในเกลี้ยงหรือมีขนสั้นนุมกลีบดอกโคนกลีบเชื่อมกันเปนหลอดยาว8-12มม.ปลายแยกเปน5แฉกรูปขอบขนานหรือรูปไขกลับกวาง3-5มม.ยาว8-18มม.มีขนทั้งสองดานกานชูอับเรณูมีขนสั้นนุมที่โคนรังไขอยูเหนือวงกลีบคารเพลเชื่อม2อันผลแบบผลแตกแนวเดียว1คูหอยลงกวาง5-6มม.ยาว20-30ซม.เมล็ดเกลี้ยงมีกระจุกขนที่ปลายดานหนึ่ง

นิเวศวิทยา พบทัว่ไปในปาเตง็รงัปาเบญจพรรณทุงหญาปาละเมาะชายปาดบิออกดอกและเปนผลระหวาง

เดือนกุมภาพันธ-กันยายน

ประโยชน เปลือกและน้ำมันจากเมล็ดใชรักษาโรคทองรวง เปลือกหรือใบตมผสมน้ำอาบรักษาโรคหิด ใบรักษาหลอดลมอักเสบฝและแผลผุพองเนื้อไมใชในการทำเครื่องมือเครื่องใชขนาดเล็กทำถาน

ตนปลูกเปนไมประดับ

การกระจายพันธุ อาฟริกาตะวันออกและใต อินเดีย เนปาล บังคลาเทศ พมา จีน ไทย ภูมิภาคอินโดจีน และคาบสมุทรมาลายู

พุดพุทธรักษามูกมันนอยมูกมันหลวงมูกหลวงโมกเขาโมกทุงโมกหลวงยางพูดหนามเนื้อ

ที่มา ชือ่สกลุมีทีม่าเชนเดยีวกบัพดุทุงสวนคำระบุชนดิpubescensแปลวาขนสัน้นุมซึง่อาจหมายถงึขนตามกิ่งออนหรือชอดอก

ชื่อสามัญ Eastertree,Jasminetree,Ivorytree

ประเทศไทย พบทุกภาค

ชื่อพอง EchitesantidysentericaRoth,Holarrhenaantidysenterica(Roth)Wall.exA.DC

Page 49: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี40

Apocynaceae

Page 50: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 41

โมกมันWrightia arborea (Dennst.) Mabb.

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ

ไมพุมหรือไมตนขนาดเล็กสูงไดถึง18ม.กิ่งออนมีขนสั้นนุมและมีชองอากาศกิ่งแกเกลี้ยงใบเดี่ยวเรียงตรงขามสลับตั้งฉากรูปรีหรือรูปรีแกมรูปขอบขนานกวาง2-7ซม.ยาว3-15ซม.ปลายแหลมหรือเรียวแหลมโคน

สอบหรอืมนขอบเรยีบแผนใบบางคลายกระดาษหรอืกึง่คลายแผนหนงัมีขนสัน้หนานุมทัง้สองดานเสนแขนงใบขางละ7-16เสนกานใบยาว2-8มม.มีขนประปรายชอดอกแบบชอกระจุกออกที่ปลายกิ่งยาว3-7ซม.มีขนสั้นหนานุมกานดอกยอยยาว5-10มม.กลีบเลี้ยง5กลีบรูปไขกวาง1.5-2มม.ยาว1-3มม.ปลายกลมถึงมนกลีบดอก

สีเขียวออนขาวหรือเหลืองเมื่อบานเต็มที่รูปคลายกงลอโคนเชื่อมติดกันเปนหลอดปลายแยกเปน5แฉกรูปขอบขนานหรือขอบขนานแกมรูปไขกลับ ปลายมนหรือกลม มีขนสั้นนุมบนแฉกทั้งสองดานและบางครั้งบนปลายหลอด

กลีบดอกดานนอก ปากหลอดกลีบดอกดานในเกลี้ยง กระบังรอบบริเวณปากหลอดกลีบดอกมีขนสั้นนุมดานนอกเกสรเพศผูรูปหัวลูกศรมีขนสั้นนุมรังไขอยูเหนือวงกลีบคารเพลเชื่อม2อันผลแบบผลแตกแนวเดียว1คู เชื่อมติดกันหอยลงเกลี้ยงหรือมีขนละเอียดมีชองอากาศเมล็ดรูปแถบมีกระจุกขนที่ปลายดานหนึ่ง

นิเวศวิทยา พบตามพื้นที่ถูกแผวถางทุงหญาปาผลัดใบและชายปาดิบ

ประโยชน เนื้อไมใชทำเครื่องมือเครื่องใชขนาดเล็กในประเทศอินเดียเนื้อไมใชทำดินสอ

การกระจายพันธุ อินเดียศรีลังกาพมาจีนไทย

มักมันมูกนอยมูกมันโมกนอย

ประเทศไทย ภาคเหนือ:เชียงใหมเชียงรายนานลำพูนลำปางแพรตากและพิษณุโลก;ภาตะวันตกเฉียงใต:กาญจนบุรีราชบุรีี

ที่มา ชื่อสกุลตั้งเปนเกียรติใหนักพฤกษศาสตรชาวสกอตWilliamWright(1735-1819)สวนคำระบุ

ชนิดarboreaแปลวาคลายไมตนซึ่งหมายถึงลักษณะนิสัยของพืชชนิดนี้

ชื่อสามัญ Ivory,Darabela,Tomentosewrightia

ชื่อพอง PeriplocaarboreaDennst.,Wrightiatomentosa(Roxb.)Roem.&Schult.

Page 51: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี42

Apocynaceae

Page 52: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 43

โมกWrightia pubescens R. Br.

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ

ไมตนขนาดเล็กสูงไดถึง15ม.กิ่งออนเกลี้ยงหรือมีขนประปรายใบเดี่ยวเรียงตรงขามสลับตั้งฉากรูปรีกวาง3-4ซม.ยาว8-10ซม.ปลายแหลมหรือเรียวแหลมโคนสอบขอบเรียบแผนใบบางคลายกระดาษผิวดานบน

มีขนเฉพาะที่เสนกลางใบหรือมีขนทั่วใป ดานลางมีขนที่เสนกลางใบและเสนแขนงใบถึงมีขนทั่วไป เสนแขนงใบขางละ8-12เสนกานใบยาว3-4มม.มีขนสั้นนุมประปรายชอดอกแบบชอกระจุกออกที่ปลายกิ่งยาว3-6ซม.กาน

ชอดอกและกานดอกยอยมีขนสั้นนุมประปรายถึงหนาแนนกลีบเลี้ยง5กลีบรูปไขกวาง2-3มม.ยาว2.5-5มม.ปลายมนถึงกลมมีขนสั้นนุมประปรายถึงหนาแนนกลีบดอก5กลีบโคนเชื่อมติดกันเปนหลอดยาว4-5มม.ปลายแยกเปนแฉกรูปรีรูปรีแกมรูปไขกลับหรือรูปไขกลับกวาง4-6มม.ยาว0.8-1.2ซม.ปลายมนปลายหลอดกลีบ

ดอกดานนอกมีขนสั้นนุมดานในเกลี้ยงถึงมีขนละเอียดกระบังรอบที่ติดตรงขามกลีบดอกยาว3.5-5มม.ติดแนบเกือบตลอดความยาวปลายจักซี่ฟนกระบังรอบที่ติดสลับกับกลีบดอกยาว1.5-3มม.รูปแถบปลายแยกเปน2

แฉกเกสรเพศผูติดบนหลอดกลีบดอกโผลพนปากหลอดอับเรณูรูปหัวลูกศรมีขนสั้นนุมที่ดานนอกรังไขอยูเหนือวงกลีบ เกลี้ยงคารเพลเชื่อม2อันผลแบบผลแตกแนวเดียว เชื่อมติดกันหอยลง เมื่อแหงแตกเปนสองซีกกวาง1.2-1.5ซม.ยาว6.5-30ซม.เกลี้ยงอาจมีชองอากาศเมล็ดรูปแถบกวาง1.5-2.5มม.ยาว1.2-1.5ซม.มีกระจุก

ขนที่ปลายดานหนึ่ง

การกระจายพันธุ จีนตอนใตไทยภูมิภาคอินโดจีนและภูมิภาคมาเลเซีย

มูกมูกเกื้อโมกมัน

ที่มา ช่ือสกุลมีท่ีมาเชนเดียวกันกับโมกมัน(Wrightia arborea)สวนคำระบุชนิดpubescensแปลวา มีขนสั้นนุมซึ่งอาจหมายถึงขนสั้นนุมตามสวนตางๆของพืชเชนขนสั้นนุมที่ใบของพืชชนิดนี้

ชื่อสามัญ Commonwrightia

ประเทศไทย พบทุกภาค

นิเวศวิทยา พบตามปาผลัดใบหรือชายปาดิบ

ประโยชน เนื้อไมใชในการกอสรางใชทำดินสอเครื่องดนตรีและงานแกะสลักน้ำยางใชแกทองรวง

Page 53: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี44

Asclepiadaceae

Page 54: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 45

เทพทาโรCeropegia arnottiana Wight

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ

ไมเลือ้ยใบรูปแถบหรือรูปใบหอกแกมรูปแถบกวาง0.5-1.5ซม.ยาว5-12ซม.ปลายแหลมถึงเรียวแหลม

โคนสอบเรียวขอบเรียบแผนใบบางคลายกระดาษผิวดานบนเกลี้ยงถึงมีขนประปรายผิวดานลางเกลี้ยงเสนแขนงใบไมชัดเจนกานใบสั้นมากหรือไมมีกานใบชอดอกแบบชอกระจุกออกที่ซอกใบแตละชอมี1-3ดอกกานชอดอกสั้นมากหรือไมมีกลีบเลี้ยง5กลีบรูปแถบแกมรูปใบหอกยาว5-6มม.กลีบดอกยาว4-7ซม.โคนเชื่อมกันเปน

หลอดสีเขียวอมเหลืองมีจุดประสีน้ำตาลโคนหลอดพองออกเปนกระเปาะบริเวณรังไขคอดประมาณกึ่งกลางหลอดแลวผายกวางไปทางปลายหลอดปลายแยกเปนแฉกยาว5แฉกความยาวของแฉกประมาณครึ่งหนึ่งของความยาว

ดอกครึ่งลางของแฉกสีเขียวอมเหลืองครึ่งบนสีมวงแดงถึงออกดำมีขนยาวประปรายปลายแฉกโคงเขาจรดกันกานดอกยาว0.8-1.2ซม.เกลี้ยงรังไขอยูเหนือวงกลีบผลเปนฝก

นิเวศวิทยา พบตามที่พื้นปาเบญจพรรณและปาเต็งรังความสูงจากกระดับน้ำทะเล300-900ม.

การกระจายพันธุ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดียพมาและไทย

มะเขือแจดินมะมุยดอยวานสามพี่นอง

ประเทศไทย ภาคเหนือภาคตะวันออกเฉียงเหนือภาคตะวันออกและภาคตะวันตกเฉียงใต

ที่มา ชือ่สกลุมีที่มาจากภาษากรกีคำวาkerosแปลวาขีผ้ึง้และคำวาpegeแปลวาแหลงหรอืตนกำเนดิซึ่งอาจหมายถึงลักษณะดอกที่มีขี้ผึ้งเคลือบ สวนคำระบุชนิด arnottiana ตั้งใหเปนเกียรติแกGeorgeA.WalkerArnott(1799-1868)นักพฤกษศาสตรชาวสกอต

ประโยชน ดอกสวยงามปลูกเปนไมประดับได

ชื่อพอง CeropegiasootepensisCraib

Page 55: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี46

Asclepiadaceae

Page 56: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 47

แตงพะGymnema griffithii Craib

ไมเลื้อยลำตนเลื้อยพันไปทางขวา ใบเดี่ยว เรียงตรงขาม รูปไขแกมรูปรีหรือรูปไขแกมรูปใบหอกกวาง

4-6ซม.ยาว5-7ซม.ปลายแหลมเรียวแหลมหรือเปนติ่งหนามโคนกลมมนหรือรูปหัวใจตื้นขอบเรียบมักบิดเปนคลื่นแผนใบบางคลายกระดาษผิวดานบนมีขนประปรายดานลางมีขนสั้นนุมเสนแขนงใบขางละ4-8เสนมักเชื่อมกันกอนถึงขอบใบลักษณะคลายเสนขอบในเสนใบยอยแบบรางแหชัดเจนทั้งสองดานกานใบยาว1.5-2ซม.

มีขนเปนรองตามยาวทางดานบนชอดอกแบบชอกระจุกออกที่ซอกใบกานชอดอกอาจสั้นคลายไมมีกานหรือกานยาวไดถึง5มม.กลีบเลี้ยง5กลีบรูปเกือบกลมกวางและยาวประมาณ3มม.ปลายมนหรือแหลมผิวดานนอกมี

ขนประปราย กลีบดอกโคนเชื่อมกันเปนหลอดยาวประมาณ 3 มม. ปลายแยกเปนแฉก 5 แฉก รูปไขแกมรูปขอบขนานกวางประมาณ2มม.ยาวประมาณ7มม.ปลายมนมักมีติ่งหนามเบี้ยวที่โคนกลีบดอกดานในมีกระจุกขนยาวระหวางกลบีกระบงัรอบ5อนัปลายเวาตืน้รงัไขอยูเหนอืวงกลบีผลเปนฝกคูเชือ่มตดิกนัรปูรีแกมรปูขอบขนาน

ปลายมนผิวสีเขียวมีจุดประเล็กสีขาวกระจายทั่วไป

การกระจายพันธุ พมาและไทย

ประเทศไทย ภาคเหนือและภาคตะวันตกเฉียงใต

ที่มา ชื่อสกุลมีที่มาจากภาษากรีกคำวาgymnosแปลวาเปลือยและคำวาthreadแปลวาเสนดายหมายถึงกานเกสรเพศผูที่ไมมีขน คำระบุชนิด griffithii ตั้งใหเปนเกียรติแกWilliamGriffith(1810-1845) นักพฤกษศาสตรชาวอังกฤษที่เก็บตัวอยางพรรณไมบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดียจนถึงตอนใตของพมา

นิเวศวิทยา พบตามที่คอนขางโลงในปาเต็งรังออกดอกและเปนผลระหวางเดือนกุมภาพันธ-พฤษภาคม

ประโยชน ดอกสวยปลูกเปนไมเถาประดับได

Page 57: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี48

Asclepiadaceae

Page 58: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 49

ดางHoya kerrii Craib

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ

พืชอิงอาศัย ลำตนกลมและหนา สีเขียวหรือเทา กิ่งออนมีขนปกคลุมหนาแนน ตามขอมีรอยแผลใบที่ใบ

หลุดรวงไปชัดเจนใบเดี่ยวเรียงตรงขามรูปไขกลับกวาง3.5-5ซม.ยาว5.5-8ซม.ปลายเวาตื้นโคนสอบหรือมนขอบเรียบมักมวนโคงลงแผนใบหนาคลายแผนหนังผิวดานบนเกลี้ยงดานลางเกลี้ยงหรือมีขนสั้นๆเสนแขนงใบ

ขางละ2-3เสนกานใบยาว0.5-1.8ซม.ชอดอกคลายชอซี่รมออกบริเวณขอเสนผานศูนยกลาง4-5ซม.แตละชอมี10-25ดอกสีขาวหรือเขียวออนกานดอกยอยมีขนหนาแนนกลีบเลี้ยงรูปสามเหลี่ยมแกมรูปไขกวางประมาณ1มม.ยาวประมาณ2มม.ปลายมนหรือแหลมผิวดานในเกลี้ยงดานนอกมีขนกลีบดอกรูปกงลออวบน้ำโคนเชื่อม

ติดกันปลายแยกเปน5กลีบรูปไขปลายแหลมดอกบานเต็มที่ปลายกลีบมักมวนงอไปดานหลังกลีบกวางและยาวประมาณ3มม.ผิวกลีบดานบนมีขนสั้นๆ ยกเวนบริเวณปลายกลีบผิวกลีบดานลางเกลี้ยงกระบังรอบสีชมพูอมมวง

แตละแผนมีปลายดานนอกมนกลมหรือเวาเล็กนอยปลายที่หันเขาสูศูนยกลางดอกสอบแหลมรังไขอยูเหนือวงกลีบผลเปนฝกคูเมล็ดขนาดเล็กรูปไขมีขนยาวเปนพูที่ปลายดานหนึ่ง

นิเวศวิทยา พบทั่วไปในปาเบญจพรรณและปาเต็งรังออกดอกระหวางเดือนมีนาคม-พฤษภาคม

ประโยชน ใบใชภายนอกรักษาบาดแผลบวมรูมาตอยดขออักเสบชวยสมานแผลและหามเลือดและใชภายในรักษาสมองอักเสบโรคปอดบวมและอัณฑะอักเสบดอกและใบสวยปลูกเปนไมประดับได

การกระจายพันธุ ไทยภูมิภาคอินโดจีนและคาบสมุทรมาลายู

เครือหนอนตายตางเทียนขโมยหัวใจทศกัณฐ

ประเทศไทย พบทุกภาคของประเทศพบนอยทางภาคใต

ที่มา ชื่อสกุลตั้งเปนเกียรติใหแกนักพฤกษศาสตรชาวอังกฤษชื่อThomasHoy(1750-1822)สวนคำระบุชนิดkerriiตั้งใหเปนเกียรติแกA.F.G.Kerr(1877-1942)นายแพทยและนักพฤกษศาสตร

ชาวไอริชผูทำการสำรวจและเก็บตัวอยางพันธุไมทั่วประเทศและเปนผูกอตั้งพิพิธภัณฑพืชแหง

แรกในประเทศไทย

ชื่อพอง HoyaobovataDecne.var.kerrii(Craib)Costantin

Page 59: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี50

Asclepiadaceae

Page 60: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 51

สรอยตะนาวศรีMarsdenia tenacissima (Roxb.) Moon

ไมเลื้อยลำตนกลมมียางขาวมีขนหนาแนนใบเดี่ยวเรียงตรงขามรูปไขกวาง3.8-5.5ซม.ยาว6-9.5ซม.ปลายแหลมถึงเรียวแหลมโคนรูปหัวใจถึงรูปติ่งหูพบบางที่กลมขอบเรียบแผนใบบางคลายกระดาษดานบนมี

ขนสัน้นุมคลายกำมะหยี่ดานลางมีขนสัน้หนานุมเสนแขนงใบขางละ3-5เสนกานใบยาว1.2-2.5ซม.มีขนหนาแนนชอดอกแบบชอกระจุกแยกแขนงออกที่ซอกใบมีขนกลีบเลี้ยงโคนเชื่อมกันเปนหลอดยาวประมาณ2มม.ปลาย

แยกเปนแฉก5แฉกแตละแฉกกวางประมาณ1มม.ยาวประมาณ1.5มม.กลีบดอกรูประฆังเสนผานศูนยกลางประมาณ6มม.สีเขียวอมเหลืองหลอดกลีบดอกยาวประมาณ3มม.ปลายแยกเปนแฉก5แฉกแตละแฉกกวางประมาณ1.5มม.ยาว2.5-3มม.บิดคลายกังหันกระบังรอบปลายตัดหรือเวาตื้นหรือแยกเปน2แฉกสั้นๆรังไข

อยูเหนือวงกลีบผลเปนฝกกวางไดถึง6ซม.ยาว7-18ซม.มีขนสั้นนุมคลายกำมะหยี่เมล็ดมีขนเปนพูที่ปลายดานหนึ่ง

นิเวศวิทยา พบตามที่โลงในปาผลัดใบและปาดิบ ความสูงจากระดับน้ำทะเล 100-1,500 ม. ออกดอกและ

เปนผลระหวางเดือนมีนาคม-สิงหาคม

ประโยชน ลำตนใหเสนใยนุมคลายไหมใบใชรักษาอาการทองอืด

การกระจายพันธุ เนปาลอินเดียศรีลังกาพมาไทยและภูมิภาคมาเลเซีย

ที่มา ชื่อสกุลตั้งเปนเกียรติใหแกนักเดินทางและเก็บตัวอยางพรรณไมชาวอังกฤษชื่อWilliamMars-den(1754-1836)สวนคำระบุชนดิtenacissimaแปลวาเหนยีวหรอืแขง็ซึง่หมายถงึเถาที่เหนยีวและแข็งของพืชชนิดนี้

ชื่อพอง AsclepiastenacissimaRoxb.

ชื่อสามัญ Tenaciouscondorvine

ประเทศไทย ภาคเหนือ:เชียงใหมลำปาง;ภาคกลาง:สระบุรี;ภาคตะวันตกเฉียงใต:ราชบุรี

Page 61: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี52

Burseraceae

Page 62: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 53

มะกอกเกลื้อนCanarium subulatum Guillaumin

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ

ไมตนขนาดกลางถงึขนาดใหญสงูไดถงึ25ม.เปลอืกสเีทาแตกเปนสะเกด็หรอืแตกเปนรองตามยาวมียาง

ใสหรอืขาวขุนเมือ่แหงเปนสดีำใบประกอบแบบขนนกปลายคี่เรยีงเวยีนกานใบประกอบยาว12-14ซม.แกนกลางยาว8.5-12ซม.ใบยอยเรียงตรงขามใบรูปขอบขนานหรือรูปรีแกมรูปไขกวาง8-9ซม.ยาว10-18ซม.ปลายเปนต่ิงแหลมโคนมนหรือตัดและมักเบี้ยว ขอบจักฟนเลื่อยถี่ แผนใบกึ่งหนาคลายแผนหนัง ผิวดานลางมีขน เสนแขนง

ใบขางละ8-15เสนกานใบยอยยาว0.5-1.2ซม.ชอดอกคลายชอเชิงลดออกที่ซอกใบใกลปลายกิ่งดอกเล็กสีขาวกลีบเลี้ยงโคนกลีบเชื่อมติดกันเปนรูปถวยยาว2-3มม.ปลายแยกเปน3แฉกยาว0.5-1มม.ดานในมีขนนุมกลีบ

ดอก3กลีบรูปขอบขนานกวาง2-2.5มม.ยาว7-8มม.เกสรเพศผู6อันรังไขอยูเหนือวงกลีบรูปรีมี3ชองแตละชองมีออวุล2เม็ดผลรูปรีสีเขียวอมเหลืองมักเปนสันตื้นๆ ตามยาวกวางประมาณ2ซม.ยาว2.5-3.5ซม.โคนผลมีกลีบเลี้ยงติดทนเมล็ดรูปกระสวย1เมล็ด

นิเวศวิทยา พบทั่วไปในปาเต็งรังและปาเบญจพรรณ ความสูงจากระดับน้ำทะเล 100-1,200 ม. ออกดอก

ระหวางเดือนมกราคม-พฤษภาคมเปนผลระหวางเดือนพฤษภาคม-ธันวาคม

ประโยชน เนื้อไมใชในการกอสรางกระดานพื้นฝาเครื่องมือเครื่องใชภายในรมทำกานและกลักไมขีดไฟผลหมักในน้ำเชื่อมหรือดองรับประทานเนื้อในเมล็ดสีขาวรับประทานดิบ

การกระจายพันธุ พมาไทยและภูมิภาคอินโดจีน

กอกกันมะกอกเลือดมะเกิ้มมะเลื่อมมักเหลี่ยมโมกเลื่อม

ประเทศไทย พบทั่วประเทศยกเวนภาคใต

ที่มา ชื่อสกุลมีที่มาจากชื่อพื้นเมืองมาเลยคำวา kanari, kenari หรือ canari ซึ่งใชเรียกชื่อพืชชนิดCanariumvulgareLeenh.

ชื่อพอง CanariumkerriiCraib, C. vernosumCraib

Page 63: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี54

Burseraceae

Page 64: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 55

ตะคร้ำGaruga pinnata Roxb.

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ

ไมตนสูงไดถึง25ม.ทุกสวนที่ยังออนมีขนสั้นหนานุมใบประกอบแบบขนนกปลายคี่เรียงเวียนใบยอย7-9คูรูปขอบขนานแกมรูปใบหอกกวาง2-3.5ซม.ยาว5-7.5ซม.ปลายเรียวแหลมโคนมนขอบหยักมนถึงหยักฟนเลื่อยแผนใบบางคลายกระดาษผิวใบมีขนสั้นนุมทั้งสองดานเมื่อแกเกลี้ยงเสนแขนงใบขางละ7-12เสนกาน

ใบยอยสั้นหรือเกือบไมมีกานใบประกอบคูลางมักมีขนาดเล็กกวาคูที่อยูเหนือขึ้นไปชอดอกแบบชอแยกแขนงออกที่ปลายกิ่งหรือซอกใบใกลปลายกิ่งยาว15-20ซม.กานดอกยอยสั้นกลีบเลี้ยงและกลีบดอกอยางละ5กลีบกลีบ

เลี้ยงสีครีมรูปไขกวางประมาณ2มม.ยาวประมาณ5มม.กลีบดอกรูปไขแกมรูปใบหอกขนาดยาวกวากลีบเลี้ยงผิวดานนอกสีครีมดานในสีครีมถึงเหลืองทั้งกลีบเลี้ยงและกลีบดอกผิวดานนอกมีขนสั้นนุมหนาแนนรังไขอยูเหนือวงกลีบผลแบบผลผนังชั้นในแข็งรูปเกือบกลมสีเขียวอมเหลืองเกลี้ยงหรือมีขนสั้นนุมมี1-5เมล็ด

นิเวศวิทยา พบทัว่ไปตามปาเบญจพรรณปาเตง็รงัปาดบิแลงเขาหนิปนูออกดอกระหวางเดอืนพฤศจกิายน-เมษายนเปนผลระหวางเดือนกุมภาพันธ-สิงหาคม

ประโยชน เนื้อไมใชในการกอสรางผลรับประทานไดชาวอาขาใชเปลือกตนเปนเครื่องปรุงรสอาหาร

การกระจายพันธุ อินเดียเนปาลภูฏานพมาจีนตอนใตไทยและภูมิภาคอินโดจีน

กะตีบแขกเตาค้ำหวีดออยน้ำ

ประเทศไทย พบแทบทุกภาคยกเวนภาคใต

ที่มา ชื่อสกุลมีที่มาจากคำวา Garugu ซึ่งเปนชื่อภาษา Telugu ที่ใชเรียกตนตะคร้ำในรัฐ AndhraPradeshทางตะวนัออกเฉยีงใตของอนิเดยีคำระบุชนดิpinnataหมายถงึใบประกอบแบบขนนก(pinnate)

Page 65: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี56

Celastraceae

Page 66: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 57

กระทงลายCelastrus paniculatus Willd.

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ

ไมเถาเนื้อแข็งขนาดใหญ กิ่งออนมีชองอากาศมีขนประปราย ใบเดี่ยว เรียงเวียน รูปรี รูปรีแกมรูปขอบขนานรูปไขหรือรูปไขกลับกวาง3-6.5ซม.ยาว4.5-10ซม.ปลายแหลมถึงเรียวแหลมโคนสอบมนหรือกลมขอบหยักมนถี่แผนใบกึ่งหนาคลายแผนหนังเกลี้ยงเสนกลางใบนูนชัดเจนทั้งสองดานเสนแขนงใบขางละ5-8เสน

กานใบยาว0.5-1.5ซม.ชอดอกแบบชอแยกแขนงออกที่ปลายกิ่งยาว5-15ซม.หอยลงเมื่อออนมีขนประปรายกานชอดอกยาว0.5-1.2ซม.กานดอกยอยยาว1.5-3มม.มีดอกแยกเพศและดอกสมบูรณเพศรวมตนดอกเพศผู

สีเขียวออนกลีบเลี้ยงโคนเชื่อมติดกันเปนหลอดปลายแยกเปนแฉกรูปกึ่งกลมยาว1-1.5มม.ขอบหยักซี่ฟนกลีบดอกรูปขอบขนานหรือรูปไขกลับแกมรูปขอบขนานกวาง1-1.5มม.ยาว2.5-3มม.ปลายมนโคงพับลงจานฐานดอกคลายรูปถวย เกสรเพศผูยาวประมาณ3มม.ติดกับขอบของจานฐานดอกกานชูอับเรณูผูสั้น รูปลิ่มแคบอับ

เรณูกลมปลายมนดอกเพศเมียกลีบเลี้ยงกลีบดอกและจานฐานดอกคลายกับดอกเพศผูเกสรเพศผูที่เปนหมันยาวประมาณ1มม.รังไขอยูเหนือวงกลีบรูปทรงกลมเกลี้ยงมี3ชองแตละชองมีออวุล2เม็ดกานเกสรเพศเมียสั้น

ยอดเกสรเพศเมียแยกเปน3แฉกผลแบบผลแหงแตกรูปเกือบกลมกวาง5-8มม.ยาว0.5-1ซม.แตกเปน3ซีกมี3-6เมล็ดสีเหลืองเมล็ดกลมหรือรีสีน้ำตาลแกมแดงแตละเมล็ดมีเยื่อหุมสีแดง

นิเวศวิทยา พบตามที่คอนขางโลงในทกุสภาพปาทีส่งูจากระดบันำ้ทะเลไดถงึ600ม.ออกดอกระหวางเดอืน

มีนาคม-พฤษภาคมเปนผลระหวางเดือนพฤษภาคม-สิงหาคม

ประโยชน ภาคเหนือของไทยใชรากตมแกโรคเกี่ยวกับลำไส ริดสีดวงทางอีสานใตใบออนใชลวกเปนผักจิ้ม

ในชวาใบใชแกโรคทองรวงบิดในฟลิปปนสเมล็ดใชทำยาพอกแกอาการโรครูมาติกในอินเดียสกัดน้ำมันจากเมล็ดใชทำยาชวยขับเหงื่อ

การกระจายพันธุ อินเดียศรีลังกา เนปาลพมาจีนตอนใต ไทยภูมิภาคอินโดจีนภูมิภาคมาเลเซียออสเตรเลียนิวคาลิโดเนีย

กระทุงลายโชดนางแตกมะแตกมะแตกเครือมักแตก

ประเทศไทย พบทุกภาค

ที่มา ชื่อสกุลมีที่มาจากภาษากรีกคำวาkelastronหรือkelastrosเปนชื่อที่Theophrastusใชเรียกตนฮอลลี่ (Holly)ในสกุลIlexซึ่งออกผลในชวงฤดูหนาวคำระบุชนิดpaniculatusหมายถึงชอดอกแบบชอแยกแขนง(panicle)

ชื่อพอง CelastrusmultiflorusRoxb.,CelastrusnutansRoxb.

Page 67: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี58

Combretaceae

Page 68: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 59

รกฟาTerminalia alata B. Heyne ex Roth

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ

ไมตนขนาดกลางถึงขนาดใหญสูงไดถึง30ม. เปลือกสีเทาอมดำแตกเปนรองลึกตามยาวยอดใบออนชอดอกออนมีขนสั้นนุมสีน้ำตาลแดงใบเดี่ยวเรียงตรงขามหรือเกือบตรงขามมักเรียงชิดกันเปนกลุมใกลกับปลายกิ่ง

ใบรปูขอบขนานถงึรปูไขแกมรปูขอบขนานกวาง6-12ซม.ยาว11-18ซม.ปลายแหลมหรอืมนโคนมนและมกัเบีย้ว

ขอบเรียบแผนใบหนาคลายแผนหนังเกลี้ยงหรือมีขนสั้นหนานุมทั้งสองดานผิวดานลางมีตอม1คูที่เสนกลางใบใกลโคนใบเสนแขนงใบขางละ10-16เสนกานใบยาว0.5-1ซม.เกลี้ยงชอดอกแบบชอแยกแขนงยาว5-12ซม.ดอกสีขาวถึงเหลืองอมเขียว กลีบเลี้ยงโคนกลีบเชื่อมกันเปนหลอด ดานนอกมีขนสั้นนุม ดานในมีขนอุย ปลายแยกเปนแฉกรูปสามเหลี่ยมกวางประมาณ1มม.ยาวประมาณ1.5มม.รังไขรูปรีจานฐานดอกมีขนผลมีปก5ปก

ตามยาวกวาง3-5ซม.ยาว3.5-6ซม.ปกคลายแผนหนังเกลี้ยง

นิเวศวิทยา พบทั่วไปตามปาเบญจพรรณปาเต็งรังตามทองนาความสูงจากระดับน้ำทะเล100-1,000ม.ออกดอกพรอมแตกใบใหมระหวางเดือนเมษายน-มิถุนายนเปนผลเดือนกรกฎาคม-กันยายน

ประโยชน

การกระจายพันธุ อินเดียพมาไทยและภูมิภาคอินโดจีน

กองคลี้จะลีกเซียกเซือกฮกฟา

ประเทศไทย พบแทบทุกภาคยกเวนภาคใต

ที่มา ชื่อสกุลมาจากภาษาละตินคำวาterminusแปลวาสุดทายหมายถึงใบที่ออกเรียงชิดกันเปนชอ

ใกลปลายกิ่งคำระบุชนิดalataแปลวามีปกหรือมีครีบซึ่งหมายถึงลักษณะผลของพืชชนิดนี้ที่มีครีบตามยาว

ชื่อสามัญ Indianlaurel

เนื้อไมใชในการกอสรางทำเฟอรนิเจอรและดามเครื่องมือ

Page 69: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี60

Combretaceae

Page 70: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 61

สมอไทยTerminalia chebula Retz.

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ

ไมตนขนาดเล็กถึงขนาดกลางสูงไดถึง25ม.กิ่งออนสีเหลืองหรือสีเหลืองแกมน้ำตาลมีขนคลายไหมใบเดี่ยวเรียงตรงขามหรือเกือบตรงขามรูปไขถึงรูปไขแกมรูปใบหอกหรือรูปรีกวางกวาง5-10ซม.ยาว11-18ซม.

ปลายใบมนหรอืกลมพบนอยที่แหลมโคนกลมหรอืกึง่ตดัหรอืบางครัง้เบีย้วขอบเรยีบแผนใบเหนยีวคลายแผนหนงัผิวดานบนเปนเงามันผิวดานลางมีขนคลายไหมถึงขนสั้นหนานุม เมื่อแกเกือบเกลี้ยง เสนแขนงใบขางละ5-8 เสน

กานใบยาว1.5-3ซม.มีขนคลายไหมมีตอมสองตอมที่ปลายกานใกลแผนใบชอดอกคลายชอเชิงลดสีขาวออกที่

ซอกใบหรือปลายกิ่งยาว5-8.5ซม. ไมมีกานชอดอกหรือกานชอดอกสั้นแกนกลางสั้นและเปราะมีขนสั้นนุม ใบประดับรูปแถบยาว3.5-4มม.ปลายแหลมมีขนสั้นนุมทั้งสองดานกลีบเลี้ยงโคนเชื่อมติดกันปลายแยกเปนแฉกรูป

คลายสามเหลี่ยมกานชูอับเรณูยาว3-3.5มม.เกลี้ยงจานฐานดอกมีขนกานเกสรเพศเมียยาว2-3.5มม.เกลี้ยงผลแบบผลผนังชั้นในแข็งรูปรีหรือเกือบกลมกวาง2-2.5ซม.ยาว2.5-3.5ซม.เกลี้ยงมีสันตื้นๆตามยาวเมล็ด

1เมล็ด

นิเวศวิทยา พบตามปาเบญจพรรณปาเต็งรัง ปาดิบแลง หรือพบตามทุงหญา ที่สูงตั้งแตใกลระดับน้ำทะเล

จนถึงประมาณ1,000ม.

ประโยชน ผลรับประทานไดเปนยาระบาย แกปวดทอง และเปนยาบำรุง เนื้อไมใชทำเฟอรนิเจอร เกวียนและเครื่องมือเครื่องใชตางๆผลสุกหลังจากแหงแลวใชทำสียอม

การกระจายพันธุ อินเดียพมาจีนตอนใตไทยภูมิภาคอินโดจีนและคาบสมุทรมลายู

มะนะมาแนสมออัพยาหมากแนะ

ประเทศไทย พบทุกภาคพบนอยทางภาคใต

ที่มา ชื่อสกุลมีที่มาเชนเดียวกันกับรกฟา(Terminaliaalata)สวนคำระบุชนิดchebulaมีที่มาจากคำวาKabulซึ่งเปนชื่อเมืองในอาฟกานิสถาน(Afghanistan)

ชื่อสามัญ Myrabolanwood,Chebulicmyrabolan,Blackmyrabolan, Inknut, Inknut tree,Indiangall-nut,Gallnut,Medicinalterminalia

ชื่อพอง TerminaliaparvifloraThwaites,T. tomentellaKurz

Page 71: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี62

Combretaceae

Page 72: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 63

ตะแบกเลือดTerminalia mucronata Craib & Hutch.

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ

ไมตนขนาดกลางถงึใหญสงูไดถงึ35ม.เปลอืกสเีทาอมนำ้ตาลออนเมือ่ถากเปลอืกใหทำปฏกิริยิากบัอากาศจะมีสีแดงกิ่งและชอดอกออนมีขนสั้นนุมสีน้ำตาลหนาแนนเมื่อแกเกลี้ยงใบเดี่ยวเรียงตรงขามหรือเกือบตรงขาม

มักเรียงชิดติดกันเปนกลุมที่ปลายกิ่งรูปขอบขนานถึงรูปขอบขนานแกมรูปรีกวาง6-8ซม.ยาว10-12ซม.ปลายเปนติ่งหนามหรือเรียวแหลมโคนสอบเรียวหรือมนขอบเรียบแผนใบหนาคลายแผนหนังมีขนสั้นนุมหนาแนนเมื่อแกเกือบเกลี้ยงเสนแขนงใบขางละ8-14เสนกานใบยาว1-2ซม.มีขนสั้นนุมหนาแนนปลายกานใบมีตอม1คู

ชอดอกคลายชอเชิงลดออกที่ซอกใบชอยาว10-12ซม.แกนกลางมีขนสั้นนุมสีน้ำตาลแดงใบประดับรูปแถบแกมรูปใบหอกรวงงายยาว1-2มม.มีขนสั้นนุมหนาแนนดอกมีขนนุมกลีบเลี้ยงกวางประมาณ1.5มม.ยาวประมาณ

2มม.เกสรเพศผูยาว3-4มม.รังไขรูปรียาว2-3มม.กานเกสรเพศเมียยาว2-3มม.จานฐานดอกมีขนหนาแนนผลแหงมีปก2อันผลรวมปกรูปเกือบกลมกวาง2.5-3.5ซม.ยาว3-3.5ซม.ปลายมักเวาปกหนาคลายแผนหนังมีขนสั้นนุมสีน้ำตาลหนาแนนเมล็ด1เมล็ด

นิเวศวิทยา พบตามปาเต็งรังและปาเบญจพรรณ ความสูงตั้งแตใกลระดับน้ำทะเลจนถึงประมาณ 700 ม.ออกดอกระหวางเดือนมกราคม-เมษายนเปนผลเดือนมิถุนายน-กันยายน

การกระจายพันธุ พมาไทยและกัมพูชา

โคะกางปราบตำเลียเปยเปอยปงเปอยปเปอยสะแอนมะกาเถื่อนมะเกลือเลือด

ประเทศไทย พบแทบทุกภาคยกเวนภาคใต

ที่มา ชื่อสกุลมีที่มาเชนเดียวกันกับรกฟา(Terminaliaalata)คำระบุชนิดmucronataมาจากคำวาmucronateแปลวาเปนติ่งหนามซึ่งอาจหมายถึงปลายใบของพืชชนิดนี้ที่เปนติ่งหนาม

ประโยชน เนื้อไมใชในการกอสรางเครื่องมือเครื่องใชทางการเกษตร

ชื่อพอง T. corticosaPierreexLaness.

Page 73: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี64

Compositae

Page 74: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 65

ผักกาดกบGynura pseudochina (L.) DC.

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ

ไมลมลุกอายุหลายปลำตนเปนเหลี่ยมมักตั้งตรง ใบเดี่ยว เรียงเวียนมักเรียงชิดกันเปนกลุมที่โคนลำตนใบรูปชอนแกมรูปขอบขนานกวาง3-5ซม.ยาว6-15ซม.ปลายแหลมหรือมนโคนสอบเรียวขอบใบหยักซี่ฟนหาง

หยักมนหรือหยักลึกแผนใบหนาอวบน้ำผิวใบทั้งสองดานมีขนประปรายหรือเกือบเกลี้ยงเสนแขนงใบขางละ10-12เสนกานใบสัน้หรอืไมมีกานใบชอดอกแบบชอกระจกุแนนแยกแขนงออกที่ซอกใบและปลายกิง่กานชอดอกยาว

ไดถึง0.5ม.กานชอกระจุกแนนยาว0.5-3ซม.ทั้งกานชอดอกและกานชอกระจุกแนนมีขนสีขาวหนาแนนวงใบประดับวงใน10-15ใบรูปใบหอกยาว10-12มม.ปลายแหลมมีขนประปรายหรือเกือบเกลี้ยงตรงกลางใบวงใบประดับวงนอกยาว 1-4 มม. ฐานดอกแบนกลีบดอกรูปหลอด สีเหลือง ยาว 10-12 มม. ปลายแยกเปน 5 แฉก

ปลายแฉกดานหลังมีปุมเล็ก เกสรเพศผู5อันอับเรณูปลายมนรังไขรูปทรงกระบอกเกลี้ยงผลแบบผลแหงเมล็ดลอนรูปแถบสีน้ำตาลยาวประมาณ2.5มม.แพปพัสยาวประมาณ8มม.รวงงาย

นิเวศวิทยา พบตามที่โลงในปาผลัดใบ ทุ งหญา หรือชายปาดิบ ออกดอกระหวางเดือนมกราคม-

พฤษภาคม

ประโยชน ในประเทศแถบอินโดจีน ใบใชพอกลดอาการบวมของผิวหนัง พอกฝ พอกถอนพิษ อาการปวดแสบปวดรอน เหงาใชกินรักษาพิษไข กระสับกระสาย ในชวา รากใชเมื่อระบบหมุนเวียนโลหิตไมปกติ

การกระจายพันธุ อาฟริกาและเอเชียเขตรอน

คำโคกผักกาดดงผักกาดดินผักกาดนกเขาวานมหากาฬหนาดแหง

ที่มา ชื่อสกุลมีที่มาจากภาษากรีกคำวาgyneแปลวาเพศเมียและคำวาouraแปลวาหางหมายถึงยอดเกสรเพศเมียที่มีลักษณะยืดยาวคลายหาง สวนคำระบุชนิด pseudochina (false orpseudo Chinese) แปลวาไมใชจีนที่แทจริง ซึ่งอาจหมายถึงแหลงที่พบพืชชนิดนี้เปนครั้งแรก

เชนเกาะตางๆในทะเลทางภาคใตของจีน

ชื่อสามัญ Chinaroot

ประเทศไทย พบทั่วประเทศ

Page 75: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี66

Connaraceae

Page 76: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 67

คำรอกEllipanthus tomentosus Kurz var. tomentosus

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ

ไมพุมหรือไมตนสูงไดถึง30ม.ใบหนึ่งใบยอยเรียงเวียนรูปรีถึงรูปใบหอกกวาง3.5-8ซม.ยาว8-18ซม.ปลายใบมนถึงเรียวแหลมโคนสอบถึงกลมขอบเรียบแผนใบหนาคลายแผนหนังผิวดานบนมีขนตามเสนกลางใบผิวดานลางมีขนสั้นหนานุมทั่วไปหนาแนนตามเสนใบ เสนแขนงใบขางละ6-10 เสนปลายจรดกันใกลขอบใบ

กานใบยาว0.8-1.5ซม.ปลายกานใบมีขอชอดอกแบบชอกระจุกกลมถึงชอกระจะดอกจำนวนนอยมีขนยาวหางหนาแนนดอกสวนมากสมบูรณเพศกลีบเลี้ยง5กลีบรูปไขปลายทูหรือแหลมกวางประมาณ1มม.ยาวประมาณ

2มม.ดานนอกมีขนยาวหางดานในเกลี้ยงกลีบดอก5กลีบสีขาวหรือสีครีมกวางประมาณ1มม.ยาวประมาณ4มม.ดานนอกมีขนยาวหางดานในมีขนสั้นหนานุมเกสรเพศผูและเกสรเพศผูที่เปนหมันเกลี้ยงยกเวนที่โคนรังไขอยูเหนือวงกลีบรูปไข เบี้ยวมีขนยอดเกสรเพศเมียปลายแยกเปน2แฉกผลแตกแนวเดียวยาว2-4ซม.มีขน

สีน้ำตาลแดงหนาแนนมีกานผลสั้นเมล็ด1เมล็ดสีดำเปนมันรูปไขหรือรียาว1-2ซม.มีเยื่อหุมเมล็ดสีสมแดง

นิเวศวิทยา พบตามปาผลัดใบ ชายปาดิบ ปาพรุ ความสูงตั้งแตใกลระดับน้ำทะเลจนถึงประมาณ 800 ม.ออกดอกระหวางเดือนมกราคม-มีนาคมเปนผลระหวางเดือนมีนาคม-มิถุนายน

ประโยชน เนื้อไมใชในการกอสรางทำเครื่องมือการเกษตรกิ่งและลำตนชวยเรียกน้ำยอย ปองกันอาการ

ทองอืด รักษาอาการบีบเกร็งของชองทอง ผสมพืชอื่นแกหอบหืด เปลือกและเนื้อไมตมสกัดใชรักษาการทำงานที่ผิดปกติของไต

การกระจายพันธุ อินเดียพมาไทยภูมิภาคอินโดจีนและภูมิภาคมาเลเซีย

กะโรงแดงจันนกกดชางนาวตานกกดนอยประดงเลือดหมาตายทากลากหำฟานอุนขี้ไก

ประเทศไทย พบทุกภาค

ที่มา ชื่อสกุลมีที่มาจากภาษากรีกคำวาellipesแปลวาไมมีหรือขาดและคำวาanthosแปลวาดอก

รวมความแปลวาไมมีดอกความหมายไมทราบแนชดัแตอาจหมายถงึพชืในสกลุนี้ที่มีดอกเลก็มากจนดูคลายไมมีดอกก็ไดสวนคำระบุชนิดtomentosusแปลวามีขนส้ันหนานุมซ่ึงอาจหมายถึงสวนของดอกเชนกลีบเลี้ยงที่มีขนสั้นหนานุม

ชื่อพอง EllipanthuscinereusPierre, E.subrufusPierre

Page 77: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี68

Convolvulaceae

เถาฟาระงับArgyreia breviscapa (Kerr) Ooststr.

ไมลมลุก เลื้อยพันหรือทอดเลื้อยไปตามพื้นดิน ลำตนมีขนสีน้ำตาลปกคลุมหนาแนน ใบเดี่ยว เรียงเวียนรูปไขรูปไขแกมรูปใบหอกหรือรูปใบหอกกวาง2.5-4.5ซม.ยาว4.5-8ซม.ปลายแหลมพบบางที่ปลายเวาตื้น

โคนมนหรือสอบ หรือรูปหัวใจ ขอบเปนคลื่นเล็กนอย มีขนหนาแนน แผนใบบางคลายกระดาษ มีขนสากสีน้ำตาลหนาแนนทั้งสองดานบริเวณโคนขนขยายออกเปนตอมเล็กๆ เสนแขนงใบขางละ7-12เสนกานใบยาว0.5-4.5ซม.มีขนหนาแนนชอดอกคลายชอซี่รมออกที่ซอกใบดอกในชอจำนวนมากบานครั้งละ1-3ดอกใบประดับรูปไข4ใบ

หุมชอดอกไวกวาง1.5-2.5ซม.ยาวประมาณ2.5ซม.ติดทนดานนอกมีขนใบประดับยอยรูปใบหอกกวาง0.8-1ซม.ยาวประมาณ1.5ซม.ดอกสีขาวไมมีกานดอกกลีบเลี้ยงรูปไขแกมรูปใบหอกกวาง0.3-0.5ซม.ยาวประมาณ1ซม.กลีบดอกรูประฆังแคบยาวประมาณ5ซม.เกสรเพศผูติดที่ใกลโคนหลอดกลีบดอกยาวไมพนปากหลอดรังไข

อยูเหนือวงกลีบมี2ชองแตละชองมีออวุล2เม็ดจานฐานดอกรูปวงแหวนผลแบบมีเนื้อหนึ่งถึงหลายเมล็ดเมื่อ

แกจะหลุดออกจากกลีบเลี้ยงเมล็ดกลมผิวเรียบ

นิเวศวิทยา พบในปาเต็งรัง ความสูงจากระดับน้ำทะเล 100-300 ม. ออกดอกระหวางเดือนกรกฎาคม-

สิงหาคมติดผลระหวางกันยายน-พฤศจิกายน

การกระจายพันธุ เปนพืชถิ่นเดียวของไทย(endemic)

ประเทศไทย ภาคเหนือ:นครสวรรค;ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ:เลยสกลนคร;ภาคตะวันออก:ชัยภูมิ;ภาค

ตะวันตกเฉียงใต:ราชบุรี

ที่มา ชื่อสกุลมีที่มาจากภาษากรีกคำวา argyreios แปลวาคลายเงิน หรือคำวา argyros แปลวาเงินหมายถงึผวิดานลางของแผนใบที่มีสเีงนิสวนคำระบุชนดิbreviscapaแปลวามีกานสัน้ซึง่หมายถงึดอกที่ไมมีกานดอก

ชื่อพอง LettsomiabreviscapaKerr

ประโยชน ดอกสวยปลูกเปนไมประดับได

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ เถาระงับฟา

Page 78: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 69

พูมวงสยามArgyreia siamensis (Craib) Staples

Convolvulaceae

ไมลมลุกลำตนทอดเลื้อยไปตามพื้นดินหรือบางครั้งเลื้อยพันตามตนไมขนาดเล็กมีขนแข็งปกคลุมทั่วตน

ใบเดี่ยวเรียงเวียนรูปหัวใจยาว3-9ซม.กวาง2-8ซม.ปลายแหลมโคนรูปหัวใจลึกขอบเรียบแผนใบบางคลายกระดาษผิวทั้งสองดานมีขนคอนขางยาวแนบชิดแผนใบเกลี้ยงถึงมีขนหนาแนนเสนแขนงใบขางละ4-7เสนกาน

ใบเรียวเล็กยาว1-5ซม.มีขนแข็งปกคลุมชอดอกแบบชอกระจุกออกที่ซอกใบมีดอกยอย1-3ดอกกานดอกยาว1-2ซม.มีขนแข็งปกคลุมหนาแนนใบประดับขนาดเล็กรูปแถบหรือรูปเสนดายยาว2-3มม.ผิวมีขนแข็งหนาแนนกลีบเลี้ยงรูปใบหอกหรือรูปไขกึ่งรูปใบหอกขนาดกลีบเทาๆกันกวางประมาณ2มม.ยาว1-1.5ซม.ปลายแหลม

ผวิดานนอกมีขนหยาบหนาแนนกลบีดอกรปูกรวยหรอืรปูระฆงัสมีวงออนดอกยาว4-6ซม.เสนผานศนูยกลางดอก

ประมาณ1.5ซม.ปลายแยกเปนแฉกหลอดกลบีดอกสจีางกวาแฉกจนถงึสขีาวผวิกลบีดานนอกบรเิวณแถบกึง่กลางแฉกมีขนหยาบหนาแนน เกสรเพศผูเชื่อมติดกับกลีบดอกบริเวณดานในใกลฐานของหลอดดอก กานชูอับเรณูยาวประมาณ1.5ซม.รังไขอยูเหนือวงกลีบมี2ชองแตละชองมีออวุล2เม็ดกานเกสรเพศเมียยาวประมาณ2.5ซม.ยอดเกสรเพศเมียรูปทรงกลม2อันติดกันผลแบบมีเนื้อหนึ่งถึงหลายเมล็ดเมล็ดกลม

นิเวศวิทยา พบตามที่คอนขางโลงในปาเต็งรัง ความสูงจากระดับน้ำทะเล 50-1,000 ม. ออกดอกระหวางเดือนตุลาคม-พฤศจิกายน

ประโยชน ดอกสวยปลูกเปนไมประดับได

ที่มา ชื่อสกุลมีที่มาเชนเดียวกันกับเถาฟาระงับ(Argyreia breviscapa)สวนคำระบุชนิดsiamensis มาจากคำวาสยามคือประเทศไทยซึ่งเปนแหลงที่เก็บตัวอยางตนแบบ

ชื่อพอง IpomoeasiamensisCraib

ประเทศไทย ภาคเหนือ:เชียงใหม;ภาคตะวันตกเฉียงใต:กาญจนบุรีราชบุรีการกระจายพันธุ เปนพืชถิ่นเดียวของไทย(endemic)

Page 79: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี70

Convolvulaceae

Page 80: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 71

ซุมกระตายBlinkworthia lycioides Choisy

ไมพุมขนาดเล็กสูง30-120ซม.ลำตนมีขนสีขาวใบเดี่ยวเรียงเวียนรูปแถบแกมรูปขอบขนานกวาง7-12มม.ยาว1.2-3.5ซม.ปลายมนและมีติ่งโคนมนหรือกลมขอบเรียบแผนใบบางคลายกระดาษผิวใบดานบนมีขนประปรายหรือเกลี้ยงดานลางมีขนสีขาวหนาแนนเสนแขนงใบไมชัดเจนกานใบยาว2-3มม.มีขนหยาบแข็งดอก

เดี่ยวออกที่ซอกใบกานดอกยาว4-6มม.มีขนใบประดับยอยมี3-4ใบรูปรีกวางประมาณ2มม.ยาวประมาณ

4มม.ดอกสีขาวหรือครีมกลีบเลี้ยง5กลีบรูปเกือบกลมกวาง5-7มม.ยาว8-9ซม.ผิวเกลี้ยงเปนมันกลีบดอกโคนกลีบเชื่อมกันเปนหลอดรูปทรงกระบอกยาว2-2.5ซม.เสนผานศูนยกลาง1.5-2ซม.ปลายมวนพับมาดานนอกโคนสอบเกสรเพศผู5อันติดบนหลอดกลีบดอกที่โคนหลอดกานชูอับเรณูยาว8-10มม.โคนขยายใหญและมีขนประปรายอบัเรณูรปูรียาว2-2.5มม.จานฐานดอกรปูวงแหวนรงัไขอยูเหนอืวงกลบีรปูกรวยเกลีย้งมี2ชองแตละ

ชองมีออวุล2เม็ดยอดเกสรเพศเมียเปน2แฉกผลมีเนื้อหนึ่งถึงหลายเมล็ดมีกลีบเลี้ยงติดทนหุมเมล็ด2-4เมล็ดเกลี้ยง

ประเทศไทย ภาคเหนือ:เชียงใหมลำปาง;ภาคตะวันตกเฉียงใต:ราชบุรีอุทัยธานี

ที่มา ชื่อสกุลมีที่มาจากชื่อของผูเก็บพรรณไม Robert Blinkworth ซึ่งเก็บพรรณไมให NathanielWallichนักพฤกษศาสตรชาวเดนมารกอดีตหัวหนาสวนพฤกษศาสตรกัลกัตตาอินเดียสวนคำระบุชนิดlycioidesหมายความวาพืชชนิดนี้มีลักษณะใกลเคียงกับพืชในสกุลLyciumซึ่งอยูในวงศมะเขือ(Solanaceae)

ชื่อพอง ConvolvuluslycioidesWall.

นิเวศวิทยา พบตามปาเต็งรัง ความสูงจากระดับน้ำทะเล 100-500 ม. ออกดอกระหวางเดือนสิงหาคม-กันยายน

ประโยชน ปลูกเปนไมประดับได

การกระจายพันธุ พมาไทย

Page 81: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี72

Cucurbitaceae

Page 82: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 73

ฟกขาวMomordica cochinchinensis (Lour.) Spreng.

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ

ไมเลื้อยอายุหลายปลำตนหนาเกลี้ยงใบเดี่ยวเรียงเวียนไมมีแฉกหรือเปนแฉกรูปฝามือ3-5แฉกรูปไขหรือเกือบกลมเสนผานศูนยกลาง10-15ซม.ปลายแฉกแหลมโคนเวารูปหัวใจขอบเรียบหรือกึ่งหยักซี่ฟนกานใบ

ยาว2.8-5.5ซม.มีตอม2-5ตอมตามกานใบและโคนใบดอกแยกเพศตางตนดอกเดี่ยวหรือออกเปนกระจุกที่ซอก

ใบยาว6-8ซม.กลีบดอก5กลีบสีขาวถึงเหลืองออนสามกลีบในมีสีดำบริเวณโคนดอกดานในดอกเพศผูกานดอกยาว5-15ซม.ใบประดับรูปไตหรือเกือบกลมกวาง2.5-5ซม.ยาว2.8-3.2ซม.ผิวดานในมีขนกานดอกยาว3-10มม.กลบีเลีย้งรปูไขแกมรปูขอบขนานกวาง4-6มม.ยาว1-1.5ซม.หนาคลายแผนหนงัเกลีย้งหรอืมีขนสากประปรายกลีบดอกรูปรีแกมรูปขอบขนานยาว4-5ซม.มีเสนตามยาวชัดเจนดอกเพศเมียกานดอกยาว3-10ซม.ใบประดับ

รูปรีกลีบเลี้ยงรูปแถบแกมรูปขอบขนานยาว5-10มม.กลีบดอกเหมือนดอกเพศผูรังไขอยูเหนือวงกลีบรูปรีแกม

รูปขอบขนานยาว1-1.5ซม.ผิวมีตุมขรุขระผลรูปไขรีหรือกลมกวาง5-8ซม.ยาว6-12ซม.สีเหลืองเมื่อแกจะเปลี่ยนเปนสีแดงผิวเปนหนามเมล็ดแบนกลมหรือรีมีจำนวนมาก

ประโยชน ผลออนใบออนและดอกใชรับประทานเปนผักเมล็ดมีน้ำมันใชทำเทียนไขใหความสวางในแถบอินโดจีนและใชเปนน้ำมันขัดเงารากทำใหเกิดฟองในน้ำใชแทนสบูและใชฆาเหาชาวเวียดนาม

ใชเยื่อหุมเมล็ดเพื่อใหสีแกขาวเหนียวที่นำไปนึ่งเมล็ดชาวบานใชทำยารักษาโรคทั่วไปเชนหูดฝหนองและแผลพุพอง

ขี้กาเครือผักขาว

ที่มา ชื่อสกุลมีที่มาจากภาษาละตินคำวาmordeo,momordi,morsum,mordereแปลวารอยกัดหมายถงึเมลด็ของฟกขาวที่เปนรอยหยกัลกัษณะเหมอืนรอยถกูกดัสวนคำระบุชนดิcochinchin-ensisหมายถึงภาคใตของเวียดนาม

ชื่อสามัญ Spinybittercucumber,Cochinchinagourd,Cochinchinabalsampear,Cochinchina

balsamapple

ประเทศไทย ภาคเหนือ: เชียงใหมตาก;ภาคตะวันตกเฉียงใต:กาญจนบุรี เพชรบุรี ราชบุรี;ภาคใต:กระบี่ภูเก็ตสงขลานราธิวาส

นิเวศวิทยา พบตามที่รกรางหรือชายปาตั้งแตใกลระดับน้ำทะเลจนถึงที่สูงประมาณ1,000ม.ออกดอกและเปนผลระหวางเดือนกุมภาพันธ-เมษายน

การกระจายพันธุ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดียพมาจีนตอนใตไทยภูมิภาคอินโดจีนภูมิภาคมาเลเซีย

ชื่อพอง MuriciacochinchinensisLour.,MomordicamacrophyllaGage

Page 83: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี74

Dipterocarpaceae

Page 84: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 75

เหียงDipterocarpus obtusifolius Teijsm. ex Miq.

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ

ไมตนขนาดกลางถึงขนาดเล็กผลัดใบสูงไดถึง30ม.เปลือกสีน้ำตาลอมเทาแตกเปนรองลึกตามยาวใบ

เดี่ยวเรียงเวียนรูปไขกวาง8-18ซม.ยาว10-25ซม.ปลายมนโคนมนหรือรูปหัวใจตื้นขอบหยักมนแผนใบหนาคลายแผนหนัง ผิวดานบนสีเขียวเขม ผิวดานลางสีเขียวออนมีขนหนาแนนทั้งสองดาน เสนแขนงใบขางละ 10-15

เสนกานใบยาว2.5-5ซม.มีขนหนาแนน ใบออนพับจีบชัดเจนตามแนวเสนแขนงใบหูใบหุมใบออนรูปแถบกวางปลายมนผิวดานนอกมีขนสั้นหนานุมชอดอกแบบชอกระจะออกที่ซอกใบใกลปลายกิ่งกานชอดอกยาว2-5ซม.กานดอกยอยมีตั้งแตสั้นมากจนยาวไดถึง1ซม.ใบประดับที่กานดอกยอยรูปใบหอกหรือรูปแถบกลีบเลี้ยงโคนเชื่อม

ติดกันเปนรูปถวยยาว1-1.5ซม.ปลายแยกเปน5แฉกมีสองขนาดแฉกยาว2แฉกกวาง2-3มม.ยาว1-1.2ซม.แฉกสั้น3แฉกกวางประมาณ3มม.ยาว4-5มม.กลีบดอกรูปกรวยสีชมพูโคนกลีบเชื่อมติดกันปลายแยกเปน5

กลีบและบิดเปนรูปกังหันเสนผานศูนยกลางดอก4-5ซม.ขนาดกลีบกวาง0.5-1ซม.ยาว4.8-5ซม.ผิวดานนอกมีขนสั้นรูปดาวปกคลุมเกสรเพศผูประมาณ30อันอับเรณูรูปหัวลูกศรรังไขอยูเหนือวงกลีบมีขนมี3ชองแตละชองมีออวุล2เม็ดผลแบบผลผนังชั้นในแข็งรูปกลมเสนผานศูนยกลาง2-2.5ซม.ปกที่พัฒนามาจากกลีบเลี้ยง5

ปกปกยาว2ปกกวาง2.5-3ซม.ยาว9-12.5ซม.มีเสนตามยาว3เสนปกสั้น3ปกยาว1-1.5ซม.เมล็ด1เมล็ด

นิเวศวิทยา พบตามปาเต็งรังปาสนหรือปาชายหาดความสูงตั้งแตใกลระดับน้ำทะเลจนถึงประมาณ1,300ม.ออกดอกและเปนผลระหวางเดือนพฤศจิกายน-มีนาคม

ประโยชน เนื้อไมใชในการกอสรางทำเครื่องมือทางการเกษตร

การกระจายพันธุ พมาไทยภูมิภาคอินโดจีนและคาบสมุทรมลายู

กุงเกาะสะเตียงคราดตะแบงตาดยางเหียงสะแบงเหียงพลวงเหียงโยน

ประเทศไทย พบทุกภาค

ที่มา ชือ่สกลุมีที่มาจากภาษากรกีคำวาdipterosแปลวาสองปกและคำวาkarposแปลวาผลหมายถงึผลของพืชสกุลนี้ที่มีปกยาวสองปกคำระบุชนิดobtusifoliusแปลวาใบมนหมายถึงใบของพืชชนิดนี้ที่มีปลายใบหรือโคนใบมน

ชื่อพอง D.punctulatusPierre

Page 85: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี76

Dipterocarpaceae

Page 86: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 77

เต็งShorea obtusa Wall. ex Blume

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ

ไมตนขนาดเล็กถึงขนาดกลางสูง15-30ม.เปลือกแตกเปนสะเก็ดหนาสีน้ำตาลใบเดี่ยวเรียงเวียนรูปขอบขนานหรือรูปไขแกมรูปขอบขนานกวาง3-7ซม.ยาว5-15ซม.ปลายใบมนหรือแหลมโคนใบมนตัดหรือรูป

หัวใจตื้นขอบใบเรียบแผนใบบางคลายกระดาษถึงกึ่งหนาคลายแผนหนังใบออนมีขนทั้งสองดานใบแกเกลี้ยงเสนแขนงใบขางละ10-18เสนกานใบยาว1-2ซม.ชอดอกแบบชอแยกแขนงออกที่ซอกใบดอกสีขาวแกมเหลืองกลิ่น

หอมกานดอกยอยสั้นหรือไมมีกลีบเลี้ยง5กลีบรูปสามเหลี่ยมกวางประมาณ1.5มม.ยาวประมาณ2มม.กลีบดอก5กลีบรูปใบหอกกวาง2-3มม.ยาวประมาณ1.5ซม.ปลายกลีบบิดเปนรูปกังหันผิวดานนอกมีขนเกสรเพศผูขนาดเล็กจำนวนมากปลายอับเรณูมีรยางคเปนขนสั้นๆรังไขอยูเหนือวงกลีบมี3ชองแตละชองมีออวุล2

เม็ดกานเกสรเพศเมียเกลี้ยงยอดเกสรเพศเมียเปน3พูผลแบบผลผนังชั้นในแข็งรูปไขกวาง6-8มม.ยาว1.2-1.5ซม.ปกที่พัฒนามาจากกลีบเลี้ยงรูปใบหอกกลับหรือรูปชอนปกยาว3ปกกวางประมาณ1ซม.ยาว4.5-6ซม.ปกสั้น2ปกกวาง3-4มม.ยาว2.5-4.5ซม.ทุกปกมีเสนตามยาวหลายเสนเมล็ดมักมี1เมล็ด

นิเวศวิทยา พบทั่วไปในปาเต็งรังปาเต็งรังผสมกอและสนที่สูงจากระดับน้ำทะเลไดถึง1,300ม.ออกดอกและเปนผลระหวางเดือนมีนาคม-มิถุนายน

ประโยชน เนื้อไมแข็งใชสรางบานทำเครื่องมือเครื่องใชและอุปกรณทางการเกษตรตางๆ

การกระจายพันธุ พมาไทยและภูมิภาคอินโดจีน

แงะจิกชันตกเต็งขาวเนาในประเจิ๊ก

ประเทศไทย พบทุกภาคพบนอยทางภาคใต

ที่มา ชื่อสกุลตั้งเพื่อเปนเกียรติแกSirJohnShoreTeignmouthคหบดีชาวอังกฤษผูซึ่งเคยปฏิบัติงานในอินเดียในศตวรรษที่17คำระบุชนิดobtusaแปลวามนหมายถึงใบที่มีปลายใบและโคน

ใบมน

ชื่อสามัญ Burmesesal,Siamesesal,Thitya

Page 87: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี78

Dipterocarpaceae

Page 88: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 79

รังShorea siamensis Miq.

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ

ไมตนขนาดเล็กถึงขนาดกลางสูงไดถึง25ม.เปลอืกสีเทาหรือน้ำตาลอมเทาแตกเปนรองตามยาวใบเดี่ยวเรียงเวียนรูปไขกวางถึงรูปขอบขนานกวาง10-12.5ซม.ยาว10-18ซม.ปลายเรียวแหลมหรือมนโคนรูปหัวใจ

ขอบเรยีบแผนใบบางคลายกระดาษถงึหนาคลายแผนหนงัเกลีย้งเสนแขนงใบขางละ10-16เสนชดัเจนทางดานลางกานใบยาว2.5-3.5มม.หูใบรูปไขแกมรูปเคียวกวางประมาณ7มม.ยาว1.5-1.8ซม.รวงงายชอดอกแบบชอแยกแขนงยาวไดถึง15ซม.ออกที่ซอกใบเหนือรอยแผลใบหรือออกที่ปลายกิ่งดอกตูมรูปไขหรือรูปรีขนาดใหญ

กวางประมาณ5มม.ยาวประมาณ1.5ซม.ดอกสีเหลืองกลิ่นหอมกลีบเลี้ยงรูปไขแกมรูปใบหอกกวางประมาณ2มม.ยาวประมาณ5มม.ปลายเรียวแหลมผิวดานนอกมีขนกลีบดอกรูปไขหรือรีกวางกวางประมาณ1ซม.ยาว

ประมาณ1.5ซม.ปลายแหลมผิวดานนอกเกลี้ยงหรือมีขนประปรายเกสรเพศผู15อันกานชูอับเรณูรูปแถบกวางอับเรณูรูปแถบปลายมีรยางคแหลมรังไขอยูเหนือวงกลีบรูปไขเกลี้ยงมี3ชองแตละชองมีออวุล2เม็ดกานเกสรเพศเมียรูปเสนดาย ยอดเกสรเพศเมียเปน 3 พู ผลแบบผลผนังชั้นในแข็ง รูปไข กวางประมาณ 1 ซม. ยาว

1.5-2ซม.ปกที่พัฒนามาจากกลีบเลี้ยง5ปกรูปชอนมีเสนตามยาวชัดเจนปกยาว3ปกกวาง4-9ซม.ยาวไดถึง12ซม.ปกสั้น2ปกกวางประมาณ5มม.ยาวประมาณ6.5ซม.เมล็ด1เมล็ด

ประโยชน เนื้อไมมีความแข็งแรงใชสรางบานเรือนเครื่องใชหรืออุปกรณตางๆที่ใชกลางแจง

เปาเปาดอกแดงเรียงเรียงพนมลักปาวฮัง

ที่มา ชื่อสกุลShoreaมีที่มาเชนเดียวกันกับเต็ง(Shoreaobtusa)คำระบุชนิดsiamensisหมายถึงสยามหรือประเทศไทยซึ่งเปนแหลงเก็บพันธุไมตนแบบ

ชื่อพอง PentacmesuavisA.DC.,P.siamensis(Miq.)Kurz,P.malayanaKing

นิเวศวิทยา พบตามปาเตง็รงัปาเตง็รงัผสมกอและสนเขาหนิปนูตัง้แตใกลระดบันำ้ทะเลจนถงึทีส่งูประมาณ1,300 ม. ออกดอกและเปนผลระหวางเดือนมกราคม-เมษายน ออกดอกหลังใบรวงแลวพรอมแตกใบใหม

การกระจายพันธุ พมาไทยภูมิภาคอินโดจีนและคาบสมุทรมลายู

ประเทศไทย พบทุกภาค

Page 89: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี80

Ebenaceae

Page 90: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 81

ตับเตาตนDiospyros ehretioides Wall. ex G. Don

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ

ไมตนผลัดใบขนาดเล็กถึงขนาดกลางสูงไดถึง20ม.ใบเดี่ยวเรียงเวียนรูปไขรีหรือกลมปลายใบกลม

หรือมนโคนกลมตัดหรือสอบขอบเรียบหรือเปนคลื่นเล็กนอยกวาง8.5-16ซม.ยาว18-27ซม.แผนใบหนาคลายแผนหนังผิวดานบนเกลี้ยงดานลางมีขนสั้นนุมหรือเกือบเกลี้ยงเสนแขนงใบขางละ6-12เสนเปนรองทางดานบนกานใบยาว1.2-1.5ซม.มีขนสั้นนุมหรือเกือบเกลี้ยงดอกแยกเพศตางตนชอดอกออกเหนือรอยแผลใบตามกิ่งหรือ

ออกตามซอกใบดอกเพศผูออกเปนชอแบบชอกระจุกกานดอกยอยยาว2.5-3มม.มีขนสั้นนุมกลีบเลี้ยงรูประฆังยาว2-3มม.โคนเชื่อมติดกันปลายแยกเปน4แฉกผิวดานนอกมีขนสั้นนุมดานในเกลี้ยงกลีบดอกรูปคนโทยาว

3-5มม.โคนกลีบเชื่อมติดกันปลายแยกเปน4แฉกผิวดานนอกมีขนประปรายดานในเกลี้ยงเกสรเพศผู20-30อันเกลี้ยงรังไขที่ไมเจริญมีขนยาวหางดอกเพศเมียเปนดอกเดี่ยวหรือออกเปนชอแบบชอกระจุกกานดอกยอยยาวประมาณ1มม.มีขนสั้นนุมกลีบเลี้ยงรูประฆังปลายแยกเปน4แฉกพบบางที่เปน5แฉกผิวดานนอกมีขนสั้นนุม

ดานในเกลี้ยงกลีบดอกเหมือนกลีบดอกเพศผู รังไขอยูเหนือวงกลีบรูปไขมีขนหนาแนนมี6ชองกานยอดเกสรเพศเมียมีขนหนาแนน ไมพบเกสรเพศผูที่เปนหมัน ผลแบบผลมีเนื้อหนึ่งถึงหลายเมล็ด รูปกลมหรือรูปไข เสนผาน

ศนูยกลาง1.5-2ซม.เมือ่ออนมีขนสัน้นุมเมือ่แกเกลีย้งหรอืเกอืบเกลีย้งกลบีเลีย้งตดิทนมีแฉกรปูขอบขนานดานนอกมีขนสั้นนุมดานในเกลี้ยงกานผลยาวประมาณ1ซม.มีขน

นิเวศวิทยา พบในปาเต็งรัง ความสูงจาระดับน้ำทะเล 100-500 ม. ออกดอกระหวางเดือนมีนาคม- พฤษภาคมเปนผลระหวางเดือนเมษายน-สิงหาคม

ประโยชน เนื้อไมใชทำเครื่องมือเครื่องใชขนาดเล็กผลใชเปนยาเบื่อปลา

การกระจายพันธุ พมาไทยและกัมพูชา

ชิ้นกวาง ตับเตาหลวง มะโกปา มะไฟผี มะมัง มาเมียง เรื้อนกวาง ลิ้นกวาง เฮื้อนกวาง แฮดกวาง

ประเทศไทย พบทุกภาคยกเวนภาคใต

ที่มา ชื่อสกุลมีที่มาจากภาษากรีกคำวา dios แปลวาเทพเจา และคำวา pyros แปลวาอาหาร แปล

รวมความวาอาหารของเทพเจาหมายถงึพชืสกลุนี้ที่มีผลกนิไดสวนคำระบุชนดิehretioidesแปลวาลักษณะคลายพืชในสกุลEhretiaในวงศBoraginaceae

ชื่อพอง D.harmandiiLecomte,D.putiiH.R.Fletcher

Page 91: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี82

Ebenaceae

Page 92: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 83

ตะโกนาDiospyros rhodocalyx Kurz

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ

ไมตนขนาดเลก็ไมผลดัใบสงูไดถงึ15ม.เปลอืกตนสดีำใบเดีย่วเรยีงเวยีนรปูไขกลบัสีเ่หลีย่มขาวหลามตดัหรือรูปไขกวาง2.5-6.5ซม.ยาว3.5-10ซม.ปลายใบแหลมกลมตัดหรือเวาบุมโคนรูปล่ิมหรือมนขอบเรียบแผนใบบาง

คลายกระดาษถงึกึง่หนาคลายแผนหนงัผวิดานบนเกลีย้งดานลางมีขนสัน้นุมในใบออนเกอืบเกลีย้งเมือ่แกเสนแขนงใบขางละ4-8เสนชัดเจนทางดานลางเสนใบยอยชัดเจนทั้งสองดานกานใบยาว4-5มม.มีขนสั้นนุมเมื่อแกเกือบเกลี้ยงดอกเพศผูออกเปนชอแบบชอกระจุกกานดอกยอยยาว1-2มม.มีขนสั้นนุมกลีบเลี้ยงรูประฆังยาวประมาณ

3มม.ปลายแยกเปน4แฉกผวิดานนอกมีขนสัน้นุมดานในมีขนคลายไหมกลบีดอกรปูไขหรอืรปูคนโทยาวประมาณ1ซม.ปลายแยกเปน4แฉกผิวเกลี้ยงทั้งสองดานเกสรเพศผู14-16อันมีขนคลายไหมรังไขที่ไมเจริญมีขนสั้นนุม

ดอกเพศเมียเปนดอกเดี่ยวกานดอกยอยยาว2-3มม.มีขนสั้นนุมกลีบเลี้ยงรูประฆังยาว4-6มม.ปลายแยกเปน4 แฉก รูปสามเหลี่ยม มีขนกำมะหยี่ทั้งสองดาน กลีบดอกเหมือนกลีบดอกเพศผูแตมีขนาดใหญกวา เกสรเพศผูที่เปนหมัน 8-10 อัน มีขนคลายไหม รังไขอยู เหนือวงกลีบ รูปไข มีขนหนาแนน มี 4 ชอง กานเกสร

เพศเมียมีขนคลายไหมผลแบบผลมีเนื้อหนึ่งถึงหลายเมล็ดรูปกลมเสนผานศูนยกลางประมาณ2ซม.มีขนกำมะหยี่เมื่อแกเกือบเกลี้ยงกลีบเลี้ยงติดทนมีแฉกกลมดานนอกมีขนสั้นนุมดานในมีขนกำมะหยี่แฉกพับจีบและเปนคลื่น

เล็กนอยมีเสนรางแหชัดเจนกานผลยาว2-5มม.

นิเวศวิทยา พบตามปาผลดัใบและปาละเมาะหวัไรปลายนาความสงูตัง้แตใกลระดบันำ้ทะเลจนถงึประมาณ300ม.ออกดอกระหวางเดือนมีนาคม-เมษายนเปนผลระหวางเดือนเมษายน-กรกฎาคม

ประโยชน ผลสุกรับประทานได เปลือกและเนื้อไม เปนยาบำรุงแกไขผลแกอาการคลื่นไสแกทองรวงและปองกนัอาการอกัเสบใชภายนอกรกัษาแผลตดิเชือ้ฝหนองเปลอืกผลยางชวยขบัปสสาวะและระดูขาวตนขนาดเล็กใชทำไมดัดประดับ

การกระจายพันธุ พมาไทยและภูมิภาคอินโดจีน

โกนมงัวไฟผีมะโกมะถาน

ประเทศไทย พบแทบทุกภาคยกเวนภาคใต

ที่มา ชือ่สกลุDiospyrosมีทีม่าเชนเดยีวกนักบัตบัเตาตน(Diospyrosehretioides)สวนคำระบุชนดิrhodocalyxแปลวากลีบเลี้ยงสีแดง

ชื่อสามัญ Black-barkedebony

Page 93: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี84

Erythroxylaceae

Page 94: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 85

ไกรทองErythroxylum cuneatum (Miq.) Kurz

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ

ไมตนขนาดเล็กถึงขนาดใหญหรือไมพุมสูงไดถึง30ม.เปลือกสีเทาหรือเทาอมน้ำตาลเปนรองตามยาว

เปลือกในสีเหลืองแกมน้ำตาลใบเดี่ยวเรียงเวียนรูปไขกลับรูปรีหรือรูปขอบขนานกวาง2-4ซม.ยาว5-10ซม.ปลายใบเรียวแหลมกลมหรือเวาตื้นโคนใบสอบหรือสอบเรียวขอบเรียบแผนใบบางคลายกระดาษดานบนสีเขียวถึงสีเขียวอมน้ำตาลเปนมัน ดานลางสีเขียวออน เสนกลางใบเปนรองทางดานบน เสนแขนงใบละเอียด จำนวนมาก

เรียงชิดเกือบขนานกันกานใบยาว3-5มม.หูใบรูปสามเหลี่ยมถึงรูปใบหอกยาว5-7มม.ดอกออกเปนกระจุกตามซอกใบ1-8ดอกกลิ่นหอมออนๆใบประดับยอยรูปสามเหลี่ยมยาวประมาณ1มม.กานดอกยาว4-10มม.กลีบ

เลี้ยงโคนเชื่อมกันเปนหลอดยาว 2-3 มม. ปลายแยกเปนแฉกรูปสามเหลี่ยม 5 แฉก ยาวประมาณ 1 มม. ปลายเรียวแหลมกลีบดอก5กลีบแยกจากกันสีขาวหรือขาวอมเขียวรูปขอบขนานแกมรูปรีกวาง1.5-2มม.ยาว3-4มม.เหนือโคนกลีบดานในมีเกล็ดเกสรเพศผู10อันโคนเชื่อมติดกันเปนหลอดรังไขอยูเหนือวงกลีบมี3ชองแตละชอง

มีออวุล1เม็ดกานเกสรเพศเมีย3อันผลแบบผลผนังชั้นในแข็งรูปกึ่งขอบขนานกวาง3-5มม.ยาว8-10มม.ดานหนาตัดคลายรูปสามเหลี่ยมผลสุกสีแดงเปนมันเมล็ดแบนโคงกวาง1-2มม.ยาว5-10มม.

นิเวศวิทยา พบตามปาเต็งรัง ปาชายหาด ปาดิบแลงใกลชายทะเล ความสูงตั้งแตใกลระดับน้ำทะเลจนถึง

ประมาณ900ม.ออกดอกและเปนผลระหวางเดือนมกราคม-พฤศจิกายน

ประโยชน ภาคเหนือใชทั้งตนและรากแหงตมแกซางใบนำมาตำใชวางบนหนาผากหลังจากแทงบุตรใบใชเปนยาเบื่อปลาในประเทศฟลิปปนสตนปลูกเปนไมประดับ

การกระจายพันธุ พมาไทยภูมิภาคอินโดจีนและภูมิภาคมาเลเซีย

แกนแดงเข็ดมูลเจตมูลตานฮวนหดพิกุลทอง

ประเทศไทย พบทั่วทุกภาค

ที่มา ชื่อสกุลมีที่มาจากภาษากรีกคำวาerythrosแปลวาสีแดงและคำวาxylonแปลวาไมหมายถึงพืชในสกุลนี้บางชนิดที่มีเนื้อไมสีแดง สวนคำระบุชนิด cuneatum แปลวาสอบหรือรูปลิ่ม ซึ่งอาจหมายถึงใบที่มีโคนใบสอบ

ชื่อพอง UrostigmacuneatumMiq.,ErythroxylumburmanicumGriff.,E.sumatranumMiq.

Page 95: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี86

Euphorbiaceae

Page 96: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 87

เมาไขปลาAntidesma ghaesembilla Gaertn.

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ

ไมพุมหรือไมตนขนาดเล็กสูงไดถึง20ม.กิ่งออนมีขนสั้นนุมสีน้ำตาลใบเดี่ยว เรียงเวียนรูปขอบขนานรูปไขหรือรูปไขกลับกวาง2-4.5ซม.ยาว4-6ซม.ปลายมนกลมหรือแหลมโคนกลมถึงรูปหัวใจขอบเรียบแผน

ใบบางคลายกระดาษถึงกึ่งหนาคลายแผนหนังมีขนสั้นนุมถึงเกลี้ยงทั้งสองดานเสนแขนงใบขางละ5-8เสนเสนใบยอยแบบรางแหชัดเจนกานใบยาว4-7มม.มีขนประปรายถึงหนาแนนหูใบรูปลิ่มแคบยาว4-6มม.รวงงายดอก

แยกเพศตางตนชอดอกแบบชอกระจะแยกแขนงออกที่ซอกใบดอกเพศผูชอดอกยาว4-6ซม.แกนชอมีขนสั้นนุมสีน้ำตาลแดงใบประดับรูปใบหอกยาวประมาณ1มม.มีขนสั้นนุมดอกเพศผูยาว2-3มม.ไมมีกานกลีบเลี้ยง4-6กลีบแยกจากกันรูปคลายสามเหลี่ยมถึงรูปขอบขนานยาวประมาณ1.5มม.ปลายแหลมถึงมนผิวดานนอกมีขน

สั้นนุมดานในเกลี้ยงเกสรเพศผู4-6อันยาวประมาณ2มม.เกสรเพศเมียที่เปนหมันรูปกรวยกลับมีขนสั้นนุมดอกเพศเมียชอดอกยาว2-3ซม.แกนชอมีขนส้ันนุมสีน้ำตาลแดงใบประดับรูปใบหอกยาวประมาณ1มม.มีขนส้ันนุมดอก

เพศเมียยาว1.5-2มม.กานดอกยอยยาวไดถึง1มม.กลีบเลี้ยง5-6กลีบแยกจากกันรูปคลายสามเหลี่ยมยาวประมาณ1มม.ปลายแหลมผิวดานนอกมีขนสั้นนุมดานในเกลี้ยงรังไขอยูเหนือวงกลีบรูปไขหรือกลมมีขนสั้นนุมมี1ชองมีออวุล2เม็ดยอดเกสรเพศเมียเปน3แฉกชอผลยาว4-7ซม.ผลคลายผลผนังชั้นในแข็งรูปกลมหรือรี

เสนผานศูนยกลาง2.5-4มม.เมล็ดขนาดเล็ก1-2เมล็ด

นิเวศวิทยา พบทั่วไปตามทุงหญาปาละเมาะปาบุงปาทามที่ลุมน้ำขังขอบปาชายเลนชายฝงทะเลความสูงตั้งแตใกลระดับน้ำทะเลจนถึงประมาณ1,300ม.

ประโยชน ใบออนและผลดิบใชปรุงแตงรสเปรี้ยวในอาหารผลสุกรักประทานไดผลใชทำยาพอกเชนแกอาการปวดหัวรังแคชองทองบวมใชผสมกับน้ำอาบแกอาการไข

พบตั้งแตอินเดีย พมา จีนตอนใต ไทย ภูมิภาคอินโดจีน ภูมิภาคมาเลเซีย ไปจนถึงตอนเหนือ

ออสเตรเลีย

ขะเมาผามะเมามะเมาขาวเบามังเมาเมาทุง

ประเทศไทย พบทั่วประเทศ

ที่มา ชื่อสกุลมีที่มาจากภาษากรีกคำวาantiแปลวาตอตานและคำวาdesma,desmosแปลวาแถบ

หรือสายคาดหมวกแตถูกใชโดยนักพฤกษศาสตรชื่อJohannesBurmanในความหมายวามีพิษ แปลรวมความไดวาพืชสกุลนี้ใชตานพิษงูได สวนคำระบุชนิด ghaesembilla มาจากชื่อพื้นเมืองที่ใชเรียกในชวา

ชื่อพอง AntidesmapubescensRoxb.,A.paniculatumWilld.,A.vestitumPresl.

ชื่อสามัญ Blackcurranttree,Wildblackberry

การกระจายพันธุ

Page 97: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี88

Euphorbiaceae

Page 98: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 89

โลดAporosa villosa (Wall. ex Lindl.) Baill.

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ

ไมพุมหรือไมตนขนาดเล็กสูงไดถึง15ม.กิ่งออนมีขนสั้นนุมใบเดี่ยวเรียงเวียนรูปไขถึงรูปรีกวาง4.5-8ซม.ยาว10-15ซม.ปลายใบแหลมหรือเรียวแหลมโคนใบกลมหรือรูปหัวใจตื้นขอบเรียบหรือเกือบเรียบแผนใบ

หนาคลายแผนหนังผิวดานบนมีขนประปรายดานลางมีขนหนาแนนเสนแขนงใบขางละ8-11เสนเสนใบยอยแบบรางแหชัดเจนทั้งสองดานกานใบยาว0.8-2.5ซม.หูใบรูปไขยาว4-6มม.รวงงายดอกแยกเพศตางตนไมมีกลีบ

ดอกชอดอกออกที่ซอกใบหรือเหนือรอยแผลใบตามกิ่งชอดอกเพศผูคลายชอเชิงลดออกเปนกระจุก2-6ชอยาว1-5ซม.มีขนสั้นหนานุมไมมีกานชอดอกใบประดับรูปสามเหลี่ยมยาว1-2มม.ดอกเพศผูยาว1-1.5มม.ไมมีกานดอกยอยหรือกานสั้นกลีบเลี้ยง4กลีบรูปไขกลับยาว1-1.5มม.เกสรเพศผู2-3อันดอกเพศเมียที่เปนหมัน

ไมพบหรือพบเปนกลุมขนสั้นๆชอดอกเพศเมียออกเปนกระจุกๆละ1-4ชอยาว2-4มม.มีขนสั้นหนานุม ใบประดับรูปสามเหลี่ยมยาว1-1.5มม.ดอกเพศเมียยาว2.5-4.5มม.ไมมีกานดอกกลีบเลี้ยง4กลีบรูปไขขนาด

เกือบเทากันยาว1-1.5มม.รังไขอยูเหนือวงกลีบมีขนสั้นหนานุมมี2ชองแตละชองมีออวุล2เม็ดผลแหงแตกกลมหรือรีกวาง7-8มม.ยาว10-12มม.ไมมีกานผลผิวผลสีแดงถึงสีน้ำตาลออนมีขนสั้นหนานุมเมื่อแตกเห็นเนื้อหุมเมล็ดสีสมแดงเมล็ด1เมล็ดรูปขอบขนานกวาง6-7มม.ยาว7-8มม.ผิวเรียบ

นิเวศวิทยา พบตามที่โลงแจงในปาดิบเขาปาเต็งรังปาเบญจพรรณที่สูงจากระดับน้ำทะเล300-1,500ม.ออกดอกและเปนผลระหวางเดือนมกราคม-พฤษภาคม

ประโยชน เนื้อไมใชสรางบานทำเฟอรนิเจอรเครื่องใชในบานคนไทยในภาคเหนือใชเปลือกและเนื้อไมสดเคี้ยวแกไข

พมาไทยภูมิภาคอินโดจีน

กรมดางแดงพงตีนครืนประดงขอพลึงเหมือดควายเหมือดตบเหมือดโลดเหมือดหลวง

ประเทศไทย พบแทบทุกภาคยกเวนภาคใต

ที่มา ชื่อสกุลมีที่มาจากภาษากรีกคำวาaporos,aporiaแปลวายากไมสามารถตัดสินใจไดซึ่งอาจจะ

มาจากการที่ผูใหชื่อเกิดความสงสัย และรูสึกยากในการจำแนกพืชสกุลนี้ก็เปนได คำระบุชนิดvillosaแปลวามีขนอุยหรือขนหนานุมซึ่งอาจหมายถึงขนที่รังไข

ชื่อพอง ScepavillosaWall.exLindl.

การกระจายพันธุ

Page 99: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี90

Euphorbiaceae

Page 100: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 91

มะขามปอมPhyllanthus emblica L.

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ

ไมพุมหรือไมตนขนาดเล็กสูงไดถึง15ม.ใบเดี่ยวเรียงสลับระนาบเดียวรูปแถบแกมรูปขอบขนานกวาง

2-3มม.ยาว0.8-1.2ซม.ปลายมนโคนรูปหัวใจเบี้ยวขอบเรียบแผนใบบางคลายกระดาษเสนแขนงใบขางละ4-6เสนเสนใบยอยแบบรางแหเห็นชัดเจนทางดานบนกานใบยาว0.4-0.8มม.หูใบรูปสามเหลี่ยมขนาดเล็กยาวไมเกิน1มม.ดอกแยกเพศรวมตนออกเปนกระจุกตามซอกใบแตละกระจุกมีดอกเพศผูหลายดอกดอกเพศเมีย1หรือ2

ดอกดอกเพศผูมีกลีบเลี้ยง6กลีบรูปขอบขนานแกมรูปไขกลับหรือรูปชอนกวางประมาณ1มม.ยาวประมาณ1.5มม.เกสรเพศผู3อันตอมท่ีจานฐานดอก6อันรูปกระบองกานดอกยอยยาว1.5-3.5มม.ดอกเพศเมียมีกลีบเล้ียง6

กลีบรูปขอบขนานหรือรูปชอนกวางประมาณ1มม.ยาว1.8-2.5มม.จานฐานดอกรูปวงแหวนกานดอกยอยยาว0.5-0.6มม.รังไขอยูเหนือวงกลีบเกลี้ยงมี3ชองแตละชองมีออวุล2เม็ดกานเกสรเพศเมียยาว1-1.5มม.ผลคลายผลผนังชั้นในแข็งรูปกลมเสนผานศูนยกลาง2-3ซม.กานผลสั้นเปลือกหุมเมล็ดแข็ง

นิเวศวิทยา พบตามปาเต็งรังปาเบญจพรรณปาสนผสมกอความสูงตั้งแตใกลระดับน้ำทะเลจนถึงประมาณ

1,500ม.ออกดอกและเปนผลระหวางเดือนมกราคม-สิงหาคม

ประโยชน ทกุสวนสามารถนำมาใชทำยาไดใบใชทาแกโรคผวิหนงัดอกใชลดไขและชวยเกีย่วกบัระบบขบัถายเปลือกของรากชวยหามเลือดสมานแผลผลรับประทานแกกระหายน้ำแกไอผลแหงตมสกัดเอานำ้มาใชแกทองเสยีถายเปนเลอืดเนือ้ผลใชทาบนศรีษะแกอาการปวดหวัและแกวงิเวยีนจาก

อาการไขขึ้นสูงน้ำคั้นผลใชเปนยาระบายแกเสียดทองขับปสสาวะหยอดตารักษาเยื่อตาอักเสบเมล็ดแกโรคหอบหืดหลอดลมอักเสบเนือ้ไมใชทำเฟอรนเิจอรดามเครือ่งมอืทางการเกษตรทำถานเปลอืกแหงใชทำสยีอมใหสนีำ้ตาลแกมเหลือง

อินเดียศรีลังกาจีนพมาไทยภูมิภาคอินโดจีนและภูมิภาคมาเลเซีย

กันโตดกำทวด

ประเทศไทย พบทุกภาคของประเทศ

ที่มา ชื่อสกุลมีที่มาจากภาษากรีกคำวาphyllonแปลวาใบและคำวาanthosแปลวาดอกหมายถึง

พชืในสกลุนี้บางชนดิดอกจะออกตามกิง่ที่มีลกัษณะคลายใบคำระบุชนดิemblicaมาจากภาษาพื้นเมืองBangaliในอินเดียคำวาamlakiที่ใชเรียกมะขามปอมซึ่งมีสรรพคุณดานสมุนไพร

การกระจายพันธุ

ชื่อสามัญ Emblicmyrabolan,Malaccatree

Page 101: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี92

Flacourtiaceae

Page 102: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 93

กรวยปาCasearia grewiifolia Vent.

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ

ไมพุมหรือไมตนสูงไดถึง20ม.เปลือกสีเทาอมน้ำตาลกิ่งออนมีขนสั้นหนานุมสีน้ำตาลแดงใบเดี่ยวเรียงเวียนรูปขอบขนานหรือรูปไขแกมรูปขอบขนานกวาง4.5-10ซม.ยาว10-18ซม.ปลายแหลมหรือเรียวแหลมโคน

สอบกวางถงึกลมบางครัง้ตดัหรอืรปูหวัใจขอบหยกัมนแผนใบบางคลายกระดาษผวิดานบนเกลีย้งหรอืมีขนเลก็นอยที่เสนกลางใบ ดานลางมีขนยาวหางถึงขนสั้นหนานุมทั่วไป เสนกลางใบเรียบหรือเปนรองทางดานบน ดานลางนูนเห็นชัด เสนแขนงใบขางละ8-14 เสนกานใบยาว0.4-1.2ซม.มีขนสั้นนุมหรือเกือบเกลี้ยงดอกแยกเพศรวมตน

ดอกสีเขียวจำนวนมากออกเปนกระจุกเหนือรอยแผลใบที่ใบรวงแลวใบประดับจำนวนมากมีขนสั้นนุมกลีบเลี้ยงโคนเชื่อมกันปลายแยกเปน5แฉกกวางประมาณ2มม.ยาวประมาณ3มม.ดานนอกมีขนยาวหางดานในเกลี้ยง

กานดอกยอยยาว4-6มม.มีขนสั้นนุม เกสรเพศผู 8-10อันกานชูอับเรณูยาวไมเทากันมีขนสั้นนุมเล็กนอยหรือเกลี้ยงเกสรเพศผูที่เปนหมันรูปขอบขนานมีขนหนาแนนรังไขอยูเหนือวงกลีบรูปกลมเกลี้ยงหรือมีขนยาวหางมี1ชองกานเกสรเพศเมียสั้นผลแหงแตกรูปรีกวาง1-2.5ซม.ยาว1.5-3.5ซม.สีสมถึงเหลืองเมื่อสุกแตกเปน3ซีก

เมล็ดจำนวนมากเนื้อหุมเมล็ดสีแสด

นิเวศวิทยา พบตามปาเต็งรัง ปาเบญจพรรณปาชายหาด ความสูงตั้งแตใกลระดับน้ำทะเลจนถึงประมาณ1,200 ม. ออกดอกระหวางเดือนมีนาคม-พฤษภาคม เปนผลระหวางเดือนพฤษภาคม-

กรกฎาคม

ประโยชน เนื้อไมใชสรางบานประตูเฟอรนิเจอรหวีเปลือกเปนยาบำรุงใบและรากรักษาโรคทองรวงดอก

แกพิษไข

พมาไทยภูมิภาคอินโดจีนและภูมิภาคมาเลเซีย

กวยขุนหยิงคอแลนตวยตวยใหญตานเสี้ยนบุนหยิงผาสามผีเสื้อหลวงสีเสื้อสีเสื้อหลวง

ประเทศไทย พบทุกภาค

ที่มา ชื่อสกุลตั้งใหเปนเกียรติแกหมอสอนศาสนาชาวดัตชชื่อJohannesCaseariusสวนคำระบุชนิดgrewiifoliaหมายถึงใบที่มีลักษณะคลายใบของพืชในสกุลGrewia

ชื่อพอง CaseariakerriCraib,C.oblongaCraib

การกระจายพันธุ

Page 103: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี94

Flacourtiaceae

Page 104: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 95

ตะขบปาFlacourtia indica (Burm. f.) Merr.

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ

ไมพุมหรือไมตนขนาดเล็กผลัดใบสูงไดถึง15ม.ลำตนและกิ่งมีหนามเปลือกสีเทากิ่งออนเกลี้ยงหรือมีขนสั้นนุมมีชองอากาศใบเดี่ยวเรียงเวียนมักเรียงชิดกันเปนกระจุกที่ปลายกิ่งใบรูปไขกลับรูปรีหรือรูปหัวใจกวาง

1.5-3.5ซม.ยาว4-6ซม.ปลายแหลมหรือมนโคนสอบหรือมนขอบหยักมนแผนใบบางคลายกระดาษถงึหนาคลายแผนหนัง เกลี้ยงถึงมีขนสั้นหนานุมทั้งสองดาน เสนกลางใบสีแดง เสนแขนงใบขางละ4-6 เสน เห็นชัดทั้งสองดานกานใบสีแดงยาว3-8มม.มีขนประปรายชอดอกแบบชอกระจะสั้นออกที่ซอกใบและปลายกิ่งมีขนประปราย

จำนวนดอกนอยกานดอกยาว3-5มม.มีขนประปรายกลบีเลีย้ง5-6กลบีรปูไขกวางประมาณ1มม.ยาวประมาณ1.5มม.ปลายมนผวิดานนอกเกลีย้งดานในและขอบมีขนหนาแนนดอกเพศผูจานฐานดอกแยกเปนแฉกเลก็นอยหรอื

หยักมนเกสรเพศผูจำนวนมากกานชูอับเรณูยาว2-2.5มม.โคนมีขนดอกเพศเมียจานฐานดอกเรียบรังไขอยูเหนือวงกลีบกลมมี1ชองยอดเกสรเพศเมียแยกเปน2แฉกผลแบบผลมีเนื้อหนึ่งถึงหลายเมล็ดกลมหรือเกือบกลมเสนผานศูนยกลาง0.7-1ซม.สุกสีแดงเขมเมล็ด5-8เมล็ด

นิเวศวิทยา พบตามปาเต็งรังปาเบญจพรรณปาดิบแลงปาชายหาดความสูงตั้งแตใกลระดับน้ำทะเลจนถึง

ประมาณ700ม.ออกดอกและเปนผลระหวางเดือนมกราคม-กรกฎาคม

ประโยชน ผลสุกรับประทานไดใชเปนยาสมานเปลือกนำมาแชหรือชงเปนยากลั้วคอรากแกโรคปอดบวมใบแกไขไอและทองรวง

พบทั่วไปในอาฟริกาเขตรอนอินเดียเอเชียตะวันออกเฉียงใตโพลีนีเซีย

ตานเสี้ยนมะเกวนมะเกวนปา

ที่มา ชือ่สกลุตัง้ใหเปนเกยีรติแกนกัเดนิทางและนกัพฤกษศาสตรชาวฝรัง่เศสชือ่ÉtiennedeFlacourt(1607-1660)ซึ่งเปนDirectorของFrenchEastIndianCompany

ชื่อพอง GmelinaindicaBurm.f.,FlacourtiasepiariaRoxb.

การกระจายพันธุ

ชื่อสามัญ Flacourtia,Batokoplum,Batokaplum,Governor’splum,Madagascarplum

ประเทศไทย พบทุกภาค

Page 105: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี96

Guttiferae

Page 106: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 97

ติ้วเกลี้ยงCratoxylum cochinchinensis (Lour.) Blume

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ

ไมพุมหรือไมตนขนาดเล็กสูงไดถึง20ม.เปลือกเรียบหรือแตกเปนสะเก็ดสีเทาอมน้ำตาลใบเดี่ยวเรียง

ตรงขามรูปรีขอบขนานหรือขอบขนานแกมรูปใบหอกกวาง2-4.5ซม.ยาว4-9.5ซม.ปลายแหลมพบบางที่ทูหรือกลมโคนสอบหรือมนขอบเรียบแผนใบบางคลายกระดาษถึงกึ่งหนาคลายแผนหนังเกลี้ยงทั้งสองดานดานลางมักมีนวลเสนแขนงใบขางละ10-18เสนปลายเชื่อมกันกอนถึงขอบใบกานใบยาว2-4มม.ดอกเปนดอกเดี่ยวหรือ

ออกเปนกระจุก2-4ดอกที่ซอกใบและปลายกิ่งใบประดับขนาดเล็กรวงงายดอกมีกลิ่นหอมเสนผานศูนยกลาง1-1.2ซม.กานดอกยาวประมาณ1มม.กลีบเลี้ยง5กลีบแยกเปน2วงวงนอก3กลีบตรงกลางกลีบสีมวงแดง

ขอบสีเขียวขนาดกลีบใหญกวาวงใน2กลีบเล็กนอยกลีบวงในสีเขียวรูปไขหรือรูปไขกลับกวาง4-5ซม.ยาว5-7ซม.กลีบดอก5กลีบแยกจากกันสีสมหรือสมแดงรูปไขกลับกวาง3-4มม.ยาว6-7มม.ผิวกลีบเกลี้ยงมีเสนสีมวงแดงถึงดำตามยาวเกสรเพศผูจำนวนมากเชื่อมติดกันเปน3กลุมสลับกับกลุมเกสรเพศผูที่ไมสมบูรณ3อัน

ลักษณะเปนกอนอวบน้ำสีเหลือง รังไขอยูเหนือวงกลีบ เกลี้ยง มี 3 ชอง แตละชองมีออวุลจำนวนมาก กานเกสรเพศเมีย3อันแยกจากกันผลแบบผลแหงแตกรูปรีกวาง7-8มม.ยาว10-12มม.กลีบเลี้ยงติดทนหุม2ใน3

ของความยาวผลผลแกแตกตามรอยประสานเปน3ซีก เมล็ด6-8เมล็ดตอชองรวมปกรูปรีหรือรูปไขกลับกวาง2-3มม.ยาว6-8มม.ปกแบนและบาง

นิเวศวิทยา พบไดในปาเกือบทุกประเภทความสูงตั้งแตใกลระดับน้ำทะเลจนถึงประมาณ700ม.ออกดอก

และเปนผลระหวางเดือนมกราคม-สิงหาคม

ประโยชน เนื้อไมใชทำเสา ดามเครื่องมือทางการเกษตร ทำรั้ว ทำฟนและถาน ยาที่สกัดจากเปลือกตมใชรักษาอาการเสียดทองหรืออาการเกี่ยวกับลำไส น้ำยางจากเปลือกที่เปลี่ยนเปนสีแดงใชรักษาโรคหิดชาวมาเลเซียใชเปลือกและใบผสมกับน้ำมันมะพราวชวยบำรุงผิว

จีนพมาไทยภูมิภาคอินโดจีนคาบสมุทรมลายูสุมาตราบอรเนียวและฟลิปปนส

ขี้ติ้วติ้วใบเลื่อม

ประเทศไทย พบทุกภาค

ที่มา มาจากภาษากรกีคำวาkratosแปลวาเขมแขง็ตานทานและคำวาxylonแปลวาเนือ้ไมหมายถงึพืชในสกุลนี้มีเนื้อไมแข็งคำระบุชนิดcochinchinenseหมายถึงchochinchineซึ่งเปนภาคใต

ของเวียดนาม

ชื่อพอง HypericumcochinchinenseLour.,CratoxylumpolyanthumKorth.

การกระจายพันธุ

Page 107: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี98

Guttiferae

Page 108: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 99

ติ้วขนCratoxylum formosum (Jack) Dyer ssp. pruniflorum (Kurz) Gogel.

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ

ไมตนขนาดเลก็ถงึขนาดกลางสงูไดถงึ20ม.เปลอืกสนีำ้ตาลดำแตกเปนสะเกด็มีกิง่ที่เปลีย่นรปูเปนหนามใบเดี่ยวเรียงตรงขามรูปรีรูปขอบขนานรูปขอบขนานแกมรูปใบหอกกวาง2-5ซม.ยาว5-10ซม.ปลายแหลมมนหรือกลมโคนสอบหรือมนขอบเรียบแผนใบบางคลายกระดาษผิวดานบนมีขนสากดานลางมีนวลมีขนสั้นหนา

นุมใบออนสีแดงอมชมพูเสนแขนงใบขางละ5-12เสนปลายเชื่อมกันกอนถึงขอบใบกานใบยาว3-7มม.มีขนดอกเปนดอกเดี่ยวหรือเปนชอแบบชอกระจุกชอกระจะหรือชอแยกแขนงสั้นๆออกที่ซอกใบและที่ปลายกิ่งดอกออก

พรอมแตกใบใหมมีกลิ่นหอม เสนผานศูนยกลางประมาณ1ซม. ใบประดับขนาดเล็กรวงงายกลีบเลี้ยง5กลีบรูปไขแกมรูปใบหอกกวางประมาณ2มม.ยาวประมาณ3มม.แยกเปน2วงวงนอก3กลีบวงใน2กลีบผิวดานนอกมีขนนุมหนาแนนผิวดานในเกลี้ยงมีเสนสีแดงตามยาวกลีบติดทนจนเปนผลกลีบดอก5กลีบแยกจากกัน

สีขาวหรือสีชมพูออนรูปไขแกมรูปใบหอกกวาง4-5มม.ยาว1.5-1.8ซม.ขอบมีขนยาวมีเสนสีมวงจางตามยาวเกสรเพศผูเชื่อมกันเปนกลุม3กลุมรังไขมี3ชองเกสรเพศผูจำนวนมากเชื่อมติดกันเปน3กลุมสลับกับกลุมเกสร

เพศผูที่ไมสมบรูณ3อนัลกัษณะเปนกอนอวบนำ้สสีมรงัไขอยูเหนอืวงกลบีเกลีย้งมี3ชองแตละชองมีออวลุจำนวนมากกานเกสรเพศเมีย3อันแยกจากกันผลแบบผลแหงแตกรูปรีแกมรูปขอบขนานยาว1.5-2ซม.ผิวมีนวลกลีบเลี้ยงติดทนหุมเฉพาะสวนโคนของผลผลแกแตกตามรอยประสานเปน3ซีกเมล็ดจำนวนมากเมล็ดรวมปกรูปขอบ

ขนานแกมรูปไขกลับ

นิเวศวิทยา พบตามปาเต็งรังและปาเบญจพรรณความสูงจากระดับน้ำทะเล 100-1,000 ม. ออกดอกและ

เปนผลระหวางเดือนมกราคม-มิถุนายน

ประโยชน เนื้อไมใชในการกอสรางทำรั้วทำฟนและถาน

จีนตอนใตพมาไทย

ตาวติ้วแดงติ้วยางติ้วเลือดติ้วเหลืองแตวหิน

ที่มา ชือ่สกลุมีทีม่าเชนเดยีวกนักบัติว้เกลีย้ง(Cratoxylumcochinchinense)คำระบุชนดิformosumแปลวาสวยงาม และคำวา pruniflorum แปลวาดอกคลายพืชในสกุล Prunus คือพวกพลัม(Rosaceae)

การกระจายพันธุ

ประเทศไทย พบทุกภาค

Page 109: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี100

Guttiferae

Page 110: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 101

ไมตนขนาดเล็กถึงขนาดกลางสูงไดถึง20ม. ไมผลัดใบ เปลือกสีเทาหรือเทาปนน้ำตาลน้ำยางสีคลายน้ำนมเมื่อทิ้งใหสัมผัสกับอากาศเปลี่ยนเปนสีเหลืองออนใบเดี่ยวเรียงตรงขามสลับตั้งฉากรูปรีรูปขอบขนานหรือรูปไขกลับแกมรูปขอบขนานกวาง4-9ซม.ยาว9.5-20ซม.ปลายมนหรือแหลมโคนสอบหรือสอบเรียวขอบเรียบ

แผนใบหนาคลายแผนหนังเกลี้ยงทั้งสองดานเสนแขนงใบจำนวนมากไมชัดเจนกานใบยาว0.5-1ซม.เกลี้ยงดอกเดี่ยวหรือออกเปนกระจุกตามกิ่งสีขาวกลิ่นหอมแรงกานดอกยาว0.5-2.5ซม.กลีบเลี้ยง2กลีบเกือบกลมโคง

เปนแองกลีบดอก4กลีบรูปไขกลับกวาง4-6มม.ยาว7-8มม.มีเสนตามยาวเกสรเพศผูจำนวนมากกานชูอับเรณูเรียวยาวอับเรณูรูปขอบขนานสีเหลืองเขมรังไขอยูเหนือวงกลีบมี2ชองแตละชองมีออวุล2เม็ดยอดเกสรเพศเมียเปน3แฉกผลแบบผลผนังชั้นในแข็งรูปรีหรือรูปกระสวยกวาง0.8-2.5ซม.ยาว2-2.5ซม.สุกสีเหลือง

กานผลยาว1.4-1.6ซม.เมล็ด1เมล็ดขนาดใหญแข็งมีเนื้อหุมสีเหลืองเขม

นิเวศวิทยา พบตามปาเตง็รงัปาเบญจพรรณและปาดบิแลงออกดอกระหวางเดอืนมกราคม-เมษายนเปนผลระหวางเดือนเมษายน-มิถุนายนความสูงตั้งแตใกลระดับน้ำทะเลจนถึงประมาณ500ม.มักพบปลูกเปนไมตนประดับทั่วไป

การกระจายพันธุ พมาไทยภูมิภาคอินโดจีนคาบสมุทรมลายู

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ ทรพีสรอยพีสารภีแนน

ประโยชน เนื้อไมใชสรางบาน ทำเฟอรนิเจอรดอกใชบำรุงกำลังแกออนเพลีย เจริญอาหารแกไขแกลมวิงเวียนศีรษะแกรอนในบำรุงหัวใจบำรุงปอด

ชื่อพอง CalysaccionsiamensisMiq.,Ochrocarpossiamensis(Miq.)T.Anderson

สารภีMammea siamensis (Miq.) T. Anderson

ที่มา ชื่อสกุลมีที่มาจากคำวาmammey ซึ่งเปนชื่อพื้นเมืองWest Indian ที่ใชเรียกmammeeapple(MammeaamericanaL.)สวนคำระบุชนิดsiamensisหมายถึงสยามซึ่งเปนชื่อที่ใชเรียกประเทศไทยในอดีต

ประเทศไทย พบทุกภาค

Page 111: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี102

Irvingiaceae

Page 112: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 103

ไมตนขนาดกลางถึงขนาดใหญสูงไดถึง30ม.โคนตนมักเปนพูพอนเปลือกสีเทาอมน้ำตาลเรียบหรือแตก

เปนสะเก็ดเล็กๆกิ่งออนมีรอยหูใบที่หลุดรวงไปชัดเจนใบเดี่ยวเรียงเวียนรูปรีรูปรีแกมรูปขอบขนานรูปไขหรือรูปไขแกมรูปขอบขนานกวาง3-8ซม.ยาว8-15ซม.ปลายเปนติ่งแหลมโคนสอบมนหรือเบี้ยวเล็กนอยขอบเรียบแผนใบหนาคลายแผนหนังผิวดานบนเกลี้ยงดานลางเกลี้ยงหรือมีขนประปรายเสนแขนงใบขางละ8-10เสนเสน

ใบยอยแบบรางแห เห็นชัดเจนทั้งสองดานกานใบยาว0.5-1.5ซม. เปนรองทางดานบน เกลี้ยงหูใบหุมยอดออนปลายแหลมโคงเล็กนอยเปนรูปดาบยาว1.5-3ซม.รวงงายชอดอกแบบชอแยกแขนงออกตามซอกใบหรือปลาย

กิ่งยาว5-15ซม.ใบประดับรูปไขปลายแหลมขนาดเล็กรวงงายดอกขนาดเล็กสีขาวอมเขียวหรือสีเหลืองออนกลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีอยางละ5กลีบกลีบเลี้ยงกวางประมาณ0.5มม.ยาวประมาณ1มม.กลีบดอกกวางประมาณ1.5มม.ยาว2-3มม.เกสรเพศผู10อันรังไขอยูเหนือวงกลีบมี2ชองแตละชองมีออวุล1เม็ดผลแบบ

ผลผนังชั้นในแข็งรูปไขหรือรูปรีกวาง3-4ซม.ยาว4-5ซม.มีนวลเล็กนอยผลสุกสีเหลืองมีเนื้อเมล็ด1เมล็ดรูปไขหรือรูปรีแกมรูปไขคอนขางแบนเนื้อในเมล็ดสีขาวและมีน้ำมัน

นิเวศวิทยา พบตามปาเต็งรังปาชายหาดปาเบญจพรรณปาดิบแลงตลอดจนปาดิบชื้นที่สูงตั้งแตใกลระดับระดับน้ำทะเลจนถึงประมาณ300ม.ออกดอกระหวางเดือนมกราคม-มีนาคม เปนผลระหวางชวงเดือนกุมภาพันธ-สิงหาคม

ประโยชน

การกระจายพันธุ

พบทุกภาคประเทศไทย

อินเดียพมาไทยภูมิภาคอินโดจีนคาบสมุทรมลายูสุมาตราและบอรเนียว

ที่มา ชื่อสกุลตั้งเปนเกียรติแก Dr.Martin Howy Irving ศาสตราจารยแหงมหาวิทยาลัยเมลเบิรน

ประเทศออสเตรเลียคำระบุชนิดmalayanaหมายถึงมาเลเซีย

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ กะบกจำเมาะตระบกบกมะมื่นมะลื่นมื่นหมักลื่นหมากบกหลักกาย

กระบกIrvingia malayana Oliv. ex A. W. Benn.

ชื่อสามัญ Barkingdeer’smango

ชื่อพอง IrvingiaharmandianaPierreexLecomte,I.oliveriPierre,I.pedicellataGagnep.

เนื้อไมใชในการกอสรางที่ใชไมในรมทำไมหมอนรองรางรถไฟดามเครื่องมือทางการเกษตร ใชทำถานคุณภาพดีมากเมล็ดใชในอุตสาหกรรมผลิตแวกซและสบูในประเทศฝรั่งเศสและภูมิภาค

อินโดจีนมักนิยมใชทำเทียน เมล็ดรับประทานไดสุกหรือดิบแตมักนิยมคั่วสุก ผลสุกเปนอาหารสัตว

Page 113: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี104

Labiatae

Page 114: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 105

ทองแมวGmelina elliptica Sm.

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ

ไมพุมหรือไมตนขนาดเล็กปลายกิ่งมักหอยลงกิ่งออนมีขนอุยเมื่อแกเกลี้ยงเปลือกสีเขียวมีหนามแข็งใบเดี่ยวเรียงตรงขามสลับตั้งฉากรูปไขหรือรูปรีกวาง3-5ซม.ยาว3-10ซม.ปลายแหลมโคนมนหรือเกือบกลมขอบเรียบหรือหยักไมชัดเจน แผนใบบางคลายกระดาษ ดานบนมีขนสั้นนุ ม เมื่อแกเกลี้ยง ดานลางมีขนอุย

แกมขนสั้นหนานุมมีตอมประปรายที่ใกลเสนแขนงใบที่โคนใบเสนแขนงใบขางละ6-10เสนกานใบยาว1-1.5ซม.

มีขนอุยชอดอกแบบชอแยกแขนงขนาดเล็กยาว2-5ซม.มีขนสั้นหนานุมใบประดับรูปใบหอกปลายเรียวแหลมกานดอกสัน้มากดอกสีเหลอืงกลบีเลีย้งปลายตดัมีแฉก4แฉกไมชดัเจนผวิกลบีเลีย้งมีขนสัน้หนานุมมีตอมขนาดใหญ

1-3ตอมใกลปลายกลีบตอมคอนขางแบนยาว3-4มม.กลีบดอกยาว3-4ซม.โคนเชื่อมกันเปนหลอดผิวดานนอกมีขนปลายแยกเปน4แฉกปลายกลมแฉกบนเวาตื้นเกสรเพศผู4อันแบงเปน2คูยาวไมเทากันติดบนหลอดกลีบดอกบริเวณกึ่งกลางหลอดรังไขอยูเหนือวงกลีบเกลี้ยงมี2ชองแตละชองมีออวุล1เม็ดกานเกสรเพศเมีย

เรียวยาว ยอดเกสรเพศเมียแยกเปน 2 แฉก ผลแบบผลผนังชั้นในแข็ง รูปไขกลับ ยาว 1.5-2.5 ซม. เกลี้ยง สุกสีเหลือง

ประโยชน ปลูกเปนไมประดับไดสรรพคุณทางยาเปนยาระบายยาลางตารักษาอาการปวดหูปวดศีรษะปวดฟนแกบวมรักษาบาดแผล

กระเบี้ยเหลืองคางแมวจิงจายนมแมว

ที่มา ชือ่สกลุตัง้เพือ่เปนเกยีรติแกนกัพฤกษศาสตรและนกัธรณวีทิยาชาวเยอรมนัชือ่JohannGeorgeGmelinคำระบุชนิดellipticaแปลวารูปรีหมายถึงรูปรางใบที่สวนใหญเปนรูปรี

นิเวศวิทยา พบตามปาละเมาะและปาผลัดใบออกดอกและเปนผลเกือบตลอดป

การกระจายพันธุ

พบกระจายหางๆแทบทุกภาคประเทศไทย

พมาไทยภูมิภาคอินโดจีนภูมิภาคมาเลเซียออสเตรเลีย

Page 115: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี106

Labiatae

Page 116: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 107

กระดูกกบHymenopyramis brachiata Wall. ex Griff.

ไมพุมหรือไมรอเลื้อยโคนตนมีหนามแข็งกิ่งตั้งฉากกับลำตนกิ่งออนเปนสี่เหลี่ยมมีขนสั้นๆ สีน้ำตาลออนหนาแนนใบเดี่ยวเรียงตรงขามสลับตั้งฉากรูปรีรูปไขหรือรูปไขแกมรูปขอบขนานกวาง2.5-8ซม.ยาว5-12ซม.

ปลายเรียวแหลมโคนสอบหรือมนขอบเรียบแผนใบบางคลายกระดาษผิวดานบนเกลี้ยงหรือมีขนเล็กนอยตามเสนกลางใบดานลางมีขนสั้นๆสีน้ำตาลออนหนาแนนเสนแขนงใบขางละ6-12เสนเปนรองทางดานบนกานใบยาว

1-2ซม.เปนรองทางดานบนชอดอกแบบชอแยกแขนงออกตามซอกใบและปลายกิ่งยาว15-35ซม.ชอดอกยอยตั้งฉากกับแกนชอดอกดอกเล็กสีขาวกลีบเลี้ยงสั้นมากยาวไมเกิน1มม.โคนเชื่อมติดกันเปนรูปถวยขนาดเล็กมีขนสีน้ำตาลปลายเปน4แฉกกลีบดอกขนาดเล็กมากยาวประมาณ3มม.โคนเชื่อมติดกันเปนรูปกรวยปลายแยก

เปน4แฉกขนาดเทาๆกันเกสรเพศผู4อันติดที่โคนหลอดกลีบดอกยาวเกือบเทากันโผลพนกลีบดอกรังไขอยูเหนือวงกลีบขนาดเล็กมีขนมี2ชองแตละชองมีออวุล1เม็ดกานยอดเกสรเพศเมียเรียวเล็กยอดเกสรเพศเมีย

แยกเปน2แฉกผลแบบผลแหงแตกคอนขางกลมแข็งเสนผานศูนยกลาง3-4มม.มีขนมีกลีบเล้ียงท่ีขยายใหญเช่ือมติดกันเปนถุงสี่เหลี่ยมกวางประมาณ1-1.8ซม.ยาวประมาณ1.5-2ซม.หุมอยู

ที่มา ชื่อสกุลมีที่มาจากภาษากรีกคำวาhymenแปลวาเยื่อหุมและคำวาpyramisแปลวาประมิดหมายถึงผลที่มีกลีบเลี้ยงลักษณะคลายเยื่อ รูปรางคลายประมิด หุมผลไว สวนคำระบุชนิด

brachiataแปลวาแตกกิ่งเรียงตั้งฉากกันหรือแตกกิ่งกระจายกวาง

นิเวศวิทยา พบตามปาเบญจพรรณปาเต็งรังและปาดิบแลงออกดอกประมาณเดือนมีนาคม-กันยายนผลแกเดือนกรกฎาคม-พฤศจิกายน

การกระจายพันธุ

ภาคกลางภาคเหนือภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคตะวันตกเฉียงใตประเทศไทย

อินเดียศรีลังกาพมาไทยและภูมิภาคอินโดจีน

Page 117: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี108

Labiatae

Page 118: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 109

หญานกเคาLeucas decemdentata (Willd.) Sm.

ไมลมลุกอายุปเดียวสูงไดถึง1ม.แตกกิ่งมากลำตนเรียวเล็กเปนรูปสี่เหลี่ยมมีขนสั้นหนาแนนใบเดี่ยวเรียงตรงขามสลับตั้งฉากรูปไขหรือรูปไขแกมรูปใบหอกกวาง1-2.5ซม.ยาว2.5-6ซม.ปลายแหลมหรือมนโคน

รูปลิ่มกวางถึงรูปหัวใจขอบจักซี่ฟนแกมหยักมนแผนใบบางคลายกระดาษมีขนสั้นหนานุมทั้งสองดานกานใบยาว0.3-1 ซม. มีขนสั้น ชอดอกแบบชอฉัตร ออกที่ซอกใบใกลปลายยอด ลักษณะเปนกระจุกกลม เสนผานศูนยกลาง1.5-2.5ซม.ใบประดับรูปแถบหรือใบหอกแคบยาว8-9มม.ขอบมีขนกลีบเลี้ยงเชื่อมกันเปนหลอดยาว5-10มม.

ปลายแยกเปนแฉกเล็กๆ10แฉกยาวประมาณ1มม.หลอดกลีบเลี้ยงมีเสนตามยาว10เสนดานนอกมีขนสั้นนุมหนาแนนกลีบดอกรูปปากเปดสีขาวหรือเหลืองแกมขาวยาว1-1.5ซม.โคนเชื่อมติดกันเปนหลอดมีขนละเอียด

ใกลปากหลอดดานนอกมีขนอุยที่ตรงกลางหลอดดานในปลายกลีบแยกเปนสวนบนและสวนลางกลีบสวนบนงุมมีขนหนาแนนกลีบสวนลางแผกวางแฉกกลางขนาดใหญที่สุดรูปกึ่งหัวใจแฉกขางรูปขอบขนานมีขนยาวหางที่โคนดานนอกดานในเกลี้ยงเกสรเพศผู4อันแยกเปน2คูยาวไมเทากันกานชูอับเรณูสีขาวอับเรณูสีมวงแดงรังไขอยู

เหนือวงกลีบเกลี้ยงมี4พูแตละพูมีออวุล1เม็ดยอดเกสรเพศเมียแยกเปน2แฉกสั้นๆผลแยกคลายเปนผลยอยเปลือกแข็งเมล็ดเดียว4ผลรูปไขหรือเกือบกลมสีน้ำตาลเขมผิวดานลางลักษณะคลายสามเหลี่ยม

นิเวศวิทยา พบตามที่รกรางวางเปลาปาละเมาะทุงหญาชายปาเขาหินปูนชายฝงทะเลความสูงตั้งแตใกลระดับน้ำทะเลจนถึงที่สูงเปนพันเมตรออกดอกระหวางเดือนพฤษภาคม-ตุลาคมเปนผลระหวางเดือนตุลาคม-พฤศจิกายน

เขตรอนเอเชียถึงออสเตรเลียการกระจายพันธุ

ชื่อพอง Phlomis decemdentataWilld. L. flaccida R. Br., L.mollissimaWall. ex Benth., L.parvifloraBenth.,

ที่มา ชื่อสกุลมีที่มาจากภาษากรีกคำวาleukosแปลวาสีขาวหมายถึงสีของดอกของพืชในสกุลนี้ซึ่งสวนใหญเปนสีขาวสวนคำระบุชนิดdecemdentataแปลวาหยักซี่ฟน10ซี่หมายถึงจำนวนแฉกที่ปลายหลอดกลีบเลี้ยงซึ่งมี10แฉก

พบทุกภาคประเทศไทย

Page 119: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี110

Labiatae

Page 120: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 111

หนวดเสือเขี้ยวOrthosiphon rubicundus (D. Don) Benth.

ไมลมลุกอายุหลายป สูงไดถึง 50 ซม. มีเหงาใตดินเพื่อชวยใหอยูรอดจากไฟปาในหนาแลง มีรากสะสม

อาหารลำตนเปนเหลี่ยมหรือเหลี่ยมเกือบกลมมีขนสั้นนุมลำตนแกเกือบเกลี้ยงใบเดี่ยวเรียงตรงขามสลับตั้งฉากบางครัง้คูใบเรยีงชดิตดิกนัเปนกระจกุแนนที่โคนลำตนใบรปูไขรปูขอบขนานรปูขอบขนานแกมรปูไขรปูใบหอกแกมรูปไขรูปไขแกมรูปรีกวาง1-6ซม.ยาว2.5-15ซม.ปลายมนหรือแหลมโคนรูปลิ่มหรือสอบเรียวขอบจักฟนเลื่อย

หรือหยักมนแผนใบคลายกระดาษมีขนประปรายถึงขนสั้นนุมและมีตอมไรกานทั้งสองดานกานใบยาวไดถึง6ซม.มีขนสั้นนุมชอดอกแบบชอฉัตรยาวไดถึง30ซม.แกนกลางมีขนสั้นนุม ใบประดับไรกานติดทนรูปไขหรือรูปใบ

หอกแกมรูปไขยาวไดถึง8มม.ปลายแหลมหรือเรียวแหลมผิวดานในเกลี้ยงหรือเกือบเกลี้ยงดานนอกมีขนสั้นนุมกานดอกยาว2-5มม.ดอกสีมวงกลีบเลี้ยงยาว5-7มม.โคนเชื่อมติดกันเปนหลอดปลายแยกเปน5แฉกแฉกบน1แฉกรูปวงกลมรูปไขหรือไขกลับเกลี้ยงหรือมีขนทั้งสองดานแฉกลาง4แฉกแฉกกลาง2แฉกยาวสุดแฉกขาง

ยาวเทาๆกับแฉกบนกลีบดอกรูปปากเปดยาว8-22มม.โคนเชื่อมติดกันเปนหลอดปลายแยกเปน5แฉกแฉกบน4แฉกแฉกลาง1แฉกแฉกบนรูปวงกลมรูปไขหรือรูปไขกลับปลายกลมหรือแหลมแฉกลางรูปไขกลับเปน

แองเล็กนอยเกสรเพศผู2คูคูลางยาวกวาเล็กนอยรังไขอยูเหนือวงกลีบมี4พูแตละพูมีออวุล1เม็ดจานฐานดอกดานหนาชดัเจนกวาดานอืน่กานเกสรเพศเมยีรปูกระบองปลายเวาเลก็นอยผลแยกคลายเปนผลยอยเปลอืกแขง็เมลด็เดียว4ผลสีน้ำตาลรูปรียาว1.5-2มม.บางครั้งเปนเมือกเมื่อเปยกน้ำ

นิเวศวิทยา พบตามทุงหญาในที่คอนขางโลงในปาเต็งรังแลงปาเบญจพรรณปาเต็งรังผสมสนเขาความสูงตั้งแตใกลระดับน้ำทะเลจนถึงประมาณ 1,100 ม. ออกดอกและเปนผลระหวางเดือนมกราคม-

ตุลาคม

ประโยชน สรรพคุณทางยาใชแกอาการจุกเสียด

อาฟริกาเขตรอนอินเดียพมาจีนตอนใตไทยภูมิภาคอินโดจีน

ประเทศไทย พบทางภาคเหนือภาคตะวันออกเฉียงเหนือภาคตะวันตกเฉียงใต

ที่มา ชื่อสกุลมาจากภาษากรีกคำวาorthosแปลวาตั้งขึ้นและคำวาsiphonแปลวาหลอดหมายถึงกลีบดอกเชื่อมกันเปนหลอดสวนคำระบุชนิดrubicundusแปลวามีสีแดงหมายถึงสวนของพืช

บางสวนที่มีสีแดง

การกระจายพันธุ

ชื่อพอง PlectranthusrubicundusD.Don,OrthosiphonincurvusBenth.

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ แขงขานอย

Page 121: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี112

Labiatae

Page 122: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 113

จันมันPremna mollissima Roth

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ

ไมพุมหรือไมตนขนาดเล็กกิ่งออนสีน้ำตาลเมื่อออนมีขนสั้นนุมเมื่อแกเกือบเกลี้ยงใบเดี่ยวเรียงตรงขามสลับตั้งฉากรูปไขแกมรูปขอบขนานรูปไขแกมรูปรีหรือรูปรีกวาง5-11.5ซม.ยาว6-15ซม.ปลายเรียวแหลมหรือยาวคลายหางโคนรูปลิ่มกลมหรือรูปหัวใจมักเบี้ยวเล็กนอยขอบเรียบแผนใบบางคลายกระดาษผิวดานบนมีขน

ประปรายถึงหนาแนนผิวดานลางมีขนหนาแนนกวาและมีตอมขนาดเล็กสีน้ำตาลกระจายทั่วไปเสนแขนงใบขางละ5-10เสนเสนใบยอยแบบรางแหเหน็ชดัเจนทัง้สองดานกานใบยาว1.5-3ซม.ดานบนเปนรองตืน้ๆ มีขนสนีำ้ตาลแดง

หนาแนนชอดอกแบบชอกระจุกแยกแขนงแตดูคลายชอเชิงหลั่นออกที่ปลายกิ่งยาว5-12ซม.กานชอดอกยาว1-4ซม.กานและแกนชอมีตอมขนาดเล็กสีน้ำตาลหนาแนนดอกเล็กสีขาวหรือขาวอมเขียวมีจำนวนมากกานดอกยาว1-5มม.ใบประดับรูปไขรูปแถบหรือรูปแถบแกมรูปใบหอกยาวไดถึง1ซม.ใบประดับยอยรูปแถบหรือรูป

แถบแกมรปูใบหอกยาว1-2มม.ทัง้ใบประดบัและใบประดบัยอยรวงงายกลบีเลีย้งโคนเชือ่มตดิกนัเปนรปูระฆงัยาว1.5-2มม.ปลายแยกเปนแฉกเล็กๆ5แฉกขนาดเกือบเทากันปลายแหลมหรือมนมีขนสั้นนุมและตอมขนาดเล็ก

สีน้ำตาลทั้งสองดานกลีบดอกรูปปากเปดยาว2.5-5มม.โคนเชื่อมติดกันเปนหลอดรูประฆังแคบปลายแยกเปน4แฉกแฉกบน1แฉกแฉกลาง3แฉกผิวดานนอกหลอดและแฉกกลีบดอกมีขนสั้นประปรายคอหลอดดอกมีขนอุยสีขาวหนาแนนเกสรเพศผูมี2คูยาวไมเทากันยื่นยาวพนหลอดดอกกานชูอับเรณูเรียวยาวอับเรณูรูปไขรังไขอยู

เหนือวงกลีบรูปไขกลับหรือเกือบกลมเกลี้ยงหรือมีขนและตอมสีเหลืองประปรายมี2คารเพลเชื่อมติดกันมี4ชองแตละชองมีออวุล1เม็ดยอดเกสรเพศเมียเปน2แฉกสั้นๆ ผลคลายผลผนังชั้นในแข็งรูปไขหรือเกือบกลมเสนผาน

ศูนยกลาง5-6มม.ผลแกสีมวงดำมีกลีบเลี้ยงติดทนเมล็ด4เมล็ดขนาดเล็ก

นิเวศวิทยา พบขึ้นตามริมลำธารในปาดิบแลงหรือปาเบญจพรรณ ความสูงตั้งแตใกลระดับน้ำทะเลจนถึงประมาณ1,000ม.ออกดอกระหวางเดือนกุมภาพันธ-มิถุนายนเปนผลระหวางเดือนเมษายน-

ตุลาคมประโยชน รากใชทำดามมีด เนื้อไมใชสรางบาน อุปกรณเกี่ยวกับการเกษตร ไมพาย และเฟอรนิเจอร ใน

อินเดียใชทำกระสวยเครื่องทอผาและหลอดดาย

อินเดียศรีลังกาบังคลาเทศพมาจีนตอนใตไทยภูมิภาคอินโดจีนชวาและฟลิปปนส

คางแมวปูผามันไกมันพราวมันหมูหมูมัน

ที่มา ชื่อสกุลมีที่มาจากภาษากรีกคำวาpremnonแปลวาลำตนหรือตอไมอาจหมายถึงตนไมในสกุล

นี้ที่สวนใหญมีลักษณะเตี้ยคำระบุชนิดmollissimaแปลวามีขนนุมซึ่งอาจหมายถึงขนที่ใบ

การกระจายพันธุ

ชื่อพอง PremnalatifoliaRoxb.,P.mucronataRoxb.,P.viburnoidesWall.exSchauer

ประเทศไทย พบทางภาคเหนือภาคตะวันออกเฉียงเหนือภาคกลางภาคตะวันออกเฉียงใตและภาคตะวันตกเฉียงใต

Page 123: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี114

Labiatae

Page 124: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 115

ขาเปยนุมPremna nana Collett & Hemsl.

ไมลมลุกอายุหลายปสูงไดถึง80ซม.มีเหงาใตดินซึ่งชวยปองกันไฟในฤดูแลงกิ่งมีขนสีน้ำตาลอมเหลือง

หนาแนนใบเดี่ยวเรียงตรงขามสลับตั้งฉากรูปไขกลับแกมรูปขอบขนานถึงรูปชอนกวาง2.5-12ซม.ยาว8.5-20

ซม. ปลายแหลมมนหรือกลม โคนรูปลิ่ม ขอบใบจักฟนเลื่อยถึงหยักมนถี่ตั้งแตกลางใบขึ้นไปหรือพบนอยที่ขอบเรียบแผนใบมีขนสั้นนุมและตอมสีเหลืองเสนแขนงใบขางละ5-10เสนกานใบหนายาวไดถึง2ซม.เปนรองตื้นๆทางดานบนชอดอกแบบชอกระจุกแยกแขนงดูคลายชอเชิงลดหลั่นออกที่ปลายกิ่งกวาง2-5ซม.กานชอดอกยาว

5-12มม.มีขนละเอยีดหนาแนนดอกเมือ่ตมูสมีวงบานแลวเปนสขีาวอมเขยีวมีตัง้แตจำนวนนอยถงึดอกจำนวนมากใบประดับรูปแถบถึงรูปใบหอกยาว3-8มม.กลีบเลี้ยงโคนเชื่อมกันเปนรูปถวยยาว2.5-4มม.ดานนอกมีขนสั้นนุม

และตอมสีเหลืองปลายแยกเปน5แฉกแฉกบน3แฉกแฉกลาง2แฉกกลีบทั้งหมดรูปไขแกมรูปรีปลายมนกลีบดอกรูปปากเปดยาว4-7มม.โคนเชื่อมกันเปนหลอดรูประฆังดานนอกมีขนละเอียดปลายหลอดแยกเปน4แฉกแฉกบน1แฉกปลายเวาตื้นแฉกลาง3แฉกปลายมนคอหลอดดอกมีขนอุยหนาแนนเกสรเพศผูมี2คูยาวไม

เทากันยื่นยาวพนหลอดดอกเล็กนอยกานชูอับเรณูหนาอับเรณูรูปไขรังไขอยูเหนือวงกลีบรูปไขกลับรูปไขหรือเกือบกลมเกลี้ยงหรือมีขนและตอมสีเหลืองประปรายมี2คารเพลเชื่อมติดกันมี4ชองแตละชองมีออวุล1เม็ด

ยอดเกสรเพศเมียเปน2แฉกผลคลายผลผนังชั้นในแข็งรูปไขกลับรูปไขหรือเกือบกลมเสนผานศูนยกลาง3-5มม.ผลแกสีมวงดำมีกลีบเลี้ยงติดทนเมล็ดขนาดเล็ก

นิเวศวิทยา พบตามที่คอนขางโลงในปาเต็งรังปาเบญจพรรณปาดิบแลงหรือปาสนเขาความสูงตั้งแตใกลระดบันำ้ทะเลจนถงึประมาณ1,700ม.ออกดอกระหวางเดอืนมกราคม-มถินุายนเปนผลระหวาง

เดือนกุมภาพันธ-สิงหาคม

อินเดียภูฏานพมาจีนตอนใตไทยภูมิภาคอินโดจีน

ที่มา ชื่อสกุลPremnaมีที่มาเชนเดียวกันกับจันมัน(PremnamollissimaRoth)สวนคำระบุชนิดnanaแปลวาแคระหมายถึงลักษณะพืชชนิดนี้ที่เปนพุมเตี้ย

การกระจายพันธุ

ชื่อพอง Pygmaeopremnanana(Coll.&Hemsl.)Moldenke

ประเทศไทย พบแทบทุกภาคยกเวนภาคใต

Page 125: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี116

Labiatae

Page 126: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 117

แพงเครือSphenodesme mollis Craib

ไมเลื้อยกิ่งออนมีขนสั้นนุมเมื่อแกเกลี้ยงเปลือกมีชองอากาศใบเดี่ยวเรียงตรงขามสลับตั้งฉากรูปขอบขนานแกมรูปรีกวาง4-8.5ซม.ยาว5-12ซม.ปลายแหลมหรือเรียวแหลมโคนรูปลิ่มขอบเรียบหรือหยักเล็กนอย

ที่ใกลปลายใบแผนใบบางคลายกระดาษถึงกึ่งหนาคลายแผนหนังผิวดานบนมีขนยาวหางดานลางมีขนสั้นนุมหรือมีขนหนานุมเสนแขนงใบขางละ5-6เสนเห็นชัดเจนทางดานลางกานใบยาว0.5-1.2ซม.มีขนสั้นหนานุมชอดอกแบบชอแยกแขนงออกที่ซอกใบและปลายกิ่งชอยอยแบบชอกระจุกกานและแกนชอดอกมีขนสั้นนุมหนาแนนชอ

กระจุกมี7ดอกวงใบประดับมี6ใบรูปชอนถึงรูปชอนแกมรูปใบหอกกลับกวาง6-10มม.ยาว2.5-4ซม.ปลายมีติ่งแหลมออนมีขนสั้นหนานุมกลีบเลี้ยงโคนเชื่อมติดกันเปนหลอดยาวประมาณ5มม.ผิวหลอดดานนอกมีขนสั้น

นุมหนาแนนดานในมีขนสั้นนุมตั้งแตบริเวณกึ่งกลางขึ้นไปสวนลางเกลี้ยงปลายหลอดแยกเปน5แฉกหลักปลายแฉกเปนซี่ฟน 2 ซี่ ระหวางแฉกหลักมีแฉกยอยเปนหยักซี่ฟน 5 หยัก กลีบดอกโคนเชื่อมติดกันเปนรูปกรวย ยาวประมาณ8มม.ดานนอกเกลี้ยงดานในมีขนอุยบริเวณปากหลอดปลายหลอดแยกเปน5แฉกแฉกรูปขอบขนาน

ขอบเปนขนครุยเกสรเพศผู5อันรังไขอยูเหนือวงกลีบคอนขางกลมมีขนแข็งมี2ชองที่ไมสมบูรณมีออวุล4เม็ดกานเกสรเพศเมียเรียวเล็กยาว6-7มม.ยอดเกสรเพศเมียเปน2แฉกผลมีกลีบเลี้ยงติดทนหุมมีขนประปรายเมล็ด

1-2เมล็ดขนาดเล็ก

นิเวศวิทยา พบตามปาละเมาะ เขาหินปูน ปาเต็งรัง ปาเบญจพรรณปาดิบแลง ความสูงตั้งแตใกลระดับน้ำทะเลจนถึงประมาณ900ม.ออกดอกและเปนผลระหวางเดือนตุลาคม-มกราคม

ประเทศไทย ภาคตะวันออก: นครราชสีมา; ภาคตะวันออกเฉียงใต: จันทบุรี ชลบุรี; ภาคกลาง: สระบุรีสุพรรณบุรี;ภาคตะวันตกเฉียงใต:กาญจนบุรีราชบุรีเพชรบุรีประจวบคีรีขันธ

ที่มา ชื่อสกุลมาจากภาษากรีกคำวา sphen แปลวาลิ่ม และคำวา desme แปลวาเปนมัดหรือแถบรวมความหมายถงึดอกทีม่สีวนที่เปนมดัหรอืแถบรูปลิม่ซึง่อาจหมายถงึวงใบประดบัที่มี6ใบสวนคำระบุชนิดmollisแปลวามีขนนุมซึ่งหมายถึงขนที่ใบ

ชื่อพอง S.annamiticaDop,S.smitinandiiMoldenke

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ กระดูกแตกตานซานพูหีบโพไซคุยสะแกใบดำสะแกวน

ชื่อสามัญ Hairysphenodesme

ไทยเวียดนามการกระจายพันธุ

Page 127: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี118

Labiatae

Page 128: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 119

สวองVitex limonifolia Wall. ex Schauer

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ

ไมตนขนาดกลางถงึขนาดใหญสงูไดถงึ20ม.เปลอืกสเีทาหรอืเทาดำใบประกอบเรยีงตรงขามสลบัตัง้ฉาก

มี3-5ใบยอยใบรูปรีรูปใบหอกหรือรูปไขกวาง2-8ซม.ยาว5-20ซม.ปลายแหลมหรือเรียวแหลมโคนสอบหรือ

สอบเรียวขอบเรียบใบยอยตรงกลางมีขนาดใหญสุดแผนใบบางคลายกระดาษถึงหนาคลายแผนหนังผิวดานบนมีขนประปรายดานลางมีขนสัน้นุมและตอมสีเหลอืงหนาแนนเสนแขนงใบขางละ10-18เสนชดัเจนทางดานลางกาน

ชอใบมีครีบแผเปนปกดานขางกวาง2-3ซม.ยาว2-5ซม.มีขนหนาแนนไมมีกานใบยอยชอดอกแบบชอแยกแขนงออกที่ปลายกิ่งชอยาว10-20ซม.กานชอดอกยาวไดถึง10ซม.กานและแกนชอมีขนใบประดับรูปใบหอกหรือรูป

แถบแกมรูปขอบขนานยาวประมาณ1ซม.ใบประดับยอยรูปใบหอกยาว1-2มม.ชอดอกยอยแบบชอกระจุกดอก

ออกรอบแกนเปนกระจุกแนนกานดอกยาว1-5มม.กลีบเลี้ยงโคนเชื่อมกันเปนรูประฆังผิวดานนอกมีขนผิวดานในเกลี้ยงปลายหลอดกลีบเลี้ยงแยกเปน5แฉกรูปไขกลีบดอกสีขาวอมมวงยาว1.5-2.5มม.โคนเชื่อมกันเปนหลอด

รูปกรวยผิวดานนอกมีขนเล็กนอยหรือเกลี้ยงดานในมีขนยาวหนาแนนปลายหลอดแยกเปน5แฉกกลีบบน2กลีบและกลีบขาง2กลีบรูปไขขนาดเทาๆกันกลีบดานลางกลมหรือเกือบกลมขนาดใหญกวากลีบอื่นมีขนสีมวงยาว

เกสรเพศผู4อันโคนกานชูอับเรณูมีขนยาวอับเรณูสีมวงดำรังไขอยูเหนือวงกลีบกลมหรือเกือบกลมปลายมีขน

คารเพล2คารเพลเชื่อมติดกันแตละคารเพลมี2ชองและมีออวุล2เม็ดผลแบบผลผนังชั้นในแข็งกลมเสนผานศูนยกลางประมาณ5มม.สุกสีดำ

นิเวศวิทยา พบตามเตง็รงัปาเบญจพรรณปาดบิแลงความสงูจากระดบันำ้ทะเล50-800ม.ออกดอกระหวางเดือนมีนาคม-สิงหาคมเปนผลระหวางเดือนพฤษภาคม-ตุลาคม

ประโยชน เนื้อไมใชในการกอสรางทำเครื่องมือเครื่องใชตางๆเปลือกตนเขายาประดงแกปวดเมื่อย

พมาไทยภูมิภาคอินโดจีน

ตีนนกสมอตีนเปดสมอนนสมอหลวงสวองตีนเปดสวองใหญสวองหิน

ประเทศไทย พบทุกภาค

ที่มา ชื่อสกุลมีที่มาจากชื่อในภาษาลาตินVitexซึ่งใชเรียกchastetree(Vitexagnus-castus)ซึ่งเปนไมในแถบเมดิเตอเรเนียนหรือใชเรียกไมพุมชนิดอื่นๆที่ลักษณะคลายกันสวนคำระบุชนิด limonifoliaแปลวาคลายใบของพืชในสกุลLimonium(Plumbaginaceae)

การกระจายพันธุ

Page 129: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี120

Labiatae

Page 130: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 121

กาสามปกVitex peduncularis Wall. ex Schauer

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ

ไมตนขนาดเลก็ถงึขนาดกลางสงูไดถงึ20ม.เปลอืกสเีทาหรอืสนีำ้ตาลเนือ้ไมสแีดงอมเทาถงึสนีำ้ตาลออนกิ่งออนเปนสี่เหลี่ยมมีขนประปรายใบประกอบแบบนิ้วมือเรียงตรงขามสลับตั้งฉากมี3หรือ5ใบยอยรูปใบหอก

รูปขอบขนานหรือรูปรีกวาง3-4.5ซม.ยาว6-15ซม.ปลายแหลมโคนรูปล่ิมหรือสอบเรียวขอบเรียบใบยอยขนาดไมเทากันแผนใบตรงกลางมีขนาดใหญสุดแผนใบบางคลายกระดาษมีตอมโปรงแสงใบแกดานบนเกลี้ยงดานลาง

มีขนตามเสนกลางใบเสนแขนงใบขางละ10-12เสนกานชอใบยาว4-8ซม.มีขนแข็งหรือเกลี้ยงกานใบยอยมีตั้งแตสั้นมากจนยาวไดถึง7มม.ชอดอกแบบชอแยกแขนงออกตามซอกใบเปนชอเดี่ยวๆหรือออกเปนคูๆยาว8-25ซม.แตกแขนงเปนคูตรงขามหรือเกือบตรงขาม7-12คูแตละแขนงแตกแขนงยอยเปนคูๆอีก1-3คูกานชอดอก

ยาว3-10ซม.ใบประดับยอยรูปแถบยาว1-3มม.มีขนละเอียดดอกมีกลิ่นหอมกลีบเลี้ยงยาว1.5-2มม.โคนเชื่อมกันเปนรูประฆังผิวดานนอกมีขนและมีตอมสีเหลืองปลายหลอดแยกเปน5แฉกไมชัดเจนลักษณะคลายตัดกลีบ

ดอกสีขาวเปลี่ยนเปนสีเหลืองหรือนวลเมื่อแกยาวประมาณ5มม.โคนเชื่อมกันเปนหลอดรูปกรวยผิวดานนอกมีขนประปรายและมีตอมสีเหลืองดานในมีขนยาวปลายหลอดแยกเปน5แฉกกลีบบน2กลีบและกลีบขาง2กลีบรูปไข กลีบขางขนาดใหญกวากลีบบนเล็กนอย กลีบดานลางกลมหรือเกือบกลม ขนาดใหญกวากลีบอื่น โคนกลีบสี

เหลือง เกสรเพศผู 4 อัน โคนกานชูอับเรณูมีขนยาวอับเรณูสีมวงดำ รังไขอยูเหนือวงกลีบ กลมหรือรี คารเพล 2

คารเพลเชื่อมติดกันแตละคารเพลมี2ชองและมีออวุล2เม็ดผลแบบผลผนังชั้นในแข็งกลมเสนผานศูนยกลาง5-8มม.สุกสีแดงถึงมวงดำรสขมเมล็ดแข็ง

นิเวศวิทยา พบตามปาเตง็รงัปาเบญจพรรณและปาดบิแลงความสงูจากระดบันำ้ทะเล100-900ม.ออกดอกระหวางเดือนมีนาคม-มิถุนายนเปนผลระหวางเดือนพฤษภาคม-พฤศจิกายน

ประโยชน เปลือกและใบตมใชเปนยาลดไข เนื้อไม ใชตกแตงภายใน ทำพื้น กรอบหนาตาง เครื่องเรือน

เครื่องมือทางการเกษตรใบรับประทานเปนผักผลสุกรับประทานได

อินเดียบังคลาเทศพมาไทยภูมิภาคอินโดจีนและคาบสมุทรมลายู

กาจับลักกาสามซีกแคตีนนกตีนกาตีนนกตีนนกผูมะยางสมอตีนเปดสมอหวองหาชั้น

ที่มา ชื่อสกุลVitexมีที่มาเชนเดียวกันกับสวอง(VitexlimonifoliaWall.exSchauer) คำระบุชนิดpeduncularisแปลวาชอดอกมีกานชอที่เดนชัด

การกระจายพันธุ

ชื่อสามัญ Longspikechastetree

ประเทศไทย พบทุกภาค

Page 131: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี122

Labiatae

Page 132: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 123

อีแปะVitex scabra Wall. ex Schauer

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ

ไมตนขนาดเล็กถึงขนาดกลางสูง10-15ม. โคนตนมักเปนพูพอนและมีหนามแข็ง เปลือกเรียบหรือแตก

เปนสะเก็ดเล็กนอยใบประกอบเรียงตรงขามสลับตั้งฉากมี3-5ใบยอยใบรูปรีหรือรูปไขกลับกวาง2-5ซม.ยาว

3-10ซม.ปลายแหลมเรยีวแหลมหรอืยาวคลายหางโคนสอบเรยีวหรอืแหลมขอบหยกัมนหรอืเรยีบใบยอยตรงกลางมีขนาดใหญสุดและใบยอยคูลางมักมีขนาดเล็กกวาใบยอยอื่นแผนใบบางคลายกระดาษผิวหยาบสากทั้งสองดานมี

ขนสากและมีตอมสีเหลืองกระจายอยูทั่วไปเสนแขนงใบขางละ5-10เสนชัดเจนทั้งสองดานกานชอใบยาว2-5ซม.กานใบยอยยาว1-3มม.ชอดอกแบบชอแยกแขนงออกที่ปลายกิ่งยาว5-10ซม.กานชอดอกยาว2-5ซม.ชอดอก

ยอยแบบชอกระจุกเชิงประกอบใบประดับยอยรูปแถบยาว2-3มม.กานดอกยาว1-2มม.กลีบเลี้ยงยาว3.5-5

มม. โคนเชื่อมติดกันเปนรูปถวย ผิวดานนอกมีขนสั้นและตอมประปราย ผิวดานในแกลี้ยง ปลายหลอดแยกเปน 5แฉกกลีบดอกสีเหลืองเขมหรือเหลืองออนยาว0.6-1.5ซม.โคนเชื่อมติดกันเปนรูปกรวยผิวดานนอกเกลี้ยงหรือมี

ขนและตอมประปรายดานในมีขนสีขาวปลายหลอดแยกเปน5แฉกกลีบบน2กลีบและกลีบขาง2กลีบรูปไขหรือเกือบกลมกลีบลางรูปกลมขนาดใหญกวากลีบอื่นขอบกลีบหยักโคนกลีบสีเหลืองเกสรเพศผู2คูโคนกานชู

อับเรณูมีขนอับเรณูสีเหลืองเขมรังไขอยูเหนือวงกลีบเกือบกลมคารเพล2คารเพลเชื่อมติดกันแตละคารเพลมี2

ชองและมีออวุล2เม็ดผลรูปรีผลแบบผลผนังชั้นในแข็งผลออนสีเขียวมีจุดสีขาวกระจายทั่วผลผลสุกสีดำมีกลีบเลี้ยงติดทนเมล็ดแข็ง

นิเวศวิทยา พบตามปาเต็งรังปาเบญจพรรณและปาดิบแลงความสูงตั้งแตใกลระดับน้ำทะเลจนถึงประมาณ

500ม.ออกดอกระหวางเดือนมีนาคม-สิงหาคมเปนผลระหวางเดือนเมษายน-ตุลาคม

อินเดียพมาจีนตอนใตไทยภูมิภาคอินโดจีนมาเลเซียและฟลิปปนส

มะคางสะคางหมากเล็กหมากนอย

ประเทศไทย พบทุกภาค

ที่มา ชื่อสกุลVitexมีที่มาเชนเดียวกันกับสวอง(VitexlimonifoliaWall.exSchauer)คำระบุชนิดscabraแปลวามีขนสากหมายถึงขนสากที่ใบ

การกระจายพันธุ

ประโยชน ตนเล็กนำมาดัดเปนไมกระถางประดับได

Page 133: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี124

Lecythidaceae

Page 134: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 125

กระโดนCareya sphearica Roxb.

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ

ไมตนผลดัใบขนาดกลางสงูไดถงึ20ม.เปลอืกสนีำ้ตาลปนเทาใบเดีย่วเรยีงเวยีนชดิกนัเปนกลุมใกลปลายกิ่งรูปไขกลับหรือรูปไขกลับแกมรูปขอบขนานกวาง10-15ซม.ยาว10-25ซม.ปลายมนหรือแหลมโคนสอบหรือสอบเรียวขอบหยักมนถี่แผนใบหนาคลายแผนหนังผิวเกลี้ยงทั้งสองดานเสนแขนงใบขางละ8-15เสนเสนใบยอย

แบบรางแหชดัเจนทางดานลางกานใบยาว1.5-4ซม.เกลีย้งใบกอนรวงมีสแีดงชอดอกแบบชอเชิงลดสัน้มากออก

ที่ปลายกิง่จำนวนดอก3-8ดอกลกัษณะดูคลายเปนดอกเดีย่วดอกบานกลางคนืและรวงในตอนเชาใบประดบัรปูไขกลับเกลี้ยงกลีบเลี้ยงโคนเชื่อมติดกันเปนหลอดยาว0.7-1ซม.ปลายแยกเปน4กลีบรูปไขยาว8-10มม.หนากลีบดอก4กลีบสีเขียวอมเหลืองออนรูปขอบขนานหรือรูปชอนกวาง1-3ซม.ยาว4-5ซม.ปลายมนเกสรเพศผูจำนวนมากยาว4-5ซม.โคนเชื่อมติดกันสวนที่เชื่อมกันสีชมพูอมแดงปลายแยกเปนอิสระสีขาวหรือขาวอมชมพู

อับเรณูขนาดเล็กรังไขอยูใตวงกลีบมี4ชองแตละชองมีออวุลจำนวนมากกานเกสรเพศเมียยาว4-6ซม.ผลแบบ

ผลมีเนื้อหนึ่งถึงหลายเมล็ด กลม เสนผานศูนยกลาง 5-7 ซม. มีกลีบเลี้ยงติดทนและกานเกสรเพศเมียติดอยูที่ปลายผลเมล็ดรูปรีแบนกวางประมาณ1ซม.ยาวประมาณ1.5ซม.

นิเวศวิทยา พบตามปาเต็งรังและปาเบญจพรรณ ความสูงตั้งแตใกลระดับน้ำทะเลจนถึงประมาณ 500 ม.ออกดอกระหวางเดือนมกราคม-เมษายนและเปนผลระหวางเดือนกุมภาพันธ-มิถุนายน

ประโยชน เนื้อไมใชสรางบาน ทำอุปกรณการเกษตร เปลือกใหเสนใยใชทำเชือก ใบออน ดอกออนรบัประทานเปนผกัสดดานสมนุไพรเปลอืกแกไขเปนยาสมานแกพษิงูใบรกัษาแผลสดดอกเปนยาบำรุง

กะนอนปุยปุยกระโดนปุยขาวหูกวาง

ที่มา ชื่อสกุลตั้งใหเปนเกียรติแกผูเก็บพรรณไมชาวอังกฤษชื่อWilliamCarey(1761-1834)ซึ่งเปนผูกอตั้งสวนพฤกษศาสตรSeramporeในอินเดียสวนคำระบุชนิดsphearicaแปลวาทรงกลม

ซึ่งอาจหมายถึงผลของกระโดนที่มีลักษณะกลม

ชื่อสามัญ Tummy-wood

ชื่อพอง C.arboreaRoxb.

อินเดียภูฏานพมาไทยภูมิภาคอินโดจีนและคาบสมุทรมลายู

ประเทศไทย พบทุกภาค

การกระจายพันธุ

Page 135: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี126

Leguminosae

Page 136: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 127

ฝางCaesalpinia sappan L.

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ

ไมตนขนาดเล็กไมพุมหรือไมพุมกึ่งไมเถาสูงไดถึง10ม.กิ่งมีหนามโคงสั้นๆใบประกอบแบบขนนกสองชั้นเรียงเวียนแกนชอใบยาว20-40ซม.มีชอใบยอย8-15คูแตละชอใบมีใบยอย5-18คูเรียงตรงขามใบยอยรูป

ขอบขนานกวาง5-10มม.ยาว8-20มม.ปลายใบกลมถึงเวาตื้น โคนตัดและเบี้ยวขอบเรียบแผนใบบางคลายกระดาษเกลี้ยงหรือมีขนประปรายทั้งสองดานกานใบสั้นมากหรือไมมีกานหูใบยาว3-4มม.รวงงายชอดอกแบบ

ชอแยกแขนงออกที่ปลายกิ่งและซอกใบใกลปลายกิ่งชอยาวไดถึง40ซม.ใบประดับรูปใบหอกรวงงายยาว5-8มม.ปลายเรียวแหลมมีขนกานดอกยอยยาว1.2-1.8ซม.มีขนสั้นนุมมีขอตอหรือเปนขอที่ใกลปลายกานกลีบเลี้ยง5กลีบเกลี้ยงขอบมีขนครุยกลีบเลี้ยงกลีบลางสุดขนาดใหญสุดและเวามากกวากลีบอื่นกลีบดอก5กลีบสีเหลือง

รูปไขกลับกวาง6-10มม.ยาว9-12มม.ผิวกลีบยนกลีบกลางขนาดเล็กกวามีกานกลีบดานในมีขนจากโคนไปถึงกลางกลีบเกสรเพศผู10อันแยกเปนอิสระกานชูอับเรณูมีขนรังไขอยูเหนือวงกลีบมีขนสั้นนุมมี1ชองมีออวุล

3-6เม็ดฝกรูปขอบขนานแกมรูปไขกลับแบนกวาง3-4ซม.ยาว5-8.5ซม.ปลายตัดเฉียงมีจะงอยแหลมที่ปลายดานหนึ่งเมล็ด2-4อันรูปรีกวาง0.8-1ซม.ยาว1.5-1.8ซม.

นิเวศวิทยา พบตามปาละเมาะเขาหินปูนปาเต็งรังปาดิบแลงและพบปลูกตามหมูบานออกดอกระหวาง

เดือนมิถุนายน-ธันวาคมและเปนผลระหวางเดือนสิงหาคม-พฤษภาคม

ประโยชน ปลูกเปนรั้ว เนื้อไมใหสีแดง รากใหสีเหลือง ใชทำสียอมผาและไหม ใชเปนสีผสมอาหารและเครื่องดื่ม สรรพคุณดานสมุนไพร เนื้อไมเปนสวนผสมหลักในยาบำรุงหลังคลอดบุตร ผสมกับปูนขาวบดทาหนาผากหลังคลอดบุตรชวยใหเย็นศีรษะและลดอาการเจ็บปวด

พบทุกภาค

ขวางงายฝางสมหนามโคง

ประเทศไทย

อาฟริกาศรีลังกาอินเดียพมาจีนตอนใตไทยภูมิภาคอินโดจีนคาบสมุทรมลายูฟลิปปนส

ที่มา ชื่อสกุลตั้งใหเปนเกียรติแกนักพฤกษศาสตรและนักปรัชญาชาวอิตาลีชื่อ Andrea Cesalpino

(1519-1603)สวนคำระบุชนิด sappanมีที่มาจากชื่อพื้นเมืองมาเลยคำวา sepangที่ใชเรียกฝาง

การกระจายพันธุ

ชื่อสามัญ Sappantree,Sappanwood,Narrow-leavedbraziletto,Indianredwood,Falsesan-

dalwood,Brazil-wood,Bukkumwood

Page 137: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี128

Leguminosae

Page 138: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 129

อัญชันปาClitoria macrophylla Wall. ex Benth.

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ

ไมลมลุกลำตนตั้งตรงหรือเลื้อยมีขนใบประกอบแบบขนนกเรียงเวียนมี3ใบยอยพบบางที่ใบลางๆ

มีหนึ่งใบยอยกานชอใบยาว3-5ซม.ใบยอยรูปขอบขนานหรือรูปไขกลับแกมรูปขอบขนานกวาง3-7ซม.ยาว5.5-15ซม.ปลายใบแหลมหรอืเรยีวแหลมโคนมนหรอืรปูหวัใจตืน้ๆ ขอบเรยีบแผนใบหนากึง่คลายแผนหนงัผวิดานบน

เกลี้ยงดานลางมีขนเสนแขนงใบขางละ15-20เสนกานใบยอยยาว2-5มม.หูใบรูปสามเหลี่ยมหรือรูปใบหอกยาว3-4มม.หูใบยอยเปนเสนเล็กๆ ยาวประมาณ1ซม.ชอดอกออกที่ซอกใบมี3-6ดอกตอชอกานชอดอกยาว0.5-1

ซม.กานดอกยอยยาว3-4มม.ใบประดับรูปไขหรือรูปใบหอกยาว0.5-1ซม.เหนียวคลายแผนหนังผิวดานนอกมีขนใบประดับยอยขนาดเล็กกลีบเลี้ยงโคนเชื่อมกันเปนหลอดยาว0.8-1ซม.ผิวดานนอกมีขนปลายหลอดแยกเปน5แฉกรูปใบหอกกวาง2-3มม.ยาว0.8-2ซม.ปลายเรียวแหลมกลีบเลี้ยงคงอยูจนกระทั่งเปนผลกลีบดอก5

กลีบสีขาวแกมเหลืองกลีบกลางรูปไขกลับกวาง1.5-2.5ซม.ยาว2-3.5ซม.ผิวดานในเกลี้ยงดานนอกมีขนกลีบขางรูปใบหอกกลับกวางประมาณ5มม.ยาว2-2.5ซม.ผิวเกลี้ยงโคนกลีบมีติ่งกลีบคูลางรูปใบหอกกลับกวาง

4-5มม.ยาว1.5-2ซม.ผิวเกลี้ยงโคนกลีบคอดเปนกานยาวเกสรเพศผู10อันแยกเปน2กลุม(9+1)รังไขอยูเหนอืวงกลบีมีกานรงัไขมี1ชองมีออวลุ2ถงึจำนวนมากกานเกสรเพศเมยีรปูเสนดายมีขนที่ปลายฝกแบนเกลีย้งกวาง 4-7 มม. ยาว 4.5-7.5 ซม. โคนฝกมีกาน ปลายฝกเปนจะงอยแหลม เมล็ดสีน้ำตาล ยาว 3-4 มม. มี 6-8

เมล็ด

นิเวศวิทยา พบทั่วไปตามพื้นปาเต็งรังความสูงตั้งแตใกลระดับน้ำทะเลจนถึงประมาณ700ม.ออกดอกและเปนผลระหวางเดือนเมษายน-กันยายน

ประโยชน ชาวเผาอาขาใชใบชงชาดื่ม

พบแทบทุกภาคยกเวนภาคใต

กองขาวเย็นหมากแปบผีหำพะยาวเอื้องชันปา

พมาไทยลาวเวียดนามและกัมพูชา

ที่มา ชื่อสกุลมีที่มาจากภาษากรีกคำวา kleitoris, kleitoridos แปลวา clitoris รวมความหมายถึงรูปรางลักษณะของดอกที่ดูคลายสวนคำระบุชนิดmacrophyllaแปลวามีใบใหญ

การกระจายพันธุ

ประเทศไทย

Page 139: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี130

Leguminosae

Page 140: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 131

ซาดErythrophleum succirubrum Gagnep.

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ

ไมตนขนาดกลางถึงขนาดใหญสูงไดถึง30ม.มีน้ำยางสีแดงใบประกอบแบบขนนกสองชั้นเรียงเวียนมี

ชอใบออกตรงขามกัน2-3คูแกนกลางยาว10-22ซม.มีขนสั้นนุมแตละชอแขนงยาว10-20ซม.มีใบยอย8-10ใบติดเยื้องกันใบรูปไขกวาง3-4.5ซม.ยาว6.5-9ซม.ปลายแหลมมนบางครั้งเวาตื้นโคนกลมไมเทากันหรือบางครัง้รปูหวัใจขอบเรยีบแผนใบหนาคลายแผนหนงัมีขนสัน้นุมทัง้สองดานกานใบยอยยาวประมาณ2มม.ชอดอก

แบบชอเชิงลดออกที่ซอกใบชอยาว12-20ซม.มีขนสั้นหนานุมฐานดอกยาวประมาณ1มม.มีขนสั้นหนานุมดอกสีเหลืองออนกลีบเลี้ยง5กลีบรูปขอบขนานยาวประมาณ1.5มม.ปลายกลมขอบเปนขนครุยกลีบดอก5กลีบ

รปูแถบถงึรปูชอนยาวประมาณ3มม.ขอบเปนขนครยุเกสรเพศผู10อนัแยกจากกนัเปนอสิระกานชูอบัเรณูเกลีย้งอับเรณูมีขอบสีน้ำตาลรังไขอยูเหนือวงกลีบยาวประมาณ1มม.ไมมีกานมีขนหยาบแข็งมี1ชองมีออวุล6-10เม็ดฝกรูปขอบขนานแบนกวาง2.5-3ซม.ยาว15-18ซม.มีกานผลยาวประมาณ5มม.เมล็ด5-8เมล็ดกวาง

8-9มม.ยาว1.2-1.5ซม.

นิเวศวิทยา พบตามปาเต็งรังและปาเบญจพรรณระดับความสูงตั้งแตใกลระดับน้ำทะเลจนถึงประมาณ500ม.ออกดอกระหวางเดือนมีนาคม-มิถุนายนเปนผลระหวางเดือนกรกฎาคม-ตุลาคม

ประโยชน เนื้อไมใชทำเสารั้วใชสรางบานทำคานทำพื้นใชทำสะพานไมหมอนรองรางรถไฟทำเรือและดามเครื่องมือใบและเมล็ดมีสารพิษกินเขาไปเปนอันตรายถึงตายไดบางพื้นที่ใชใบผูกลอมเรือนอยูไฟของแมลูกออนโดยมีความเชื่อวากันผีปอบเขา

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ:นครพนม;ภาคตะวันออก:นครราชสีมาสุรินทรและอุบลราชธานี;ภาคตะวันตกเฉียงใต:เพชรบุรีราชบุรี

ครากซากเตรี๊ยะพันซาด

ประเทศไทย

ไทยลาวกัมพูชา

ที่มา ชื่อสกุลมีที่มาจากภาษากรีกerythrosแปลวาสีแดงและphloiosแปลวาเปลือกไมหมายถึงน้ำยางสีแดงของตนไมในแถบอาฟริกาบางชนิดสวนคำระบุชนิดsuccirubrumแปลวามีน้ำยาง

สีแดงอำพัน

การกระจายพันธุ

ชื่อพอง Erythrophleumteysmannii(Kurz)Craibvar.puberulumCraib

Page 141: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี132

Leguminosae

Page 142: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 133

ครามIndigofera wightii Grah. ex Wight & Arn.

ไมพุมขนาดเล็กลำตนตั้งตรงมีขนสั้นนุมสีเทาใบประกอบแบบขนนกปลายคี่เรียงเวียนมี12-25ใบยอย

เรียงตรงขามใบรูปรีถึงรูปใบหอกแกมรูปขอบขนานหรือรูปไขกลับกวาง2-6มม.ยาว4-9มม.ปลายมนเปนติ่งแหลมออน โคนมนหรือแหลม ขอบเรียบ แผนใบบางคลายกระดาษมีขนสั้นสีเทาถึงขนคลายไหมทั้งสองดาน เสนแขนงใบไมชัดเจนหูใบรูปสามเหลี่ยมยาว1-2มม.หูใบยอยรูปแถบยาว0.5-1มม.ติดทนกานใบยาว0.5-1มม.

ชอดอกแบบชอกระจะออกที่ซอกใบชอยาว3-10ซม.ใบประดับรูปสามเหลี่ยมแคบยาวประมาณ1มม.รวงงายกานชอดอกสั้นหรือไมมีกานชอดอกดอกยาว4-8มม.กลีบเลี้ยงยาว3-4มม.โคนเชื่อมกันเปนหลอดผิวดานนอก

มีขนคลายไหมปลายแยกเปนแฉก5แฉกรูปคลายสามเหลี่ยมปลายแหลมกลีบดอก5กลีบสีแดงอมสมกลีบกลางรูปรีกวางประมาณ3มม.ยาว4-6มม.มีขนสั้นนุมดานนอกกลีบคูขางรูปขอบขนานกวาง1-1.5มม.ยาว3-4มม.เกลี้ยงกลีบคูลางรูปไขกลับกวาง1.5-2มม.ยาว4-5มม.ผิวดานนอกมีขนหนาแนนขอบกลีบดานบนมีขน

ครยุผวิดานขางมีติง่ลกัษณะคลายถงุเลก็ๆ เกสรเพศผูโคนเชือ่มกนัเปนหลอดยาว3-4มม.ปลายแยกเปนอสิระรงัไขอยูเหนือวงกลีบมีขนมี1ชองมีออวุล8-12เม็ดผลรูปทรงกระบอกตรงกวาง2-3มม.ยาว1.8-3ซม.มีขนสั้น

สีเทาเมล็ด8-12เมล็ดรูปทรงกระบอกปลายตัด

ที่มา ชื่อสกุลมีที่มาจากคำวา indigo แปลวาสียอมสีน้ำเงิน และคำในภาษาลาติน fero แปลวาให

หมายความวาพืชสกุลนี้ใหสียอมสีน้ำเงิน สวนคำระบุชนิด wightii ตั้งใหเปนเกียรติแก Dr.RobertWight(1796-1872)นกัพฤกษศาสตรชาวสกอตอดตีหวัหนาสวนพฤกษศาสตรเมอืงMadrasในอินเดีย

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ โสนเขา

ชื่อพอง I.pallidaCraib

นิเวศวิทยา พบตามปาเต็งรังความสูงจากระดับน้ำทะเล100-2,000ม.ออกดอกระหวางเดือนกรกฎาคม-กันยายนเปนผลระหวางเดือนสิงหาคม-พฤศจิกายน

ประโยชน ใบใชยอมผาใหสีน้ำเงิน

ภาคเหนือ:ตากลำปาง;ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ:สกลนครเลย;ภาคตะวันออก:อุบลราชธานี

บุรีรัมยชัยภูมิ;ภาคตะวันตกเฉียงใต:เพชรบุรีราชบุรีอุทัยธานีประเทศไทย

ศรีลังกาอินเดียพมาจีนตอนใตไทยลาวกัมพูชาเวียดนามการกระจายพันธุ

Page 143: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี134

Leguminosae

Page 144: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 135

ขะเจาะMillettia leucantha Kurz var. latifolia (Dunn) P. K. Lôc

ไมตนขนาดเล็กสูงไดถึง20ม.เปลือกเรียบสีเทากิ่งออนเกลี้ยงหรือเกือบเกลี้ยงมีชองอากาศใบประกอบแบบขนนกปลายคี่เรียงสลับแกนชอใบยาว7-15ซม.กานชอใบยาว3-5ซม.โคนกานบวมพองใบยอยมี5-7ใบรูปไขหรือรูปไขกลับกวาง1.5-6ซม.ยาว5-15ซม.ปลายมนถึงเรียวแหลมมีติ่งหนามสั้นโคนสอบหรือมนขอบ

เรียบแผนใบบางคลายกระดาษใบออนมีขนใบแกเกลี้ยงเสนแขนงใบขางละ8-12เสนเห็นชัดเจนดานลางกานใบยอยยาว4-5มม.มีขนหูใบรูปแถบแกมรูปขอบขนานยาว2-4มม.ดานนอกมีขนดานในเกลี้ยงหูใบยอยรูปใบ

หอกยาว2-3มม.ดานนอกมีขนหลุดรวงงายชอดอกแบบชอกระจะหรือชอแยกแขนงออกที่ซอกใบยาว15-20ซม.แกนกลางยาว2-3มม.มีขนแตละชอมี4-8ดอกใบประดับรูปแถบแกมรูปขอบขนานรวงงายใบประดับยอยรูปใบหอกติดที่ปลายกานดอกรวงงายผิวดานนอกมีขนกานดอกยอยยาว3-4มม.มีขนดอกสีขาวหรือเหลืองออน

ยาว1.2-1.5ซม.กลีบเลี้ยงรูประฆังกวาง4-5มม.ยาว5-6มม.โคนเชื่อมกันเปนหลอดผิวดานนอกมีขนปลายแยกเปน5แฉกยาว3-5มม.มีขนทั้งสองดานกลีบดอกกลีบกลางรูปเกือบกลมกลีบคูขางปลายมนแยกจากกัน

หรือเชื่อมกันเล็กนอยที่โคนกลีบคูลางเกือบกลมโคนมีติ่งรังไขอยูเหนือวงกลีบมีขนมีกานสั้นมี1ชองมีออวุล4-5เม็ดฝกรูปใบหอกกลับแบนกวาง3-4ซม.ยาว7-12ซม.เกลี้ยงหรือเกือบเกลี้ยงมีชองอากาศปลายเปนจะงอยสั้นโคนมนฝกแตกไดงายผนังเหนียวเมล็ด1-3เมล็ดรูปขอบขนานกวาง5-10มม.ยาว1.5-2ซม.

ที่มา ชือ่สกลุตัง้เพือ่เปนเกยีรติแกนกัเกบ็ตวัอยางพรรณไมชาวองักฤษชือ่Dr.CharlesMillettคำระบุชนิดleucanthaแปลวาดอกสีขาวสวนlatifoliaแปลวาใบกวาง

ชื่อพอง MillettialatifoliaDunn

นิเวศวิทยา พบตามปาเต็งรังปาเบญจพรรณความสูงจากระดับน้ำทะเล100-800ม.ออกดอกและเปนผล

ระหวางเดือนมกราคม-สิงหาคม

ภาคเหนือ: เชียงใหม ตาก แพร ลำปาง กำแพงเพชร นครสวรรค; ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ:ขอนแกนสกลนครมุกดาหาร;ภาคตะวันออก:นครราชสีมาภาคตะวันตกเฉียงใต:กาญจนบุรี

ราชบุรี;ภาคตะวันออกเฉียงใต:ชลบุรี;ภาคกลาง:สระบุรี

ประเทศไทย

ไทยลาวกัมพูชาการกระจายพันธุ

Page 145: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี136

Leguminosae

Page 146: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 137

เกล็ดปลาชอนPhyllodium pulchellum (L.) Desv.

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ

ไมพุมสูงไดถึง2ม.กิ่งมีขนหนาแนนใบประกอบแบบขนนกเรียงสลับมี3ใบยอยแกนชอใบยาว2-3ซม.กานชอใบยาว5-10มม.ใบยอยปลายสดุรปูไขรปูรีหรอืรปูขอบขนานกวาง3-5ซม.ยาว6-10ซม.ปลายแหลมหรือเรียวแหลม โคนมนหรือกลมขอบเรียบบางครั้งเปนคลื่นแผนใบบางคลายกระดาษถึงหนาคลายแผนหนังผิว

ดานบนมีขนสั้นนุมบางๆเมื่อแกเกลี้ยงดานลางมีขนสั้นนุมหนาแนนใบยอยดานขาง2ใบรูปรางคลายใบยอยใบปลายแตขนาดเล็กกวากวาง2-3ซม.ยาว3-5ซม.โคนเบี้ยวเสนแขนงใบขางละ6-10เสนกานใบยอยยาว2-3

มม.หูใบรูปสามเหลี่ยมแคบยาว6-8มม.มีขนหูใบยอยเปนขนแข็งยาวคลายหางยาว2-3มม.ชอดอกออกเปนกระจุก3-5ดอกเรียงอยูบนแกนชอดอกแบบชอกระจะคอนขางยาวดอกแตละกระจุกมีใบประดับคลายใบหุมไว2ใบรูปเกือบกลมกวาง0.6-1.2ซม.ยาว0.8-1.5ซม.ปลายแหลมหรือเวาตื้นโคนกลมหรือรูปหัวใจตื้นมีขนทั้งสอง

ดานมีใบประดับอีกหนึ่งใบอยูปลายสุดลดรูปเปนเสนใบประดับยอยยาว0.5-1มม.มีขนกานดอกยาว2-3มม.กลบีเลีย้งยาว2-3มม.โคนกลบีเชือ่มตดิกนัเปนหลอดมีขนยาวหางปลายแยกเปน4แฉกแฉกบนและแฉกขางรปูไข

ปลายแหลมแฉกลางรูปไขแคบยาวกวาแฉกอื่นๆกลีบดอก5กลีบสีขาวหรือเหลืองออนกลีบกลางรูปไขกลับกวาง2.5-4มม.ยาว5-6มม.ปลายกลมมีกานกลีบสั้นๆกลีบคูขางรูปรีแคบกวางประมาณ1มม.ยาว5-6มม.ปลายมนโคนมีติ่งกลีบคูลางยาวเทากับกลีบคูขางแตกวางกวารังไขอยูเหนือวงกลีบมี1ชองมีออวุล2-4เม็ดกาน

เกสรเพศเมียโคงโคนมีขนฝกรูปขอบขนานกวาง4-5มม.ยาว7-8มม.หยักเปนขอ2-4ขอผิวมีขนมีลวดลาย

แบบรางแหชัดเจนเมล็ดรูปรีกวางประมาณ2มม.ยาว2-3มม.

นิเวศวิทยา พบตามปาเต็งรัง ปาเบญจพรรณ ชายปาดิบ ความสูงตั้งแตใกลระดับน้ำระดับน้ำทะเลจนถึงประมาณ1,300ม.ออกดอกและเปนผลระหวางเดือนกรกฎาคม-ธันวาคม

ประโยชน รากตมใชบรรเทาอาการตับทำงานผิดปกติ รักษาอาการผูปวยทางจิต อาการเพอ กลามเนื้อสั่นกระตุกแกปวดฟนเลือดจับตัวเปนลิ่มอาการชักในเด็กทารกเปลือกตมแกอาการตกเลือดถาใชในปริมาณมากมีฤทธิ์เปนพิษแกทองรวงรักษาโรคตาใบใชรักษาแผลผุพองดอกแกอาเจียน

พบทุกภาค

เกล็ดลิ่นใหญลิ่นตนลูกหนีบตนหญาเกล็ดลิ่นหญาสองปลองหางลิ่น

ประเทศไทย

ศรีลังกาอินเดียจีนตอนใตไทยภูมิภาคอินโดจีนภูมิภาคมาเลเซียและออสเตรเลียตอนเหนือ

ที่มา ชือ่สกลุมีที่มาจากภาษากรกีคำวาPhyllonแปลวาใบไมและคำวา-odesแปลวาคลายหมายถงึ

กานใบที่ขยายใหญขึ้นสวนคำระบุชนิดpulchellumแปลวาสวยงามอาจหมายถึงใบประดับที่

เรียงกันเหมือนเกล็ดปลาสวยงาม

การกระจายพันธุ

ชื่อพอง HedysarumpulchellumL.,Desmodiumpuchellum(L.)Benth.,Meiboniapuchella(L.)Kuntze

Page 147: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี138

Leguminosae

Page 148: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 139

แสมสารSenna garettiana (Craib) Irwin & Barneby

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ

ไมตนขนาดเล็กถึงขนาดกลางสูงไดถึง15ม.กิ่งออนมีขนประปรายกิ่งแกเกลี้ยงใบประกอบแบบขนนก

ปลายคูเรียงเวียนใบยอย6-9คูเรียงตรงขามกานชอใบยาว4-5ซม.แกนชอใบยาว12-18ซม.ใบยอยรูปใบหอกถึงรูปไขกวาง1.8-5ซม.ยาว5-10ซม.ปลายแหลมหรือเรียวแหลมโคนกลมขอบเรียบแผนใบกึ่งหนาคลายแผนหนังเกลี้ยงทั้งสองดานเสนแขนงใบขางละ7-9เสนกานใบยอยยาว2-5มม.หูใบรวงงายชอดอกแบบชอกระจะ

เชิงประกอบออกที่ปลายกิ่งชอยาว10-20ซม.ดอกจำนวนมากแกนชอดอกมีขนกำมะหยี่สีเหลืองหนาแนนกานดอกยาว2-3ซม.มีขนสั้นหนานุมใบประดับรูปไขยาวประมาณ4มม.ปลายแหลมรวงงายใบประดับยอยขนาด

เล็กมากกลีบเลี้ยง5กลีบขนาดไมเทากัน2กลีบนอกขนาดเล็กกวายาว4-5มม.3กลีบในรูปรีกวางยาว8-9มม.ดานนอกมีขนประปรายกลีบดอก5กลีบสีเหลืองรูปไขกลับยาว1.5-1.8ซม.มีกานกลีบยาวประมาณ4มม.เกสรเพศผู10อันแยกกันเปนอิสระมี2อันที่ใหญที่สุดกานชูอับเรณูแบนยาวประมาณ7มม.อับเรณูยาว7-9มม.โคง

มีรูเปดที่ปลายอีก5อันที่สั้นกวามีอับเรณูขนาดเล็กกวาเกสรเพศผูที่ลดรูป3อันยาวประมาณ2มม.รังไขอยูเหนือวงกลีบมี1ชองมีออวุลจำนวนมากกานเกสรเพศเมียเกลี้ยงหรือมีขนประปรายฝกรูปขอบขนานแบนผนังบาง

เกลี้ยงกวาง2-4ซม.ยาว15-20ซม.มักบิดเมล็ดประมาณ20เมล็ดสีน้ำตาลกวางประมาณ5มม.ยาวประมาณ9มม.เรียงตามขวาง

นิเวศวิทยา พบตามปาเบญจพรรณและปาเต็งรังความสูงจากระดับน้ำทะเล100-500ม.ออกดอกระหวาง

เดือนพฤษภาคม-สิงหาคมเปนผลระหวางเดือนกรกฎาคม-พฤศจิกายน

ประโยชน เนื้อไมใชทำดามเครื่องมือ ทำเรือ เครื่องแกะสลัก สรรพคุณดานสมุนไพรใบและดอก ขับพยาธิเปนยาถายรักษางูสวัดบำบัดโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว

พบแทบทุกภาคยกเวนภาคใตมักพบปลูกตามริมถนนทั่วไป

ขี้เหล็กโคกขี้เหล็กคันชั่งขี้เหล็กปาขี้เหล็กแพะขี้เหล็กสารไงซาน

ประเทศไทย

ไทยลาวกัมพูชาและเวียดนาม

ที่มา ชื่อสกุลมีที่มาจากชื่อภาษาอารบิคคำวาsanaหรือsannaหมายถึงคุณสมบัติของใบและฝกที่ใชเปนยาระบายคำระบุชนิด garrettianaตั้งใหเปนเกียรติแกH.B.G.Garrettชาวอังกฤษ

อดีตขาราชการกรมปาไมผูซึ่งทำการเก็บตัวอยางพรรณไมทางภาคเหนือของประเทศไทยแถบ

จังหวัดเชียงใหมและเชียงราย

การกระจายพันธุ

ชื่อพอง CassiagarrettianaCraib

Page 149: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี140

Leguminosae

Page 150: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 141

หางกระรอกUraria acaulis Schindl.

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ

ไมลมลุกสูง10-25ซม.ลำตนสั้นมากหรือไมชัดเจนมีขนหยาบแข็งหนาแนนรากมีไหลใบประกอบมี1ใบยอยเรียงเวียนรูปไขกวางหรือเกือบกลมกวาง3-4.5ซม.ยาว3.5-5ซม.ปลายมนมีติ่งหนามโคนรูปหัวใจขอบ

เรียบแผนใบกึ่งหนาคลายแผนหนังมีขนหยาบแข็งทั้งสองดานเสนแขนงใบขางละ5-6เสนมีขนหยาบแข็งกานชอใบยาวเทาหรอืยาวมากกวาแผนใบกานใบยอยยาวประมาณ5มม.หูใบรปูสามเหลีย่มยาว1-1.5ซม.ปลายเรยีวแหลม

ติดทนหูใบยอยยาว4-5มม.ชอดอกแบบชอกระจะออกที่ปลายยอดชอแนนรูปทรงกระบอกกวาง2-3ซม.ยาว

3-15ซม.ปกคลุมดวยขนหยาบแข็งกานดอกยอยยาว1-2มม.เมื่อเปนผลยาวประมาณ1.5ซม.ใบประดับสีชมพูรูปไขแกมรูปใบหอกกวาง4-5มม.ยาว1.2-1.5ซม.ปลายเรียวแหลมมีขนแข็งยาวหนาแนนกลีบเลี้ยงโคนเชื่อม

ติดกันเปนหลอดยาวประมาณ1มม.ปลายแยกเปน5แฉกขนาดไมเทากันมีขนแข็งแฉกลางยาวกวาแฉกบนกลีบดอก5กลีบสีชมพูยาว5-6มม.รวงเร็วกลีบกลางรูปหัวใจกลับกวางประมาณ4มม.กลีบคูขางมีติ่งกวางประมาณ

1.5มม.กลีบคูลางมีติ่งกวาง1-4มม.มีกานกลีบยาวรังไขอยูเหนือวงกลีบมี1ชองมีออวุล2เม็ดฝกมีกลีบเลี้ยง

ติดทน

นิเวศวิทยา พบตามปาเต็งรังความสูงจากระดับน้ำทะเล100-1,500ม.ออกดอกและเปนผลระหวางเดือนกุมภาพันธ-กรกฎาคม

ประโยชน สรรพคุณดานสมุนไพรรากแกพิษงูแกพิษสัตวกัดตอย

ดอกหางเสือหางเห็น

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ:หนองคายเพชรบูรณ;ภาคตะวันตกเฉียงใต:เพชรบุรีราชบุรี

ที่มา ชือ่สกลุมีที่มาจากภาษากรกีคำวาouraแปลวาหางซึง่หมายถงึรปูรางของใบประดบัหรอืชอดอกที่ยาวคลายหางคำระบุชนิดacaulisแปลวาไมมีลำตนที่ชัดเจน

การกระจายพันธุ

ไทยลาวกัมพูชาและเวียดนามการกระจายพันธุ

Page 151: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี142

Leguminosae

Page 152: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 143

แดงXylia xylocarpa (Roxb.) Taub. var. kerrii (Craib & Hutch.) I. C. Nielsen

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ

ไมตนผลัดใบขนาดกลางถึงขนาดใหญสูงไดถึง25ม. เปลือกสีเทาอมน้ำตาลกิ่งออนมีขนประปรายหรือเกือบเกลี้ยงใบประกอบแบบขนนกสองชั้นเรียงเวียนกานชอใบรูปทรงกระบอกยาว4-7.5ซม.มีขนประปรายถึง

หนาแนนมีตอมที่รอยตอของกานชอใบยอยหูใบรูปเสนดายยาวประมาณ3มม.ชอใบยอย1คูยาว10-30ซม.แกนกลางเปนรองตามยาวมีขนสั้นหนานุมหรือเกือบเกลี้ยงมีตอมระหวางกานใบยอยใบยอย3-6คูเรียงตรงขาม

รูปไขถึงรูปรีกวางกวาง1.8-6.5ซม.ยาว3.5-12.5ซม.ปลายแหลมหรือเปนติ่งหนามโคนมนหรือกลมขอบเรียบแผนใบบางคลายกระดาษผวิดานบนเกลีย้งดานลางมีขนประปรายถงึมีขนกำมะหยี่พบนอยที่เกอืบเกลีย้งเสนแขนงใบขางละ5-10เสนกานใบยอยยาว2-3มม.ชอดอกแบบชอกระจุกแนนออกที่ซอกใบกานชอดอกยาว2.5-10

ซม.ประกอบดวยดอกที่ไมมีกานจำนวนมากใบประดับรูปชอนยาว2-3มม.กลีบเลี้ยงยาว3-3.5มม.โคนเชื่อมกันเปนรูปกรวยปลายแยกเปน5แฉกรูปไขแกมรูปสามเหลี่ยมปลายแหลมผิวดานนอกมีขนสั้นหนานุมกลีบดอก5

กลีบยาว3.5-4.5มม.รูปขอบขนานแคบปลายแหลมผิวดานนอกมีขนประปรายถึงมีขนสั้นหนานุมเกสรเพศผู10อันแยกจากกันเปนอิสระยาว5-12มม.อับเรณูไมมีตอมรังไขอยูเหนือวงกลีบยาว2-2.5มม.มีขนฝกรูปรางคลาย

บูมเมอแรงแบนสีน้ำตาลแดงกวาง3.5-6ซม.ยาว9.5-10.5ซม.ฝกแกแตกจากปลายลงสูโคนเมล็ด7-10เมล็ดรูปรีแบนกวางประมาณ7มม.ยาวประมาณ1ซม.

นิเวศวิทยา พบตามปาเต็งรังปาเบญจพรรณและปาดิบแลงความสูงตั้งแตใกลระดับน้ำทะเลจนถึงประมาณ850ม.ออกดอกระหวางเดือนกุมภาพันธ-มีนาคมผลแกเดือนพฤศจิกายน-มกราคม

ประโยชน เปนไมมีคาทางเศรษฐกิจ ใชสรางบาน ทำไมหมอนรถไฟ สะพาน ทำเรือ เสาเข็มในทะเล

เฟอรนิเจอรงานกลึงและเครื่องมือเครื่องใชในบานเมล็ดกินได

พบทุกภาค

กรอมควายตะกรอมปรานไปรนสะกรอม

ประเทศไทย

พมาไทยลาวกัมพูชาและเวียดนาม

ที่มา ชื่อสกุลมีที่มาจากภาษากรีกคำวา xylon แปลวาไม หมายถึงเนื้อไมที่แข็งมาก คำระบุชนิด xylocarpa แปลวาผลที่แข็งเหมือนไม ซึ่งก็หมายถึงเปลือกผลของแดงที่แข็งมาก สวนคำวา kerrii ตั้งใหเปนเกียรติแกนักพฤกษศาสตรชาวไอริช ผูทำการสำรวจและเก็บตัวอยางพรรณไม

ทั่วประเทศไทยและเปนผูกอตั้งพิพิธภัณฑพืชแหงแรกในประเทศไทย

การกระจายพันธุ

ชื่อพอง XyliakerriiCraib&Hutch.

ชื่อสามัญ Ironwood

Page 153: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี144

Loranthaceae

พืชเบียน กิ่งออนมีขนสีน้ำตาลแดงปกคลุมหนาแนน กิ่งแกเกือบเกลี้ยง ใบเดี่ยว เรียงตรงขามหรือเกือบตรงขามรูปไขแคบกวาง3-4.5ซม.ยาว6.5-12ซม.ปลายแหลมหรือเรียวแหลมโคนมนตัดหรือรูปหัวใจขอบใบ

เรยีบแผนใบกึง่หนาคลายแผนหนงัเปราะใบออนปกคลมุดวยขนสนีำ้ตาลแดงหนาแนนทัง้2ดานใบแกผวิใบดานบนเกือบเกลี้ยง เปนมันวาว เสนแขนงใบไมชัดเจน กานใบยาว 0.5-1.5 ซม. ชอดอกแบบชอเชิงลด ออกตามขอ มี

3-10ดอกตอชอแกนกลางยาว0.5-3ซม.กานดอกสั้นหรือไมมีกานดอกใบประดับคลายใบกวาง2-4มม.ยาว1.4-1.7ซม.ปลายเรยีวแหลมแนบชดิกบัรงัไขกลบีดอกสแีดงอมชมพูหรอืสีเหลอืงโคนเชือ่มกนัเปนหลอดยาว2-2.5ซม.ปลายแยกเปน5แฉกยาว7-8มม.ปลายมนผิวดานนอกกลีบดอกปกคลุมดวยขนสีน้ำตาลแดงหนาแนนดอก

บานปลายแฉกโคงพับลงมาทางกานดอกเกสรเพศผู5อันอับเรณูยาว3-4มม.ปลายแหลมรังไขอยูใตวงกลีบมี1

ชองผลแบบผลมีเนื้อหนึ่งถึงหลายเมล็ดเยื่อหุมเมล็ดลักษณะเหนียว

นิเวศวิทยา พบตามปาเตง็รงัปากอผสมสนปาเตง็รงัผสมกอความสงูตัง้แตใกลระดบันำ้ทะเลจนถงึประมาณ500ม.ออกดอกและเปนผลระหวางเดือนกุมภาพันธ-พฤษภาคม

การกระจายพันธุ ไทยคาบสมุทรมลายูบอรเนียวชวาสุมาตรา

กาฝากไทยDendrophthoe lanosa (Korth.) Danser

ที่มา ชื่อสกุลมีที่มาจากภาษากรีกคำวาDendronแปลวาตนไมและคำวาphthioแปลวาเปอยผุพังหรือกัดกิน หมายถึงลักษณะนิสัยที่เปนพืชเบียนและผลที่มีตอพืชใหอาศัย สวนคำระบุชนิด

lanosaแปลวามีขนนุมซึ่งหมายถึงขนที่ปกคลุมกิ่งกาน

ประเทศไทย ภาคเหนอื:เชยีงใหมเชยีงรายนานลำพนู;ภาคตะวนัออกเฉยีงเหนอื:เพชรบรูณ;ภาคตะวนัออก:ชัยภูมิ;ภาคตะวันตกเฉียงใต:กาญจนบุรีราชบุรี;ภาคใต:ระนองพังงา

ชื่อพอง LoranthuslanosaKorth.,L.siamensisKurz,L.casuarinaeRidl.,L.thoreliiLecomte

Page 154: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 145

กาฝากมะมวงDendrophthoe pentandra (L.) Miq.

Loranthaceae

พืชเบียนกิ่งออนมีขนใบเดี่ยวเรียงตรงขามหรือเกือบตรงขามใบรูปรีแคบหรือรีกวางกวาง3.8-7.5ซม.ยาว8-14.5ซม.ปลายมนแหลมหรือเรียวแหลมโคนสอบเรียวถึงรูปลิ่มขอบเรียบแผนใบบางคลายกระดาษเปราะ

ผิวดานบนสีเขมกวาดานลาง เปนมันวาวเฉพาะดานบนหรือไมเปนมันวาวทั้งสองดาน เสนแขนงใบขางละ 5-8 เสนเสนกลางใบและเสนแขนงใบเห็นชัดเจนทั้งสองดานกานใบยาว0.5-2.5ซม.ชอดอกแบบชอกระจะออกตามขอมี

6-12ดอกตอชอแกนกลางยาว1-2ซม.มีขนสีขาวถึงสีเทากานดอกยาว1-4มม.กลีบเลี้ยง5กลีบยาวประมาณ2มม.กลีบดอกสีเขียวเหลืองหรือสมพบบางที่เปนสีแดงโคนเชื่อมติดกันเปนหลอดยาว9-10มม.ปลายแยกเปน

5แฉกยาว8-9มม.สวนลางพองออกกวางประมาณ5มม.เปนสันหรือมีปกสวนปลายคอดเปนคอแลวขยายออกเปนรปูกระบองปลายมนดอกบานกลบีดอกมกัโคงลงไปทางกานดอกเกสรเพศผู5อนัอบัเรณูยาว2-5มม.ปลายมนกานชูอับเรณูมีขนรูปดาวประปรายรังไขอยูใตวงกลีบมี1ชองยอดเกสรเพศเมียเปนตุมผลคลายผลมีเนื้อหนึ่งถึงหลายเมล็ดเยื่อหุมเมล็ดลักษณะเหนียว

นิเวศวิทยา พบตามปาเต็งรังปาเบญจพรรณปาดิบและตามไรสวนความสูงตั้งแตใกลระดับน้ำทะเลจนถึงประมาณ1,300ม.ออกดอกและเปนผลระหวางเดือนมีนาคม-มิถุนายน

ประโยชน เปลือกและเนื้อไมแหงบดแกอาหารเปนพิษทองอืดตนแหงชงดื่มลดความดันโลหิตสูงใบใชตำทำยาพอกแกปวดแผลพุพองและผิวหนังติดเชื้อชงดื่มแกไอ

พบทุกภาคประเทศไทยอินเดียจีนตอนใตไทยภูมิภาคอินโดจีนและภูมิภาคมาเลเซีย

ที่มา ชือ่สกลุมีทีม่าเชนเดยีวกนักบักาฝากไทย(Dendrophthoelanosa)สวนคำระบุชนดิpentandra

แปลวามีเกสรเพศผู5อัน

การกระจายพันธุ

ชื่อพอง LoranthuspentandrusL.,L.zimmermanniiWarb.

Page 155: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี146

Lythraceae

Page 156: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 147

เสลาเปลือกบางLagerstroemia venusta Wall. ex C. B. Clarke

ไมพุมหรือไมตน ใบเดี่ยว เรียงตรงขาม รูปขอบขนานหรือรูปรีแกมรูปขอบขนาน กวาง 2.5-6 ซม. ยาว4.5-15ซม.ปลายมนหรือกลมโคนมนหรือสอบมักเบี้ยวขอบเปนคลื่นแผนใบกึ่งหนาคลายแผนหนังผิวดานบน

เกลี้ยงผิวดานลางเมื่อออนมีขนสีขาวประปรายตามเสนใบเมื่อแกเกือบเกลี้ยงเสนแขนงใบขางละ7-10เสนกานใบยาว3-6มม.ชอดอกแบบชอแยกแขนงออกที่ซอกใบและปลายกิ่งชอยาวไดถึง40ซม.มีขนสีขาวประปรายดอก

ตูมรูประฆังยาวประมาณ9มม.เสนผานศูนยกลางประมาณ6มม.มีขนสีขาวประปรายมีสันเปนเสนตรง6สันตามยาวกลีบเลี้ยงรูประฆังโคนเชื่อมกันเปนหลอดปลายแยกเปน6แฉกปลายแหลมระหวางแฉกมีติ่งกลีบดอกรูปขอบขนานสั้นยาวประมาณ9มม.ปลายมนขอบเปนคลื่นมีกานกลีบดอกเกสรเพศผูจำนวนมากมี6-8อันที่

หนาและยาวกวาสวนที่เหลือขนาดเกือบเทากันรังไขอยูเหนือวงกลีบรูปกลมเกลี้ยงมี6ชองแตละชองมีออวุลจำนวนมากกานเกสรเพศเมียเรียวยาวยอดเกสรเพศเมียเปนตุมผลแบบผลแหงแตกมีกลีบเลี้ยงติดทนรูปลิ่มผลแก

แตกจากปลายผลเปน6เสี่ยงเมล็ดเล็กที่ปลายดานหนึ่งมีปกบางๆ

ภาคเหนือ:เชียงใหมลำปางแพร;ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ:เลยมุกดาหาร;ภาคกลาง:สระบุรี;ภาคตะวันตกเฉียงใต:กาญจนบุรีราชบุรีอุทัยธานี

ประเทศไทย

จีนพมาไทยลาวกัมพูชา

ที่มา ชื่อสกุลตั้งขึ้นเปนเกียรติแกผูเก็บพรรณไมชาวสวีเดน ชื่อMagnus von Lagerström สวนคำระบุชนิดvenustaแปลวาสวยงาม

การกระจายพันธุ

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ เซาติ้วทิ้วเปอยขี้หมูเปอยชอเสาเสาชิ้นเสาดำเสาหมื่นเสลาดำ

ชื่อพอง LagerstroemiacollettiiCraib,L.corniculataGagnep.

นิเวศวิทยา พบตามปาเต็งรังและปาเบญจพรรณ ความสูงจากระดับน้ำทะเล 100-400 ม. ออกดอกเดือนกรกฎาคม-กันยายน

ประโยชน เนื้อไมใชในการกอสรางรูปทรงลำตนสวยงามปลูกเปนไมประดับริมถนนได

Page 157: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี148

Meliaceae

Page 158: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 149

ยมหินChukrasia tabularis A. Juss.

ไมตนผลัดใบขนาดกลางถึงขนาดใหญสูงไดถึง40ม.เปลือกนอกสีน้ำตาลเขมเปลือกในสีน้ำตาลแดงหรือ

ชมพูใบประกอบแบบขนนกชั้นเดียวหรือสองชั้นเรียงเวียนกานชอใบยาว3.5-12ซม.รูปทรงกระบอกโคนกานโปง

พองแกนกลางยาว12-30ซม.แตละขางของแกนมีใบยอย6-12ใบใบยอยรูปไขถึงรูปขอบขนานกวาง2.5-6.5ซม.ยาว5.5-15ซม.ปลายแหลมหรือเรียวแหลมโคนสอบมนหรือกลมขอบหยักในกลาไม เรียบในตนโตเต็มที่

แผนใบบางคลายกระดาษถงึกึง่หนาคลายแผนหนงัผวิดานบนมีขนประปรายถงึเกอืบเกลีย้งผวิดานลางมีขนประปรายถึงหนาแนนเสนแขนงใบขางละ9-10เสนกานใบยอยยาว2-5มม.ชอดอกแบบชอกระจุกแยกแขนงออกที่ซอกใบ

ใกลปลายกิ่งชอยาวไดถึง30ซม.แกนมีขนสั้นนุมกานดอกยาว3-4มม.ใบประดับรูปสามเหลี่ยมแคบยาว2-5

มม.รวงงายใบประดบัยอยขนาดเลก็มากกลบีเลีย้งสัน้มากโคนเชือ่มตดิกนัเปนรปูถวยปลายแยกเปนแฉกขนาดเลก็4-5แฉกผิวดานนอกมีขนดอกมีกลิ่นหอมกลีบดอกสีเขียวครีมหรือเหลืองมี4หรือ5กลีบแยกจากกันเปนอิสระ

รูปขอบขนานถึงรูปชอนกวาง2-3มม.ยาว1-1.5ซม.ยาวมากกวากลีบเลี้ยงอยางเดนชัดเกลี้ยงหรือมีขนประปรายดอกบานปลายกลบีโคงพบัลงกานชูอบัเรณูเชือ่มกนัเปนหลอดเกสรเพศผูรปูทรงกระบอกเกลีย้งอบัเรณูตดิอยูบรเิวณ

ขอบปลายหลอดจานฐานดอกขนาดเล็กรังไขอยูเหนือวงกลีบมีขนมี3-5ชองแตละชองมีออวุลจำนวนมากยอด

เกสรเพศเมียเปนตุมมี3-5สันตื้นๆผลแบบผลแหงแตกรูปรีหรือรูปไขแกมรูปรีกวาง2-4ซม.ยาว3-5ซม.ผิวมีชองอากาศผลแกแตกเปน3-5เสี่ยงจากปลายแกนกลางผลมีสันตามยาว3-5สันเมล็ด60-100เมล็ดตอชองรวมปกยาวประมาณ1ซม.เรียงอัดกันแนนตามขวาง

ประโยชน เนือ้ไมใชทำตูประตูหนาตางพืน้เครือ่งแกะสลกัของเลนไมหมอนรองรางรถไฟเรอืเฟอรนเิจอร

เครื่องดนตรี กลองใสของ เครื่องกีฬา ดามปนยาว สรรพคุณดานสมุนไพร เปลือกชวยสมานแผล

เนปาลอนิเดยีศรลีงักาจนีตอนใตพมาไทยภมูภิาคอนิโดจนีคาบสมทุรมลายูสมุาตราตอนเหนอืและบอรเนียว

ที่มา ชื่อสกุลมีที่มาจากชื่อภาษาฮินดูที่ใชเรียกตนยมหินสวนคำระบุชนิด tabularisแปลวาแบนซึ่งอาจหมายถึงเมล็ดที่บางและแบนปลิวไปตามลมได

การกระจายพันธุ

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ ชากะเดาฝกดาบมะเฟองชางยมขาวเสียดกาเสียดคาง

ชื่อพอง Chukrasiavelutina(M.Roem.)C.DC.

ชื่อสามัญ Bastardcedar,Chickrassywood,Chittagongwood,Indianredwood,Yinmawood

พบทุกภาคประเทศไทย

นิเวศวิทยา พบตามปาเบญจพรรณปาเต็งรัง ปาดิบแลง เขาหินปูน ความสูงตั้งแตใกลระดับน้ำทะเลจนถึงประมาณ900ม.ติดผลตั้งแตเดือนมีนาคม-ตุลาคม

Page 159: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี150

Memecylaceae

Page 160: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 151

พลองเหมือดMemecylon edule Roxb.

ไมพุมหรือไมตนขนาดเล็ก สูงไดถึง 12 ม. เปลือกสีเทาอมน้ำตาล กิ่งออนแบนหรือเปนสี่เหลี่ยม มีรองตามยาว2รองกิ่งแกกลมใบเดี่ยวเรียงตรงขามรูปไขกวาง1.5-4ซม.ยาว2.5-6ซม.ปลายทูหรือแหลมโคนมน

หรอืสอบขอบเรยีบแผนใบหนาคลายแผนหนงัผวิเกลีย้งทัง้สองดานเสนกลางใบเปนรองทางดานบนนนูทางดานลางเสนแขนงใบไมชัดเจนกานใบยาว4-5มม.เปนรองทางดานบนชอดอกแบบชอกระจุกออกตามซอกใบหรือตามขอ

ที่ใบรวงไปแลวชอยาว1-1.5ซม.ดอกในชอ2-8ดอกเสนผานศูนยกลางดอก0.8-1ซม.กานชอดอกยาว1-5มม.กานดอกยาว1.5-2มม.ใบประดับขนาดเล็กมากฐานดอกรูปถวยสีชมพูยาว2-4มม.เกลี้ยงปลายตัดหรือแยกเปนกลีบเลี้ยง4แฉกเล็กๆกลีบดอก4กลีบหนาสีขาวอมมวงรูปไขถึงรูปขอบขนานกวางและยาวประมาณ3

มม.ปลายแหลมเกสรเพศผู8อันกานชูอับเรณูสีมวงออนแกนอับเรณูหนาอับเรณูรูปจันทรเสี้ยวมีตอมตรงกลางรังไขอยูใตวงกลีบมี1ชองมีออวุล2-จำนวนมากกานเกสรเพศเมียสีมวงออนยอดเกสรเพศเมียขนาดเล็กผลแบบ

ผลมีเนื้อหนึ่งถึงหลายเมล็ดกลมเสนผานศูนยกลาง6-7มม.สีเขียวอมเหลืองเมื่อสุกสีมวงถึงดำ

นิเวศวิทยา พบตามปาเต็งรัง ชายปาเบญจพรรณและปาดิบแลง ความสูงตั้งแตใกลระดับน้ำทะเลจนถึงประมาณ700ม.ออกดอกและเปนผลระหวางเดือนเมษายน-พฤษภาคม

ประโยชน ผลสกุและใบออนรบัประทานไดใบใชเปนสยีอมใหสีเหลอืงเปลอืกรกัษารอยฟกชำ้ใบตมรกัษาโรคโกโนเรีย

ภาคตะวันออก:ชัยภูมิสุรินทร;ภาคตะวันตกเฉียงใต:ประจวบคีรีขันธราชบุรี;ภาคตะวันออกเฉียงใต:ชลบุรี;ภาคใต:นครศรีธรรมราช

ประเทศไทย

อินเดียศรีลังกาพมาไทยภูมิภาคอินโดจีนคาบสมุทรมลายูสิงคโปรบอรเนียวและสุมาตรา

ที่มา ชื่อสกุลมีที่มาจากภาษากรีกคำวาmemekylon เปนชื่อโบราณที่ใชเรียกผลของ Strawberrytree(Arbutusunedo)สวนคำระบุชนิดeduleแปลวากินไดอาจหมายถึงสวนของพืชที่กินไดเชนผลสุกยอดออน

การกระจายพันธุ

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ พลองดำเหมียด

Page 161: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี152

Moraceae

Page 162: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 153

กรางFicus subpisocarpa Gagnep. ssp. pubipoda C. C. Berg

ไมตนสงูไดถงึ30ม.กิง่ออนมีขนประปรายใบเดีย่วเรยีงเวยีนรปูขอบขนานรปูรีหรอืรปูไขกวาง6.5-9.5ซม.10-15ซม.ปลายเรียวแหลมโคนกลมถึงมนขอบเรียบหรือเปนคลื่นเล็กนอยแผนใบหนาคลายแผนหนังเกลี้ยงทั้งสองดานผิวดานลางมีผลึกซิสโทลิทมีขนสีขาวที่โคนใบเสนแขนงใบขางละ7-10เสนมีตอมที่โคนของเสนกลาง

ใบกานใบยาว5.5-8ซม.เกลี้ยงหูใบรูปไขยาว0.8-1.5ซม.มีขนสีขาวหนาแนนชอดอกออกตามกิ่งเปนกลุมๆละ1-5ชอกานชอยาว0.7-1.5ซม.มีขนสั้นหนาแนนใบประดับที่โคนกานชอ3อันยาว3-5มม.มีขนประปราย

รวงงายชอดอกลักษณะคลายผลดอกขนาดเล็กอยูภายในฐานรองดอกซึ่งขยายใหญและอวบน้ำหุมดอกทั้งหมดไวปลายมีชองเปดขนาดเล็กมีใบประดับขนาดเล็กจำนวนมากปดคลุมไว ฐานรองดอกรูปกลมหรือเกือบกลม เสนผานศูนยกลาง0.8-1.2ซม.ปลายตัด เมื่อแหงผิวยน เกลี้ยงหรือมีขนประปรายเมื่อแกเปลี่ยนจากสีขาวเปนชมพูแลว

เปลี่ยนเปนสีดำในที่สุดดอกเพศผูจำนวนนอยอยูบริเวณใกลรูเปดของชอดอกกลีบรวมสีแดง3กลีบรูปไขถึงเกือบกลมดอกเพศเมียที่ฝอและดอกเพศเมียที่สมบูรณมีกลีบรวม3กลีบรูปไขกลับสั้นรังไขอยูเหนือวงกลีบสีน้ำตาลอม

แดงมี1ชองมีออวุล1เม็ดกานเกสรเพศเมียอยูดานขางของรังไขยอดเกสรเพศเมียกึ่งเปนตุมผลแบบมะเดื่อรูปไขกลับกวาง

นิเวศวิทยา พบตามปาเต็งรัง ปาเบญจพรรณหรือปาดิบ ความสูงตั้งแตใกลระดับน้ำทะเลจนถึงประมาณ1,400ม.

ประโยชน ใบออนรับประทานเปนผักใชเปนอาหารสัตวสรรพคุณดานสมุนไพรใบใชแกเบาหวาน

ไทยเวียดนามกัมพูชาคาบสมุทรมลายู

ที่มา ชื่อสกุลมีที่มาจากภาษาลาตินคำวาficusซึ่งเปนชื่อที่ใชเรียกมะเดื่อชนิดFicuscaricaซึ่งผลกินไดคำระบุชนิดsubpisocarpaแปลวาผลคลายผลพวกถั่วสวนคำวาpubipodaแปลวากานมี

ขนซึ่งหมายถึงกานใบที่มีขนสั้นสีขาว

การกระจายพันธุ

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ ไกรไทรเลียบโพไทรเลียบ

ภาคตะวันออก:ชัยภูมิ;ภาคตะวันตกเฉียงใต:ราชบุรีเพชรบุรีประจวบคีรีขันธประเทศไทย

Page 163: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี154

Myrsinaceae

Page 164: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 155

สมออบแอบEmbelia subcoriacea (C. B. Clarke) Mez

ไมพุมรอเลื้อยกิ่งเกลี้ยงสีน้ำตาลอมเทามีชองอากาศใบเดี่ยวเรียงเวียนรูปไขกลับหรือรูปรีแกมรูปไขกลับกวาง3-5ซม.ยาว6.5-10ซม.ปลายแหลมมนหรือเรียวแหลมโคนรูปลิ่มหรือมนขอบเรียบแผนใบบางคลาย

กระดาษถึงหนาคลายแผนหนัง เกลี้ยงทั้งสองดานมีตอมเปนจุดจำนวนมาก เห็นชัดเจนทางดานลาง เสนแขนงใบขางละ10-12เสนกานใบยาว1-2ซม.ชอดอกแบบชอกระจะออกตามกิ่งเหนือรอยแผลใบชอยาว2-5ซม.กาน

ดอกยาว0.5-1.5มม.ดอกสีเขียวอมเหลืองกลีบเลี้ยงสั้นมากยาวไมเกิน1มม.โคนเชื่อมกันปลายแยกเปน4แฉก

รูปไขหรือรูปสามเหลี่ยมปลายแหลมหรือมนเกลี้ยงขอบมีขนครุยสั้นมีตอมเปนจุดกลีบดอก4กลีบแยกจากกันรูปรีแกมรูปขอบขนานกวาง 1-1.5 มม. ยาวประมาณ2มม.ปลายมนหรือกลมผิวดานนอกเกลี้ยง ดานในมีขน

ประปรายเกสรเพศผู4อันติดที่โคนของแฉกกลีบดอกอับเรณูรูปขอบขนานมีจุดที่ดานหลังเกสรเพศผูที่เปนหมันสัน้กวาแฉกกลบีดอกรงัไขอยูเหนอืวงกลบีรปูประมดิเกลีย้งกานเกสรเพศเมยีสัน้มากผลแบบผลผนงัชัน้ในแขง็กลม

เสนผานศูนยกลาง7-8มม.มีจุดทั่วไปผลแกสีมวงดำเมล็ดกลม1เมล็ด

นิเวศวิทยา พบตามปาเบญจพรรณและปาเตง็รงัความสงูจากระดบันำ้ทะเล300-1,000ม.ออกดอกระหวางเดือนมิถุนายน-พฤศจิกายนเปนผลระหวางเดือนกุมภาพันธ-เมษายน

ประโยชน ลำตนใชแกอาการเวียนศีรษะ

พบทั่วประเทศประเทศไทย

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย(แควนอัสสัม)จีนไทยลาวกัมพูชา

ที่มา ชื่อสกุลมาจากคำวาEmbelหรือaembeliaซึ่งเปนชื่อพื้นเมืองในศรีลังกา

การกระจายพันธุ

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ นมนางปองเครือแมน้ำนองสมกุงสมขี้หมอน

ชื่อพอง E. nasgushiaG.Donvar.subcoriaceaC.B.Clarke

Page 165: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี156

Myrtaceae

Page 166: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 157

หวาSyzygium cumini (L.) Skeels

ไมตนขนาดกลางถึงขนาดใหญเปลือกเรียบสีเทาแกมขาวใบเดี่ยวเรียงตรงขามรูปขอบขนานแกมรูปไขรูปรีหรือรูปรีแกมรูปไขกวาง3.5-7ซม.ยาว8-15ซม.ปลายเรียวแหลมโคนรูปลิ่มมนหรือกลมขอบเรียบแผน

ใบกึ่งหนาคลายแผนหนังเกลี้ยงทั้งสองดานเสนแขนงใบขางละ18-28เสนมีเสนขอบใบ1เสนกานใบยาว0.5-2ซม.ชอดอกแบบชอแยกแขนงออกที่ซอกใบและปลายกิ่งยาว4.5-10.5ซม.กานชอดอกยาว3-10มม.ใบประดับ

รูปสามเหลี่ยมยาวประมาณ1มม.ใบประดับยอยขนาดเล็กมากดอกสีขาวหรือสีเหลืองออนไมมีกานดอกฐานดอกรูปกรวยยาว2.5-5มม.กานฐานดอกยาว1-2มม.กลีบเลี้ยง4กลีบรูปสามเหลี่ยมกวาง3-5มม.ยาว5-7มม.กลีบดอก4กลีบกลมยาว2-3มม.แตละกลีบมีตอม5-15จุดเกสรเพศผูจำนวนมากวงนอกยาว4-6มม.อับเรณู

รูปรีหรือรูปขอบขนานรังไขอยูใตวงกลีบมี2ชองแตละชองมีออวุลจำนวนมากกานเกสรเพศเมียยาว1.5-6มม.ผลรูปรีหรือรูปขอบขนานยาว8-10มม.ผลสุกสีมวงดำ

นิเวศวิทยา พบในปาทุกประเภท ความสูงตั้งแตใกลระดับน้ำทะเลจนถึงประมาณ 1,200 ม. ออกดอกและ

เปนผลระหวางเดือนกุมภาพันธ-มิถุนายน

ประโยชน เนื้อไมใชในการกอสราง ตนปลูกประดับใหรมเงา เปลือกตนใชทำสียอม ผลสุกรับประทานไดสรรพคุณดานสมุนไพร เปลือกชวยสมานแผล เปนยากลั้วคอ เมล็ดบดรักษาโรคเบาหวานทองรวง

พบทุกภาคประเทศไทย

อินเดียศรีลังกาพมาจีนไทยภูมิภาคอินโดจีนและภูมิภาคมาเลเซีย

ที่มา ชื่อสกุลมีที่มาจากภาษากรีกคำวาsyzygosแปลวาคูหรือเชื่อมตอหมายถึงกิ่งและใบที่ออกเปน

คูตรงขามกนัสวนคำระบุชนดิcuminiมีรากศพัทมาจากคำวาcuminumซึง่มีที่มาจากภาษากรกี

คำวาkyminonแปลวาพืชที่เมล็ดใชปรุงแตงอาหารได

การกระจายพันธุ

หาขี้แพะหวาชมพู

ชื่อพอง MyrtuscuminiL.,EugeniajambolanaLam.,E.cumini(L.)Druce

ชื่อสามัญ Jambolan,Javaplum,Jambolanplum,Blackplum

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ

Page 167: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี158

Ochnaceae

Page 168: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 159

ตาลเหลืองOchna integerrima (Lour.) Merr.

ไมพุมหรือไมตนขนาดเล็กสูงไดถึง12ม.ใบเดี่ยวเรียงเวียนมักพบเรียงชิดกันเปนกลุมที่ปลายกิ่งใบรูปขอบขนานแกมรูปไขกลับหรือรูปใบหอกแกมรูปไขกลับ กวาง 2.5-5.5 ซม. ยาว 12-17 ซม. ปลายแหลมหรือ

เรยีวแหลมพบบางที่ปลายมนโคนแหลมหรอืมนขอบหยกัซี่ฟนถี่เสนแขนงใบแตละขางจำนวนมากเรยีงชดิกนักาน

ใบยาว2-3มม.ชอดอกแบบชอกระจุกแยกแขนงออกที่ซอกใบและปลายกิ่งมักออกดอกพรอมแตกใบใหมชอยาว3.5-6ซม.แกนกลางยาว0.5-1.5ซม.กานชอดอกยาว2-5มม.ใบประดับขนาดเล็กรวงงายดอกจำนวนมากเสน

ผานศูนยกลาง3-4.5ซม.กานดอกยาว2-4ซม.ใกลโคนกานมีลักษณะเปนขอตอกลีบเลี้ยง5กลีบรูปไขถึงรูปไขแกมรูปขอบขนานกวาง5-8มม.ยาว10-15มม.กลีบดอก5-8กลีบสีเหลืองรูปไขกลับกวาง1-1.5ซม.ยาว1.5-3ซม.ปลายกลีบมนหรือกลม โคนสอบเรียวคลายกานกลีบ เกสรเพศผูจำนวนมากกานชูอับเรณูยาว0.5-1.2

ซม.ขนาดไมเทากนัวงนอกยาวกวาวงในอบัเรณูยาว5-6มม.ฐานดอกนนูรปูครึง่วงกลมเสนผานศนูยกลาง1.5-2.5มม.ขยายขนาดและมีสีแดงเมื่อเปนผลรังไขอยูเหนือวงกลีบคารเพล6-12อันแตละอันมี1ชองและมีออวุล1เม็ด

กานเกสรเพศเมียมี1อันยาว1.2-2ซม.ติดตรงกลางระหวางคารเพลยอดเกสรเพศเมียมีจำนวนพูเทากับคารเพลผลแบบผลผนังชั้นในแข็งรูปขอบขนานหรือรูปขอบขนานแกมรูปไขกลับกวาง8-9มม.ยาว1-1.2ซม.ผลแกสีดำเมล็ด1เมล็ด

นิเวศวิทยา พบทัว่ไปตามปาเบญจพรรณเตง็รงัปาดบิแลงปาชายหาดความสงูตัง้แตใกลระดบันำ้ทะเลจนถงึประมาณ1,200ม.ออกดอกและเปนผลระหวางเดือนมกราคม-มิถุนายน

ประโยชน ดอกเดนเวลาบานมักเหลืองทั้งตนปลูกเปนไมประดับไดสรรพคุณดานสมุนไพรรากเปนยาขับพยาธิ

พบทุกภาคประเทศไทย

อินเดียบังคลาเทศจีนตอนใตพมาหมูเกาะอันดามันไทยลาวกัมพูชาเวียดนามคาบสมุทร

มลายู

ที่มา ชื่อสกุลมีที่มาจากภาษากรีกคำวาochneที่ใชเรียกลูกแพรปาโดยใบของพืชในสกุลตาลเหลืองมีลกัษณะคลายใบของลกูแพรปานี้สวนคำระบุชนดิintegerrimaแปลวาทัง้หมดไมมีสวนที่ขาด

หรือไมแบงเปนสวนๆหมายถึงขอบใบที่ดูคลายเปนขอบเรียบ

การกระจายพันธุ

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ กระแจะกำลังชางสารขมิ้นพระตนแงงชางนาวชางโหมตานนกกรดฝน

ชื่อพอง ElaeocarpusintegerrimusLour.

Page 169: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี160

ไมพุมหรือไมรอเลื้อยสูงไดถึง15ม.หรือพบบางที่เปนไมตนขนาดเล็กเปลือกเรียบสีเทากิ่งมักหอยลง

กิง่ออนมีขนสัน้หนานุมกิง่แกเกอืบเกลีย้งมีหนามโคงใบเดีย่วเรยีงสลบัรปูไขรปูรีหรอืรปูขอบขนานแกมรปูรีกวาง1.8-3.5 ซม. ยาว 2.5-5.5 ซม. ปลายแหลมถึงกลม โคนสอบเรียวถึงมน ขอบเรียบ แผนใบกึ่งหนาคลายแผนหนัง

ดานบนเกลี้ยงดานลางมีขนประปรายเมื่อออนมีขนสั้นนุมตามเสนกลางใบเสนแขนงใบขางละ5-8เสนไมชัดเจนกานใบยาว8-12มม.มีขนสั้นนุมชอดอกแบบชอกระจะออกตามซอกใบมี1-3ชอตอซอกใบมีขนสั้นหนาแนนใบ

ประดับที่โคนกานชอดอกยาว0.5-3.5ซม.ใบประดับยอยรวงงายยาว2-3มม.ปลายมนมีสันตามยาวมีขนสั้นนุมกานดอกยาว1-5มม.เกลี้ยงดอกในชอจำนวนมากมีกลิ่นหอมกลีบเลี้ยงยาวประมาณ1มม.โคนเชื่อมกันเปนรูปถวยปลายตัดกลีบดอก3กลีบสีขาวรูปแถบแกมรูปขอบขนานกวางประมาณ1.5มม.ยาว7-8มม.เกลี้ยงกลีบ

2ใน3กลีบมักมีแฉกยอยที่ปลายดูคลายมี5กลีบเกสรเพศผู3อันอับเรณูรูปขอบขนานเกสรเพศผูที่เปนหมันรูปไขแคบปลายแยกเปน2แฉกรังไขอยูเหนือวงกลีบรูปไขหรือรูปรีเกลี้ยงยอดเกสรเพศเมียแยกเปน3แฉกไมชัดเจนผลแบบผลผนังชั้นในแข็งรูปกลมหรือเกือบกลมกวาง0.6-1.2ซม.ยาว0.8-1.8ซม.สุกสีเหลืองถึงสีสมหรือสีชมพูมีวงกลีบเลี้ยงที่ขยายใหญหุมประมาณ2ใน3สวนของผลเมล็ด1เมล็ด

นิเวศวิทยา พบทัว่ไปตามปาละเมาะที่รกรางปาเตง็รงัปาเบญจพรรณปาดบิแลงปาชายหาดความสงูตัง้แตใกลระดับน้ำทะเลจนถึงประมาณ 300 ม. ออกดอกและเปนผลระหวางเดือนกุมภาพันธ-สิงหาคม

การกระจายพันธุ อินเดียศรีลังกาพมาไทยภูมิภาคอินโดจีนคาบสมุทรมลายูและชวา

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ กระดอถอกกระเดาะกระทกรกกระทอกกระทอกมาควยเซียกชักกระทอกนางจุมนางชมผักรูด

ประโยชน ยอดออนลวกรับประทานเปนผักผลสุกรับประทานได

Olacaceae

น้ำใจใครOlax psittacorum (Willd.) Vahl

ที่มา ชื่อสกุลมีที่มาจากภาษาลาตินคำวาolax,olacisแปลวามีกลิ่นหมายถึงพืชบางชนิดในสกุลนี้ที่มีกลิ่นคำระบุชนิดpsittacorumแปลวาคลายนกแกวอาจหมายถึงสีของผลที่สุกแลวซึ่งมีสีสม

ที่ปลายผล

ชื่อพอง O.scandensRoxb.

พบทุกภาคประเทศไทย

Page 170: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 161

ไมเถาเนื้อแข็งลำตนและกิ่งเกือบกลมมีมือจับ ใบเดี่ยว เรียงเวียนรูปรีแกมรูปไขกวาง8-10ซม.ยาว8-12.5ซม.ปลายมนโคนรปูหวัใจถึงกลมขอบหยกัซี่ฟนไมเปนระเบยีบแผนใบกึง่หนาคลายแผนหนงัเกลี้ยงทัง้สอง

ดานเสนแขนงใบขางละ4-6เสนกานใบยาว4.5-5ซม.ดานบนมีตอม2ตอมที่ปลายกานใบชอดอกแบบชอกระจุกออกเปนคูตามซอกใบยาวไดถึง15ซม.ใบประดับรูปสามเหลี่ยมขนาดเล็กดอกสีเขียวดอกเพศผูกลีบเลี้ยงเชื่อม

ติดกันเปนหลอดรูปรีแกมรูปไขกลับยาว7-9มม. โคนสอบเรียวปลายสอบแคบแยกเปน5แฉกรูปสามเหลี่ยมกวางประมาณ1มม.ยาว1-2มม.กลีบดอก5กลีบรูปขอบขนานแกมรูปไขกลับกวางประมาณ1.5มม.ยาว5-6มม.ติดอยูบนหลอดกลีบเลี้ยงกระบังรอบ5อันมีรยางครูปคลายกระบองกวาง1.5-2มม.ยาวประมาณ5มม.

ปลายแยกเปน2แฉกเกสรเพศผู5อันกานชูอับเรณูโคนเชื่อมกันเล็กนอยดอกเพศเมียมีจำนวนนอยเกสรเพศผูลด

รปูขนาดเลก็เปนหมนัรงัไขอยูเหนอืวงกลบีรปูไขมีกานมี1ชองมีออวลุจำนวนมากกานเกสรเพศเมยีสัน้ยอดเกสรเพศเมียเปน3พูตื้นๆผลแบบผลแหงแตกกลมหรือรีหอยลงเสนผานศูนยกลาง4-6ซม.มีรอง3รองตามยาวเมื่อแกแตกเปน3เสี่ยงเมล็ดเล็กจำนวนมาก

นิเวศวิทยา พบเลื้อยขึ้นบนตนไมตามปาเบญจพรรณปาเต็งรังปาดิบแลงความสูงจากระดับน้ำทะเล100-300ม.ออกดอกและเปนผลระหวางเดือนมกราคม-มีนาคม

การกระจายพันธุ ไทยลาว

ที่มา ชือ่สกลุมี่ที่มาจากคำวาAdenซึง่เปนชือ่พืน้เมอืงอาราบกิของพชืชนดิAdeniavenenataForssk.ซึ่งเปนชนิดตนแบบของสกุลAdeniaสวนคำระบุชนิดviridifloraแปลวาดอกมีสีเขียว

Passifloraceae

ผักสาบAdenia viridiflora Craib

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ อะนูนอีนูน

ประโยชน ใบออนยอดออนดอกออนผลออนรับประทานเปนผัก

ชื่อพอง A.harmandiiGagnep.

ภาคเหนือ:ลำปาง;ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ:กาฬสินธุมุกดาหารสกลนคร;ภาคตะวันออก:

สุรินทรอุบลราชธานี;ภาคตะวันออกเฉียงใต:สระแกว;ภาคตะวันตกเฉียงใต:ราชบุรีประเทศไทย

Page 171: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี162

Rubiaceae

Page 172: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 163

ดีปลีเขาAdina dissimilis Craib

ไมตนขนาดเล็กถึงขนาดกลางสูงไดถึง15ม.กิ่งออนมีขนสั้นนุมเมื่อแกมีขนประปรายมีชองอากาศใบ

เดี่ยวเรียงตรงขามรูปรีแกมรูปขอบขนานรูปขอบขนานแกมรูปใบหอกกลับหรือรูปใบหอกกลับกวาง2-5ซม.ยาว

7-12ซม.ขนาดไมเทากันทั้งสองดานปลายมนเรียวแหลมหรือยาวคลายหางโคนรูปลิ่มเบี้ยวแผนใบบางคลายกระดาษถึงกึ่งหนาคลายแผนหนัง เกลี้ยง เสนแขนงใบขางละ6-9 เสนชัดเจนทั้งสองดานกานใบยาวไดถึง2ซม.

เปนรองทางดานบนหูใบระหวางกานใบสีเขียวออนยาว5-7มม.รวงงายชอดอกแบบชอกระจุกแนนออกที่ปลายกิ่งและซอกใบใกลปลายกิ่งชอยาวไดถึง10ซม.กานชอดอกสั้นมากแกนกลางมีขนสั้นนุมกานชอดอกยอยยาวได

ถึง2.5ซม.ใบประดับยอยขนาดเล็กชอกระจุกแนนเสนผานศูนยกลางประมาณ1ซม.กลีบเลี้ยงโคนเชื่อมกันเปน

หลอดปลายแยกเปน5แฉกรปูแถบยาวประมาณ1.5มม.ปลายมนกลบีดอกโคนเชือ่มกนัเปนหลอดยาวประมาณ3มม.ปลายแยกเปน5แฉกรูปขอบขนานกวางไมเกิน1มม.ยาวไมเกิน2มม.เกสรเพศผู5อันติดบนหลอดกลีบ

ดอกยาวไมเกิน1มม.อับเรณูยาวประมาณ1มม.รังไขอยูใตวงกลีบกานเกสรเพศเมียยาวประมาณ8มม.ยอดเกสรเพศเมียรูปคลายกระบอง

นิเวศวิทยา พบตามปาเต็งรังและปาดิบ ความสูงตั้งแตใกลระดับน้ำทะเลจนถึงประมาณ 100 ม. ออกดอกและเปนผลระหวางเดือนมกราคม-มีนาคม

ภาคตะวันตกเฉียงใต:ราชบุรี;ภาคใต:กระบี่ระนองประเทศไทย

ที่มา ชือ่สกลุมีที่มาจากภาษากรกีคำวาadinosแปลวาเปนกลุมหรอืกอนหมายถงึดอกที่ออกเปนกลุมสวนคำระบุชนิด dissimillis แปลวาไมเหมือนหรือแตกตาง หมายถึงพืชชนิดนี้มีลักษณะแตกตางจากจากลักษณะปกติของพืชสกุลนี้

การกระจายพันธุ เปนพืชถิ่นเดียวของไทย(endemic)

Page 173: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี164

Rubiaceae

Page 174: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 165

เคดCatunaregam spathulifolia Tirveng.

ไมพุมหรือไมตนขนาดเล็กสูง3-10ม.เปลือกบางสีเทาเขมมีหนามกิ่งออนมีขนสั้นนุมมีชองอากาศใบเดี่ยวเรียงตรงขามมักเรียงชิดกันเปนกระจุกตามกิ่งใบรูปไขกลับหรือรูปขอบขนานแกมรูปไขกลับกวาง3-4.5ซม.

ยาว5-8.5ซม.ปลายแหลมหรือมนโคนรูปลิ่มขอบเรียบแผนใบบางคลายกระดาษดานบนสีเขียวเปนมันมีขนประปรายดานลางสีเขียวออนมีขนสั้นนุมหนาแนนเสนแขนงใบขางละ5-10เสนเห็นชัดเจนทางดานลางกานใบยาว0.5-1.5ซม.มีขนสั้นนุมหนาแนนดอกออกที่ปลายกิ่งขนาดเล็กกลีบเลี้ยงสีเขียวออนโคนเชื่อมกันเปนหลอด

ยาว7-8มม.ปลายแยกเปน5กลีบยาวประมาณ5มม.กลีบดอกสีครีมเปลี่ยนเปนสีสมโคนเชื่อมกันเปนหลอดยาวประมาณ8มม.ปลายแยกเปนกลีบ5กลีบรูปไขกลับกวาง4-5.5มม.ยาว9-10มม.กลีบบิดเปนรูปกังหัน

เกสรเพศผู5อันติดที่ปลายหลอดกลีบดอกสลับกับแฉกกลีบดอกอับเรณูสีน้ำตาลรูปขอบขนานรังไขอยูใตวงกลีบมีออวลุจำนวนมากยอดเกสรเพศเมยีปลายแยกเปน2แฉกสีเหลอืงออนผลแบบผลมีเนือ้หนึง่ถงึหลายเมลด็รปูกลมแปนสีเขียวออนเปลี่ยนเปนสีเหลืองออนเมื่อแกเสนผานศูนยกลาง2-3ซม.มีขนกำมะหยี่หนาแนนปลายผลมีกลีบ

เลี้ยงติดทนเมล็ดเล็กจำนวนมาก

นิเวศวิทยา พบตามปาเต็งรัง ปาเต็งรังผสมกอ ปาเบญจพรรณ ปาละเมาะ ปาสนเขา ความสูงจากระดับน้ำทะเล 100-800 ม. ออกดอกระหวางเดือนมกราคม-มีนาคม เปนผลระหวางเดือนเมษายน-สิงหาคม

ที่มา ชื่อ Catu-naregam เปนชื่อMalayalamที่ใชในรัฐ Kerala ทางตะวันตกเฉียงใตของอินเดีย โดยใชเรียกพืชชนิดหนึ่งในสกุลRandiaคำวาKatuแปลวาปาและคำวาnaregamแปลวา พืชพวกสม ซึ่งอาจหมายถึงพืชสกุล Catunaregamนี้มีลักษณะคลายสมปา สวนคำระบุชนิด spathulifoliaแปลวาใบรูปชอนหรือรูปใบพายโดยมีสวนปลายใบกวางสวนโคนใบแคบ

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ กะแทงเคล็ดเคล็ดทุงแทงระเวียงหนามเค็ดหนามแทง

ภาคเหนือ: เชียงใหมลำพูนลำปางแมฮองสอนสุโขทัย;ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ:ขอนแกน

เลย;ภาคตะวันตกเฉียงใต:กาญจนบุรีอุทัยธานีราชบุรีประเทศไทย

การกระจายพันธุ พมาไทยลาว

ประโยชน ตนมีหนามปลูกเปนแนวรั้วได

Page 175: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี166

Rubiaceae

Page 176: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 167

มะเค็ดCatunaregam tomentosa (Blume ex DC.) Tirveng.

ไมพุมใหญหรือไมตนขนาดเล็กสูงไดถึง10ม.ลำตนและกิ่งมีหนามกิ่งขนาดเล็กมักหอยยอยลงใบเดี่ยวเรียงตรงขามมักเรียงชิดติดกันเปนกระจุกบนกิ่งสั้นๆตามกิ่งใหญใบรูปใบหอกกลับกวาง1.5-5ซม.ยาว4-8ซม.ปลายกลมหรือมนมีติ่งหนาม โคนสอบหรือสอบเรียวขอบเรียบมักมวนลงเล็กนอยแผนใบกึ่งหนาคลายแผนหนัง

ผิวดานบนสีเขียวออนมีขนประปรายถึงหนาแนนผิวดานลางสีเทามีีขนสั้นนุมหนาแนน เสนแขนงใบขางละ6-12เสนเสนใบยอยแบบรางแหชัดเจนทางดานบนกานใบยาว3-5มม.มีขนสั้นหนานุมมีหูใบระหวางกานใบรูปใบหอก

รวงงายดอกออกที่ปลายกิ่งขนาดเล็กกลีบเลี้ยงโคนเชื่อมกันเปนหลอดยาว5-6มม.มีขนปลายแยกเปนแฉก8-10แฉกรูปใบหอกยาว3-5มม.กลีบดอกสีขาวเปลี่ยนเปนสีเหลืองและสมโคนเชื่อมกันเปนหลอดปลายแยกเปนแฉก8-10แฉกรูปใบหอกกลับแกมรูปไขกลับกวาง4-6มม.ยาว1-1.5ซม.ปลายแหลมบิดเปนกังหันเล็กนอยเกสร

เพศผูจำนวนเทากับแฉกกลีบดอก ติดที่ปลายหลอดกลีบดอกสลับกับแฉก อับเรณูสีน้ำตาลออน รูปขอบขนานปลายแหลมบิดเล็กนอยรังไขอยูใตวงกลีบออวุลจำนวนมากกานเกสรเพศเมียหนายอดเกสรเพศเมียเปน2แฉก

ขนาดใหญสีครีมผลแบบผลมีเนื้อหนึ่งถึงหลายเมล็ดรูปรีหรือรูปไขแกมรูปรี เสนผานศูนยกลาง2-4ซม.ผิวมีขนกำมะหยี่สีน้ำตาลหนาแนนปลายผลมีกลีบเลี้ยงติดทนเห็นหลอดและแฉกเดนชัดเมล็ดเล็กจำนวนมาก

นิเวศวิทยา พบตามปาเตง็รงัปาละเมาะที่รกรางปาชายหาดความสงูตัง้แตใกลระดบันำ้ทะเลจนถงึประมาณ300ม.ออกดอกระหวางเดือนกุมภาพันธ-เมษายนเปนผลระหวางเดือนเมษายน-กรกฎาคม

ประโยชน เนือ้ไมใชทำหวีตนปลกูทำรัว้ผลใชเบือ่ปลาใหเมาในกมัพชูาผลขยี้นำ้ใหฟองใชสระผมและซกัผาในประเทศกลุมอินโดจีนใบแกไขและขับปสสาวะแกภาวะปสสาวะนอยหรือปสสาวะยาก

พมาไทยภูมิภาคอินโดจีนคาบสมุทรมลายูและชวา

ที่มา ชื่อสกุลมีที่มาเชนเดียวกันกันเคด (Catunaregam spathulifolia Tirveng.) สวนคำระบุชนิดtomentosaแปลวามีขนสั้นหนานุมซึ่งอาจหมายถึงขนที่ใบและผล

การกระจายพันธุ

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ หนามแทงระเวียงใหญ

GardeniadasycarpaKurz,GardeniatomentosaBlumeexDC.,Randiatomentosa(BlumeexDC.)Hook.f.,R.dasycarpa(Kurz)Bakh.f.,Xeromphistomentosa(BlumeexDC.)T.Yamaz.

ชื่อพอง

พบทุกภาคประเทศไทย

Page 177: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี168

Rubiaceae

Page 178: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 169

กระมอบGardenia obtusifolia Roxb. ex Kurz

ไมพุมหรือไมตนขนาดเล็กผลัดใบยอดออนมีชันเหนียวใบเดี่ยวเรียงตรงขามสลับตั้งฉากรูปไขกลับหรือรูปไขกลับแกมรูปขอบขนานกวาง2.5-5ซม.ยาว4.5-10ซม.ปลายมนหรือกลมโคนรูปลิ่มขอบเรียบแผนใบหนา

คลายแผนหนังใบออนมีขนประปรายใบแกผิวหยาบและเกลี้ยงทั้งสองดานเสนแขนงใบขางละ10-15เสนกานใบสัน้มากหรอืไมมีกานใบหูใบระหวางกานใบเชือ่มตดิกบัโคนกานใบรวงงายดอกเดีย่วออกที่ปลายกิง่ดอกมีกลิน่หอม

กานดอกสั้นกลีบเลี้ยงโคนเชื่อมติดกันเปนหลอดรูประฆังมีขนประปรายปลายแยกเปน5แฉกสั้นมากกลีบดอกสขีาวเปลีย่นเปนสีเหลอืงโคนเชือ่มตดิกนัเปนหลอดปลายแยกเปน5แฉกรปูขอบขนานแกมรปูใบหอกกลบัปลายมนเกสรเพศผู5อันติดอยูบริเวณคอหลอดกลีบดอกไมโผลพนปากหลอดอับเรณูรูปขอบขนานรังไขอยูใตวงกลีบมีขน

มี1ชองมีออวุลจำนวนมากกานเกสรเพศเมียหนายอดเกสรเพศเมียเปน2แฉกรูปกระบองโผลพนหลอดกลีบดอกจานฐานดอกรูปวงแหวนผลแบบผลมีเนื้อหนึ่งถึงหลายเมล็ดรูปกลมหรือเกือบกลมเสนผานศูนยกลาง1.8-2.5

ซม.ผิวมีปุมหูดกับชองอากาศปลายผลมีกลีบเลี้ยงติดทนเห็นเปนหลอดและแฉกชัดเจนเมล็ดเล็กจำนวนมาก

ที่มา ชื่อสกุลตั้งใหเปนเกียรติแกนักพฤกษศาสตรและนักธรรมชาติวิทยาชาวสกอต ชื่อ Alexander

Garden(1730-1791)ซึ่งตอนหลังยายไปอยูอเมริกาคำระบุชนิดobtusifoliaแปลวาใบมนซึ่งอาจหมายถึงปลายใบที่มน

กระบอกไขเนาคมขวานคำมอกนอยพญาผาดามพุดนาฝรั่งโคกมอกสีดาโคกชื่อพื้นเมืองอื่นๆ

นิเวศวิทยา พบทั่วไปตามปาเต็งรังความสูงจากระดับน้ำทะเล100-300ม.ออกดอกระหวางเดือนมกราคม-

มีนาคมเปนผลระหวางเดือนมีนาคม-สิงหาคม

ประโยชน ทรงพุมขนาดเล็กดอกหอมปลูกเปนไมประดับได

พมาไทยลาวเวียดนามกัมพูชาและคาบสมุทรมลายูการกระจายพันธุ

พบทุกภาคประเทศไทย

Page 179: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี170

Rubiaceae

Page 180: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 171

คำมอกหลวงGardenia sootepensis Hutch.

ไมตนขนาดเล็กถึงขนาดกลางสูงไดถึง20ม.กิ่งออนมีขนสั้นๆปกคลุมเมื่อแหงเปลือกจะหลุดเปนวงอยู

โดยรอบกิ่งใบเดี่ยวเรียงตรงขามสลับตั้งฉากรูปขอบขนานรูปไขรูปรีหรือรูปไขกลับกวาง7-10ซม.ยาว8-18ซม.ปลายมนหรือแหลมโคนมนขอบเรียบแผนใบบางคลายกระดาษถึงกึ่งหนาคลายแผนหนังผิวดานบนมีขนสั้นๆ ดานลางมีขนสั้นนุมหนาแนนเสนแขนงใบขางละ12-18เสนกานใบยาว3-10มม.มีขนมีหูใบระหวางกานใบดอก

เดี่ยวออกที่ปลายกิ่งหรือซอกใบใกลปลายกิ่งสีเหลืองออนเปลี่ยนเปนเหลืองเขมกลิ่นหอมเสนผานศูนยกลางดอก5-7ซม.กานดอกยาว0.5-1ซม.กลีบเลี้ยงยาว1.2-1.5ซม.โคนเชื่อมกันเปนหลอดมีขนปกคลุมทั้ง2ดานปลาย

หลอดแยกเปน5แฉกไมชัดเจนกลีบดอกรูปกรวยโคนเชื่อมกันเปนหลอดยาว3.5-7.5ซม.ผิวดานนอกของหลอดมีขนสั้นๆดานในบริเวณโคนหลอดเกลี้ยงใกลปลายหลอดมีขนหางๆปลายหลอดแยกเปนกลีบ5กลีบรูปไขรูปรีหรือรูปไขกลับกวาง2-3ซม.ยาว2.5-4ซม.ปลายมนหรือกลมผิวกลีบดานในเกลี้ยงดานนอกมีขนสั้นๆบริเวณ

ขอบกลีบแตละกลีบมีเสนตามยาวหลายเสนเกสรเพศผู5อันติดบริเวณคอหลอดกลีบดอกโผลพนปากหลอดกลีบดอกเพียงเล็กนอยอับเรณูรูปขอบขนานรังไขอยูใตวงกลีบมี1ชองมีออวุลจำนวนมากกานเกสรเพศเมียยาวโผล

พนปากหลอดกลีบดอกยอดเกสรเพศเมียเปน2แฉกรูปกระบองผลแบบผลมีเนื้อหนึ่งถึงหลายเมล็ดรูปรีหรือรูปขอบขนานผิวมีปุมหูดกับชองอากาศเมล็ดเล็กจำนวนมาก

นิเวศวิทยา พบตามปาเต็งรังและปาเบญจพรรณความสูงจากระดับน้ำทะเล100-400ม.ออกดอกระหวางเดือนมกราคม-มีนาคมเปนผลระหวางเดือนมีนาคม-สิงหาคม

พบทุกภาคยกเวนภาคใตประเทศไทย

พมาไทยลาวกัมพูชาเวียดนาม

ที่มา ชื่อสกุลมีที่มาเชนเดียวกันกันกระมอบ (GardeniaobtusifoliaRoxb. exKurz) สวนคำระบุชนิดsootepensisหมายถึงดอยสุเทพจังหวัดเชียงใหมซึ่งเปนแหลงที่เก็บพรรณไมตนแบบ

การกระจายพันธุ

ไขเนาคำมอกชางผาดามยางมอกใหญแสลงหอมไกหอมไกชื่อพื้นเมืองอื่นๆ

ประโยชน ดอกขนาดใหญกลิ่นหอมปลูกเปนไมประดับได

Page 181: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี172

Rubiaceae

Page 182: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 173

ขาวสารปาPavetta tomentosa Roxb. ex Sm.

ไมพุมหรือไมตนขนาดเล็ก กิ่งเกลี้ยงหรือมีขนสั้นนุม ใบเดี่ยว เรียงตรงขามสลับตั้งฉาก รูปรีแกมรูปขอบขนานหรือรูปไขแกมรูปขอบขนานกวาง4-10ซม.ยาว8-15ซม.ปลายมนหรือแหลมโคนรูปลิ่มขอบเรียบแผน

ใบบางคลายกระดาษผิวดานบนมีขนสั้นนุมประปรายดานลางมีขนสั้นนุมหนาแนนเสนแขนงใบขางละ8-15เสนกานใบยาว1-1.5ซม.มีขนหูใบระหวางกานใบรูปสามเหลี่ยมกวาง5-6มม.ยาว3-7มม.ดานนอกมีขนสั้นดานในเกลี้ยงชอดอกแบบชอกระจุกแยกแขนงดูคลายชอเชิงลั่นออกที่ซอกใบใกลปลายกิ่งหรือเหนือรอยแผลใบใกลปลาย

กิ่งชอยาวไดถึง15ซม.ดอกในชอจำนวนมากกานดอกยอยยาว5-10มม.มีขนกลีบเลี้ยงโคนเชื่อมติดกันเปนหลอดยาวประมาณ2มม.ผิวดานนอกมีขนปลายหลอดแยกเปน4กลีบสั้นๆ กลีบดอกสีขาวโคนเชื่อมกันเปนหลอดยาว

ประมาณ10มม.ผิวดานนอกเกลี้ยงดานในมีขนหนาแนนที่ปลายหลอดแยกเปนกลีบ4กลีบรูปไขแกมรูปขอบขนานยาว6-7มม.เกสรเพศผู4อันติดที่ปลายหลอดกลีบดอกสลับกับแฉกกลีบดอกกานชูอับเรณูสั้นอับเรณูรูปขอบขนานยาว4-5มม.รังไขอยูใตวงกลีบมี2ชองแตละชองมีออวุล1เม็ดกานเกสรเพศเมียยาว2-2.5ซม.โคน

เกลี้ยงปลายมีขนสั้นๆ ยื่นยาวโผลพนหลอดกลีบดอกมากจานฐานดอกรูปวงแหวนผลคลายผลผนังชั้นในแข็งกลมเสนผานศูนยกลาง4-6มม.เมล็ด2เมล็ด

นิเวศวิทยา พบทั่วไปในปาเต็งรังความสูงจากระดับน้ำทะเล100-700ม.ออกดอกและเปนผลระหวางเดือนเมษายน-สิงหาคม

ประโยชน รากใชกับหญิงคลอดบุตรชากวากำหนดน้ำตมใบแกอาการไข

พบทุกภาคประเทศไทย

อินเดียพมาไทยลาวเวียดนามกัมพูชาคาบสมุทรมลายู

ที่มา Pavettaเปนชื่อพื้นเมืองMalayalamในอินเดียที่ใชเรียกตนเข็มปาPavettaindicaL.สวนคำระบุชนิดtomentosaแปลวามีขนสั้นหนานุมซึ่งหมายถึงขนที่ใบ

การกระจายพันธุ

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ เข็มแพะ

PavettaindicaL.var.tomentosa(Roxb.exSm.)Hook.f.ชื่อพอง

Page 183: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี174

ไมพุมหรือไมตนขนาดเล็กสูงไดถึง6ม.ลำตันและกิ่งมีหนามยาว1-1.5ซม.ใบเดี่ยวเรียงเวียนรูปไขหรือรูปรีกวาง1.8-4.5ซม.ยาว4.8-8ซม.ปลายมนหรือเวาตื้นโคนรูปลิ่มกวางขอบเรียบหรือเปนคลื่นเล็กนอยแผน

ใบหนาคลายแผนหนังดานบนสีเขียวเขมเปนมันดานลางสีเขียวออนเกลี้ยงทั้งสองดานเสนแขนงใบขางละ4-10เสนเสนใบยอยแบบรางแหชัดเจนทางดานลางกานใบยาว4-8มม.ชอดอกแบบชอกระจะออกตามซอกใบกานชอดอกและกานดอกเกลีย้งถงึมีขนละเอยีดกานดอกยาว0.8-1.5ซม.ใบประดบัยอยรปูใบหอกรวงงายยาวประมาณ1.5มม.มีขนกลีบเลี้ยงเปนกาบหรือแฉกไมเทากันมักมี2แฉกยาวประมาณ2มม.เกลี้ยงถึงมีขนละเอียดดอกมี

กลิ่นหอมกลีบดอกสีขาวมี4หรือ5กลีบแยกจากกันเปนอิสระรูปขอบขนานแกมรูปรียาว6-8มม.เกลี้ยงเกสร

เพศผู 8หรือ10อันยาวไมเทากันสลับกันระหวางสั้นกับยาว โคนเชื่อมกันเปนหลอด เกลี้ยงอับเรณูรูปไข ยาวประมาณ1มม.รังไขอยูเหนือวงกลีบยาว6-7มม.มี3-4ชองแตละชองมีออวุล1-2เม็ดกานเกสรเพศเมียยาวเทากับรังไขยอดเกสรเพศเมียมี3-4แฉกไมเทากันจานฐานดอกรูปวงแหวนมี8-10พูไมชัดเจนผลกลมหรือรีสีเขียวออนหรือเทาเสนผานศูนยกลาง2-4ซม.ผิวมีตอมเปนจุดหนาแนนปลายผลมีกานเกสรเพศเมียติดทนเมล็ดจำนวนนอย

นิเวศวิทยา พบตามปาชายหาดบนเขาหินชายฝงปาเต็งรังปาดิบแลงความสูงตั้งแตใกลระดับน้ำทะเลจนถึงประมาณ800ม.ออกดอกและเปนผลระหวางเดือนธันวาคม-เมษายน

การกระจายพันธุ อินเดียศรีลังกาพมาไทยภูมิภาคอินโดจีนคาบสมุทรมลายู

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ กะนาวพลีกรูดผีขี้ติ้วนางกานมะลิว

ประโยชน เนื้อไมใชทำดามเครื่องมือกลองไมขนาดเล็ก

ที่มา ชื่อสกุลตั้งใหเปนเกียรติใหกับAtalantaตามตำนานของกรีกโบราณเปนลูกสาวของArcadian

Iasusกับภรรยาชื่อClymeneสวนคำระบุชนิดmonophyllaแปลวามีใบ1ใบหมายถึงแผนใบที่เปนแผนเดียวไมหยักคอดเปนหลายสวนเหมือนพืชวงศสมชนิดอื่นๆ

Rutaceae

มะนาวผีAtalantia monophylla (DC.) Corrêa

TrichiliaspinosaWilld.ชื่อพอง

Sealimeชื่อสามัญ

พบทุกภาคประเทศไทย

Page 184: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 175

กระแจะNaringi crenulata (Roxb.) Nicolson

Rutaceae

ไมตนขนาดเล็กถึงขนาดกลางสูงไดถึง15ม.ลำตนและกิ่งมีหนามเปลือกสีน้ำตาลออนหนามออกเดี่ยวหรือเปนคูตรงยาวไดถึง2.5ซม.ใบประกอบแบบขนนกชั้นเดียวเรียงเวียนมี3-7ใบยอยยาวไดถึง15ซม.กาน

ชอใบยาวไดถงึ3ซม.แกนกลางใบประกอบมีครบีรปูใบหอกกลบัใบยอยคูลางเรยีงตรงขามใบยอยรปูไขถงึรปูไขแกมรูปสี่เหลี่ยมขาวหลามตัดกวาง1-2ซม.ยาว1-4ซม.ปลายมนถึงเวาตื้นเล็กนอยโคนแหลมขอบหยักมนถี่ใบยอย

ที่ปลายยาวที่สุดยาวไดถึง4ซม.แผนใบบางคลายกระดาษถึงหนาคลายแผนหนังเกลี้ยงทั้งสองดานมีตอมน้ำมันชัดเจนเสนแขนงใบขางละ3-5เสนไมมีกานใบยอยชอดอกแบบชอกระจะออกตามซอกใบเปนกลุมสั้นๆมีขนสั้นนุมกานชอดอกยาวไดถึง2ซมกานดอกยาว8-10มม.เกลี้ยงหรือมีขนกลีบเลี้ยง4กลีบรูปคลายสามเหลี่ยมกวาง

และยาวประมาณ1.5มม.ปลายแหลมผิวดานนอกมีขนละเอียดมีตอมน้ำมันดานในเกลี้ยงกลีบดอกสีขาวรูปไขแกมรูปรีกวางประมาณ3มม.ยาวประมาณ7มม.เกลี้ยงมีตอมน้ำมันประปรายเกสรเพศผู8อันยาว4-6มม.ยาวเกือบเทากันหรือสลับกันระหวางสั้นกับยาวเกลี้ยงกานชูอับเรณูรูปลิ่มแคบอับเรณูรูปขอบขนานแกมรูปไขยาว

ประมาณ2มม.ปลายเปนติ่งแหลมสั้นถึงติ่งแหลมออนรังไขอยูเหนือวงกลีบเกือบกลมยาว1-2มม.มีตอมน้ำมัน

เกลี้ยงมี4ชองแตละชองมีออวุล1เม็ดกานเกสรเพศเมียยาวประมาณ1มม.มีตอมน้ำมันใตยอดเกสรเพศเมียยอดเกสรเพศเมียปลายแยกเปน5แฉกจานฐานดอกเกลี้ยงผลกลมเสนผานศูนยกลาง6-7มม.มีตอมน้ำมันผลออนสีเขียวผลสุกสีมวงเขมหรือดำกานผลยาวไดถึง2ซม.เมล็ดเกือบกลมกวางประมาณ5มม.สีน้ำตาลอมสมออนมีเมล็ด1-4เมล็ด

นิเวศวิทยา พบตามปาเบญจพรรณปาดิบแลง ปาเต็งรัง บริเวณใกลแหลงน้ำ ความสูงจากระดับน้ำทะเล100-400ม.ออกดอกระหวางเดือนมีนาคม-พฤษภาคมผลแกระหวางเดือนพฤษภาคม-ตุลาคม

ประโยชน ผลสุกแกไขเปนยาสมานแผลยาบำรุงชวยเจริญอาหาร

พบแทบทุกภาคยกเวนภาคใตประเทศไทย

ปากีสถานอินเดียศรีลังกาบังคลาเทศพมาจีนตอนใตไทยภูมิภาคอินโดจีนชวา

ที่มา ชือ่สกลุมีที่มาจากคำวาnarinjinซึง่เปนชือ่พืน้เมอืงของสมโอ(Citrusmaxima)สวนคำระบุชนดิ

crenulataแปลวาหยักมนหมายถึงขอบใบที่หยักมน

การกระจายพันธุ

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ กระแจะจันขะแจะตุมตังพินิยาฮางแกงLimoniacrenulataRoxb.,Hesperethusacrenulata(Roxb.)Roem.ชื่อพอง

Page 185: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี176

Sapindaceae

Page 186: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 177

มะหวดLepisanthes rubiginosa (Roxb.) Leenh.

ไมพุมหรือไมตนขนาดเลก็สงูไดถงึ15ม.เปลอืกเรียบสนี้ำตาลอมเทาใบประกอบแบบขนนกปลายคูเรียง

เวียนใบยอยเรียงตรงขามมี3-6คูกานชอใบยาว3-8ซม.ใบยอยรูปไขถึงรูปไขกลับกวาง2.5-8ซม.ยาว4.5-18ซม.ปลายมนถึงเรียวแหลมโคนกลมถึงรูปลิ่มกวางขอบเรียบแผนใบบางคลายกระดาษมีขนยาวหางประปรายถึง

หนาแนนทั้งสองดานเสนแขนงใบขางละ8-12เสนกานใบสั้นมีขนชอดอกแบบชอแยกแขนงยาวไดถึง30ซม.ดอกสีขาวหรือขาวอมเหลืองกลิ่นหอมกลีบเลี้ยงรูปวงกลมถึงรูปไขกวางและยาวประมาณ2มม.กลีบดอก4กลีบรูปไขกลับกวางประมาณ2มม.ยาว3-4มม.กานกลีบยาวประมาณ1มม.เกล็ดบนกลีบดอกดานใน1เกล็ดปลาย

แยกเปนแฉกรปูคลายกระบอง2แฉกยาว1.5-3มม.สวนโคนเกลด็เกลีย้งหรอืมีขนยาวหางสวนปลายมีขนหนาแนนจานฐานดอกลักษณะเปนขอบสูงโดยเฉพาะในดอกเพศผูเกสรเพศผู8อันกานชูอับเรณูยาว3-5มม.อับเรณูยาว

ไมเกิน1มม.รังไขอยูเหนือวงกลีบมี3ชองแตละชองมีออวุล1เม็ดผลคลายผลผนังชั้นในแข็งรูปรีกวาง6-8มม.ยาว8-12มม.สุกสีน้ำตาลแดงเปลี่ยนเปนสีมวงเขมถึงเกือบดำไมมีกานผลบางครั้งเปนพูเล็กๆที่โคนผลเมล็ด1เมล็ดสีน้ำตาลถึงดำรูปรีกวาง4-5มม.ยาว8-10มม.

นิเวศวิทยา พบตามปาผลดัใบปาละเมาะที่รกรางรมิถนนรมิแมนำ้ชายปาความสงูตัง้แตใกลระดบันำ้ทะเลจนถึงประมาณ1,000ม.ออกดอกและเปนผลระหวางเดือนตุลาคม-เมษายน

ประโยชน เนื้อไมใชทำเสาสากตำขาวดามเครื่องมือผลสุกรับประทานไดรากและใบแกไขใบใชขยี้ในน้ำถูลางกระดงเลี้ยงไหมใหสะอาดเพื่อใชเลี้ยงในรอบถัดไป

อินเดีย พมา จีนตอนใตและตะวันออกเฉียงใต ไทย ภูมิภาคอินโดจีน ภูมิภาคมาเลเซียถึงตะวันตกเฉียงเหนือของออสเตรเลีย

ที่มา ชื่อสกุลมีที่มาจากภาษากรีกคำวาlepis,lepidosแปลวาเกล็ดและคำวาanthosแปลวาดอกหมายถงึเกลด็บนดอกคำระบุชนดิrubiginosaแปลวาสแีดงสนมิหรอืสนีำ้ตาลแดงซึง่อาจหมายถงึสีของผลสุก

การกระจายพันธุ

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ กะซ่ำกำซำกำจำชันรูมะหวดบาทมะหวดปามะหวดลิงลีฮอกนอยหวดคาหวดลาว

SapindusrubiginosaRoxb.ชื่อพอง

พบทุกภาคประเทศไทย

Page 187: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี178

Sapindaceae

Page 188: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 179

มะเฟองชางLepisanthes tetraphylla (Vahl) Radlk.

ไมพุมหรือไมตนขนาดเล็กเปลือกแตกเปนรองตามยาวสีน้ำตาลใบประกอบแบบขนนกปลายคูเรียงเวียนใบยอย2-3คูเรียงตรงขามใบยอยรูปรีถึงรูปไขกลับกวาง5.5-7ซม.ยาว8-12ซม.ปลายมนกลมแหลมหรือเวา

ตื้นโคนกลมมนสอบหรือรูปหัวใจขอบเรียบแผนใบบางคลายกระดาษมีขนทั้งสองดานเสนแขนงใบขางละ8-12เสนกานใบยอยยาว3-4มม.มีขนชอดอกแบบชอแยกแขนงยาวไดถึง40ซม.มีขนยาวหางดอกมีกลิ่นหอมสีขาว

หรือขาวอมเหลืองออนกลีบเลี้ยง5กลีบรูปไขถึงรูปไขกลับกวาง1-5มม.ยาว1.5-7มม.กลีบดอก5กลีบรูปไขแกมรูปรีหรือรูปขอบขนานกวาง1.5-4มม.ยาว2-5มม.กานกลีบยาว0.5-2มม.เกล็ดที่โคนกลีบดอกดานใน2อันเกสรเพศผู8อันกานชูอับเรณูยาว2-5มม.อับเรณูยาว1-2มม.รังไขอยูเหนือวงกลีบมี3ชองผลรูปไขสี

เหลืองเสนผานศูนยกลาง3-5ซม.มีสันตามยาวตื้นๆ3สันมีขนไมมีกานผลหรือกานผลสั้นเมล็ดสีน้ำตาลถึงดำ

นิเวศวิทยา พบตามปาเบญจพรรณปาเต็งรัง ความสูงตั้งแตใกลระดับน้ำทะเล จนถึงประมาณ 1,200 ม.

ออกดอกระหวางเดือนพฤศจิกายน-มิถุนายนเปนผลระหวางเดือนมกราคม-พฤศจิกายน

ประโยชน เนื้อไมใชทำเสาดามเครื่องมือเครื่องเรือน

อินเดียศรีลังกาพมาไทยภูมิภาคอินโดจีนมาเลเซีย

ที่มา ชื่อสกุลมีที่มาเชนเดียวกันกับมะหวด(Lepisanthesrubiginosa)สวนคำระบุชนิดtetraphylla

แปลวา4ใบหมายถึงใบประกอบของพืชชนิดนี้ที่มักมีใบยอย4ใบ

การกระจายพันธุ

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ ครูดประเฟองสะลางมะคำดีควายมะแฟนมะเฟองปามะโฮะจำ

SapindustetraphyllaVahl,S.siamensisRadlk.ชื่อพอง

ภาคเหนือ: ลำพูน ลำปาง แพร อุตรดิตถ ตาก นครสวรรค; ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ: เลยหนองคาย;ภาคตะวนัออก:ชยัภมูินครราชสมีา;ภาคกลาง:สระบรุ;ีภาคตะวนัออก:ชลบรุ;ีภาคตะวันตกเฉียงใต:กาญจนบุรีราชบุรีอุทัยธานี

ประเทศไทย

Page 189: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี180

Sapindaceae

Page 190: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 181

ตะครอSchleichera oleosa (Lour.) Oken

ไมตนขนาดกลางถึงขนาดใหญสูงไดถึง40ม.เปลือกสีน้ำตาลเทาถึงดำแตกเปนสะเก็ดบางๆ ใบประกอบแบบขนนกปลายคูเรียงเวียนใบยอยมี2-4คูเรียงตรงขามใบยอยรูปรีถึงรูปไขกลับกวาง3.5-8ซม.ยาว4.5-22

ซม.ใบคูลางขนาดเล็กกวาปลายมนแหลมหรือเวาตื้นโคนมนหรือกลมมักเบี้ยวแผนใบบางคลายกระดาษถึงหนาคลายแผนหนัง ผิวดานบนเกลี้ยงหรือเกือบเกลี้ยง ดานลางมีขนหยาบแข็งหรือเกือบเกลี้ยง ชอดอกแบบชอกระจะ

ออกตามซอกใบหรือใกลปลายกิ่งชอยาวไดถึง18ซม.ดอกแยกเพศรวมตนสีเขียวออนหรือสีเหลืองออนมีกลิ่นหอมกลีบเลี้ยงโคนเชื่อมกันเปนหลอดปลายแยกเปนแฉก4-6แฉกรูปไขถึงรูปคลายสามเหลี่ยมกวางประมาณ0.5มม.ยาวประมาณ1.5มม.ไมมีกลีบดอกเกสรเพศผู6-8อันกานชูอับเรณูยาวไดถึง2มม.สีเขียวแกมเหลืองออนมีขน

อับเรณูยาว0.7-1มม.สีเหลืองรังไขอยูเหนือวงกลีบมี1-2ชองแตละชองมีออวุล1เม็ดจานฐานดอกรูปวงแหวนผลรูปไขกวางกลมหรือเกือบกลมเสนผานศูนยกลาง1.2-1.5มม.ไมเปนพูเมล็ดสีน้ำตาลมี1-2เมล็ดกวาง8-10

มม.ยาว10-12มม.เยื่อหุมเมล็ดสีเหลืองฉ่ำน้ำรสเปรี้ยว

นิเวศวิทยา พบตามปาเต็งรัง ปาเบญจพรรณทุงหญา ความสูงจากระดับน้ำทะเล 100-900 ม. ออกดอก

ระหวางเดือนมกราคม-กรกฎาคมเปนผลระหวางเดือนมีนาคม-สิงหาคม

ประโยชน เนื้อไมทำลอเกวียนเพลารถเครื่องไถดามเครื่องมือใบออนทำใหสุกรับประทานเปนเครื่องเคียงเยื่อหุมเมล็ดของผลสุกรับประทานไดน้ำมันจากเมล็ดใชในการทำอาหารใชแตงผมทำผาบาติกสรรพคุณดานสมุนไพรน้ำมันจากเมล็ดใชแกอาการคัน แกสิว อาการติดเชื้อทางผิวหนัง เปลือก

เปนยาสมานทองแกทองรวง

พบแทบทุกภาคยกเวนภาคใตประเทศไทย

อินเดียศรีลังกาพมาไทยภูมิภาคอินโดจีนอินโดนีเซีย

ที่มา ชือ่สกลุใหเปนเกยีรติแกนกัพฤกษศาสตรชาวเยอรมนัชือ่JohannChristophSchleicher(1768-1834)คำระบุชนิดoleosaแปลวามีน้ำมันหมายถึงเมล็ดที่มีน้ำมัน

การกระจายพันธุ

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ กาซองคอคอสมเคาะเคาะจกตะครอไขปนรัวมะเคาะมะจกมะโจก

PistachiaoleosaLour.ชื่อพอง

Ceylonoak,Honeytree,Lactreeชื่อสามัญ

Page 191: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี182

Sapotaceae

Page 192: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 183

ตานนมXantholis cambodiana (Pierre ex Dubard) P. Royen

ไมพุมหรือไมตนขนาดเล็กสูงไดถึง12ม.ลำตนและกิ่งบางครั้งมีหนามกิ่งออนกลมมีชองอากาศมีขน

หนามยาว1-2ซม.ใบเดี่ยวเรียงเวียนรูปไขกลับหรือรูปรีกวาง2-4.5ซม.ยาว3.5-6ซม.ปลายมนหรือเวาตื้น

โคนสอบเรยีวขอบเรยีบแผนใบกึง่หนาคลายแผนหนงัดานบนมีขนประปรายหรอืเกอืบเกลีย้งดานลางมีขนหนาแนนเสนแขนงใบขางละ5-9เสนกานใบยาว2-5มม.มีขนดอกออกเปนกระจุกตามซอกใบกระจุกละ3-12ดอกกาน

ดอกยาว3-5มม.มีขนสั้นหนานุมกลีบเลี้ยงยาว2-4มม.โคนเชื่อมกันเปนหลอดปลายแยกเปน5แฉกรูปไขหรือขอบขนานปลายมนหรือแหลมมีขนทั้งสองดานกลีบดอกยาว4-6มม.โคนเชื่อมติดกันปลายแยกเปน5แฉกรูป

ขอบขนานแกมรูปใบหอกหรือรูปไขปลายมนหรือแหลมเกสรเพศผู5อันยาว3-4.5มม.อับเรณูรูปไขปลายแหลม

เกสรเพศผูที่เปนหมัน 5 อัน รูปแถบหรือรูปใบหอก ยาว 2-3 มม. รังไขอยูเหนือวงกลีบ รูปไขหรือกลม เสนผานศูนยกลาง2-3มม.มีขนหนาแนนมี5ชองแตละชองมีออวุล1เม็ดกานเกสรเพศเมียยาว4-5มม.ผลคลายผลมี

เนื้อหนึ่งถึงหลายเมล็ด รูปรีหรือรูปไขแกมรูปรี เสนผานศูนยกลาง 2-3 ซม. ผิวมีขนหนาแนนปลายผลมีกานเกสรเพศเมียติดทนเมล็ด1-3เมล็ดสีน้ำตาลรูปรีแกมรูปไขแบนกวางประมาณ1ซม.ยาวประมาณ1.5ซม.เปลือกหุม

เมล็ดหนา

ซระงำนมนาง

PlanchonellacambodianaPierreexDubard,Sideroxyloncambodianum(PierreexDubard)PierreexLecomte,Pouteriacambodiana(PierreexDubard)Baehni

ชื่อพอง

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ

ที่มา ชื่อสกุลมีที่มาจากภาษากรีกคำวาxanthosแปลวาเหลืองอาจหมายถึงผลของพืชสกุลนี้ที่เวลาสุกมักมีสีเหลืองสวนคำระบุชนิดcambodianaหมายถึงกัมพูชา

นิเวศวิทยา พบตามปาเตง็รงัและปาเบญจพรรณความสงูจากระดบันำ้ทะเล100-300ม.ออกดอกและเปนผลระหวางเดือนธันวาคม-เมษายน

ประโยชน เนื้อไมใชในการกอสรางรากใบและเนื้อไมใชกระตุนการไหลของน้ำนมในคนและสัตวเลี้ยงผลรับประทานได

ภาคเหนอื:ลำปางแพร;ภาคตะวนัออกเฉยีงเหนอื:เพชรบรูณ;ภาคตะวนัออกเฉยีงใต:สระแกว;

ภาคตะวันตกเฉียงใต:ราชบุรี

ประเทศไทย

ไทยลาวเวียดนามกัมพูชาการกระจายพันธุ

Page 193: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี184

Simaroubaceae

Page 194: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 185

ปลาไหลเผือกEurycoma longifolia Jack

ไมพุมหรือไมตนขนาดเล็กสูงไดถึง 5ม.กิ่งออนมีขนสีน้ำตาล ใบประกอบแบบขนนกปลายคี่ เรียงเวียนยาวไดถงึ35ซม.มกัออกเปนกลุมที่ปลายกิง่กานชอใบยาว7-15ซม.ใบยอย8-13คูเรยีงตรงขามหรอืเกอืบตรงขาม

รปูรีขอบขนานหรอืรปูไขแกมรปูขอบขนานใบยอยปลายสดุรปูไขกลบัใบกวาง2-4.5ซม.ยาว5-14ซม.ปลายแหลมหรือมนโคนสอบมักเบี้ยวขอบเรียบแผนใบหนาคลายแผนหนังผิวดานบนเกลี้ยงดานลางมีขนประปรายเสนแขนง

ใบขางละ8-12เสนไมมีกานใบยอยดอกแยกเพศรวมตนหรือแยกเพศตางตนชอดอกแบบชอแยกแขนงออกที่ซอกใบยาวไดถึง30ซม.กานชอดอกกานดอกใบประดับและกลีบเลี้ยงมีขนประปรายและมีขนตอมเปนกระจุกใบประดับรูปสามเหลี่ยมขนาดเล็กมากรวงงายกานดอกหนายาว4-7มม.ดอกสีน้ำตาลแดงเสนผานศูนยกลางดอก

6-7มม.กลีบเลี้ยง5กลีบรูปไขกวางประมาณ1มม.ยาวประมาณ2มม.โคนเชื่อมติดกันเล็กนอยกลีบดอก5กลีบแยกจากกันเปนอิสระรูปใบหอกถึงรูปไขหรือรูปไขกลับแกมรูปขอบขนานกวางประมาณ2มม.ยาวประมาณ

5มม.มีขนประปรายทั้งสองดานเกสรเพศผู5อันติดสลับกับกลีบดอกยาวประมาณ2มม.โคนกานชูอับเรณูมีรยางคและมีขนเกสรเพศผูที่เปนหมันในดอกเพศเมียขนาดเล็กยาวประมาณ0.5มม.ในดอกเพศผูยาวไดถึง2มม.รังไขอยูเหนือวงกลีบมี5-6อันแยกจากกันมีกานชูแตละอันมี1ชองมีออวุล1เม็ดกานเกสรเพศเมียเชื่อมกัน

หรือแนบชิดกันยอดเกสรเพศเมียเปนแบบกนปดมี5-6แฉกชี้ขึ้นยาวประมาณ1มม.ผลคลายผลผนังชั้นในแข็งรูปขอบขนานกวาง8-12มม.ยาว1.2-1.5ซม.กานผลยาว1.5-2มม.กลางผลมีรองตื้นๆตามยาวผลสุกสีแดง

ถึงมวงดำเมล็ดรูปรีมี1เมล็ด

นิเวศวิทยา พบตามปาเต็งรังปาเบญจพรรณปาดิบแลงปาชายหาดความสูงตั้งแตใกลระดับน้ำทะเลจนถึงประมาณ700ม.ออกดอกระหวางเดือนพฤศจิกายน-มกราคมเปนผลระหวางเดือนกุมภาพันธ-มิถุนายน

ประโยชน รากและสวนเปลือกของรากใชเปนยาลดไขเปลือกหนาขมใชรักษาอาการเปนไขโดยการการตมแลวดืม่ในมาเลเซยีใชบำรงุหลงัคลอดบตุรบดและใชภายนอกเปนยาพอกแกปวดหวัปดบาดแผล

แผลผุพอง

พบทุกภาค

พมาตอนลางไทยลาวกัมพูชาเวียดนามและคาบสมุทรมลายูสุมาตราบอรเนียว

ที่มา ชื่อสกุลมีที่มาจากภาษากรีกคำวา eurys แปลวากวางหรือใหญ และคำวา kome แปลวาขนหมายถึงขนเปนกระจุกที่ชอดอกคำระบุชนิดlongifoliaแปลวาใบยาว

การกระจายพันธุ

คะนางชะนางตรึงบาดาลตุงสอเพียกหยิกบอถองเอียนดอนแฮพันชั้นชื่อพื้นเมืองอื่นๆ

Ail’sumbrellaชื่อสามัญ

ประเทศไทย

Page 195: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี186

Simaroubaceae

Page 196: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 187

คนทาHarrisonia perforata (Blanco) Merr.

ไมพุมมักแตกกอเปนพุมใหญพบนอยที่เปนไมตนขนาดเล็กสูงไดถึง12ม.ลำตนและกิ่งมีหนามมีชองอากาศกิ่งออนมีขนกิ่งแกเกลี้ยงหนามรูปกรวยยาวไดถึง1ซม.ปลายโคงรวงงายใบประกอบแบบขนนกปลายคี่

เรียงเวียนยาวไดถึง15ซม.กานชอใบยาวไดถึง5ซม.แกนกลางมีปกแคบมีสันตามยาวดานบนและมีขนประปราย

ใบยอย 1-5 คู เรียงตรงขาม รูปไขแกมรูปใบหอกหรือรูปสี่เหลี่ยมขาวหลามตัด กวาง 1-1.5 ซม. ยาว 1.2-3 ซม.ปลายแหลมโคนสอบขอบเรียบแผนใบกึ่งหนาคลายแผนหนังเกลี้ยงเสนแขนงใบขางละ5-10เสนกานใบยอยสั้นมากหรือไมมี ใบยอยปลายสุดมีขนาดใหญที่สุด ชอดอกแบบกระจุกหรือชอกระจุกแยกแขนง ออกตามซอกใบหรือปลายกิ่งกานดอกยาวไดถึง2มม.กลีบเลี้ยงขนาดเล็กยาว1.5-2มม.โคนเชื่อมกันเปนหลอดยาวปลายแยกเปน

4-5แฉกกลีบดอก4-5กลีบรูปใบหอกพบนอยที่เปนรูปขอบขนานกวาง2-3มม.ยาว6-8มม.ปลายแหลมเกสร

เพศผูมีจำนวนเปนสองเทาของจำนวนกลีบดอกติดที่โคนจานฐานดอกกานชูอับเรณูยาว7-10มม.มีลิ้นปลายลิ้นเปน2แฉกมีขนหนาแนนที่ขอบจานฐานดอกรูปถวยสูง1-2มม. รังไขอยูเหนือวงกลีบยาว0.5-1มม. เปนพ ู

ตื้นๆมี4-5ชองแตละชองมีออวุล1เม็ดกานเกสรเพศเมียยาว5-8มม.มีขนสั้นนุมยอดเกสรเพศเมียมี4-5พูผลคลายผลผนังชั้นในแข็งคอนขางกลมเสนผานศูนยกลาง1-1.2ซม.บางครั้งเปนพูตื้นๆ ผนังผลชั้นนอกหนาคลาย

แผนหนัง

นิเวศวิทยา มักพบตามปาเต็งรังปาเบญจพรรณที่รกรางเขาหินปูนความสูงจากระดับน้ำทะเล100-900ม.ออกดอกและเปนผลระหวางเดือนมีนาคม-สิงหาคม

ประโยชน รากแหงเปนยาแกไขยาแกอักเสบใชรักษาบาดแผลแกทองรวงลำตนเปลือกตนแกทองรวงและอหิวาตกโรคยอดออนแกทองรวง ขี้เถาจากใบที่ยางไฟผสมน้ำมันหรือใบที่ตำใชแกอาการคัน

พบแทบทุกภาคยกเวนภาคใตประเทศไทย

พมาจีนตอนใตไทยภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซียตะวันตก

ที่มา ชื่อสกุลตั้งใหเปนเกียรติแกนักจัดสวนชาวอังกฤษชื่อ Arnold Harrison สวนคำระบุชนิด perforataแปลวาคลายถูกเจาะเปนรูกลมเล็กๆ อาจหมายถึงรอยหนามตามลำตนและกิ่งกานที่หนามรวงไปแลว

การกระจายพันธุ

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ กะลันทาจี้จี้หนามสีเตาะสีฟนสีฟนคนตายสีฟนคนทาหนามจี้

ชื่อพอง PaliurusperforatusBlanco,H.paucijugaOliv.,H. bennettiiBenn.

Page 197: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี188

Sterculiaceae

Page 198: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 189

ขี้ตุนHelicteres angustifolia L.

ไมพุมสูงไดถึง1.5ม.กิ่งมีขนรูปดาวหนาแนนใบเดี่ยวเรียงเวียนรูปใบหอกหรือรูปขอบขนานแกมรูปใบหอกกวาง2-5ซม.ยาว6-8ซม.ปลายมนแหลมหรือเรียวแหลมโคนมนหรือกลมขอบเรียบแผนใบบางคลาย

กระดาษถึงหนาคลายแผนหนัง ผิวดานบนมีขนรูปดาวประปราย มีมากบริเวณเสนกลางใบ ผิวดานลางมีขนรูปดาวหนาแนนเสนจากโคนใบ3-5เสนเปนรองทางดานบนเสนใบแบบรางแหชัดเจนทางดานลางกานใบยาว6-8มม.

มีขนดอกออกเปนกระจุกสั้นตามซอกใบยาว1-2ซม.ดอกจำนวนนอยกานดอกมีตั้งแตสั้นมากจนยาวไดถึง5มม.ใบประดับขนาดเล็กรูปแถบกลีบเลี้ยงยาว5-8มม.โคนเชื่อมกันเปนหลอดปลายแยกเปน5แฉกไมเทากันปลายหลอดกวาง2.5-3มม.มีขนสั้นทั้งสองดานกลีบดอกสีชมพูอมมวงหรือขาวมี5กลีบรูปแถบกึ่งรูปชอนขนาดไม

เทากันความยาวกลีบ7-8มม.ปลายกลมหรือตัดโคนกลีบสอบเปนกานมีติ่ง2ติ่งผิวกลีบมีขนเกสรเพศผูและเพศเมียมีกานชูยาว5-6มม.เกสรเพศผู10อันโคนเชื่อมกันเปนหลอดหุมเกสรเพศผูที่ไมสมบูรณ5อันไวภายใน

รังไขอยูเหนือวงกลีบอยูภายในหลอดกานชูอับเรณูมีขนสั้นนุมหนาแนนมี5ชองแตละชองมีออวุลจำนวนมากผลแบบผลแหงแตกรูปไขแกมรูปทรงกระบอกตรงกวาง1.2-1.5ซม.ยาว2-3ซม.เปนพู5พูตามยาวมีขนหนาแนนเมล็ดรูปไขหรือสี่เหลี่ยมขนมเปยกปูนเมื่อแหงมีสีดำ

นิเวศวิทยา พบตามปาเบญจพรรณปาเตง็รงัเขาหนิปนูความสงูจากระดบันำ้ทะเล50-900ม.ออกดอกและเปนผลเกือบตลอดป

ประโยชน เปลือกใหเสนใย

พบทุกภาคประเทศไทย

อินเดียพมาจีนตอนใตไทยภูมิภาคอินโดจีนภูมิภาคมาเลเซียและออสเตรเลีย

ที่มา ชือ่สกลุมีที่มาจากภาษากรกีคำวาheliktosแปลวาบดิเปนเกลยีวและคำวาhelissoแปลวามวนซึ่งหมายถึงผลของพืชสกุลนี้บางชนิดที่บิดเปนเกลียวสวนคำระบุชนิดangustifoliaแปลวามีใบ

แคบ

การกระจายพันธุ

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ ขี้อนเขากี่นอยปอขี้ไกปอมัดโปยำแยหญาหางอน

Page 199: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี190

Sterculiaceae

Page 200: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 191

ปอบิดHelicteres isora L.

ไมพุมหรือไมตนขนาดเล็กสูง1-4ม.กิ่งออนมีขนรูปดาวหนาแนนมีชองอากาศใบเดี่ยวเรียงเวียนรูปไขกวาง5.5-7.5ซม.ยาว8.5-15ซม.ปลายใบเปนแฉกไมเปนระเบียบ3-5แฉกแฉกกลางสุดยาวคลายหางโคนใบ

กลมหรือรูปหัวใจขอบจักฟนเลื่อยแผนใบกึ่งหนาคลายแผนหนังดานบนมีขนสากดานลางมีขนรูปดาวหรือขนสั้นหนานุมเสนโคนใบ3-5เสนเสนใบยอยแบบขั้นบันไดชัดเจนทางดานลางกานใบยาว0.5-2ซม.มีขนหูใบรูปแถบยาว3-7มม.ชอดอกแบบชอกระจกุออกที่ซอกใบมี5-8ดอกกานชอดอกสัน้กานดอกยาว3-5มม.มีขนใบประดบั

และใบประดับยอยรูปแถบยาว3-5มม.กลีบเลี้ยงสีเหลืองยาว1-2ซม.เบี้ยวติดทนมีขนรูปดาวถึงขนสั้นหนานุมโคนกลีบเชื่อมกันเปนหลอดยาว2-2.5ซม.ปลายแยกเปนแฉกไมเทากัน5แฉกรูปสามเหลี่ยมยาว5-9มม.

กลีบดอกสีแดงอมสมมี5กลีบขนาดไมเทากันรูปใบหอกกลับยาว2.5-3ซม.โคงพับลงเกสรเพศผูและเพศเมียมีกานชูยื่นยาวโผลพนกลีบดอกออกมามากเกสรเพศผู10อันโคนเชื่อมกันเปนหลอดรูปถวยรังไขอยูเหนือวงกลีบอยูภายในหลอดกานชูอับเรณูมีขนหนาแนนมี5ชองแตละชองมีออวุลจำนวนมากผลแบบผลแหงแตกสีน้ำตาล

เขมรูปทรงกระบอกกวาง7-10มม.ยาว3-6ซม.มีขนประปรายบิดเปนเกลียวหลังผลแตกเมล็ดรูปกึ่งสี่เหลี่ยมขาวหลามตัดยาว2-2.5มม.เกลี้ยง

นิเวศวิทยา พบตามปาเต็งรังปาเบญจพรรณชายปาดิบที่รกรางความสูงจากระดับน้ำทะเล100-400ม.

ออกดอกและเปนผลตลอดทั้งป

ประโยชน ผลใชภายในหรือภายนอกแกโรคทางลำไสโดยเฉพาะในเด็กในมาเลเซียและตอนใตของไทยใชผลแหงเปนยาบำรุงโดยเฉพาะหลังคลอดบุตรตนใหเสนใย ใชทำเชือก ในสมัยกอนในชวาใชทำกระสอบในอินเดียใชทำกระดาษตนปลูกเปนไมประดับกิ่งและใบใชเปนอาหารสัตว

อินเดียศรีลังกาปากีสถานเนปาลพมาจีนตอนใตไทยภูมิภาคอินโดจีนมาเลเซียตะวันตกและ

ออสเตรเลีย

ที่มา ชื่อสกุลมีที่มาเชนเดียวกันกับขี้ตุน(HelicteresangustifoliaL.)สวนคำระบุชนิดisoraมาจากชื่อทองถิ่นMalabarที่ใชเรียกพืชชนิดนี้ในอินเดียคำวาisora-murri

การกระจายพันธุ

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ ขี้อนใหญปอทับมะปด

ชื่อพอง H.roxburghiiG.Don,H.chrysocalyxMiq.exMast.

ชื่อสามัญ Nut-leavedscrew-tree,Redisora,Spiralbush,Indianscrew-tree

พบทุกภาคประเทศไทย

Page 201: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี192

Symplocaceae

Page 202: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 193

เหมือดหอมSymplocos racemosa Roxb.

ไมพุมหรือไมตนขนาดเล็กสูงไดถึง12ม.กิ่งออนเกลี้ยงหรือมีขนใบเดี่ยวเรียงเวียนรูปรีกวาง2.5-6ซม.ยาว6.5-15ซม.ปลายมนหรอืกลมโคนสอบหรอืมนขอบหยกัมนหรอืเรยีบแผนใบหนาคลายแผนหนงัเกลีย้งทัง้สองดานผิวใบดานบนเมื่อแกเห็นเปนรอยยนเสนแขนงใบขางละ5-8เสนชัดเจนทั้งสองดานกานใบยาว0.5-2.5ซม.

มีขนชอดอกแบบชอกระจะออกที่ซอกใบและปลายกิ่งชอยาวไดถึง10ซม.แกนกลางมีขนสั้นนุมหนาแนนดอกในชอจำนวนมากใบประดับรูปไขยาว3-4มม.ใบประดับยอยยาว2-3มม.ทั้งใบประดับและใบประดับยอยรวงงาย

มีขนสั้นนุมกานดอกยอยยาว1-1.5มม.มีขนดอกมีกลิ่นหอมเสนผานศูนยกลางดอกบานประมาณ1ซม.กลีบเลี้ยงโคนเชื่อมกันเปนหลอดสั้นยาวประมาณ1.5มม.ปลายแยกเปน5แฉกรูปไขปลายกลมหรือมนมีขนประปรายถึงหนาแนนกลีบดอกสีขาวโคนเชื่อมกันเปนหลอดสั้นๆ ปลายแยกเปน5กลีบรูปขอบขนานแกมรูปไขกลับกวาง2-4

มม.ยาว4-5มม.เกสรเพศผูจำนวนมากยาวไมเทากนัตดิอยูบนหลอดกลบีดอกรงัไขอยูใตวงกลบีเกลีย้งยาว1-1.5มม.มี2-5ชองแตละชองมีออวุล2-4เม็ดกานเกสรเพศเมียเกลี้ยงหรือมีขนที่โคนจานฐานดอกมีตอม5อันมีขน

ผลแบบผลผนังชั้นในแข็งรูปขอบขนานรูปรีหรือรูปไขแกมรูปรีกวาง4-6มม.ยาว6-10มม.เกลี้ยงสุกสีมวงเขมผิวเปนมันปลายผลมีกลีบเลี้ยงติดทนเมล็ดรูปรี1เมล็ด

นิเวศวิทยา พบตามปาเต็งรังปาเต็งรังผสมสนและกอปาบุงปาทามความสูงตั้งแตใกลระดับน้ำทะเลจนถึงประมาณ1,200ม.ออกดอกและเปนผลระหวางเดือนพฤศจิกายน-สิงหาคม

ประโยชน เปลือกใชเปนยามีฤทธิ์เย็นชวยสมานแผลหามเลือดโรคเกี่ยวกับลำไสโรคเกี่ยวกับตาและแผลผุพองใบใชยอมผาตนมีทรงพุมแนนดอกดกและมีกลิน่หอมผลสกุออกเปนชอเดนสมีวงเปนมนัปลูกเปนไมประดับได

พบแทบทุกภาคยกเวนภาคใต

อินเดียพมาจีนตอนใตไทยภูมิภาคอินโดจีน

ที่มา ชื่อสกุลมีที่มาจากภาษากรีกคำวาsymplokeแปลวาการรวมกันหมายถึงเกสรเพศผูที่เชื่อมติด

กันที่ฐานคำระบุชนิดracemosaแปลวามีชอดอกแบบชอracemeคือชอดอกแบบชอกระจะ

การกระจายพันธุ

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ กฤษณาตะลุมนกหวาเหมียดหลาเหมือดเหลาเหมือดนอยเหมือดโลด

ชื่อพอง S. impressaH.R.Fletcher

ชื่อสามัญ Lodhbark,Recemosesweetleaf

ประเทศไทย

Page 203: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี194

Thymelaeaceae

Page 204: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 195

ปอเตาไหEnkleia siamensis (Kurz) Nevling

ไมพุมตั้งตรงหรือไมเถาเนื้อแข็งสูงไดถึง4มม.มีมือเกาะออกตรงขามกิ่งออนสีน้ำตาลแดงมีขนประปรายใบเดีย่วเรยีงตรงขามพบบางที่เรยีงสลบัรปูไขหรอืรปูรีพบบางที่เปนรปูกลมกวาง3-6ซม.ยาว5-10ซม.ปลายแหลม

หรือมนมักมีติ่งหนามเล็กๆโคนรูปลิ่มหรือมนขอบเรียบแผนใบหนาคลายแผนหนังดานบนสีเขียวเกลี้ยงยกเวนมีขนตามรองเสนกลางใบดานลางสีเทามีขนสั้นนุมประปรายถึงหนาแนนโดยเฉพาะตามเสนกลางใบและเสนแขนงใบเสนแขนงใบขางละ15-25เสนชดัเจนทัง้สองดานกานใบยาว6-8มม.เกลีย้งหรอืมีขนสัน้นุมเปนรองทางดานบน

ชอดอกแบบชอซี่รมจำนวนดอก3-15ดอกกานชอดอกยาว2-5ซม.ใบประดับเปนเยื่อบางสีครีมแกมเขียวออนรูปรีกวาง1-1.5ซม.ยาว2-5ซม.ปลายและโคนมนมีขนทั้งสองดานติดทนใบประดับยอยขนาดเล็กรูปแถบติด

ทนดอกสีเขียวหรือสีเหลืองกลีบเลี้ยงโคนเชื่อมกันเปนหลอดยาว7-8มม.ปลายแยกเปน5แฉกกวาง1.5-2มม.ยาว3-4มม.มีขนทั้งสองดานกลีบดอก5กลีบรูปลิ้นยาวประมาณ2.5มม.อวบน้ำปลายเปนแฉกลึก2แฉกรูปขอบขนานเกสรเพศผู10อันเรียงเปน2วงกานชูอับเรณูยาว0.5-1.5มม.เกลี้ยงอับเรณูยาวประมาณ1มม.รังไข

อยูเหนือวงกลีบรูปรียาว1-2มม.มีขนคลายไหมหนาแนนมี1ชองมีออวุล1เม็ดกานเกสรเพศเมียสั้นยาว1.5-2มม.ยอดเกสรเพศเมียเปนตุมผลคลายผลผนังชั้นในแข็งรูปไขกวาง6-8มม.ยาว1-1.5ซม.ปลายแหลมเกลี้ยง

หรือมีขนละเอียดมีกานผลยาวมักพบรองรอยของกลีบเลี้ยงที่โคนผลเมล็ดรูปไขกวาง4-5มม.ยาว6-8มม.

นิเวศวิทยา พบทั่วไปตามปาเต็งรัง มักพบขึ้นปะปนอยูกับไมตนพวกยาง (Dipterocarpus spp.) ความสูงตั้งแตใกลระดับน้ำทะเลจนถึงประมาณ 500 ม. ออกดอกและเปนผลระหวางเดือนมกราคม-เมษายน

ประโยชน เปลือกใหเสนใยใชทำเชือกใบตมใชรักษาโรคตาผลใชเปนยาถาย

พบแทบทุกภาคยกเวนภาคใตประเทศไทย

พมาไทยลาวกัมพูชาและเวียดนาม

ที่มา ชื่อสกุลมีที่มาจากภาษากรีกคำวาenkleioแปลวาปดทำใหติดอยูหรือบางทีมาจากคำวาen

กับkleosแปลวาเดนสวยงามหมายถึงสวนของใบประดับและดอกที่เดนและสวยงามคำระบุชนิดsiamensisหมายถึงสยามแหลงที่เก็บพรรณไมตนแบบ

การกระจายพันธุ

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ เตาไหปอตับเตาพญาไมผุพันไฉนพันไสน

ชื่อพอง LinostomasiamensisKurz,L. scandens(Endl.)Kurzvar.cambodianumLecomte

Page 205: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี196

Tiliaceae

Page 206: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 197

ปอพรานColona auriculata (Desf.) Craib

ไมพุมสูงไดถึง2.5ม.ใบเดี่ยวเรียงสลับรูปขอบขนานหรือรูปไขกลับแกมรูปขอบขนานกวาง2.5-8ซม.ยาว7-18.5ซม.ปลายแหลมถึงยาวคลายหางโคนเบี้ยวและเปนรูปติ่งหูขอบหยักฟนเลื่อยซอนแผนใบบางคลายกระดาษถึงกึ่งหนาคลายแผนหนังดานบนมีขนสากดานลางมีขนสั้นนุมหนาแนนเสนใบที่โคน3เสนเสนแขนงใบ

ขางละ3-7เสนเสนใบยอยคลายขั้นบันไดและเสนใบยอยแบบรางแหชัดเจนทางดานบนกานใบยาวประมาณ3มม.มีขนหูใบรูปรีติดทนชอดอกแบบชอกระจุกออกที่ซอกใบชอยาว2-3ซม.จำนวนดอกแตละกระจุก1-3ดอกดอก

ตูมรูปไข เสนผานศูนยกลาง0.5-1ซม.กลีบเลี้ยง5กลีบแยกจากกันเปนอิสระรูปขอบขนานแกมรูปใบหอกผิวดานนอกมีขนหนาแนนดานในมีขนบางกวากลีบดอก5กลีบแยกจากกันเปนอิสระสีเหลืองมีจุดประสีน้ำตาลแดงกลีบรูปชอนกวาง2-3มม.ยาว8-9มม.ปลายมนเกสรเพศผูจำนวนมากกานชูอับเรณูสีขาวอมเหลืองเกลี้ยงอับ

เรณูสีเหลืองออนรังไขอยูเหนือวงกลีบรูปไขกวางประมาณ2มม.ยาวประมาณ3มม.มีขนหนาแนนมี5ชองแตละชองมีออวุล2-4เม็ดผลรูปกลมหรือรูปไขกวาง1.5-2ซม.ยาว1.8-2.5ซม.มีสันตามยาว5สันมีขนหนาแนน

ผลแกไมแตก

นิเวศวิทยา พบตามปาเต็งรังปาเบญจพรรณปาละเมาะที่รกรางที่ลุมน้ำขังชายปาดิบความสูงตั้งแตใกลระดบันำ้ทะเลจนถงึประมาณ300ม.ออกดอกระหวางเดอืนพฤษภาคม-กนัยายนเปนผลระหวางเดือนพฤษภาคม-ธันวาคม

ประโยชน เปลือกใหเสนใยใชทำเชือกคุณภาพดี

ภาคเหนือ:อตุรดิตถสโุขทัย;ภาคตะวนัออก:นครราชสมีาบรุีรมัยอบุลราชธาน;ีภาคตะวนัออก

เฉียงใต:ปราจีนบุรีชลบุรีจันทบุรี;ภาคตะวันตกเฉียงใต:อุทัยธานีราชบุรี;ภาคใต:กระบี่

ประเทศไทย

ไทยลาวกัมพูชาเวียดนามและอินโดนีเซียการกระจายพันธุ

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ ขี้หมาแหงปอขี้ตุนปอทีปอปานปอพาน

ชื่อพอง DiplophractumauriculatumDesf.,Columbiaauriculata(Desf.)Baill.

ที่มา ชือ่สกลุตัง้ใหเปนเกยีรติแกนกัสำรวจชาวอติาเลยีนChristopherColumbus(CristóbalColón)สวนคำระบุชนิดauriculataแปลวารูปติ่งหูหมายถึงโคนใบของพืชชนิดนี้ที่เปนรูปติ่งหู

Page 207: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี198

Tiliaceae

Page 208: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 199

ปอยาบGrewia abutilifolia Vent. ex Juss.

ไมพุมสงูไดถงึ4ม.กิง่ออนมีขนสากใบรปูไขกลมหรอืเกอืบกลมกวาง4-7ซม.ยาว5-10ซม.ปลายแหลม

โคนกลมหรือรูปหัวใจขอบหยักฟนเลื่อยซอนมีขนทั้งสองดานเสนใบ3เสนจากโคนเสนแขนงใบขางละ3-4เสนเสนใบยอยคลายขั้นบันไดเห็นชัดเจนทางดานลางกานใบยาวประมาณ1ซม.มีขนชอดอกแบบชอกระจุกออกตาม

ซอกใบชอตั้งตรงยาว1-2ซม.กานชอดอกยาว1-5มม.ดอกตูมรูปกลมรีหรือขอบขนานกวางประมาณ3มม.ยาว4-6มม.กลีบเลี้ยง5กลีบแยกจากกันเปนอิสระรูปขอบขนานกวาง1-2มม.ยาว8-9มม.ปลายแหลมหรือมนผิวดานนอกสีเขียวมีขนหนาแนนดานในสีขาวหรือเหลืองออนมีขนประปรายหรือเกือบเกลี้ยงดอกบานกลีบเลี้ยง

มวนพบัลงดานนอกกลบีดอกสขีาวหรอืขาวแกมเหลอืงมี5กลบีแยกจากกนัเปนอสิระรปูไขหรอืรปูขอบขนานกวางประมาณ1มม.ยาว2-3มม.เกลี้ยงหรือมีขนครึ่งลางขอบมีขนครุยโคนกลีบมีตอมเกสรเพศผูจำนวนมากยาวไม

เทากันเกลี้ยงรังไขอยูเหนือวงกลีบรูปไขหรือกลมกวางประมาณ1มม.ยาวประมาณ1.5มม.มีขนมี2-4ชองแตละชองมีออวุล2เม็ดผลรูปไขกลมหรือเปน2พูตื้นๆสีเทาไมมีสันมีขนประปรายหรือเกือบเกลี้ยงผลแกไมแตก

นิเวศวิทยา พบตามปาเตง็รงัปาเบญจพรรณปาละเมาะความสงูจากระดบันำ้ทะเล100-1,000ม.ออกดอกและเปนผลตลอดทั้งปแตมักพบระหวางเดือนมีนาคม-ธันวาคม

ประโยชน เปลือกใหเสนใยใชทำเชือกรากตมแกไขลำตนใชรักษาสิว

พบทุกภาคประเทศไทย

อินเดียพมาจีนไทยกัมพูชาเวียดนามลาวและคาบสมุทรมลายู

ที่มา ชือ่สกลุตัง้ใหเปนเกยีรติแกนกัพฤกษศาสตรและนกัสรรีะวทิยาชาวองักฤษชือ่NehemiahGrew

(1641-1712)สวนคำระบุชนิดabutilifoliaแปลวาใบคลายพืชในสกุลAbutilon(Malvaceae)เชนครอบจักรวาล

การกระจายพันธุ

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ ขาวจี่หญาบิดหญาปด

ชื่อพอง G.arbutifoliaPers.,G.asperaRoxb.,G.macrophyllaG.Don,G.sclerophyllaRoxb.,G.abutilifoliaVent.exJuss.var.urenifoliaPierre

Page 209: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี200

Tiliaceae

Page 210: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 201

ปอแปGrewia hirsuta Vahl

ไมพุมสูงไดถึง2ม.ใบเดี่ยวเรียงสลับรูปใบหอกแกมรูปขอบขนานกวาง1.5-4.5ซม.ยาว6-15ซม.

ปลายแหลมหรือเรียวแหลมโคนสอบมนหรือกลมสองขางไมเทากันขอบจักฟนเลื่อยถี่ถึงจักฟนเลื่อยซอนแผนใบหนาคลายแผนหนงัดานบนสเีขยีวเขมเปนมนัมีขนสัน้หางๆ ดานลางมีขนหยาบแขง็เสนจากโคนใบ3เสนเสนแขนงใบขางละ3-7เสนโคงไปทางปลายใบเสนใบยอยคลายขั้นบันไดเห็นชัดเจนทางดานลางกานใบยาว2-4มม.มีขน

ชอดอกแบบชอกระจุกออกที่ซอกใบชอยาว1-3ซม.กานชอดอกยาวไดถึง5มม.กานดอกยาว0.5-4มม.ดอกตูมรูปไขถึงรูปขอบขนานกวาง2-2.5มม.ยาว4-8มม.ดอกมีทั้งดอกสมบูรณเพศและดอกเพศเดียวกลีบเลี้ยง5กลีบ

แยกจากกันเปนอิสระรูปใบหอกกวาง1-2มม.ยาว7-9มม.ผิวดานนอกสีเขียวมีขนผิวดานในสีขาวเกลี้ยงกลีบดอกสีขาวมี5กลีบแยกจากกันเปนอิสระรูปขอบขนานกวางประมาณ1.5มม.ยาวประมาณ2.5มม.มีขนทั้งสองดานขอบเปนขนครุยเกสรเพศผู5อันแยกจากกันกานชูอับเรณูเกลี้ยงรังไขอยูเหนือวงกลีบรูปไขหรือกลมเสน

ผานศูนยกลางประมาณ2มม.มีขนมี2-4ชองแตละชองมีออวุล2เม็ดผลมี2-4พูกวาง6-7มม.ยาว8-10มม.แตละพูกลมหรือเกือบกลมผิวเปนมันมีขนหยาบผลแกไมแตก

นิเวศวิทยา พบตามปาเต็งรัง ปาเบญจพรรณ ปาดิบแลง ความสูงตั้งแตใกลระดับน้ำทะเลจนถึงประมาณ1,500ม.ออกดอกและเปนผลระหวางเดือนพฤษภาคม-ธันวาคม

ประโยชน ดานสมุนไพรใชแกทองรวงรักษาโรคบิดบาดแผลเปนหนอง

พบทุกภาคประเทศไทย

อนิเดยีเนปาลพมาไทยภมูภิาคอนิโดจนีตอนใตของมาเลเซยีอนิโดนเีซยีฟลปิปนสออสเตรเลยี

และอาฟริกา

ที่มา ชื่อสกุลมีที่มาเชนเดียวกันกันปอยาบ(GrewiaabutilifoliaVent.exJuss.)สวนคำระบุชนิด

hirsutaแปลวามีขนหยาบหมายถึงขนที่ใบและผลของพืชชนิดนี้

การกระจายพันธุ

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ ขาวกี่วอกขาวตากขาวมายเจเนราชามัดยาบขี้ไกหำมา

ชื่อพอง G. tomentosa Juss., G. polygama Roxb., G. polygama Roxb. var. hosseusianaDrumm.

Page 211: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี202

ไมตนขนาดเล็กถึงขนาดกลางสูงไดถึง15ม.กิ่งออนมีขนรูปดาวหนาแนนใบเดี่ยวเรียงเวียนรูปไขกลับกวาง3-10ซม.ยาว6.5-19ซม.ปลายแหลมโคนสอบมนหรือกลมขอบหยักฟนเลื่อยไมเปนระเบียบที่ปลายใบสวนกลางและโคนใบขอบเรียบแผนใบบางคลายกระดาษถึงกึ่งหนาคลายแผนหนังมีขนรูปดาวทั้งสองดานดานลางมีขนหนาแนนกวา เสนแขนงใบขางละ4-9 เสนมี3 เสนออกจากโคนใบ เสนใบยอยคลายขั้นบันได เห็นชัดเจนที่

ดานลางกานใบยาว6-12มม.มีขนหนาแนนชอดอกแบบชอกระจุกออกที่ซอกใบหรือปลายกิ่งยาว3-15ซม.กาน

และแกนชอดอกมีขนหนาแนนใบประดับรูปแถบหรือรูปใบหอกยาวไดถึง1ซม.มีขนหนาแนนกานดอกยาว6-8มม.มีขนดอกตูมกลมเสนผานศูนยกลางประมาณ4มม.กลีบเลี้ยง5กลีบแยกจากกันเปนอิสระรูปชอนกวาง

ประมาณ2มม.ยาว6-7มม.มีขนทั้งสองดานกลีบดอก5กลีบแยกจากกันเปนอิสระรูปไขแกมรูปใบหอกกวาง0.5-1.5มม.ยาว1.5-3มม.มีขนสั้นๆทั้งสองดานโคนกลีบดานในมีตอมรูปรีเกสรเพศผูจำนวนมากกานชูอับ

เรณูโคนมีขนปลายเกลี้ยงรังไขอยูเหนือวงกลีบรูปกลมกวางประมาณ1มม.ยาวประมาณ2มม.มีขนหนาแนน

มี2-4ชองแตละชองมีออวุล2เม็ดผลคลายผลผนังชั้นในแข็งรูปกลมรูปรีหรือรูปไขกลับสั้นกวาง0.6-1ซม.ยาว1-1.2ซม.ผนังผลคลายแผนหนังมีขนผลสุกสีมวงดำเมล็ด1เมล็ด

นิเวศวิทยา พบตามปาเบญจพรรณปาเตง็รงัปาดบิแลงความสงูจากระดบันำ้ทะเล50-300ม.ออกดอกและเปนผลระหวางเดือนเมษายน-ตุลาคม

การกระจายพันธุ อินเดียพมาจีนตอนใตไทยภูมิภาคอินโดจีนคาบสมุทรมลายูอินโดนีเซียและฟลิปปนส

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ กะปกกะปูขี้เถาคอมสมคอมเกลี้ยงน้ำลายควายมลาย

ประโยชน เปลือกใหเสนใยใชทำเชือก น้ำมันยางจากเปลือกใชเปนเชื้อเพลิง เนื้อไม ใชทำดามเครื่องมือเครื่องมือทางการเกษตร เครื่องกีฬา ผลดิบใชเปนลูกปนสำหรับเครื่องเลนเด็กทำดวยไมไผที่ตรงกลางมีรูผลสุกรับประทานได

ที่มา ชื่อสกุลมีที่มาจากภาษากรีกคำวาmikrosแปลวาเล็กและคำวาkosแปลวากักขังซึ่งหมายถึง

ใบของพืชสกุลนี้บางชนิดที่นำมาใชหอของ

Tiliaceae

พลับพลาMicrocos tomentosa Sm.

ชื่อพอง GrewiapaniculataRoxb.

ประเทศไทย พบทุกภาค

Page 212: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 203

พืชเบียนเปนพุมขนาดเล็กกิ่งสีเขียวแตกแขนงมากยาวไดถึง50ซม.หอยลงกิ่งแบงเปนปลองๆแตละปลองแบนอยูสลับและตั้งฉากกันลักษณะปลองรูปขอบขนานแกมรูปไขกลับกวาง1-3ซม.ยาว3-7ซม.กลาง

ปลองมีสันตามยาวชัดเจนหรือไมชัดเจนใบลดรูปเล็กมากไมชัดเจนออกตรงขามดอกแยกเพศดอกเพศผูและดอกเพศเมียอยูในตนเดียวกันชอดอกแบบชอกระจุกออกเปนกระจุก3ดอกตามขอของกิ่งสีเขียวออนอยูภายในใบประดบั2อนัที่เชือ่มตดิกนัดอกตรงกลางเปนดอกเพศเมยีดอกดานขางเปนดอกเพศเมยีหรอืดอกเพศผูบางครัง้ดอก

ลดรูปเหลือเพียงดอกเพศเมียดอกเพศผูขนาดเล็กกวาแบนดอกเพศเมียรูปกรวยวงกลีบรวมเชื่อมติดกันเปนหลอดปลายแยกเปน4กลีบดอกเพศผูมีเกสรเพศผูอยูตรงขามกลีบอับเรณูแตกเปนรูรังไขอยูใตวงกลีบมี1ชองไมมี

ออวุลผลแบบผลมีเนื้อหนึ่งถึงหลายเมล็ดสีขาวหรือเหลืองออนรูปเกือบกลมเสนผานศูนยกลาง3-4มม.มีเนื้อเยื่อที่มีลักษณะเหนียวปลายผลมีกลีบรวมติดทนเมล็ดกลมแบนมี1เมล็ด

นิเวศวิทยา พบเกาะตามตนไมในปาแทบทุกประเภทออกดอกและเปนผลระหวางเดือนธันวาคม-มีนาคมกระจายพันธุโดยนก

ประเทศไทย พบทุกภาค

ที่มา ชื่อสกุลมีที่มาจากภาษาลาตินคำวา viscus เปนชื่อลาตินที่ใชเรียกกาฝากสวนคำระบุชนิด ar-ticulatumแปลวาเปนขอหมายถึงกิ่งกานของพืชชนิดนี้ที่ตอกันเปนขอๆ

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ กาฝากตนเปากาฝากเถาหาผัวชกนางหักหางสิงห

การกระจายพันธุ ศรีลังกาอินเดียจีนตอนใตไทยเวียดนามลาวกัมพูชามาเลเซียอินโดนีเซียออสเตรเลีย

ประโยชน ใชเปนยาพอกรักษาอาการปวดประสาทแผลโดนบาดอาการคันหรือผสมน้ำอาบลดไขน้ำตมทั้งตนกินแกหลอดลมอักเสบ

Viscaceae

กาฝากตีนปูViscum articulatum Burm. f.

ชื่อพอง V. nepalenseSpreng.,V.compressumPoir.,V. attenuatumDC.,V. aphyllumGriff.

Page 213: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี204

Vitaceae

Page 214: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ป่าเต็งรังแม่น้ำภาชี 205

หุนCissus craibii Gagnep.

ไมลมลุกอายุปเดียวหรือ2-3ปลำตนตั้งตรงสูง10-40ซม.สีเขียวแกมเทามีขนสั้นนุมใบประกอบแบบนิ้วมือเรียงเวียนใบมี5-7แฉกกวาง10-15ซม.ยาว12-18ซม.แฉกรูปใบหอกใบหอกกลับหรือรูปแถบกวาง0.5-3 ซม. ยาว 5-10.5 ซม. ปลายแฉกแหลม ขอบจักซี่ฟนหางไมเปนระเบียบ มีขนครุยสั้น ๆ แผนใบบางคลาย

กระดาษมีขนทั้งสองดานเสนกลางใบเสนแขนงใบและเสนใบยอยของแตละแฉกเปนรองทางดานบนเสนแขนงใบเชื่อมกันกอนถึงขอบใบ ชัดเจนทั้งสองดาน กานใบยาว 1.5-6.5 ซม. มีขนสั้นนุม หูใบยาวประมาณ 3 มม. มีขน

ประปรายชอดอกแบบชอกระจุกเชิงประกอบออกตรงขามกับใบกานชอดอกยาว1-3ซม.กานชอแขนงยาว0.7-1ซม.กานดอกยาว2-3มม.ทั้งกานชอดอกกานชอแขนงและกานดอกมีขนประปรายดอกสีเขียวอมเหลืองกลีบเลี้ยงสั้นมากยาวประมาณ0.5มม.โคนเชื่อมติดกันดานนอกมีขนประปรายปลายแยกเปน4แฉกไมชัดเจนกลีบดอก

4กลีบแยกเปนอิสระรูปไขกวางประมาณ1มม.ยาว1.5-2มม.ดานนอกมีขนเกสรเพศผู4อันกานชูอับเรณูยาวประมาณ1มม.อับเรณูยาวประมาณ0.5มม.รังไขอยูเหนือวงกลีบเกลี้ยงมี2ชองแตละชองมีออวุล2เม็ดจาน

ฐานดอกมีขอบหนาหยักมนผลแบบผลมีเนื้อหนึ่งถึงหลายเมล็ดรูปไขกลับปลายผลชี้ลงผิวมีนวลปลายมีกานเกสรเพศเมียติดทนเมล็ดมักมี1เมล็ด

ที่มา ชื่อสกุลมีที่มาจากภาษากรีกคำวาkissosแปลวาไมเลื้อยหมายถึงลักษณะนิสัยของพืชสกุลนี้ที่เปนไมเลื้อยเปนสวนใหญ สวนคำระบุชนิด craibii ตั้งใหเปนเกียรติแก W. G. Craib นัก

พฤกษศาสตรชาวอังกฤษซึ่งทำการศึกษาตัวอยางแหงจากไทยที่เก็บโดยหมอคาร(A.F.G.Kerr)หมอและนักพฤกษศาสตรชาวไอริชที่ทำการสำรวจและเก็บตัวอยางพรรณไมทั่วประเทศ

ชื่อพอง C. dissectaCraib

นิเวศวิทยา พบตามพื้นปาเต็งรัง ความสูงจากระดับน้ำทะเล 50-150 ม. ออกดอกและเปนผลระหวางเดือน

เมษายน-กรกฎาคม

ประเทศไทย ภาคตะวันตกเฉียงใต:กาญจนบุรีราชบุรีตามแนวเทือกเขาตะนาวศรี

การกระจายพันธุ เปนพืชถิ่นเดียวของไทย(endemic)

Page 215: 01960-4_gp01_Cover ok.indd
Page 216: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ปาเต็งรังแมน้ำภาชี 207

กอง กานดา ช ยามฤต. 2548. พืช มี ประโยชน วงศ เปลา. ประชาชน, กรุงเทพฯ.คณิตา เลขะ กุล, มาลี พ. สนิท วงศ ณ อยุธยา และ สุภัทร สวัสดิ รักษ. 2538. พรรณไม ใน สวนหลวง ร. 9. พิมพ ครั้ง ที่ 3.

ดาน สุทธา การ พิมพ, กรุงเทพฯ.นันทวัน บุ ณ ยะประภั ศร และ อรนุช โชคชัย เจริญพร. 2543. สมุนไพร ไม พื้นบาน 4. ประชาชน, กรุงเทพฯ .นันทวัน บุ ณ ยะประภั ศร และ อรนุช โชคชัย เจริญพร. 2543. สมุนไพร ไม พื้นบาน 5. ประชาชน, กรุงเทพฯ . เมธินี ตาฬุ มาศ สวัสดิ์. 2551. พรรณไม หวย ทราย จังหวัด เพชรบุรี. พิมพ ครั้ง ที่ 2. ชุมนุม สหกรณ การ เกษตร แหง ประเทศ ไทย,

กรุงเทพฯ.ราชบัณฑิตยสถาน. 2547. ศัพท พฤกษศาสตร อังกฤษ-ไทย ฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน. พิมพ ครั้ง ที่ 2. ราชบัณฑิตยสถาน,

กรุงเทพฯ.

ราชบัณฑิตยสถาน. 2547. อนุกรม วิธาน พืช อักษร ก. พิมพ ครั้ง ที่ 2. เพื่อน พิมพ, กรุงเทพฯ.

ราชบัณฑิตยสถาน. 2547. อนุกรม วิธาน พืช อักษร ข. อรุณ การ พิมพ, กรุงเทพฯ.

วีระ ชัย ณ นคร. 2543. สวน พฤกษศาสตร พระนางเจา สิริ กิติ์. 6. โอ เอส พ ริ้น ติ้ง เฮาส, กรุงเทพฯ.

สมราน สุด ดี . 2538. การ ศกึษา อนุกรม วิธาน ของ พรรณ ไมดอก บริเวณ วนอุทยาน ปา หิน งาม จังหวัด ชัยภูมิ.

วิทยานิพนธ ปริญญา วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชา พฤกษศาสตร คณะ วิทยาศาสตร จุฬา ลง กรณ

มหาวิทยาลัย.

สมราน สุด ดี. 2548. การ ศึกษา พืช ใบเลี้ยง เดี่ยว บางชนิด บริเวณ อุทยาน แหงชาติ ปา หิน งาม จังหวัด ชัยภูมิ.

กลุม งาน พฤกษศาสตร ปาไม สำนัก วิจัย การ อนุรักษ ปาไม และ พันธุพืช กรม อุทยาน แหงชาติ สัตวปา และ พันธุพืช.

สวน พฤกษศาสตร ปาไม สำนัก วิชาการ ปาไม กรม ปาไม. 2544. ชื่อ พรรณไม แหง ประเทศ ไทย เต็ม สมิติ นันทน. พิมพ ครั้ง ที่ 2

(ฉบับ แกไข เพิ่มเติม). ประชาชน, กรุงเทพฯ.

สุทธิรา ขุม กร ะโทก. 2543. พืช สกุล ไม ตีนนก (Vitex L.) ในประเทศ ไทย. วิทยานิพนธ ปริญญา วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต

มหาวิทยาลัย ขอนแกน.

อบ ฉันท ไทย ทอง. 2543. กลวยไม เมืองไทย. อมรินทรพ ริ้น ติ้ง แอนด พับลิช ชิ่ง, กรุงเทพฯ.

Abid, M. A. 1965-1966. A revision of Spenodesma (Verbenaceae). Gardens Bulletin Singapore. Vol. XXI

: 315-378

Anderson, E. F. 1993. Plants and people of the Golden Triangle. Dioscordes press, Oregon .

Ashton, P. S. 1982. Dipterocarpaceae. In: C. G. G. J. van Steenis (ed.). Flora Malesiana. ser. 1, 9 : 237-

552. Martinus Nijhoff, The Hague.

Backer, C. A. & Bakhuizen van den Brink, R. C. 1965. Flora of Java 2. N. V. P. Noordhoff, Groningen, The Netherlands.

Baker, J. G. 1876. Leguminosae. In: J. D. Hooker (ed.). Flora of British India. 2: 56-209. L. Reeve & Co,

London.Berg, C. C. & Corner, E. J. H. 2005. Moraceae. In: H. P. Nooteboom (ed.). Flora Malesiana. ser. 1, 17(2).

Foundation Flora Malesiana, The Netherlands.

Boer, E. & Ella, A. B. (eds.). 2001. Plant Resource of South East Asia 18, Plants producing exudates. Prosea Foundation, Bogor, Indonesia.

Brink, M. & Escobin, R. P. (eds.). 2003. Plant Resource of South East Asia. 17, Fibre plants. Prosea Foundation, Bogor, Indonesia.

Brun, V. & Schumacher, T. 1994. Traditional Herbal Medicine in Northern Thailand. White Lotus,

Bangkok.

เอกสาร อางอิง

Page 217: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ปาเต็งรังแมน้ำภาชี208

Burkill, I. H. 1966. A Dictionary of the Economic Products of the Malay Peninsula 1 & 2. Art Printing Works, Kuala Lampur.Chayamarit, K. 1994. Preliminary checklist of the Family Anacardiaceae in Thailand. Thai Forest

Bulletin (Botany) 22: 1-25.Clarke, C. B. 1887-1888. Acanthaceae. In: J. D. Hooker (ed.). The Flora of British India. 4: 387-560. L. Reeve & Co, London.Craib, W. G. 1911. Contributions to the Flora of Siam, List of Siamese Plants with Descriptions of New

Species. Bulletin of Miscellaneous Information, Royal Gardens, Kew 1911 (10 ): 285-474.Craib, W. G. 1926. Contributions to the Flora of Siam, Additiamentum 19. Bulletin of Miscellaneous

Information, Royal Gardens, Kew 1926: 356.

Craib, W. G. 1931. Contributions to the Flora of Siam, Additiamentum 30. Bulletin of Miscellaneous

Information, Royal Gardens, Kew 1931: 208-209.

Cusset, G. 1967. Passifl oraceae. In: A. Aubreville (ed.). Flore Du Cambodge Du Laos et Du Vietnam. 5:

101-151. Museum National D’ Histoire Naturelle, Paris.

Dop, P. 1935. Verbenaceae. In: M. H. Lecomte (ed.). Flore Generale de L’ Indo-Chine. 4: 774-913.

Masson, Paris.

Furtado, C. X. & Srisuko, M. 1969. A revision of Lagerstroemia L. (Lythraceae). Gardens Bulletin

Singapore 24: 185-336.

Gagnepain, F. & Courchet, L. D. J. 1914. Convolvulaceae. In: M. H. Lecomte (ed.). Flore Generale de L’

Indo-Chine. 4: 228-313. Masson, Paris.

Gagnepain, F. & Finet, A. E. 1907. Annonaceae. In: M. H. Lecomte (ed.). Flore Generale de L’ Indo-

Chine. 1: 42-112. Masson, Paris.

Gagnepain, F. 1931. Zingiberaceae. In: M. H. Lecomte, H. Humbert & F. Gagnepain (eds.). Flore

Generale de L’ Indo-Chine. 6: 25-121. Masson, Paris.

Geesinck, D. J. L. 1993. Amaryllidaceae. Flora Malesiana. ser. 1, 11(2): 353-373. Foundation Flora

Malesiana, The Netherlands.

Gledhill, D. 2008. The Names of Plants. Cambridge University Press, New York.

Grierson, A. 1980. Compositae. In: M. D. Dassayake (eds.). A Revised Handbook of the Flora of Ceylon. 1:

111-278. Amerind Publishing, New Delhi.

Hanum, I. F. & van der Maesen, L. J. G. (eds.). 1992. Plant Resource of South East Asia 11, Auxiliary plants. Prosea Foundation, Bogor, Indonesia.

Hedrick, U. P. (ed.) 1919. Sturtevant’s Notes on Edible Plants. Report of the New York Agricultural

Experiment Station for the Year 1919 II. State Printers, Albany.Holltum, R. E. 1957. A Revised Flora of Malaya 1, Orchids of Malaya. The Government Printing Offi ce,

Singapore.

Hooker, J. D. 1880-1881. Rubiaceae. In : J. D. Hooker (ed.). Flora of British India. 3: 17-209. L. Reeve & Co, London.

Huber, H. 1983. Asclepiadaceae. In : M. D. Dassayake & F. R. Fosberg (eds.). A Revised Handbook of the Flora of Ceylon. 4: 73-124. Amerind Publishing, New Delhi.

Page 218: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ปาเต็งรังแมน้ำภาชี 209

Hutchinson, J. 1916. Contributions to the Flora of Siam, Additamentum 9. Bulletin of Miscellaneous Information, Royal Gardens, Kew 1916 : 259-269.

Keng, H. 1978. Labiatae. In: C. G. G. J. van Steenis (ed.). Flora Malesiana. ser. 1, 8(3): 301-394. Sijthoff & Noordhoff, Alpen Aan Den Rijn.

King, G. 1969. Plant Monograph reprints band 5, The Species of Ficus of the Indo- Malayan and Chinese Countries. Whedon & Wesley, New York .

Kochummen, K. M. 1973. Hypericaceae. In : T. C. Whitmore (ed.). Tree Flora of Malaya. 2: 248-252. Wing Tai Cheung Co., Hong Kong.

Kunkel, G. 1984. Plants for Human Consumption. Koeltz, Scientifi c Books, Koenigstein.

Larsen, K. (ed.). 1996. Flora of Thailand. 6(2). The Tister Press, Bangkok.

Lecomte, M. H. 1930. Sapotaceae. In: M. H. Lecomte (ed.). Flore Generale de L’ Indo-Chine. 3: 877-914.

Masson, Paris.

Lemmens, R. H. M. J. & Bunyapraphatsara, N. (eds.). 2003. Plant Resource of South East Asia 12(3),

Medicinal & poisons plants. Prosea Foundation, Bogor, Indonesia.

Lemmens, R. H. M. J. & Wulijarni, S. (eds.). 1992. Plant Resource of South East Asia 3, Dye & tannin-

producing plant. Prosea Foundation, Bogor, Indonesia.

Lemmens, R. H. M. J., Soerianegaraand, I. & Wong, W. C. (eds.). 1995. Plant Resource of South East

Asia 5(2), Timber tree: Major Commercial timbers. Prosea Foundation, Bogor, Indonesia.

Li, H. W. and Hedge, I. C. 1994. Lamiaceae (Labiatae). In: C. Y. Wu & P. H. Raven (eds.). Flora of

China. 17: 50-299. Science Press, Beijing.

Lôc, P. K. & Vidal, J. E. 2001. Leguminosae-Papilionoideae, Millettieae. In: P. Morat (ed.). Flore Du

Combodge Du Laos et Du Vietnam 30: 3-182. Museum National D’ Histoire Naturelle, Paris.

Mabberley, D. J. & Pannell, C. M. 1989. Meliaceae. In: F. S. P. Ng (ed.). Tree Flora of Malaya.

4: 199-260. Art Printing Works, Kuala Lumpur.

Maheshwari, J. K. 1996. Etnobotany in South Asia. Scientifi c Publishers, Jodhpur.

Maxwell, J. F. 1989. Melastomataceae. In : F. S. P. Ng (ed.). Tree Flora of Malaya. 4: 179-198.

Art Printing Works, Kuala Lumpur.

Meijer, W. 1983. Anacardiaceae. In: M. D. Dassayake & F. R. Fosberg (eds.). A Revised Handbook of

the Flora of Ceylon. 4: 1-24. Amerind Publishing, New Delhi.

Middleton, D. J. 2007. Apocynaceae. In : H. P. Nooteboom (ed.). Flora Malesiana. ser. 1, 18: 1-452. Foundation Flora Malesiana, The Netherlands.

Moldenke, H. N. & Moldenke, A. L. 1983. Verbenaceae. In : M. D. Dassayake & F. R. Fosberg (eds.).

A Revised Handbook of the Flora of Ceylon. 4: 196-487. Amerind Publishing, New Delhi.

Munir, A. A. 1966. A revision of Sphenodesme (Verbenaceae). Gardens Bulletin Singapore 21: 315-378.Nanakorn, W. 1985. The genus Terminalia (Combretaceae) in Thailand. Thai Forest Bulletin (Botany)

15: 59-107.

Oyen, L. P. A. & Dung, N. X. (eds.). 1999. Plant Resource of South East Asia 19, Essential-oil plants. Prosea Foundation, Bogor, Indonesia.

Page 219: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ปาเต็งรังแมน้ำภาชี210

Padua, L. S. de, Bunyapraphatsara, N. & Lemmens, R. H. M. J. (eds.). 1999. Plant Resource of South East Asia 12(1), Medicinal and poisons plants. Prosea Foundation, Bogor, Indonesia.

Payens, J. P. D. W. 1958. Erythroxylaceae. In: C. G. G. J. van Steenis (ed.). Flora Malesiana. ser. 1, 5: 543-552. P. Noordhoff, The Netherlands.

Philcox, D. 1995. Combretaceae. In : M. D. Dassayake & F. R. Fosberg (eds.). A Revised Handbook of the Flora of Ceylon. 9: 28-46. Amerind Publishing, New Delhi.

Pooma, R. 1999. A preliminary account of Burseraceae in Thailand. Thai Forest Bulletin (Botany) 27: 53-69.

Pooma, R. and Newman, M. 2001. Checklist of Dipterocarpaceae in Thailand. Thai Forest Bulletin

(Botany) 29: 110-187.

Quattrocchi, U. 1947. CRC World Dictionary of Plant Names 1-4. CRC Press, New York.

Ridley, H. N. 1922. The Flora of the Malay Peninsula. 1 & 4. L. Reeve & Co., London.

Ridsdale, C. E. 1996. Rubiaceae. In: M. D. Dassayake & F. R. Fosberg (eds.). A Revised Handbook of

the Flora of Ceylon. 12: 141-343. A. A. Balkema, Rotterdam.

Roxburg, W. 1824. Flora Indica or Descriptions of Indian Plants. Mission Press, Serampore.

Rudd, V. E. 1991. Leguminosae. In: M. D. Dassayake & F. R. Fosberg (eds.). A Revised Handbook of

the Flora of Ceylon. 12: 108-235. Amerind Publishing, New Delhi.

Sala, A. V. 1996. Indian Medicinal Plants 3. Orient Longman, Madras.

Santisuk, T. & Larsen, K. (eds.). 1997. Flora of Thailand. 6(3). Diamond printing, Bangkok.

Santisuk, T. & Larsen, K. (eds.). 1999. Flora of Thailand. 7(1). Diamond printing, Bangkok.

Santisuk, T. & Larsen, K. (eds.). 2000. Flora of Thailand. 7(2). Diamond printing, Bangkok.

Santisuk, T. & Larsen, K. (eds.). 2002. Flora of Thailand. 7(4). Prachachon, Bangkok.

Santisuk, T. & Larsen, K. (eds.). 2005. Flora of Thailand. 8(1). Prachachon, Bangkok.

Santisuk, T. & Larsen, K. (eds.). 2007. Flora of Thailand. 8(2). Prachachon, Bangkok.

Seidenfaden, G. 1977. Orchid Genera in Thailand 5. Dansk Botanisk Arkiv 31(3): 65-137.

Siemonsma, J. S. & Piluek, K. (eds.). 1994. Plant Resource of South East Asia 8, Vegetables. Prosea

Foundation, Bogor, Indonesia.

Sirirugsa, P. 1991. Taxonomy of the genus Kaempferia (Zingiberaceae) in Thailand. Thai Forest

Bulletin (Botany) 19: 1-15.Sleumer, H. 1954. Flacourtiaceae. In : C. G. G. J. van Steenis (ed.). Flora Malesiana. ser. 1, 5: 1-106. P.

Noordhoff, The Netherlands.

Smitinand, T. & Larsen, K. (eds.). 1970. Flora of Thailand. 2(1). The Tister Press, Bangkok.Smitinand, T. & Larsen, K. (eds.). 1972. Flora of Thailand. 2(2). The Tister Press, Bangkok.Smitinand, T. & Larsen, K. (eds.). 1975. Flora of Thailand. 2(3). The Tister Press, Bangkok.

Smitinand, T. & Larsen, K. (eds.). 1979. Flora of Thailand. 3(1). The Tister Press, Bangkok.Smitinand, T & Larsen, K. (eds.). 1981. Flora of Thailand. 2(4). The Tister Press, Bangkok.

Smitinand, T. & Larsen, K. (eds.). 1984. Flora of Thailand. 4(1). The Tister Press, Bangkok.Smitinand, T. & Larsen, K. (eds.). 1985. Flora of Thailand. 4(2). The Tister Press, Bangkok.Smitinand, T. & Larsen, K. (eds.). 1993. Flora of Thailand. 6(1). Rumthai Press, Bangkok.

Page 220: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ปาเต็งรังแมน้ำภาชี 211

Soerianegaraand, I. & Lemmens, R. H. M. J. (eds.). 1993. Plant Resource of South East Asia 5(1), Timber tree: Major Commercial timbers. Pudoc Scientifi c Publishers, Wageningen.

Sosef, M. S. M., Hong, L. T. & Prawirohatmodjo, S. (eds.). 1995. Plant Resource of South East Asia 5(3), Timber tree: Major Commercial timbers. Prosea Foundation, Bogor, Indonesia.

Stone, B. C. 1985. Rutaceae. In : M. D. Dassayake & F. R. Fosberg (eds.). A Revised Handbook of the Flora of Ceylon. 5: 406-476. A. A. Balkema, Rotterdam.

Suddee, S., Paton, A. J. & Parnell, J. A. N. 2005. Taxonomic Revision of tribe Ocimeae Dumort. (Lamiaceae) in continental South East Asia III. Ociminae. Kew Bull. 60(1): 3-75.Tardieu-Blot, M. 1962. Anacardiaceae. In: A. Aubreville (ed.). Flore Du Combodge Du Laos et Du

Vietnam. 2: 67-194. Museum National D’ Histoire Naturelle, Paris.

Thitimetharoch, T. 2004. Taxomomic studies of the Family Commelinaceae in Thailand. Thesis for the

degree of Doctor of Philosophy in Biology. Khon Kaen University.

Thuân, N. van, Phon, P. D. & Niyomdham, C. 1987. Leguminosae. In: P. Morat (ed.). Flore Du

Combodge Du Laos et Du Vietnam. 23: 3-244. Museum National D’ Histoire Naturelle, Paris.

Vaddhanaputi, N. 2005. Wild Orchids of Thailand. Silkworm Books, Bangkok.

van Valkenburg, J. L. C. H. & Bunyapraphatsara, N. (eds.). 2002. Plant Resource of South East Asia

12(2), Medicinal and poisons plants. Prosea Foundation, Bogor, Indonesia.

Verdcourt, B. 1995. Sterculiaceae. In: M. D. Dassayake & F. R. Fosberg (eds.). A Revised Handbook of

the Flora of Ceylon. 9: 409-445. Amerind Publishing, New Delhi.

Verdcourt, B. 1996. Olacaceae. In: M. D. Dassayake & F. R. Fosberg (eds.). A Revised Handbook of the

Flora of Ceylon. 10: 293-303. A. A. Balkema, Rotterdam.

Verheij, E. W. M. & Coronel, R. E. (eds.). 1992. Plant Resource of South East Asia 2, Edible fruit and

nuts. Prosea Foundation, Bogor, Indonesia.

Wadhwa, B. M. 1996. Celastraceae. In : M. D. Dassayake & F. R. Fosberg (eds.). A Revised Handbook

of the Flora of Ceylon. 10: 75-106. A. A. Balkema, Rotterdam.

Wiens, D. 1987. Viscaceae. In : M. D. Dassayake & F. R. Fosberg (eds.). A Revised Handbook of the

Flora of Ceylon. 6: 412-420. Amerind Publishing, New Delhi.

Page 221: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ปาเต็งรังแมน้ำภาชี212

Adenia viridiflora Craib, 161Adina dissimilis Craib, 163Antidesma ghaesembilla Gaertn., 87 Aporosa villosa (Wall. ex Lindl.) Baill., 89

Argyreia breviscapa (Kerr) Ooststr., 68Argyreia siamensis (Craib) Staples, 69Asparagus racemosus Willd., 13Atalantia monophylla (DC.) Corrêa, 174

Blinkworthia lycioides Choisy, 71Buchanania reticulata Hance, 27

Caesalpinia sappan L., 127Canarium subulatum Guillaumin, 53Careya sphearica Roxb., 125

Casearia grewiifolia Vent., 93Catunaregam spathulifolia Tirveng., 165

Catunaregam tomentosa (Blume ex DC.) Tirveng., 167Celastrus paniculatus Willd., 57Ceropegia arnottiana Wight, 45

Chukrasia tabularis A. Juss., 149Cissus craibii Gagnep., 205

Clitoria macrophylla Wall. ex Benth., 129

Colona auriculata (Desf.) Craib, 197Cratoxylum cochinchinense (Lour.) Blume, 97

Cratoxylum formosum (Jack) Dyer ssp. pruniflorum (Kurz) Gogel., 99Curcuma cochinchinensis Gagnep., 22

Dendrophthoe lanosa (Korth.) Danser, 144Dendrophthoe pentandra (L.) Miq., 145Diospyros ehretioides Wall. ex G. Don, 81

Diospyros rhodocalyx Kurz, 83Dipterocarpus obtusifolius Teijsm. ex Miq., 75Ellipanthus tomentosus Kurz var. tomentosus, 67Ellipeiopsis cherrevensis (Pierre ex Finet & Gagnep.) R. E. Fr., 33Embelia subcoriacea (C. B. Clarke) Mez, 155

Enkleia siamensis (Kurz) Nevling, 195Erythrophleum succirubrum Gagnep., 131Erythroxylum cuneatum (Miq.) Kurz, 85

ดัชนี ชื่อ พฤกษศาสตร

Page 222: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ปาเต็งรังแมน้ำภาชี 213

Eurycoma longifolia Jack, 185

Ficus subpisocarpa Gagnep. ssp. pubipoda C. C. Berg, 153

Flacourtia indica (Burm. f.) Merr., 95 Gardenia obtusifolia Roxb. ex Kurz, 169Gardenia sootepensis Hutch., 171

Garuga pinnata Roxb., 55Geodorum citrinum Jacks., 17Gluta usitata (Wall.) Ding Hou, 29Gmelina elliptica Sm., 105

Grewia abutilifolia Vent. ex Juss., 199Grewia hirsuta Vahl, 201

Gymnema griffithii Craib, 47Gynura pseudochina (L.) DC., 65Habenaria hosseusii Schltr., 19

Harrisonia perforata (Blanco) Merr., 187 Helicteres angustifolia L., 189

Helicteres isora L., 191 Holarrhena curtisii King & Gamble, 37 Holarrhena pubescens (Buch.-Ham.) Wall. ex G. Don, 39

Hoya kerrii Craib, 49

Hymenopyramis brachiata Wall. ex Griff., 107Hypoxis aurea Lour., 15

Indigofera wightii Grah. ex Wight & Arn., 133Irvingia malayana Oliv. ex A. W. Benn., 103

Justicia diffusa Willd., 25Kaempferia roscoeana Wall., 23

Lagerstroemia venusta Wall. ex C. B. Clarke, 147Lannea coromandelica (Houtt.) Merr., 31Lepisanthes rubiginosa (Roxb.) Leenh., 177

Lepisanthes tetraphylla (Vahl) Radlk., 179Leucas decemdentata (Willd.) Sm., 109Lygodium flexuosum (L.) Sw., 11Mammea siamensis (Miq.) T. Anderson, 101Marsdenia tenacissima (Roxb.) Moon, 51

Memecylon edule Roxb., 151Microcos tomentosa Sm., 202.

Page 223: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ปาเต็งรังแมน้ำภาชี214

Millettia leucantha Kurz var. latifolia (Dunn) P. K. Lôc, 135

Momordica cochinchinensis (Lour.) Spreng., 73Murdannia gigantea (Vahl) G. Brückn., 14

Naringi crenulata (Roxb.) Nicolson, 175Ochna integerrima (Lour.) Merr., 159

Olax psittacorum (Willd.) Vahl, 160Orthosiphon rubicundus (D. Don) Benth., 111Pavetta tomentosa Roxb. ex Sm., 173

Phyllanthus emblica L., 91Phyllodium pulchellum (L.) Desv., 137Premna mollissima Roth, 113

Premna nana Collett & Hemsl., 115Pseudodracontium lacourii (Linden & André) N. E. Br., 12Schleichera oleosa (Lour.) Oken, 181

Seidenfadenia mitrata (Rchb. f.) Garay, 20Senna garettiana (Craib) Irwin & Barneby, 139

Shorea obtusa Wall. ex Blume, 77Shorea siamensis Miq., 79

Smilax luzonensis C. Presl, 21Sphenodesme mollis Craib, 117Symplocos racemosa Roxb., 193

Syzygium cumini (L.) Skeels, 157Terminalia alata B. Heyne ex Roth, 59Terminalia chebula Retz., 61Terminalia mucronata Criab & Hutch., 63

Uraria acaulis Schindl., 141

Uvaria rufa Blume, 35Viscum articulatum Burm. f., 203

Vitex limonifolia Wall. ex Schauer, 119Vitex peduncularis Wall. ex Schauer, 121Vitex scabra Wall. ex Schauer, 123

Wrightia arborea (Dennst.) Mabb., 41Wrightia pubescens R. Br., 43

Xantholis cambodiana (Pierre ex Dubard) P. Royen, 183Xylia xylocarpa (Roxb.) Taub. var. kerrii (Craib & Hutch.) I. C. Nielsen, 143

Page 224: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ปาเต็งรังแมน้ำภาชี 215

กรวยปา, 93กระเจียว ขาว ปาก เหลือง, 22กระแจะ, 175กระดูกกบ, 107กระดูกไก นอย, 25กระโดน, 125กระทง ลาย, 57กระบก, 103กระมอบ, 169กราง, 153กาฝาก ตีน ปู, 203กาฝาก ไทย, 144กาฝาก มะมวง, 145กาสามปก, 121กุก, 31เกล็ด ปลาชอน, 137ไกร ทอง, 85ขะ เจาะ, 135ขา เปย นุม, 115ขาวสาร ปา, 173ขี้ ตุน, 189คนทา, 187คราม, 133คำ มอก หลวง, 171

คำ รอก, 67

เคด, 165จัน มัน, 113ซาด, 131

ซุม กระตาย, 71ดาง, 49ดีปลี เขา, 163แดง, 143ตะโก นา, 83ตะขบ ปา, 95ตะครอ, 181

ตะคร้ำ, 55

ตะแบก เลือด, 63ตับเตา ตน, 81ตาน นม, 183ตาล เหลือง, 159ติ้ว เกลี้ยง, 97ติ้ว ขน, 99เต็ง, 77แตง แพะ, 47เถา ฟา ระงับ, 68ทอง แมว, 105เทพทาโร, 45นม แมวปา, 33นางอั้ว คาง ยาว, 19น้ำใจใคร, 160บุก อี ลอก, 12ปลาไหล เผือก, 185ปอ เตาไห, 195ปอ บิด, 191 ปอแป, 201ปอ พราน, 197ปอ ยาบ, 199เปราะ ปา, 23ผักกาด กบ, 65ผักสาบ, 161

ฝาง, 127

พลอง เหมือด, 151พลับพลา, 202พีพวน นอย, 35พุด ทุง, 37

พู มวง สยาม, 69แพง เครือ, 117ฟกขาว, 73

มะกอก เกลื้อน, 53มะขามปอม, 91 มะเค็ด, 167มะนาว ผี, 174

ดัชนี ชื่อ พื้นเมือง

Page 225: 01960-4_gp01_Cover ok.indd

ปาเต็งรังแมน้ำภาชี216

มะเฟอง ชาง, 179มะมวง หัว แมง วัน, 27มะหวด, 177เมา ไขปลา, 87โมก, 43โมกมัน, 41โมกใหญ, 39ยม หิน, 149 ยาน ทาด, 21รกฟา, 59รัก ใหญ, 29รัง, 79โลด, 89วาน จูง นาง, 17สมอ ไทย, 61สมอ อบ แอบ, 155สรอย ตะนาวศรี, 51 สวอง, 119สามสิบ, 13สารภี, 101เสลา เปลือก บาง, 147แสมสาร, 139หญา ดอก คำ, 15หญา นก เคา, 109

หญายายเภา, 11

หญา หงอน เงือก, 14หนวด เสือ เขี้ยว, 111หวา, 157

หางกระรอก, 141หุน, 205เหมือด หอม, 193เหียง, 75 อัญชัญ ปา, 129

อีแปะ, 123เอื้อง หนวดพราหมณ, 20