Top Banner
ไฟฟาฯ ราชมงคลลานนา บทที5/หนา1 บทที5 ระบบสงจายไฟฟา (Distribution System) ระบบการสงจายไฟฟาจะเริ่มตนจากการผลิตไฟฟาระบบ 3 เฟสโดยจะเริ่มตนผลิตแรงเคลื่อนไฟฟา ระบบแรงสูงไมวาเครื่องกําเนิดที่ผลิตจะใชพลังงานจากน้ํา หรือพลังงานความรอนจากน้ํามันหรือกาซ เปน ตนซึ่งจะผลิตไฟฟา 13.8 กิโลโวลท (kV) จากตนการผลิตแลวแปลงเพิ่มเปน 500 กิโลโวลท 230กิโลโวลท สงจายไปตามสถานียอย(Sub – Station) ของการไฟฟาฝายผลิต(EGAT) และแปลงลดลงเปน69 กิโลโวลท 33กิโลโวลท 22 กิโลโวลท ตามลําดับ เพื่อเปนการแกไขปญหาการสูญเสียคาดังเคลื่อนไฟฟาตกในสายสง จนกระทั่งแปลงใหลดลงมาเปน 380 โวลท ในระบบ 3 สาย และ 230 โวลท จายใฟฟากับผูใชใน ภาคอุตสาหกรรมและผูใชไฟฟาตามบานเรือนตอไป ดังรูปที5.1 รูปที5.1
13

บทที่ 5 - Montri Ngaodat · PDF fileไฟฟ าฯ ราชมงคลล านนา บทที่5/หน า3 รูปที่ 5.3 แสดงการใช

Feb 09, 2018

Download

Documents

trinhkiet
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: บทที่ 5 - Montri Ngaodat · PDF fileไฟฟ าฯ ราชมงคลล านนา บทที่5/หน า3 รูปที่ 5.3 แสดงการใช

ไฟฟาฯ ราชมงคลลานนา

บทที่5/หนา1

บทที่ 5 ระบบสงจายไฟฟา

(Distribution System) ระบบการสงจายไฟฟาจะเริ่มตนจากการผลติไฟฟาระบบ 3 เฟสโดยจะเริ่มตนผลิตแรงเคลื่อนไฟฟาระบบแรงสูงไมวาเครื่องกําเนิดที่ผลิตจะใชพลังงานจากน้ํา หรือพลังงานความรอนจากน้ํามันหรือกาซ เปนตนซึ่งจะผลติไฟฟา 13.8 กโิลโวลท (kV) จากตนการผลิตแลวแปลงเพิ่มเปน 500 กิโลโวลท 230กิโลโวลท สงจายไปตามสถานียอย(Sub – Station) ของการไฟฟาฝายผลิต(EGAT) และแปลงลดลงเปน69 กิโลโวลท 33กิโลโวลท 22 กิโลโวลท ตามลําดับ เพื่อเปนการแกไขปญหาการสูญเสียคาดังเคลื่อนไฟฟาตกในสายสง จนกระท่ังแปลงใหลดลงมาเปน 380 โวลท ในระบบ 3 สาย และ 230 โวลท จายใฟฟากับผูใชในภาคอุตสาหกรรมและผูใชไฟฟาตามบานเรอืนตอไป ดังรปูท่ี 5.1

รูปที่ 5.1

Page 2: บทที่ 5 - Montri Ngaodat · PDF fileไฟฟ าฯ ราชมงคลล านนา บทที่5/หน า3 รูปที่ 5.3 แสดงการใช

ไฟฟาฯ ราชมงคลลานนา

บทที่5/หนา2

การสงจายไฟฟาจะทําโดยการใชเครื่องกาํเนิดไฟฟาชนิดสามเฟส สงผานสายสงแบบ3 สายหรือ

แบบ 4 สาย ดงัแสดงในรูปท่ี 5.2

รูปที่ 5.2

ตามรูปที่ 5.2 เปนระบบไฟฟา 3 เฟส 4 สายตอแบบสตารไฟฟาท่ีจายตามบานเรือนทีพ่ักจะมีคาแรงเคลื่อนไฟฟา 220 โวลท ซึ่งจะไดจากการตอระหวางเฟส A หรือเฟสB หรือเฟส C กับสายกลาง (Neutral) สวนไฟฟาที่ใชในโรงงานอุตสาหกรรมจะมีคาแรงเคลื่อน 380 โวลทซึ่งจะไดจากการตอระหวางเฟส A -เฟสB และ เฟส C

รูปที่ 5.3

Page 3: บทที่ 5 - Montri Ngaodat · PDF fileไฟฟ าฯ ราชมงคลล านนา บทที่5/หน า3 รูปที่ 5.3 แสดงการใช

ไฟฟาฯ ราชมงคลลานนา

บทที่5/หนา3

รูปที่ 5.3 แสดงการใชหมอแปลงไฟฟาเพื่อทําการลดคาแรงดนัไฟฟาใหเหมาะสมกับผูใชในภาคอุตสาหกรรมและผูใชไฟฟาตามบานเรอืน การสงจายไฟฟาจากแหลงผลติหรือจากโรงจกัร (Power Statu\ion) ไปยังสถานจีายไฟยอย จนกระท่ังถึงผูใช (Consumer) ตองอาศัยสายไฟฟาท่ีเปนโลหะที่มีคุณสมบัติในการเปนตวันําไฟฟาที่ดีดังนี ้

- ความบริสุทธิข์องเนื้อโลหะสูง - คาความตานทานไฟฟาซึ่งเกดิจากเนื้อโลหะมีคาต่ํา - ทนกระแสไฟฟาไดสูงโดยเกิดความรอนสะสมนอย - การยืดหรือหดตัวต่ํา - จัดหาไดงายและราคาถูก

อักษรท่ีใชในระบบไฟ 3 เฟส

ระบบ สาย line สายกลาง สายดิน

ยุโรป (VDE) R S T MP PE อเมริกา A B C N - สากล L1 L2 L3 N SL

คํายอ N = NEUTRAL PE = PROTECTIVE EARTH

SL = SALETY LEAD ประเภทแหลงผลิตกระแสไฟฟาในประเทศไทย

1. โรงไฟฟาพลังน้ํา กําลังการผลิตไฟฟา 30 % 2. โรงไฟฟาพลังไอน้ํา กําลังการผลิตไฟฟา 44 %

2.1 นํ้ามันเตา 2.2 แกสธรรมชาต ิ 38 % 2.3 ถานหินลิกไนต (6 %)

3. โรงไฟฟาพลังความรอนรวมกําลังการผลิตไฟฟา 14 % 4. โรงไฟฟากาซกําลังการผลิตไฟฟา 5 % 5. โรงไฟฟาดีเซลกําลังการผลติไฟฟา 1 %

Page 4: บทที่ 5 - Montri Ngaodat · PDF fileไฟฟ าฯ ราชมงคลล านนา บทที่5/หน า3 รูปที่ 5.3 แสดงการใช

ไฟฟาฯ ราชมงคลลานนา

บทที่5/หนา4

แหลงผลิตโรงไฟฟาน้ํา

ชื่อโรงไฟฟา จังหวดั 1. เขื่อนภูมิพล ตาก 2. เขื่อนสิริกิตต อุตรดิตถ 3. เขื่อนจุฬาภรณ ชัยภูม ิ4. เขื่อนอุบลรตัน ขอนแกน 5. เขื่อนสิรินธร อุบลราชธาน ี6. เขื่อนน้ําพุง สกลนคร 7. เขื่อนแกงกระจาน เพชรบุร ี8. เขื่อนศรนีครินทร กาญจนบรุ ี9. เขื่อนบางลาง ยะลา 10. เขื่อนทาทุงนา กาญจนบรุ ี11. เขื่อนหวยกุม ชัยภูม ิ12. เขื่อนบานสันติ ยะลา 13. เขื่อนเชี่ยวหลาน สุราษฏรธาน ี14. เขื่อนเจาพระยา ชัยนาท

รูปที่ 5.4 แสดงแผนผังการผลิตไฟฟาพลังน้ํา

Page 5: บทที่ 5 - Montri Ngaodat · PDF fileไฟฟ าฯ ราชมงคลล านนา บทที่5/หน า3 รูปที่ 5.3 แสดงการใช

ไฟฟาฯ ราชมงคลลานนา

บทที่5/หนา5

แหลงผลิตโรงไฟฟาพลังไอน้ํา

ชื่อโรงไฟฟา จังหวดั 1. พระนครเหนือ นนทบรุ ี2. พระนครใต สมุทรปราการ 3.แมเมาะ ลําปาง 4.สุราษฎรธานี สุราษฎรธาน ี5. กระบ่ี กระบี ่6. ขนอม นครศรธีรรมราช 7. บางประกง ฉะเชิงเทรา

รูปท่ี 5.5 แสดงแผนผังการผลติไฟฟาจากพลังความรอน

Page 6: บทที่ 5 - Montri Ngaodat · PDF fileไฟฟ าฯ ราชมงคลล านนา บทที่5/หน า3 รูปที่ 5.3 แสดงการใช

ไฟฟาฯ ราชมงคลลานนา

บทที่5/หนา6

แหลงผลิตโรงไฟฟากังหนักาซ

ชื่อโรงไฟฟา จังหวดั 1. พระนครใต สมุทรปราการ 2. บางประกง ฉะเชิงเทรา 3. หาดใหญ สงขลา 4.สุราษฎรธานี สุราษฎรธาน ี5. นครราชสีมา นครราชสีมา 6. อุดรธาน ี อุดรธาน ี7. ลานกระบือ กําแพงเพชร

รูปที่ 5.6 แสดงแผนผงัการผลิตไฟฟาจากกังหันกาซ

Page 7: บทที่ 5 - Montri Ngaodat · PDF fileไฟฟ าฯ ราชมงคลล านนา บทที่5/หน า3 รูปที่ 5.3 แสดงการใช

ไฟฟาฯ ราชมงคลลานนา

บทที่5/หนา7

แหลงผลิตโรงไฟฟา ดีเซล

ชื่อโรงไฟฟา จังหวดั 1. แมเมาะ ลําปาง 2. เชียงใหม 2 เชียงใหม 3. ภูเก็ต ภูเก็ต 4. บางลาง ยะลา 5. เขาแหลม กาญจนบรุ ี

แหลงผลิตโรงไฟฟา พลังความรอนใตพิภพ โรงไฟฟาอําเภอฝาง จังหวัดเชยีงใหม

รูปที่ 5.7 แสดงแผนผังการผลิตไฟฟาพลังความรอนรวม

Page 8: บทที่ 5 - Montri Ngaodat · PDF fileไฟฟ าฯ ราชมงคลล านนา บทที่5/หน า3 รูปที่ 5.3 แสดงการใช

ไฟฟาฯ ราชมงคลลานนา

บทที่5/หนา8

หนวยงานทีเ่กีย่วของกับไฟฟา

1. การไฟฟานครหลวง (METROPOLITAN ELECTRICITY AUTHORITY, MEA) 2. การไฟฟาสวนภูมิภาค (POVINCIAL ELECTRICITY AUTHORITY , PEA) 3. การไฟฟาฝายผลิต (ELECTRICITY GENNERATING AUTHORITY OF THAILAND ,

EGAT)

รูปโรงไฟฟาพลังไอน้ํา

Page 9: บทที่ 5 - Montri Ngaodat · PDF fileไฟฟ าฯ ราชมงคลล านนา บทที่5/หน า3 รูปที่ 5.3 แสดงการใช

ไฟฟาฯ ราชมงคลลานนา

บทที่5/หนา9

รูปโรงไฟฟาพลังน้ํา

รูปเขื่อนภูมิพล จ.ตาก รูปเขื่อนสิริกติต จ.อุตรดติถ

รูปเขื่อนภูมิพล จ.ตาก รูปเขื่อนศรีนครนิทร จ.กาญจนบุร ี

Page 10: บทที่ 5 - Montri Ngaodat · PDF fileไฟฟ าฯ ราชมงคลล านนา บทที่5/หน า3 รูปที่ 5.3 แสดงการใช

ไฟฟาฯ ราชมงคลลานนา

บทที่5/หนา10

รูปโรงจักรพระนครเหนือ จ. นนทบุรี รูปโรงจักรพลังไอน้ําและกังหันกาซบางประกง จ.ฉะเชิงเทรา

รูปโรงไฟฟากังหันกาซลานกระบือ จ. กําแพงเพชร

รูปโรงไฟฟาแมเมาะ จ.ลําปาง

รูปเขื่อนเจาพระยา จ.ชัยนาท รูปโรงจักรขนอม จ.นครศรีธรรมราช

Page 11: บทที่ 5 - Montri Ngaodat · PDF fileไฟฟ าฯ ราชมงคลล านนา บทที่5/หน า3 รูปที่ 5.3 แสดงการใช

ไฟฟาฯ ราชมงคลลานนา

บทที่5/หนา11

ระบบไฟฟาสามเฟส (Three Phase System) การเกดิแรงเคลือ่นไฟฟาสามเฟส (Generation of Three Phase e.m.f.)

ในระบบไฟฟาหลายเฟสนัน้ ระบบไฟฟาสามเฟสเปนระบบที่ใชกนัมากที่สุดเพราะมีจํานวนสายนอยและแตละเฟสออกแบบการวางตวัของตัวนําใหมลีักษณะเหมือนกัน คาแรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนําจะมีขนาดเทากัน แรงเคลื่อนไฟฟาที่สาย (Line Voltage) เทากัน มีสายกลางคือ สายนิวตรอน ซึ่งทําใหแยกแรงเคลื่อนออกได

ทิศทางการเคลื่อนท่ี

A

A'B

B'

C

C'N S

ก) ขดลวดแตละชุดวางหางกัน 120 o

VA VAVB VC

120 o 120 o 120 o

แรงเคลื่อนไฟฟา (V)

ข) แรงเคล่ือนไฟฟาท่ีเกิดในลักษณะตามลําดับ ABC

รูปที่ 5.8 ระบบไฟสามเฟส

รูปศูนยควบคุมระบบกําลังไฟฟา โรงจักรพระนครเหนือ

Page 12: บทที่ 5 - Montri Ngaodat · PDF fileไฟฟ าฯ ราชมงคลล านนา บทที่5/หน า3 รูปที่ 5.3 แสดงการใช

ไฟฟาฯ ราชมงคลลานนา

บทที่5/หนา12

ค) เฟสเซอรไดอะแกรมแรงเคล่ือนไฟฟาท่ีเกิดในลักษณะ ABC

120 o120 o

120 oVC

VA

VB

รูปที่ 5.9 แรงเคลื่อนไฟฟาที่เกิดแบบ ABC

การตอขดลวดของเครื่องกําเนิดไฟฟาสามเฟส

การตอขดลวดของเครื่องกําเนิดไฟฟาสามเฟส มีการตอ 2 ระบบ คือ

1. การตอแบบวาย (Υ)

2. แบบเดลตา (Δ) ซึ่งมีการตอดังนี้คือ

1. การตอแบบวายหรือแบบสตาร (Υ)

Vph =

3LV

Iph = IL

P = 3 VL IL cos θ

A

A

BB

CC

NINA

INB

INC

VP

IL

IL

IL

V

ก) การตอแบบสตารหรือวาย

Page 13: บทที่ 5 - Montri Ngaodat · PDF fileไฟฟ าฯ ราชมงคลล านนา บทที่5/หน า3 รูปที่ 5.3 แสดงการใช

ไฟฟาฯ ราชมงคลลานนา

บทที่5/หนา13

22.. การตอแบบเดลตาการตอแบบเดลตา ((ΔΔ)) Vline = Vphase IL = 3 Iph

P = 3 VL IL cos θ

ข) การตอแบบเดลตา

A

A

BB

C

C Iph

VL

VLVL

IL

IL

IL

Iph

I ph