Top Banner
. อุกฤษฏ์ เฉล มแสน [email protected] SOC 1003 ครั้งที6 POLITICAL SOCIOLOGY CROWD BEHAVIOR &
20

บทที่ 11 สังคมวิทยาการเมือง

Apr 09, 2023

Download

Documents

Rose Sirinarin
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: บทที่ 11 สังคมวิทยาการเมือง

อ. อกุฤษฏ์ เฉลิมแสน

[email protected]

SOC 1003

ครัง้ท่ี 6

POLITICAL SOCIOLOGY CROWD BEHAVIOR &

Page 2: บทที่ 11 สังคมวิทยาการเมือง

บทท่ี 11

สงัคมวิทยาการเมือง

อ. อกุฤษฏ์ เฉลิมแสน

ภาคสงัคมวิทยาและมานุษยวิทยา

คณะมนุษยศาสตร ์มหาวิทยาลยัรามคาํแหง

Page 3: บทที่ 11 สังคมวิทยาการเมือง

ประเดน็การบรรยาย

Page 4: บทที่ 11 สังคมวิทยาการเมือง

1. ขอบเขตของการศึกษา

2. กาํเนิดวิชาสงัคมวิทยาการเมือง

3. แนวความคิดทางสงัคมวิทยาการเมือง

Page 5: บทที่ 11 สังคมวิทยาการเมือง

1. ขอบเขตของการศึกษา

Page 6: บทที่ 11 สังคมวิทยาการเมือง

ข้อควรทราบ

สาขาหน่ึงของสงัคมวิทยาสมยัใหม่

อธิบายความสมัพนัธร์ะหว่างสงัคมวิทยากบัรฐัศาสตร ์

สงัคมวิทยาศึกษา... รฐัศาสตรศึ์กษา...

ชีวิตทางสงัคมเก่ียวพนัแนบแน่นกบัการเมือง

Page 7: บทที่ 11 สังคมวิทยาการเมือง

ศึกษาความเก่ียวข้องกนัระหว่างสงัคมกบัการเมือง

ศึกษาโครงสร้างของสงัคมกบัสถาบนัทางการเมือง

ตวัอย่าง : กลุ่มผลประโยชน์มีผลต่อเสถียรภาพ

ของรฐับาลอย่างไร

โครงสร้างสงัคม...ระบบชนชัน้ ระบบครอบครวั

มีความสัมพันธ์กับสถาบันการเมือง . . .พรรค

การเมือง รฐัธรรมนูญ อย่างไร

Page 8: บทที่ 11 สังคมวิทยาการเมือง

ศึกษาปัจจัยทางสังคมท่ีมีผลต่อพฤติกรรมทางการเมือง

ศึกษาปัจจยัทางสงัคมท่ีมีผลต่อการจดัรูปแบบ

และนโยบายทางการเมือง

ศึกษาความสมัพนัธร์ะหว่างสงัคมกบัการเมือง ท่ี

ก่อให้เกิดการพฒันาในด้านต่างๆ

ศึกษาสถานะของสังคมต่อการจดัรูปแบบทาง

การเมืองการปกครอง

Page 9: บทที่ 11 สังคมวิทยาการเมือง

2. กาํเนิดวิชาสงัคมวิทยาการเมือง

Page 10: บทที่ 11 สังคมวิทยาการเมือง

การเปล่ียนแปลงทางการเมือง เศรษฐกิจ และ

ศาสนา หลงัยคุกลางของยโุรป ศ. 16 มีการแบ่งแยก

สงัคมและการเมือง (รฐั)

ยคุกลาง ศาสนจกัรคือศนูยก์ลางอาํนาจ

การเปลีย่นแปลงหลงัยุคกลาง – คนศรทัธา

น้อยลง แยกเป็นหลายนิกาย ประชาชนเป็น

องค์ประ กอบสํา คัญ เ กิด ระบบช นชั ้นแทน

ฐานันดร

Page 11: บทที่ 11 สังคมวิทยาการเมือง

การหาข้อยุติและประสานข้อถกเถียงของนักวิชาการ

อะไรสาํคญักว่ากนั สงัคม VS การเมือง (รฐั)

Page 12: บทที่ 11 สังคมวิทยาการเมือง

รฐั สงัคม

โบแดง(Bodin)รฐัมีอาํนาจ

เดด็ขาด

มาร์กซ์ (Marx) รฐัใช้

อาํนาจกดข่ี

เ ฮ เ ก ล ( Hegel) รั ฐ มี

อํานาจบอกประชาชนถึง

ส่ิงใดถูกส่ิงใดผิด ไม่ควร

ถกูจาํกดัด้วยกฎศีลธรรม

ตัว อ ย่ า ง แ น ว คิ ด ข อ ง นั ก วิ ช า ก า ร ท่ี มี

ความเหน็ขดัแย้งเรื่องสงัคมและรฐั

Page 13: บทที่ 11 สังคมวิทยาการเมือง

3. แนวความคิดทางสงัคมวิทยาการเมือง

Page 14: บทที่ 11 สังคมวิทยาการเมือง

Alexis de Tocqueville (1805 – 1859)

Max Weber (1864 –1920)

Robert Michels

(1876– 1936)

Page 15: บทที่ 11 สังคมวิทยาการเมือง

อเลก็ซิส เดอ ทอกเกอวิลล ์(Alexis de Tocqueville)

ไม่สนับสนุนการรวมศนูยอ์าํนาจไว้ท่ีรฐั

ชีวิตมีทัง้ความราบรื่นและความขดัแย้ง

ชุมชนกบัองคก์ารต้องมีบทบาทต่อกนั

สนับสนุนการมีกลุ่มหลากหลาย และกระจายอาํนาจ

Page 16: บทที่ 11 สังคมวิทยาการเมือง

มีทัง้การประสานและความขดัแย้ง

ยึดถือมาตรฐานความเป็นกลาง

มีผลต่อการพฒันาระบอบประชาธิปไตยในระยะแรก

แมก็ซ ์เวเบอร ์(Max Weber)

มุ่งการจดัระบบแบบราชการ

Page 17: บทที่ 11 สังคมวิทยาการเมือง

ตรรก-นิติอาํนาจ (rational – legal authority) คือ

อาํนาจโดยชอบธรรม ตามเหตผุล กฎหมาย

ธรรมเนียมอาํนาจ (traditional authority) อาํนาจท่ี

ข้ึนกบัความเช่ือขนบธรรมเนียมประเพณี

บารมีอาํนาจ (charismatic authority) เป็นอาํนาจท่ี

ได้จากการได้รบัความเล่ือมใส และศรทัธาจากคนอ่ืน

อาํนาจในรปูแบบอดุมทศัน์ (ideal type)

Page 18: บทที่ 11 สังคมวิทยาการเมือง

โรเบิรต์ มิเชลล ์(Robert Michels)

ส น ใ จ ปั จจัย ท่ี เ อ้ื อแ ล ะ ท่ี เ ป็ น อุป ส รร ค ต่อ ร ะ บ อ บ

ประชาธิปไตย

กฎเหลก็แห่งคณาธิปไตย (iron law of oligarchy) ปรากฏ

ในพรรคการเมืองแบบสงัคมนิยม ท่ีเป็นคนส่วนน้อยแต่มี

อาํนาจมาก

Page 19: บทที่ 11 สังคมวิทยาการเมือง

สรปุ

Page 20: บทที่ 11 สังคมวิทยาการเมือง

สังคมวิทยาการเมืองให้ความสําคัญในเรื่อง

ใดบ้าง ? แตกต่างจากวิชารฐัศาสตรอ์ย่างไร ?

วิชาสงัคมวิทยาการเมืองก่อกาํเนิดขึ้นด้วยสาเหตใุด

อะ ไร สํา คัญม า ก ก ว่ า กัน ระ ห ว่ า ง สังค ม กับ ร ัฐ

(การเมือง) ? นักคิดคนสาํคญัอธิบายเรื่องน้ีอย่างไร ?

แนวคิดทางสังคมวิทยาการเมืองของนักคิดคน

สาํคญั มีสาระสาํคญัอย่างไรบ้าง ?