Top Banner
ภาคผนวก . แบบรายงานอุบัติเหตุบนทางหลวง และ คูมือการกรอกแบบรายงานอุบัติเหตุบนทางหลวง (HAIMS2010)
33

ภาคผนวก ก. แบบรายงานอุบัติเหตุบนทางหลวง และ คู

Mar 18, 2023

Download

Documents

Khang Minh
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: ภาคผนวก ก. แบบรายงานอุบัติเหตุบนทางหลวง และ คู

ภาคผนวก ก.

แบบรายงานอุบัติเหตุบนทางหลวง และ

คูมือการกรอกแบบรายงานอุบัติเหตุบนทางหลวง

(HAIMS2010)

Page 2: ภาคผนวก ก. แบบรายงานอุบัติเหตุบนทางหลวง และ คู

แบบรายงานอุบัติเหตุของกรมทางหลวงในปจจุบัน ( ส.3-02) - ดานหนา

ก - 2

Page 3: ภาคผนวก ก. แบบรายงานอุบัติเหตุบนทางหลวง และ คู

แบบรายงานอุบัติเหตุของกรมทางหลวงในปจจุบัน ( ส.3-02) - ดานหลัง

ก - 3

Page 4: ภาคผนวก ก. แบบรายงานอุบัติเหตุบนทางหลวง และ คู

แบบรายงานอุบัติเหตุบนทางหลวง (HAIMS เดิม) - ดานหนา

ก - 4

Page 5: ภาคผนวก ก. แบบรายงานอุบัติเหตุบนทางหลวง และ คู

รูปที่ ก.2.2 แบบฟอรมรายงานอุบัติเหตุ HAIMS เดิม - ดานหลัง

แบบรายงานอุบัติเหตุบนทางหลวง (HAIMS เดิม) - ดานหลัง

ก - 5

Page 6: ภาคผนวก ก. แบบรายงานอุบัติเหตุบนทางหลวง และ คู

แบบรายงานอุบัติเหตุบนทางหลวง (HAIMS2010) - ดานหนา

ก - 6

Page 7: ภาคผนวก ก. แบบรายงานอุบัติเหตุบนทางหลวง และ คู

แบบรายงานอุบัติเหตุบนทางหลวง (HAIMS2010) - ดานหลัง

ก - 7

Page 8: ภาคผนวก ก. แบบรายงานอุบัติเหตุบนทางหลวง และ คู

แบบรายงานอุบัติเหตุ TRAMS

ก - 8

Page 9: ภาคผนวก ก. แบบรายงานอุบัติเหตุบนทางหลวง และ คู

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศ (GIS) และขอมูล เพื่อตรวจสอบประเมินความปลอดภัยและเผยแพรขอมูลทางหลวงบน Website

ศูนยบริการวิชาการ คณะวิศวกรรมศาสตร ก - 9 จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

คูมือการกรอกแบบรายงานอุบัติเหตุบนทางหลวง (HAIMS2010)

คําแนะนําทั่วไป ผูกรอกรายงานอุบัติเหตุตองใสขอมูลใหครบทุกขอ

1. ใหผูกรอกเติมตัวเลขลงใน

2. ใหผูกรอกเติมขอความลงใน

3. ในกรณีที่เปนตัวเลือก ใหผูกรอกกาเคร่ืองหมาย ที่ตัวเลข (ตัวเลขท่ีอยูในวงกลมลอมรอบ) เพียง 1 ตัวเลือก

เทานั้น ยกเวนในขอที่ระบุวาสามารถเลือกไดมากกวา 1 ตัวเลือก

คําแนะนําเฉพาะ ที่ เลขท่ีหนังสือของการรายงาน เรียน หนวยงานของผูรับรายงาน จาก หนวยงานของผูรายงาน

1. วันที่เกิดเหต ุ

ระบุวันและเวลาที่เกิดอุบัติเหตุ 1.1 วันที่/เดือน/พ.ศ. วันที่ เดือน ป ที่เกิดเหตุ ตัวอยาง : 5 กุมภาพันธ 2553 ใหกรอกเปน 1.2 เวลา เวลาที่เกิดเหตุ ในหนวย 24 ชั่วโมง ตัวอยาง : 16.45 น. ใหกรอกเปน : 2. ขอมูลทางหลวง

ระบุขอมูลเก่ียวกับตําแหนงที่เกิดอุบัติเหตุบนทางหลวง 2.1 ชื่อสํานัก ระบุชื่อสํานักทางหลวง เชน ชื่อแขวง ระบุชื่อแขวงการทาง เชน

ชื่อหมวดการทาง ระบุชื่อหมวดการทาง เชน 2.2 หมายเลขทางหลวง หมายเลขทางหลวงที่เกิดอุบัติเหตุ เชน ทางหลวงหมายเลข 32 ใหกรอกเปน ทางหลวงหมายเลข 347 ใหกรอกเปน

ชื่อสายทาง ระบุชื่อสายทาง เชน ตอนควบคุม ใสหมายเลขตอนควบคุมที่เกิดอุบัติเหตุ เชน ตอนควบคุม 100

ใหกรอกเปน

0 5 0 2 5 3

1 6 4 5

หมวดฯ วังนอย

0 0 3 2 0 3 4 7

บางปะอิน – นครหลวง

0 1 0 0

สทล.11 (กรุงเทพฯ) แขวงฯ อยุธยา

Page 10: ภาคผนวก ก. แบบรายงานอุบัติเหตุบนทางหลวง และ คู

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศ (GIS) และขอมูล เพื่อตรวจสอบประเมินความปลอดภัยและเผยแพรขอมูลทางหลวงบน Website

ศูนยบริการวิชาการ คณะวิศวกรรมศาสตร ก - 10 จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

กม. หลักกิโลเมตร โดยประมาณท่ีจุดเกิดอุบัติเหตุ เชน หลัก กม.ที่ 6+800 ใหกรอกเปน + หรือ ใหกําหนดตําแหนงโดยใชระบบแผนที่สารสนเทศภูมิศาสตร (GIS Map) ที่อยูในระบบแทน หรือหากไมสามารถระบุ กม. หรือจุดพิกัดในแผนที่ได ใหระบุสถานที่ใกลเคียงในรายงานเหตุการณโดยยอ และ ใสหลัก กม. เปน 9999+999

2.3 พกัิดจีพีเอส WGS84 ระบุพิกัดทางภูมิศาสตรของตําแหนงที่เกิดอุบัติเหตุโดยใช

อุปกรณ GPS หรือระบุโดยใชระบบแผนที่สารสนเทศภูมิศาสตร

(GIS Map) เพื่อใชในการคนหาทางหลวงท่ีอยู ณ พิกัดดังกลาว

ซึ่งระบบจะแสดงขอมูลบัญชีสายทาง (Road Inventory) ที่

เก่ียวของกับทางหลวงสายดังกลาวขึ้นมาเพ่ือใหผูใชงานได

ตรวจสอบความถูกตองของขอมูล โดยใชมาตรฐาน WGS84

ลองติจูด (Longitude) คาพิกัดของเสนแวง ที่มีคาระหวาง 97°-106° ในประเทศไทย 3 หลักแรก คือ องศา 5 หลักถัดมา คือ ทศนิยมขององศา 5 หลัก เชน อานคาได 100.61162° ใหกรอกเปน . ° ละติจูด (Latitude) คาพิกัดของเสนรุง ที่มีคาระหวาง 5°-21° ในประเทศไทย 2 หลักแรก คือ องศา 5 หลักถัดมา คือ ทศนิยมขององศา 5 หลัก เชน อานคาได 14.23082° ใหกรอกเปน . ° 2.4 บริเวณเฉพาะท่ีเกิดเหตุ

1. ทางหลวงทั่วไป ไมมีทางขนาน ทางหลวงทั่วไป เชน ทางหลวง 2 ชองจราจร ทางหลวง 4 ชอง

จราจร ขึ้นไปที่ไมมีทางขนาน

2. ทางหลัก (Main Road) บริเวณทางหลวงซ่ึงออกแบบใหใชความเร็วสูงไดอยางตอเนื่อง

3. ทางขนาน (Frontage Road) บริเวณทางหลวงที่สรางคูขนานกับทางหลัก เพื่อใชเปน

ทางเขาออกของประชาชนที่จะเขาสูทางหลัก

4. ทางเขาหรือออกทางหลัก บริเวณท่ีเช่ือมโยงระหวางทางขนานและทางหลัก

0 0 0 6 8 0 0

1 0 0 6 1 1 6 2

1 4 2 3 0 8 2

Page 11: ภาคผนวก ก. แบบรายงานอุบัติเหตุบนทางหลวง และ คู

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศ (GIS) และขอมูล เพื่อตรวจสอบประเมินความปลอดภัยและเผยแพรขอมูลทางหลวงบน Website

ศูนยบริการวิชาการ คณะวิศวกรรมศาสตร ก - 11 จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

2.5 ลักษณะทางหลวงขณะเกิดเหตุ 1. ใชงานปกติ มีการใชงานทางหลวงปกติขณะเกิดเหตุ 2. มีงานบํารุงรักษา มีการซอมบํารุงงานทางขณะเกิดเหตุ 3. มีงานกอสราง มีการกอสรางทางขณะเกิดเหตุ 4. อื่นๆ (ระบุ) ระบุ สถานะอ่ืนๆ ขณะเกิดเหตุ 2.6 จํานวนชองจราจร ระบุจํานวนชองจราจรทั้งส้ินบนทางหลวง แตหากเปน กรณีอื่นๆ

ใหระบุจํานวนชองจราจร 2.7 ทิศทาง 1. ไปตามหลัก กม. ทิศทางจราจรที่หลักกิโลเมตรมีคาเพิ่มขึ้นเม่ือเดินทางไกลขึ้น 2. ยอนหลัก กม. ทิศทางจราจรที่หลักกิโลเมตรมีคาลดลงเม่ือเดินทางไกลขึ้น 3. ไมใชทั้งสองทิศทาง บริเวณท่ีเกิดเหตุนั้นไมสามารถระบุไดวาทิศทางใด 2.8 ประเภทเกาะกลาง ลักษณะของเกาะกลางถนน 1. ไมมีเกาะกลาง ไมมีเกาะกลางก้ันระหวางทิศทางการจราจร 2. เกาะกลางแบบสี มีเกาะกลางเปนแถบทาสี 3. เกาะกลางแบบดินถมยกขึ้น มีเกาะกลางเปนแบบดินถมยกขึ้น อาจมีราวกันอันตราย ประกอบดวย 4. เกาะกลางแบบรอง มีเกาะกลางเปนแบบรองดิน หรือเปนแอง 5. มีอุปกรณก้ันกลางถนน มีอุปกรณก้ันกลางถนน เชน ราวคอนกรีต ราวเหล็ก 2.9 การจราจร บริเวณทางหลวงที่มีการจัดการจราจรแตกตางจากทางหลวง ทั่วไป หรือลักษณะทางแตกตางเปนพิเศษ

1. รถเดินสวนทาง มีการจราจรแบบรถสามารถว่ิงสวนทางกันได เชน ถนน 2 ชองจราจรที่รถสามารถวิ่งสวนทางกันได

2. รถเดินทางเดียว มีการจราจรแบบรถว่ิงไดทิศทางเดียว เชน ทาง One-way 3. มีชองเฉพาะรถโดยสาร ทางหลวงที่ไดมีการจัดแบงชองการจราจรเฉพาะรถโดยสาร 4. มีชองจราจรขึ้นเขา ทางหลวงที่กอสรางขยายคันทางใหมีชองจราจรสําหรับการวิ่ง ขึ้นเขา หรือทางชันมาก 5. อื่นๆ ระบุ ลักษณะการจราจรอื่นๆ 2.10 ชนิดผิวจราจร ลักษณะผิวจราจรของทางหลวงท่ีเกิดอุบัติเหตุ เชน ผิวทางคอนกรีต ผิวทางลาดยาง หรือผิวทางลูกรัง 3. ลักษณะบริเวณที่เกิดเหต ุ

3.1 แนวราบ

1. ทางตรง บริเวณเกิดเหตุที่มีลักษณะทางเปนแนวตรง

Page 12: ภาคผนวก ก. แบบรายงานอุบัติเหตุบนทางหลวง และ คู

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศ (GIS) และขอมูล เพื่อตรวจสอบประเมินความปลอดภัยและเผยแพรขอมูลทางหลวงบน Website

ศูนยบริการวิชาการ คณะวิศวกรรมศาสตร ก - 12 จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

2. ทางโคงปกติ บริเวณท่ีเกิดเหตุที่มีลักษณะทางเปนแนวโคงกวาง โดยนับระยะ

กอนเขาทางโคง และระยะหลังออกจากทางโคง ขางละ 50 เมตร

3. ทางโคงหักศอก บริเวณท่ีเกิดเหตุที่มีลักษณะทางเปนแนวโคงแคบ/หักศอก โดย

นับระยะกอนเขาทางโคง และระยะหลังออกจากทางโคง ขางละ

50 เมตร

ทางโคงปกติ คือทางโคงที่มีรัศมีความโคงมากกวา 100

เมตร (R>100 m.)

ทางโคงหักศอก คือทางโคงที่มีรัศมีความโคงนอยกวา 100

เมตร (R<100 m.)

3.2 แนวด่ิง

1. ที่ราบ บริเวณทางหลวงที่อยูบนที่ราบ ไมมีความลาดชัน

2. ยอดโคง บริเวณทางหลวงที่อยูบนชวงยอดโคง (จุดสูงสุดของโคง)

3. กนโคง บริเวณทางหลวงที่อยูบนชวงกนโคง (จุดตํ่าสุดของโคง)

4. บนชวงลาดชัน บริเวณทางหลวงที่อยูบนชวงที่มีความลาดชัน

3.3 ทางแยก ขอบเขตของทางแยกใหพิจารณาจากระยะทางไมเกิน 100 เมตร

จากเสนหยุด (Stop line) ของแตละดาน (Approach) หรือระยะ

ที่มีการขยายชองจราจรขณะเขาสูทางแยก ขึ้นอยูกับวาระยะใด

มากกวากัน

1. ไมไดเกิดเหตุที่แยก กรณีอุบัติเหตุไมไดเกิดที่ทางแยก ใหเลือกขอนี้

2. ทางแยกรูปตัว + บริเวณท่ีทางหลวงตัดกันอยูในลักษณะรูปเคร่ืองหมายบวก +

3. ทางแยกรูปตัว T บริเวณท่ีทางหลวงตัดกันอยูในลักษณะรูปตัว T

4. ทางแยกรูปตัว Y บริเวณท่ีทางหลวงตัดกันอยูในลักษณะรูปตัว Y

5. วงเวียน บริเวณท่ีทางแยกลักษณะวงเวียน

6. ทางแยกตางระดับ/Ramps บริเวณทางแยกท่ีออกแบบใหรถสามารถวิ่งจากทิศทางหน่ึงไปยัง

R

Page 13: ภาคผนวก ก. แบบรายงานอุบัติเหตุบนทางหลวง และ คู

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศ (GIS) และขอมูล เพื่อตรวจสอบประเมินความปลอดภัยและเผยแพรขอมูลทางหลวงบน Website

ศูนยบริการวิชาการ คณะวิศวกรรมศาสตร ก - 13 จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

อีกทิศทางหน่ึงอยางอิสระ โดยไมไปขัดจังหวะกระแสจราจรใน

ทิศทางอื่น สวน Ramps หมายถึง ทางเขาสูทางแยกหรือออก

จากทางแยก

7. อื่นๆ ระบุ ลักษณะทางแยกอื่นๆ

ทางแยกรูปตัว +

ทางแยกรูปตัว T

 

ทางแยกรูปตัว Y  

วงเวียน

3.4 จุดเปดเกาะกลางถนน บริเวณฉนวนก้ันกลางทางหลวงท่ีเปดเชื่อมตอระหวางการจราจร

สองทิศทาง เพื่อการเล้ียวกลับรถ หรือเล้ียวเขาออก

1. ไมไดเกิดเหตุที่จุดเปดเกาะกลางถนน กรณีอุบัติเหตุไมไดเกิดที่จุดเปดเกาะกลางถนนใหเลือกขอนี้

2. เปนที่กลับรถแตไมมีทั้งชองลด ไมมีชองจราจรพิเศษท่ีจัดไวสําหรับลดความเร็วและเรงความเร็ว

ความเร็วและเรงความเร็ว

3. เปนที่กลับรถมีชองลดความเร็ว มีชองจราจรพิเศษที่จัดไวสําหรับลดความเร็ว แตไมมีชองจราจร

แตไมมีชองเรงความเร็ว พิเศษสําหรับเรงความเร็ว

4. เปนที่กลับรถมีชองเรงความเร็ว มีชองจราจรพิเศษที่จัดไวสําหรับเรงความเร็ว แตไมมีชองจราจร

แตไมมีชองลดความเร็ว พิเศษสําหรับลดความเร็ว

Page 14: ภาคผนวก ก. แบบรายงานอุบัติเหตุบนทางหลวง และ คู

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศ (GIS) และขอมูล เพื่อตรวจสอบประเมินความปลอดภัยและเผยแพรขอมูลทางหลวงบน Website

ศูนยบริการวิชาการ คณะวิศวกรรมศาสตร ก - 14 จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

5. เปนที่กลับรถและมีทั้งชองลด มีชองจราจรพิเศษที่จัดไวสําหรับลดความเร็วและเรงความเร็ว

ความเร็วและเรงความเร็ว

3.5 ทางเช่ือม บริเวณท่ีใชเปนสาธารณประโยชน เพื่ออํานวยความสะดวกใน การเขาออกทางหลวง 1. ไมไดเกิดเหตุที่ทางเช่ือม กรณีอุบัติเหตุไมไดเกิดที่ทางเช่ือมใหเลือกขอนี้ 2. เขาพื้นที่สาธารณะหรือเชิงพาณิชย ระบุจํานวนชองจราจรของทางเชื่อม เชน ถนน 2 ชองจราจร 3. เขาสถานศึกษา/สถานท่ีราชการ ระบุจํานวนชองจราจรของทางเชื่อม เชน ถนน 2 ชองจราจร 4. เขาพื้นที่สวนบุคคล ระบุจํานวนชองจราจรของทางเชื่อม เชน ถนน 2 ชองจราจร 3.6 บริเวณเฉพาะอื่นๆ 1. ทางรถจักรยานยนต ทางที่จัดไวพิเศษสําหรับรถจักรยานยนต 2. ทางจักรยาน ทางที่จัดไวพิเศษสําหรับรถจักรยาน 3. ทางคนเดินเทา ทางที่จัดไวพิเศษสําหรับคนเดินเทา 4. ทางมาลาย บริเวณท่ีคนเดินเทาใชขามถนน 5. สะพาน บริเวณสะพานที่รวมถึงเชิงลาดทั้งสองขาง กรณีที่สะพานไมมี ความลาดชัน ใหรวมระยะกอนและหลังสะพานขางละ 15 เมตร ดังแสดงในรูป

6. ทางลอด บริเวณท่ีเปนอุโมงคซึ่งใชขามทางแยก ขามทางรถไฟ หรือขาม แมน้ําลําคลอง 7. ทางรถไฟตัดผาน บริเวณทางหลวงนับต้ังแตจุดปดก้ันทางรถไฟดานหนึ่งจนถึงอีก

ดานหนึ่ง หรือนับจากปายแสดงเขตรถไฟดานหน่ึงไปยังอีกดานหนึ่ง

8. จุดกลับรถตางระดับ บริเวณทางหลวงที่มีจุดกลับรถบนสะพาน/ทางตางระดับ 9. มีการเปล่ียนความกวางของชองจราจร บริเวณทางหลวงที่มีขนาดความกวางของผิวทางหรือจํานวนชอง

จราจรเปล่ียนแปลงเพ่ิมขึ้นหรือลดลง โดยใหรวมระยะทางกอนเปล่ียนแปลงดังกลาวขางละ 15 เมตร ดังแสดงในรูป

Page 15: ภาคผนวก ก. แบบรายงานอุบัติเหตุบนทางหลวง และ คู

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศ (GIS) และขอมูล เพื่อตรวจสอบประเมินความปลอดภัยและเผยแพรขอมูลทางหลวงบน Website

ศูนยบริการวิชาการ คณะวิศวกรรมศาสตร ก - 15 จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

10. บริเวณท่ีเกิดเหตุไมมีลักษณะเฉพาะท่ีกลาวมา ไมมีลักษณะเฉพาะท่ีตรงกับที่กลาวมาขางตน ใหเลือกขอนี้ 4. การควบคุมการใชทางหลวง

บริเวณหรือทางหลวงที่เกิดอุบัติเหตุนี้มี เคร่ืองหมาย สัญญาณ หรือปายที่ใชในการควบคุมการใชทางหลวงโดยนับระยะจากจุดที่เกิดอุบัติเหตุออกไปขางละ 100 เมตร โดยกรณีที่มีการควบคุมมากกวา 1 ประเภท สามารถระบุไดมากกวา 1 ขอ

1. ปายจํากัดความเร็ว ในเขตทางท่ีจํากัดความเร็ว มีปายจํากัดความเร็วติดต้ังมากอน

ถึงบริเวณน้ี

2. ปายบังคับหยุด รถที่เกิดเหตุขับผานปายบังคับหยุดที่ติดต้ังไว

3. ปายจราจรประเภทเตือนอื่นๆ กอนถึงที่เกิดเหตุมีปายเตือนตางๆ ติดต้ังไว

4. สัญญาณไฟจราจร รถที่เกิดเหตุอยูในเขตพื้นที่ที่ควบคุมจราจรดวยสัญญาณไฟ

จราจร

5. สัญญาณไฟกะพริบ บริเวณท่ีเกิดเหตุอยูในรัศมี 100 เมตร จากสัญญาณไฟกะพริบ

6. เสนเคร่ืองหมายจราจรบนผิวทาง รถที่เกิดเหตุอยูในเขตพื้นที่ที่มีเสนเคร่ืองหมายจราจรบนผิวทาง

7. เขตหามแซง รถที่เกิดเหตุไดฝาฝนปายหรือเคร่ืองหมายบนพื้นทางที่หามแซง

8. เขตหามจอด รถที่เกิดเหตุไดฝาฝนการหามจอดรถในเขตพื้นที่หามจอด

9. เปนทางคนเดินขามถนนท่ีไมมีการควบคุม เชน ไมมีสัญญาณไฟกะพริบ ไมมีสัญญาณไฟจราจรสําหรับคน

เดินขามถนน

10. เปนทางคนเดินขามที่มีการควบคุม เชน ติดต้ังสัญญาณไฟกะพริบ มีสัญญาณไฟจราจรสําหรับคน

เดินขามถนน

11. สะพานลอยคนเดินขาม บริเวณท่ีเกิดเหตุอยูหางจากสะพานลอยคนเดินขามไมเกิน 100

เมตร

บริเวณที่มีการเปลี่ยนความกวางผิวจราจร

ทางเชือ่มโยงทางแยก

15 ม

.

15 ม

.

Page 16: ภาคผนวก ก. แบบรายงานอุบัติเหตุบนทางหลวง และ คู

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศ (GIS) และขอมูล เพื่อตรวจสอบประเมินความปลอดภัยและเผยแพรขอมูลทางหลวงบน Website

ศูนยบริการวิชาการ คณะวิศวกรรมศาสตร ก - 16 จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

12. ไมมีการควบคุมอยางใดอยางหน่ึง กรณีไมมีการควบคุมการใชทางหลวง

5. ทัศนวิสัยและสภาพแวดลอม

ลักษณะสภาพภูมิอากาศ สภาพแวดลอมทางกายภาพของทางหลวงขณะเกิดเหตุ

5.1 ผิวทาง ระบุคุณภาพผิวทางขณะท่ีเกิดอุบัติเหตุวา เปยก หรือแหง 5.2 สภาพผิวทาง ระบุสภาพผิวทางขณะท่ีเกิดอุบัติเหตุ 1. ดี ผิวจราจรมีสภาพดี 2. เปนคล่ืน/หลุม/บอ สภาพของทางท่ีมีการทรุดตัว ทําใหผิวจราจรไมเรียบ เปนหลุมบอ ทรุดตัวเปนแอง รวมไปถึงการแตกราว 3. สกปรก สภาพทางหลวงที่มีส่ิงสกปรกหลนอยู เชน น้ํามัน ดิน ทราย หิน อันสามารถเปนเหตุที่กอใหเกิดอุบัติเหตุได 4. อื่นๆ (ระบุ) อื่นๆ โปรดระบุ...... 5.3 สภาพภูมิอากาศ ระบุสภาพภูมิอากาศขณะท่ีเกิดอุบัติเหตุ เชน แจมใส มีควัน/ฝุน มีหมอก ฝนตก หรือภัยธรรมชาติ 5.4 แสงสวาง ระบุความสวางขณะที่เกิดอุบัติเหตุ 1. กลางวัน เปนชวงเวลากลางวัน 2. มืดไมมีไฟฟาแสงสวาง เปนชวงเวลากลางคืน และไมมีการติดต้ังไฟฟาแสงสวาง 3. มืดมีไฟฟาแสงสวาง เปนชวงเวลากลางคืน แตมีการติดต้ังไฟฟาแสงสวาง 6. ขอมูลเกี่ยวกับรถที่ประสบอุบัติเหต ุ

6.1 ประเภทของผูใชถนน ประเภทของผูใชถนน ประกอบไปดวย คนเดินเทาและ/หรือ

ยานพาหนะ กรณียานพาหนะประเภทตางๆ ใหใชขอมูลผูขับขี่

เปนหลัก หากกรณีมีรถที่ประสบเหตุมากกวา 3 คัน ใหผูกรอก

ระบุเพิ่ม โดยกรณีที่เปนกระดาษใหเพิ่มในกระดาษแผนใหม

สวนกรณีที่กรอกในคอมพิวเตอรใหเลือก จนกวาจะครบตาม

จํานวนรถท่ีตองการ

6.2 หมายเลขทะเบียนรถ ระบุหมายเลขทะเบียนรถที่ประสบเหตุ เชน ฮฮ 9999 กรุงเทพฯ

6.3 ย่ีหอรถ ระบุย่ีหอของรถที่ประสบเหตุ เชน Toyota, Honda หรือ อื่นๆ

6.4 ขอมูลเก่ียวกับผูขับขี่หรือผูใชถนน

6.4.1 ชื่อผูขับขี่หรือผูใชถนน ระบุชื่อผูขับขี่รถที่ประสบเหตุ หรือคนเดินเทาที่ประสบเหตุ

6.4.2 หมายเลขประจําตัวประชาชน ระบุหมายประจําตัวประชาชนของผูที่ประสบเหตุ

6.4.3 อายุผูขับขี่หรือผูใชถนน (ป) อายุของผูขับขี่รถที่ประสบเหตุ หรือคนเดินเทาที่ประสบเหตุ

Page 17: ภาคผนวก ก. แบบรายงานอุบัติเหตุบนทางหลวง และ คู

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศ (GIS) และขอมูล เพื่อตรวจสอบประเมินความปลอดภัยและเผยแพรขอมูลทางหลวงบน Website

ศูนยบริการวิชาการ คณะวิศวกรรมศาสตร ก - 17 จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

6.4.4 เพศผูขับขี่หรือผูใชถนน เพศของผูขับขี่ที่ประสบเหตุ หรือเพศของคนเดินเทาที่ประสบเหตุ

6.4.5 การใชอุปกรณนิรภัยของผูขับขี่ การใชอุปกรณนิรภัยของผูขับขี่ขณะที่เกิดอุบัติเหตุ ไดแก หมวก

นิรภัย เข็มขัดนิรภัย หรือไมไดใชอุปกรณนิรภัย

6.4.6 การเสพของมึนเมาหรือยา การเสพของมึนเมา หรือยา ขณะที่เกิดอุบัติเหตุ

7. มูลเหตุที่สันนิษฐาน ขอสันนิษฐานของเจาหนาที่ผูรายงาน สันนิษฐานถึงสาเหตุที่

กอใหเกิดอุบัติเหตุ โดยสามารถเลือกไดเพียง 1 ตัวเลือก

8. ทรัพยสินของกรมทางหลวงเสียหาย ระบุประเภทของวัตถุและอุปกรณริมทางหลวงท่ีถูกชนเสียหาย

โดยสามารถเลือกไดมากกวา 1 ตัวเลือก

9. ความเสียหายจากอุบัติเหต ุ

ใหแยกกรอกเปน 2 ประเภท คือ ผูใหญ (หมายถึงผูที่มีอายุต้ังแต 15 ป ขึ้นไป) และเด็ก (หมายถึงผูที่มีอายุนอย

กวา 15 ป) โดยแยกตามลักษณะความเสียหายจากอุบัติเหตุดังตอไปนี้

ตาย ณ จุดที่เกิดเหตุ จํานวนผูขับขี่/ผูโดยสาร/คนเดินเทา ทั้งหมดที่เสียชีวิตในที่เกิดเหตุ

ตาย ณ โรงพยาบาล จํานวนผูขบัขี่/ผูโดยสาร/คนเดินเทา ดังกลาวที่เสียชีวิต ภายใน 48 ชั่วโมง

นับแตเกิดเหตุ

บาดเจ็บสาหัส จํานวนผูขับขี่/ผูโดยสาร/คนเดินเทา ทั้งหมดที่บาดเจ็บจาก

อุบัติเหตุดังกลาว ไมสามารถรักษาใหหายไดภายใน 3 สัปดาห

บาดเจ็บเล็กนอย จํานวนผูขับขี่/ผูโดยสาร/คนเดินเทา ทั้งหมดที่บาดเจ็บจากอุบัติเหตุ

ดังกลาว สามารถรักษาใหหายไดภายในระยะเวลาอันส้ัน

ความเสียหายของทางราชการ คาเสียหายของทรัพยสินกรมทางหลวง จําแนกตามรายการที่เสียหาย

ความเสียหายของเอกชน คาเสียหายอื่นๆ กรอกเปนตัวเลขรวม

แผนผังสังเขปบริเวณที่เกิดเหตุ

ผูกรอกเปนผูวาดรูปลักษณะบริเวณท่ีเกิดเหตุ ลักษณะการชน ระบุทิศทางการชน ทิศทางของการจราจร จากน้ันสามารถนําเขาระบบ HAIMS โดยนําภาพที่วาดแผนผังสังเขปนั้นไปกรอกลงในเว็บ HAIMS ซึ่งจะมีเคร่ืองมือการวาดรูปใหอยูแลว และอาจสามารถนําภาพที่วาดแผนผังสังเขปนั้นไปสแกนโดยใชสแกนเนอรหรือใชวิธีการถายภาพโดยกลองดิจิตอล และบันทึกในรูปแบบของไฟลนามสกุล .jpg แลวนําเขาขอมูลเขาสูคอมพิวเตอร ซึ่งขนาดไมเกิน 2 MB

Page 18: ภาคผนวก ก. แบบรายงานอุบัติเหตุบนทางหลวง และ คู

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศ (GIS) และขอมูล เพื่อตรวจสอบประเมินความปลอดภัยและเผยแพรขอมูลทางหลวงบน Website

ศูนยบริการวิชาการ คณะวิศวกรรมศาสตร ก - 18 จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ประเภทลักษณะการชน (รหัสการชน) กรอกรหัสการชนท่ีมีลักษณะใกลเคียงกับเหตุที่เกิด โดยสามารถดูลักษณะการชนไดจากเอกสารแนบ

รายงานเหตุการณโดยยอ ใหผูกรอกรายงานเหตุการณโดยยอของอุบัติเหตุ ระบุสถานท่ีเกิดเหตุและสถานท่ีสําคัญใกลเคียง เชน สถานท่ี

ราชการ โรงงานอุตสาหกรรม โรงเรียน โรงพยาบาล อาคารสํานักงาน ธนาคาร เปนตน ระบุประเภทของรถท่ีประสบเหตุ หมายเลขทะเบียนรถ ทิศทางของการเกิดเหตุ จํานวนผูประสบเหตุ ชื่อและที่อยูของผูประสบเหตุ รายการวัตถุริมทางหลวงที่ถูกชน รวมไปถึงรายละเอียดอื่นๆ ที่จําเปน

ผูรายงาน ลงลายมือชื่อผูที่รายงานอุบัติเหตุ ตําแหนง วันที่รายงาน และใหผูบังคับบัญชาลงลายมือช่ือรับรอง

Page 19: ภาคผนวก ก. แบบรายงานอุบัติเหตุบนทางหลวง และ คู

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศ (GIS) และขอมูล เพื่อตรวจสอบประเมินความปลอดภัยและเผยแพรขอมูลทางหลวงบน Website

ศูนยบริการวิชาการ คณะวิศวกรรมศาสตร ก - 19 จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

Page 20: ภาคผนวก ก. แบบรายงานอุบัติเหตุบนทางหลวง และ คู

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศ (GIS) และขอมูล เพื่อตรวจสอบประเมินความปลอดภัยและเผยแพรขอมูลทางหลวงบน Website

ศูนยบริการวิชาการ คณะวิศวกรรมศาสตร ก - 20 จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

Page 21: ภาคผนวก ก. แบบรายงานอุบัติเหตุบนทางหลวง และ คู

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศ (GIS) และขอมูล เพื่อตรวจสอบประเมินความปลอดภัยและเผยแพรขอมูลทางหลวงบน Website

ศูนยบริการวิชาการ คณะวิศวกรรมศาสตร ก - 21 จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

Page 22: ภาคผนวก ก. แบบรายงานอุบัติเหตุบนทางหลวง และ คู

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศ (GIS) และขอมูล เพื่อตรวจสอบประเมินความปลอดภัยและเผยแพรขอมูลทางหลวงบน Website

ศูนยบริการวิชาการ คณะวิศวกรรมศาสตร ก - 22 จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

Page 23: ภาคผนวก ก. แบบรายงานอุบัติเหตุบนทางหลวง และ คู

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศ (GIS) และขอมูล เพื่อตรวจสอบประเมินความปลอดภัยและเผยแพรขอมูลทางหลวงบน Website

ศูนยบริการวิชาการ คณะวิศวกรรมศาสตร ก - 23 จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

Page 24: ภาคผนวก ก. แบบรายงานอุบัติเหตุบนทางหลวง และ คู

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศ (GIS) และขอมูล เพื่อตรวจสอบประเมินความปลอดภัยและเผยแพรขอมูลทางหลวงบน Website

ศูนยบริการวิชาการ คณะวิศวกรรมศาสตร ก - 24 จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ตารางที่ ก.1 เปรียบเทียบแบบรายงานอุบัติเหตุที่ใชงานอยูในปจจุบันของกรมทางหลวง (ส.3-02) และระบบ HAIMS2010 แบบรายงานอุบัติเหตุของกรมทางหลวง (ส.3-02) แบบรายงานอุบัติเหตุระบบ HAIMS2010 หมายเหตุ

1. ขอมูลทางหลวง - หมายเลขทางหลวง ตอนควบคุม กม. ชือ่ตอน - บริเวณ/ถนน

2. ขอมูลทางหลวง 2.1 รหัสสํานัก รหัสแขวง ชือ่หมวดการทาง 2.2 หมายเลขทางหลวง ชือ่สายทาง ตอนควบคุม กม. 2.4 บริเวณเฉพาะที่เกิดเหตุ 2.3 พิกัดจีพีเอส WGS84

- เพิ่มเติมจากแบบ ส.3-02 ปจจุบนั - ไมเปลี่ยนแปลง - เพิ่มตัวเลือก “ทางหลวงทั่วไป ไมมีทางขนาน” ”ทางหลัก” ”ทางขนาน” ”ทางเขาหรือออกทางหลกั” และ ”ไมระบุ” - เพิ่มเติมจากแบบรายงานอุบัติเหตุปจจุบัน

2. วันที่เกิดเหตุ 1. วันที่เกิดเหตุ - ปรับแกรูปแบบเล็กนอย 3. ประเภทและมาตรฐานทางหลวง 3.1 สภาพทาง 3.2 ลกัษณะคันทางทั่วไป 3.3 จํานวนชองจราจร 3.4 การจราจร 3.5 ชนิดของผิวจราจร

2.5 ลกัษณะทางหลวงขณะเกิดเหตุ 2.8 ประเภทเกาะกลางถนน 2.6 จํานวนชองจราจร 2.9 การจราจร 2.10 ชนิดผิวจราจร 2.7 ทิศทาง

- เปลี่ยน “มีงานกอสราง/บูรณะ” เปน “มีงานกอสราง” - เปลี่ยนตัวเลือกจากฉนวนกั้นกลางเปน “ไมมีเกาะกลาง” ”เกาะกลางแบบสี” ”เกาะกลางแบบดินถมยกขึ้น” ”เกาะกลางแบบรอง” ”มีอุปกรณกั้นกลางถนน” และ ”ไมระบุ” - ไมเปลี่ยนแปลง - ไมเปลี่ยนแปลง - ไมเปลี่ยนแปลง - เพิ่มเติมจากแบบรายงานอุบัติเหตุปจจุบัน

4. ลกัษณะบริเวณที่เกิดเหตุ 4.1 ลกัษณะโดยทั่วไป 4.2 ลกัษณะบริเวณเฉพาะ

3. ลักษณะบริเวณที่เกิดเหตุ 3.1 แนวราบ 3.2 แนวดิ่ง

- จัดกลุมลักษณะบริเวณที่เกิดเหตุเพื่อสะดวกในการพิจารณา เปน 6 กลุม

Page 25: ภาคผนวก ก. แบบรายงานอุบัติเหตุบนทางหลวง และ คู

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศ (GIS) และขอมูล เพื่อตรวจสอบประเมินความปลอดภัยและเผยแพรขอมูลทางหลวงบน Website

ศูนยบริการวิชาการ คณะวิศวกรรมศาสตร ก - 25 จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ตารางที่ ก.1 เปรียบเทียบแบบรายงานอุบัติเหตุที่ใชงานอยูในปจจุบันของกรมทางหลวง (ส.3-02) และระบบ HAIMS2010 แบบรายงานอุบัติเหตุของกรมทางหลวง (ส.3-02) แบบรายงานอุบัติเหตุระบบ HAIMS2010 หมายเหตุ

3.3 ทางแยก 3.4 จุดเปดเกาะกลางถนน 3.5 ทางเชื่อม 3.6 บริเวณเฉพาะอื่นๆ

5. การควบคุมการใชทางหลวง 4. การควบคุมทางหลวง - ตัดตัวเลือก “มีเจาพนักงานจราจร” เนื่องจากผูกรอกไมสามารถทราบไดวาในขณะเกิดเหตุมีเจาพนักงานจราจรดูแลหรือไม และเพิ่มตัวเลือก “เสนเครื่องหมายจราจรบนผิวทาง” ตามแบบรายงานอุบัติเหตุปจจุบัน - แยกประเด็น “มีทางขาม/สะพานลอย” เปน ”เปนทางคนเดินขามถนนที่ไมมีการควบคุม” ”เปนทางคนเดินขามถนนที่มีการควบคุม” และ “สะพานลอยคนเดินขาม”

6. ประเภทยานพาหนะที่เกี่ยวของ

6. ขอมูลเกี่ยวกับรถที่ประสบเหตุ 6.1 ประเภทผูใชถนน

- เพิ่มเติมประเภทยานพาหนะ “รถตู” “รถปคอัพโดยสาร” “รถปคอัพบรรทุก 4 ลอ” และ “รถบรรทุกมากกวา 6 ลอ ไมเกิน 10 ลอ”

7. ทรัพยสินของกรมทางหลวงเสียหาย 8. ทรัพยสินของกรมทางหลวงเสียหาย - เพิ่มเติมตัวเลือก “ตนไม” และ “ศาลาทางหลวง” 8. มูลเหตุที่สันนิษฐาน 7. มูลเหตุที่สันนิษฐาน - เพิ่มเติมตัวเลือก “ไมใหสัญญานเขาจอดหรือออกจากที่จอดรถ”

”ไมใหสิทธิรถที่มากอนผานทาง เชน ทางแยก” และ ”มีสิ่งกีดขวางบนทางหลวง” เพื่อใหสอดคลองกับระบบ TRAMS - เปลี่ยนขอความจาก ”อุปกรณชํารุด” เปน”อุปกรณรถบกพรอง”

(ตอ)

Page 26: ภาคผนวก ก. แบบรายงานอุบัติเหตุบนทางหลวง และ คู

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศ (GIS) และขอมูล เพื่อตรวจสอบประเมินความปลอดภัยและเผยแพรขอมูลทางหลวงบน Website

ศูนยบริการวิชาการ คณะวิศวกรรมศาสตร ก - 26 จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ตารางที่ ก.1 เปรียบเทียบแบบรายงานอุบัติเหตุที่ใชงานอยูในปจจุบันของกรมทางหลวง (ส.3-02) และระบบ HAIMS2010 แบบรายงานอุบัติเหตุของกรมทางหลวง (ส.3-02) แบบรายงานอุบัติเหตุระบบ HAIMS2010 หมายเหตุ

เพื่อระบุใหชี้ชัดวาเปนอปุกรณรถ ซึ่งไมใชอุปกรณงานทาง - เปลี่ยนขอความจาก”อื่นๆ”เปน ”อื่นๆ (ระบุ)” เพื่อใหสามารถระบุมูลเหตุที่สันนิษฐานได

9. ทัศนวิสัยและสภาพแวดลอม 9.1 สภาพภูมิอากาศ 9.2 แสงสวาง 9.3 สภาพทาง

5. ทัศนวิสัยและสภาพแวดลอม 5.1 สภาพภูมิอากาศ 5.2 แสงสวาง 5.3 ผิวทาง 5.4 สภาพผิวทาง

- เปลี่ยนตัวเลือก “มีลมแรง” เปน “ภัยธรรมชาติ” ซึ่งมีความครอบคลุมกวา และสอดคลองกับระบบ TRAMS - เพิ่มตัวเลือกอื่นๆ - แยกกลุม “ผิวทาง” และ ”สภาพผิวทาง”

10. ความเสียหายจากอบุัติเหตุ 9. ความเสียหายจากอุบัติเหตุ - เพิ่มเติมรายละเอียดของประเภทเด็กผูชาย และเด็กผูหญิง เพื่อใหสอดคลองกับระบบ TRAMS

11. ลกัษณะการชน แผนผังสังเขปบริเวณที่เกิดเหตุ (ดานหลัง) - เพิ่มหัวขอ “ประเภทลักษณะการชน (รหัสการชน)” 12. ชนิดของอุบัติเหตุ - - ใชระบบระบบในการวิเคราะหชนิดของอุบัติเหตุ แผนผังสังเขปบริเวณที่เกิดเหตุ (ดานหลัง) รายละเอยีดยานพาหนะที่เกิดเหตุ 1. ชนิดของยานพาหนะ 2. หมายเลขทะเบียนรถ

แผนผังสังเขปบริเวณที่เกิดเหตุ (ดานหลัง) 6.1 ประเภทผูใชถนน 6.2 หมายเลขทะเบียนรถ

- เพิ่มหัวขอ “ประเภทลักษณะการชน (รหัสการชน)” จากนั้นเมื่อผูใชงานกรอกรหัสการชนเขาไปในระบบ (ในเว็บไซต) แลวระบบจะประมวลผลใหวาเปนชนิดของอุบัติเหตุประเภทใด เพื่อใหสอดคลองกับระบบ TRAMS - ไมเปลี่ยนแปลง - ไมเปลี่ยนแปลง

(ตอ)

Page 27: ภาคผนวก ก. แบบรายงานอุบัติเหตุบนทางหลวง และ คู

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศ (GIS) และขอมูล เพื่อตรวจสอบประเมินความปลอดภัยและเผยแพรขอมูลทางหลวงบน Website

ศูนยบริการวิชาการ คณะวิศวกรรมศาสตร ก - 27 จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ตารางที่ ก.1 เปรียบเทียบแบบรายงานอุบัติเหตุที่ใชงานอยูในปจจุบันของกรมทางหลวง (ส.3-02) และระบบ HAIMS2010 แบบรายงานอุบัติเหตุของกรมทางหลวง (ส.3-02) แบบรายงานอุบัติเหตุระบบ HAIMS2010 หมายเหตุ

3. ชื่อผูขับขี่หรือผูใชถนน 4. ที่อยูของผูขบัขี ่5. อาย ุ6. เพศ 7. อาชีพ 8. สภาพรางกายและจิตใจกอนเกดิอุบัติเหตุ 9. โรคประจําตัว 10. ชิ้นสวนยานพาหนะที่เสียหาย

6.4.1 ชือ่ผูขบัขี่หรือผูใชถนน 6.4.3 อายุผูขบัขีห่รือผูใชถนน 6.4.4 เพศผูขับขีห่รือผูใชถนน 6.3 ยีห่อรถ 6.4.2 หมายเลขประจําตัวประชาชน 6.4.5 การใชอุปกรณนิรภัยของผูขบัขี ่6.4.6 การเสพของมึนเมาหรือยา

- ไมเปลี่ยนแปลง - ตัดตัวเลือก - ไมเปลี่ยนแปลง - ไมเปลี่ยนแปลง - ตัดตัวเลือก - ตัดตัวเลือก - ตัดตัวเลือก - ตัดตัวเลือก - เพิ่มเติมจากแบบรายงานอุบัติเหตุปจจุบัน - เพิ่มเติมจากแบบรายงานอุบัติเหตุปจจุบัน เพื่อนําไปสืบคนขอมูลผูขบัขี่ภายหลัง - เพิ่มเติมจากแบบรายงานอุบัติเหตุปจจุบัน - เพิ่มเติมจากแบบรายงานอุบัติเหตุปจจุบัน

(ตอ)

Page 28: ภาคผนวก ก. แบบรายงานอุบัติเหตุบนทางหลวง และ คู

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศ (GIS) และขอมูล เพื่อตรวจสอบประเมินความปลอดภัยและเผยแพรขอมูลทางหลวงบน Website

ศูนยบริการวิชาการ คณะวิศวกรรมศาสตร ก - 28 จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ตารางที่ ก.2 การเชื่อมโยงฐานขอมูลระหวางระบบ TRAMS และระบบ HAIMS2010

แบบฟอรมรายงานอุบัติเหตุ TRAMS แบบฟอรมรายงานอุบัติเหตุ HAIMS2010 หมายเหตุ

1. วัน เดือน ป และเวลาที่เกิดเหตุ 1. วันที่เกิดเหตุ 1.1 วันที่/เดือน/พ.ศ. 1.2 เวลา

2.สถานที่เกิดเหตุ 2.1 ทางหลวงหมายเลข ตอน กม.

2.2 ลักษณะบริเวณที่เกิดเหตุ

1. ทางตรง 2. ทางโคงปกติ 3. ทางโคงหักศอก 4. ทางแยกระดับเดียวกัน 5. ทางแยกตางระดับ 6. สะพาน (รวมเชิงลาดของสะพาน) 7. คอสะพานแคบ

2. ขอมูลทางหลวง 2.1 รหัสสํานัก รหัสแขวง 2.2 หมายเลขทางหลวง ตอนควบคุม กม. 3. ลักษณะบริเวณที่เกิดเหตุ

3.1.1 ทางตรง 3.1.2 ทางโคงปกติ 3.1.3 ทางโคงหักศอก 3.3.2 ทางแยกรูปตัว + 3.3.3 ทางแยกรูปตัว T 3.3.4 ทางแยกรูปตัว Y 3.3.6 ทางแยกตางระดับ/Ramps 3.6.5 สะพาน ไมสงขอมูลไป TRAMS

Page 29: ภาคผนวก ก. แบบรายงานอุบัติเหตุบนทางหลวง และ คู

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศ (GIS) และขอมูล เพื่อตรวจสอบประเมินความปลอดภัยและเผยแพรขอมูลทางหลวงบน Website

ศูนยบริการวิชาการ คณะวิศวกรรมศาสตร ก - 29 จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ตารางที่ ก.2 การเชื่อมโยงฐานขอมูลระหวางระบบ TRAMS และระบบ HAIMS2010

แบบฟอรมรายงานอุบัติเหตุ TRAMS แบบฟอรมรายงานอุบัติเหตุ HAIMS2010 หมายเหตุ

8. จุดกลับรถระดับเดียวกัน 9. จุดกลับรถตางระดับ 10. จุดตัดทางรถไฟ 11. ผิวจราจรมีปญหาคอขวด 12. ผิวทางขรุขระ หลุมบอ 13. ทางลาดชันบริเวณเขา 14. มีวัตถุขางทาง เชน กองดิน 15. อยูระหวางการปรับปรุง / กอสราง

2.3 สภาพดินฟาอากาศ 1. แจมใส

3.4 จุดเปดเกาะกลางถนน 3.6.8 จุดกลับรถตางระดับ 3.6.7 ทางรถไฟตัดผาน ไมมีการสงขอมูลไปยัง TRAMS 5.2.3 สภาพผิวทาง เปนคลื่น/หลุม/บอ 3.2.2 ยอดโคง 3.2.3 กนโคง 3.2.4 บนชวงลาดชัน ไมมีการสงขอมูลไปยัง TRAMS 2.5.3 มีงานกอสราง

5. สภาพภูมิอากาศ 5.3.1 แจมใส

- เพิ่มเติมในแบบรายงานของระบบ HAIMS - เปนสาเหตุที่ทําใหเกิดอุบัติเหตุไมใชลักษณะบริเวณที่เกิดเหตุ ซึ่งสามารถพิจารณาไดจากขอมูลสภาพผิวทาง (IRI)

(ตอ)

Page 30: ภาคผนวก ก. แบบรายงานอุบัติเหตุบนทางหลวง และ คู

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศ (GIS) และขอมูล เพื่อตรวจสอบประเมินความปลอดภัยและเผยแพรขอมูลทางหลวงบน Website

ศูนยบริการวิชาการ คณะวิศวกรรมศาสตร ก - 30 จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ตารางที่ ก.2 การเชื่อมโยงฐานขอมูลระหวางระบบ TRAMS และระบบ HAIMS2010

แบบฟอรมรายงานอุบัติเหตุ TRAMS แบบฟอรมรายงานอุบัติเหตุ HAIMS2010 หมายเหตุ

2. ฝนตก 3. หมอก/ ควัน 4. ภัยธรรมขาติ เชน พายุ, น้ําทวม

2.4 อุปกรณอํานวยความปลอดภัยที่ติดตั้งอยู 2.4.1 ไฟสัญญาณจราจร 2.4.2 ไฟฟาแสงสวาง

5.3.4 ฝนตก 5.3.2 มีควัน/ฝุน และ 5.3.3 มีหมอก

5.3.5 ภัยธรรมขาติ เขน พายุ, น้ําทวม

4.4 สัญญาณไฟจราจร

5.4.2 มืดไมมีไฟฟาแสงสวาง 5.4.3 มืดมีไฟฟาแสงสวาง

- เนื่องจาก “มีลมแรง” ไมสามารถสื่อถึงสภาพภูมิอากาศที่เปนลักษณะพิเศษไดชัดเจนจึงปรับเปลี่ยนคําใหสอดคลองกับระบบ TRAMS คือ “ภัยธรรมชาติ เชน พายุ, น้ําทวม” - พิจารณามีหรือไมมีการติดตั้งอุปกรณไฟสัญญาณจราจร - พิจารณามีหรือไมมีการติดตั้งอุปกรณไฟฟาแสงสวาง

3. คนเดินเทาหรือยานพาหนะที่เกี่ยวของในการเกิดเหตุ -ประเภทยานพาหนะ จํานวน ชื่อ หรือ ยี่หอ / หมายเลขทะเบียน - ประเภทของรถยนตประกอบดวย

1. คนเดินเทา

6. ขอมูลเกี่ยวกับรถที่ประสบอุบัติเหตุ

6.1 ประเภทผูใชถนน 6.2 หมายเลขทะเบียนรถ 6.3 ยี่หอรถ

6.1.15 คนเดินเทา

(ตอ)

Page 31: ภาคผนวก ก. แบบรายงานอุบัติเหตุบนทางหลวง และ คู

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศ (GIS) และขอมูล เพื่อตรวจสอบประเมินความปลอดภัยและเผยแพรขอมูลทางหลวงบน Website

ศูนยบริการวิชาการ คณะวิศวกรรมศาสตร ก - 31 จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ตารางที่ ก.2 การเชื่อมโยงฐานขอมูลระหวางระบบ TRAMS และระบบ HAIMS2010

แบบฟอรมรายงานอุบัติเหตุ TRAMS แบบฟอรมรายงานอุบัติเหตุ HAIMS2010 หมายเหตุ

2. รถจักรยานยนต 3. รถสามลอเครื่อง 4. รถยนตนั่ง 5. รถตู 6. รถปคอัพโดยสาร 7. รถโดยสารมากกวา 4 ลอ 8. รถปคอัพบรรทุก 4 ลอ 9. รถบรรทุก 6 ลอ 10. รถบรรทุกมากกวา 6 ลอ ไมเกิน 10 ลอ 11. รถบรรทุกมากกวา 10 ลอ (รถพวง) 12. รถอีแตน

6.1.2 รถจักรยานยนต 6.1.4 รถสามลอเครื่อง 6.1.5 รถยนตนั่ง 6.1.6 รถตู 6.1.7 รถปคอัพโดยสาร 6.1.9 รถโดยสารขนาดใหญ 6.1.8 รถปคอัพบรรทุกบรรทุก 4 ลอ 6.1.10 รถบรรทุก 6 ลอ 6.1.11 รถบรรทุก 6 ลอหรือไมเกิน 10 ลอ 6.1.12 รถบรรทุกมากกวา 10 ลอ (รถพวง) 6.1.13 รถอีแตน

- เพิ่มเติมเพื่อใหสอดคลองกับแบบรายงานของระบบ TRAMS - เปลี่ยนจาก “รถโดยสารขนาดเล็ก” เปน “รถปคอัพโดยสาร” เพื่อใหสอดคลองกับแบบรายงานของระบบ TRAMS และลดความสับสนของผูกรอก - เปลี่ยนจาก “รถบรรทุกขนาดเล็ก” เปน “รถปคอัพบรรทุก” เพื่อใหสอดคลองกับแบบรายงานของระบบ TRAMS และลดความสับสนของผูกรอก

4. ความเสียหาย - ผูเสียชีวิต บาดเจ็บสาหัส บาดเจ็บเล็กนอย แยกตามอายุ (ผูใหญ เด็ก) และเพศ (ชายหญิง)

9. ความเสียหายจากอุบัติเหตุ - ผู เสียชีวิต ณ จุดเกิดเหตุ ผู เ สียชีวิต ณ โรงพยาบาล ผูไดรับบาดเจ็บสาหัส ผูไดรับบาดเจ็บเล็กนอย แยกตามอายุ (ผูใหญ เด็ก) และเพศ (ชายหญิง)

- เพิ่มเติมการแบงประเภทเด็ก ผูใหญใหสอดคลองตามแบบรายงานของ ระบบ TRAMS

(ตอ)

Page 32: ภาคผนวก ก. แบบรายงานอุบัติเหตุบนทางหลวง และ คู

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศ (GIS) และขอมูล เพื่อตรวจสอบประเมินความปลอดภัยและเผยแพรขอมูลทางหลวงบน Website

ศูนยบริการวิชาการ คณะวิศวกรรมศาสตร ก - 32 จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ตารางที่ ก.2 การเชื่อมโยงฐานขอมูลระหวางระบบ TRAMS และระบบ HAIMS2010

แบบฟอรมรายงานอุบัติเหตุ TRAMS แบบฟอรมรายงานอุบัติเหตุ HAIMS2010 หมายเหตุ

- ทรัพยสินผูอื่น - ทรัพยสินกรมทางหลวงเสียหาย

- คาเสียหายของเอกชน - คาเสียหายของทางราชการ

5. ลักษณะการเกิดเหตุ โดยยอ 1. ชนกันหรือเฉี่ยวชน 2. ชนรถจอด 3. ชนรถจักรยาน 4. ชนคนเดินเทา 5. ชนอุปกรณงานทาง 6. พลิกคว่ําตกถนน 7. ชนรถไฟ 8. อื่นๆ แฉลบขางทาง

ใช ข อ มูลรหัสอุบั ติ เห ตุจากประเภทลักษณะการชน (Collision Diagram/Road Movement) ในระบบ HAIMS

- สามารถวิเคราะหไดจากประเภทลักษณะการชน (Collision Diagram/Road) Movement) โดยผูกรอกแบบฟอรมอุบัติเหตุ พิจารณาลักษณะการชนจากแผนผังสังเขปบริเวณเกิดเหตุ แลวกรอกเปนรหัสอุบัติเหตุ เพื่อสงขอมูลไปยังระบบ TRAMS

6. มูลเหตุที่สันนิษฐานเบื้องตน 1. ขับรถเร็ว

7. มูลเหตุที่สันนิษฐาน 7.1 ขับรถเร็วเกินอัตราที่กําหนด

(ตอ)

Page 33: ภาคผนวก ก. แบบรายงานอุบัติเหตุบนทางหลวง และ คู

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศ (GIS) และขอมูล เพื่อตรวจสอบประเมินความปลอดภัยและเผยแพรขอมูลทางหลวงบน Website

ศูนยบริการวิชาการ คณะวิศวกรรมศาสตร ก - 33 จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ตารางที่ ก.2 การเชื่อมโยงฐานขอมูลระหวางระบบ TRAMS และระบบ HAIMS2010

แบบฟอรมรายงานอุบัติเหตุ TRAMS แบบฟอรมรายงานอุบัติเหตุ HAIMS2010 หมายเหตุ

2. แซงในที่คับขัน 3. คน หรือรถตัดหนากระชั้นชิด 4. มีรถอื่นเขาจอด หรือออกจากที่จอด 5. อุปกรณรถบกพรอง 6. สิ่งกีดขวาง 7. เมาสุรา / ยาบา 8. หลับใน

7.3 แซงรถอยางผิดกฎหมาย 7.2 มีการตัดหนาระยะกระชั้นชิด 7.6 ไมใหสัญญาณเขาจอด หรือออกจากที่จอด

7.14 อุปกรณรถบกพรอง 7.15 สิ่งกีดขวางบนทางหลวง

7.16 เมาสุรา 7.17 หลับใน

- สาเหตุของอุบัติเหตุดังกลาวนาจะเกิดจากการที่ยานพาหนะไมใหสัญญาณจราจร ขณะทําการจอดหรือออกจากที่จอด - เพิ่มเติมเพื่อใหสอดคลองกับแบบรายงานของระบบ TRAMS

- เพิ่มเติมเพื่อใหสอดคลองกับแบบรายงานของระบบ TRAMS

(ตอ)