ความเป็นครู กลุ่มที่ 1 d12

Post on 13-Jul-2015

246 Views

Category:

Documents

2 Downloads

Preview:

Click to see full reader

Transcript

เสนอ อาจารย ์ ดร . ทรงพล เจร ิญคำา

ว ิชาความเป ็นคร ู กลุม่ท ี่ 1 หมู่เร ียน D12

บทที่ 1

แนวคดิและหลกัการของคร ู

จัดท ำาโดย

1. นางสาว นงคราญ คำาหล้า รหัสประจำาตัว5521154065

2. นางสาว เสาวนีย์ สุวรรณทา รหัสประจำาตัว5521154073

3. นางสาว กัญญา เพ็งแจ่ม รหัสประจำาตัว5521154155

4. นางสาว ดวงพร สรรพรอด รหัสประจำาตัว5581110019

5. นางสาว พรชุดา แม้นมาตย์ รหัสประจำาตัว5581110033

6. นางสาว ลลิตา โชติ รหัสประจำาตัว 5581110096

7. นางสาว นรินทร ทรคำาหาร รหัสประจำาตัว 5581110097

ความเป ็นมา

การศึกษาเป็นกระบวนการที่ทำาให้มนุษย์สามารถพัฒนาคณุภาพชวีิตของตนเอง

ให้สามารถอยู่ในสงัคมได้อย่างมีความสุข มีการเก้ือหนุนการพัฒนาประเทศได้อย่างเหมาะสมสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงใน

ทุกๆด้าน และบคุคลที่มีความสำาคัญอย่างยิ่ง ต่อการจัดดารศึกษาดังกล่าวก็คอื ครู นั่นเอง

เพราะครูเปน็ผู้มีหน้าที่สร้างประสบการณ์การ เรียนรู้ และการพัฒนาโดยรอบให้เกิดในตัวผู้

เรียน เพื่อให้มีความรู้ความสามารถและ ประสบการณ์ในเชิงวิชาการ นำาไปสู่การมี สภาพชีวิตการเปน็อยู่ที่ดีขึ้น รวมทั้งการดำารง ตนเป็นสมาชิกที่ดีของสงัคม ดังนั้นการจะ

พัฒนาการศึกษาให้มีคณุภาพจึงย่อมต้อง พึ่งพาครูที่มีคณุภาพ ครูที่มีความเปน็ครู

ความหมายของคร ู

“ ครู หมายถึง ผู้ให้การศึกษา อบรม สั่งสอน ถ่ายถอดความรู้ให้แก่ศิษย์ ก่อให้เกิด

การเรียนรู้และการพัฒนาขึ้นในตัวผูเ้รียนอัน เป็นที่พึงประสงคข์องสังคม ตลอดจนเปน็ผู้มี

คณุธรรมและจริยธรรมสามารถดำารงชวีิต”อย่างมีความสขุ

ความสำาค ัญของคร ู ครูเป็นบุคคลที่มีความสำาคญัต่อ

เยาวชนและสังคม ทั้งในอดีต ปจัจุบัน และ อนาคต ครูจะมีบทบาทสำาคญัในการให้การ

ศึกษา ซึ่งนอกจากครูจะเปน็ผูม้ีความรู้ความสามารถในการให้ความรู้ทางด้านวิทยาการ

ต่างๆแล้ว ครูยังต้องเป็นผู้ให้การอบรม คณุธรรมจริยธรรมแก่ศิษย์ เปน็แบบอย่างที่ดี

ตลอดจนให้แนวทางในการดำาเนนิชวีิต เพื่อเป็นบุคลากรที่มีคุณคา่ต่อสังคมและประเทศชาติ

หลักการของคร ู

ครูต้องเปน็ผู้ถึงพร้อมด้วยคุณสมบตัิพิเศษตาม หลักธรรม 3 ประการ

1. ปญัญา คือ ความรอบรู้ การรู้จักคดิ และการรู้จักใชค้วามรู้ให้เกิดประโยชน์

2. กร ุณา คือ การชว่ยให้ผูอ้ื่นพ้นทุกข์ พ้น จากความไม่รู้ และพ้นไปจากสิ่งที่ไม่ดีไม่

งามทั้งปวง3. บริสทุธ ิ์ คือ การบริสุทธิ์ด้วยกาย วาจาและใจครูจะต้องไม่ลำาเอียงไม่ว่าศิษย์นั้นจะ

เปน็ใคร จะต้องได้รับการปฏิบตัิจากครูโดยเสมอหนา้กัน

การจ ำาแนกประเภทของคร ู1. ครูอาชพี ได้แก่ ผูท้ำาหน้าที่ครูครูในระดับโรงเรียนที่ตำ่ากว่าระดับมหาวิทยาลัยและได้รับ

เงินเดือนหรือค่าจ้างประจำาวัน ครูอาชีพควรมีวุฒิหรือได้รับการฝกึอบรมวิชาครูตามเกณฑ์กำาหนด

2. อาจารย ์ในสถาบนัอ ุดมศ ึกษา ได้แก่ ผูท้ำาหน้าที่ครูในมหาลัยมีลักษณะแตกต่างจากครู

อาชีพทั่วไป คือ เป็นผู้ทรงคณุวุฒิในสาขา นั้นๆ ในฐานะนักวิจัย นักการศึกษา นกั

วิทยาศาสตร์ เปน็ต้น บุคคลเหล่านี้อาจมีวุฒิครูหรือไม่มีก็ได้

3. บคุลากรอ ืน่ ได้แก่ บุคคลที่ทำาหน้าที่สนบัสนุนครูทั้งในระบบและนอกระบบ

โรงเรียน

ครูมิติใหม่

วิสัยทัศน์

วิทยาการวินัย

วิจารณญาณ

วิจัย

วิทยายุทธ์

หลักการ TEACHER MODEL

T-Teach (การสอน) E- Example (เปน็ตัวอย่าง) A- Ability (ความสามารถ) C- Characteristic (คณุสมบัติ) H- Health (สุขภาพดี) E- Enthusiasm (ความกระตือรือร้น)

R-Responsibility (ความรับผดิชอบ)

แนวปฏิบ ัต ิของคร ูตามพระบรมราโชวาท

มี 4 ประการ1. ครูต้องมีความรักและความเมตตา2. ครูต้องมีความเสียสละและอดทน3. ครูต้องทำาความดีเพื่อความดี4. ครูต้องถึงพร้อมด้วยความรู้ ความดี และความสามารถ

หลักการว ิชาชีพคร ู

ครูรุ่นใหม่เป็นบุคลากรวิชาชีพ ซึ่งทำา หนา้ที่หลักทั้งด้านการเรียนการสอน และการ

สง่เสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยวิธีการ ต่างๆ ในสถานศึกษาของรัฐและเอกชน โดย

มีองค์ประกอบคุณลักษณะที่เพียบพร้อมในด้านความรอบรู้ในวิทยาการในฐานะครูและพลเมืองที่มีคณุภาพมีความสามารถและทักษะในด้านการเรียนการสอนที่สร้างสรรค์การ

เรียนรู้สมกับเปน็บคุลากรในวิชาชีพชัน้สูง มี คณุธรรม จริยธรรม บคุลิกภาพสมกับความ

เปน็ครู

ว ิชาชีพคร ู

ว ิชาชพี หมายถึง วิชาชีพทางการศึกษาที่ทำาหนา้ที่หลักทางด้านการเรียนการสอนและการสง่เสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยวิธีการ

ต่างๆ รวมทั้งการรับผิดชอบการบริหารสถาน ศึกษาในสถานศึกษาปฐมวัย ขั้นพื้นฐาน และ อุดมศึกษาที่ตำ่ากว่าปริญญา ทั้งของภาครัฐและ

เอกชน และการบหิารการศึกษานอกสถานศึกษาตลอดจนการสนับสนุนการศึกษาให้บริหารหรือปฏิบัติงานเก่ียวเนื่องกับการจัดกระบวนการเรียน

การสอน การนิเทศ และการบริหารการศึกษาในหนว่ยงานการศึกษาต่างๆ

“ ” อาชีพครูถือว่าเป็นวิชาชีพ คำาว่า วิชาชีพ(Profession) หมายถึง อาชีพชั้นสูง ซึ่งต่างจากการ

ประกอบอาชีพเพือ่การดำาเนินชีวิตโดยท่ัวไป ซึ่งได้มีการกำาหนดลักษณะของวิชาชีพชั้นสูงไว้หลาย

ประการ ดังนี้1. มีวิธีการศึกษาอบรมของวิชาชีพโดยเฉพาะ2. มีวิธีการแหง่ปัญญาในการประกอบวิชาชีพ3. มีระยะเวลาท่ีใช้การศกึษาอบรมเพื่อให้เกิดความรู้และทักษะท่ียาวนาพอควร

4.มีลักษณะของการบริการท่ีแตกต่างไปจากอาชีพอื่นๆ5. มีจรรยาบรรณของวิชาชีพเป็นของตนเอง6.มีความเป็นอิสระของการปฏิบัติงานและการใหบ้ริการในการประกอบอาชีพ ดังนั้น วิชาชีพครู จึงเป็นวิชาชีพของผูท่ี้ทำาหน้าท่ีหลักในด้านการเรียนการสอนและส่งเสริมเรียน

รู้ของผูเ้รียนด้วยวิธีการต่างๆ ทุกระดับ ซึ่งได้รับการยกย่องว่าเป็นวิชาชีพชั้นสงู

ว ิชาชพีชั้นส ูงลักษณะของอาชพีที่ถือว่าเปน็วิชาชีพชัน้สูงจะต้อง

ประกอบด้วยลักษณะสำาคญั 4 ประการ1. ลักษณะของงานต้องเปน็งานใช้ความชำานาญ

ความเชีย่วชาญเฉพาะสาขา เปน็การใช้สติปัญญามากกว่าการใช้ฝีมือแรงงาน

2. มีการกำาหนจดจรรยาบรรณของวิชาชพีเพื่อเป็น แผนในการปฏิบตัิ ซึ่งแสดงถึงคุณธรรมและ

จริยธรรมในการประกอบวิชาชีพตามหลักเกณฑ์ ทางศีลธรรมและความซื่อสัตย์ รวมทั้งกำาหนด

มาตรฐานชัน้สูงของการบริการในวิชาชพีนั้น3. มีองค์กรรับผิดชอบกำากับดูแลและปฏิบตัิตามมาตรฐานและจรรยาบรรณของวิชาชพี

4. มีสถานภาพสูงในสังคม

ใบอนุญาตประกอบว ิชาชพีคร ู ว ิสยัท ัศน ์ ครูมืออาชีพเปน็ครูมีใบอนุญาต

ประกอบวิชาชีพครู เพื่อเปน็หลักประกัน คณุภาพการศึกษา อันจะส่งผลต่อการยก

ระดับมาตรฐาน วิชาชีพครูให้เปน็วิชาชีพชัน้สูง

หลักการ1. ให้ผูเ้รียนได้รับประโยชน์สูงสดุจากการให้บริการทางการศึกษาของครูมืออาชพีที่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู2. ครูทุกคนและผู้ที่เก่ียวข้องได้รับประโยชนไ์ม่น้อยกว่าเดิม3.ให้ทุกฝา่ยที่เก่ียวข้องมีบทบาทและมีสว่นร่วมในการประเมินเพื่อออกใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู4. หลักกระจายอำานาจการประเมินเพื่อออก

ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู สูเ่ขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา

ใบอนุญาตประกอบว ิชาชพีคร ู(ต่อ)

5. หลกัความเสมอภาความเป็นธรรมและให้โอกาสแก่ครูเท่าเทยีมกันทีจ่ะขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู

คุณสมบัต ิ จากการศึกษาการออกใบอนุญาต ประกอบวิชาชีพครูของตา่งประเทศ พบว่าผู้มี

สิทธิขอรับใบอนญุาตประกอบวิชาชีพครูจะตอ้ง จบการศกึษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป และตอ้ง

ผา่นการทดลองสอนแล้วตั้งแต่ 1-2 ปี โดยโรงเรียนตอ้งรับรองผลการทดลองสอนของครูด้วย

การตอ่ใบอนุญาตประกอบว ิชาชีพคร ูแนวความคิดในการกำาหนดอายุของใบอนุญาต

ประกอบวิชาชีพช้ันสูงนั้น เพ่ือเป็นกลไกให้ครู ตอ้งมีการพัฒนาตนเองอยู่เสมอ ทั้งนี้องค์กร

วิชาชีพครู ตอ้งตอ่ใบอนุญาตวิชาชีพทกุ 3 ปี หรือ 5 ปี แลว้แตอ่งค์กรวิชาชีพครูจะพิจารณา

กำาหนด

ใบอนุญาตประกอบว ิชาชพี (ตอ่) การพักใชแ้ละเพ ิกถอนใบอนุญาต

ประกอบว ิชาชพี ผู้ที่ได้รับใบอนญุาตประกอบวิชาชีพครูแล้วอาจถูกพักใช้ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพได้หากปฏิบตัิงานและปฏิบตัิตนไม่เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน

วิชาชพีที่องค์กรวิชาชพีครูกำาหนดไว้ และไม่ได้มีการพัฒนาตนเองในระยะเวลาที่กำาหนด

การยกย่องและเช ิดช ูเก ียรต ิคร ูการยกย่องและให้รางวัลครูสามารถก่อให้

เกิดการพัฒนาครู และเป็นการยกระดับฐานะ วิชาชีพครูได้อย่างแทจ้ริง โดยมีแนวทางในการ

ยกย่องและใหร้างวัลสำาหรับครูในรปูแบบตา่งๆ เช่น ครูสอนดี, ครูดีเด่น, คุรุสดุดี, หรือครู

เกียรตยิศ โดยมีหนว่ยงานหลักทีด่ำาเนินงานประจำาทกุปี คือ

สำานกังานคณะกรรมการศกึษาขั้นพ้ืนฐาน ( สพฐ) “ ”รางวัล ครูสอนดี

“ ” สำานักงานคุรุสภา รางวัลคุรุสภา ( เข็มทองคำา“ ” คุรุสภาสดุดี )

สำานักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและ สวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา

( สกสค ) “รางวัล ผู้ทำาประโยชน์ทางด้านการศึกษา”

ว ันเก ียรต ิยศของคร ูว ันคร ูไทย วันครู ได้จัดขึ้นครั้งแรกเมื่อวันที่ 16

มกราคม 2500 สืบเนืองมาจากการประกาศ พระราชบัญญัติครูในราชกิจจานุเบกษา

พ.ศ. 2488 และกำาหนดให้จัดขึ้นเปน็ประจำาทุกปี

ว ันคร ูโลก UNESCO ได้กำาหนดให้วันที่ 5 ตุลาคม

ของทุกปี เปน็วันครูโลก (World Teachers’ Day)

การพฒันาของคร ูไทย

การดำาเนินการผลิตครูในรูปแบบสากลในประเทศไทยได้มีวิวัฒนาการมาเปน็เวลานาน

ประมาณ 100 กว่าปีมาแล้วโดยเริ่มจากโรงเรียน ฝึกหัดครู เชน่ กรณีของกรมการฝึกหัดครู

กระทรวงศึกษาธิการ ที่มีสถานศึกษาในการผลิต ครูมากที่สุด กล่าวคอื โรงเรียนการฝึกหัดครู

บา้นสมเด็จเจ้าพระยา โรงเรียนการฝึกหัดครู พระนคร เป็นต้น ต่อมาเป็นวิทยาลัยครู สถาบนั

ราชภัฏ และมหาวิทยาลัยราชภัฏ ในปจัจุบนั

การผลิตคร ูในประเทศไทยการผลิตครูในประเทศไทยมีการพัฒนาแบง่

ออกเป็น 7 ยุค ดังนี้ 1. ยุคการฝกึห ัดคร ูแบบอร ูปนยั (พ .ศ .

2400-2434) - ยุคนี้ยังไม่มีหลักสูตรที่ชัดเจน

- ดำาเนินการในวังและวัด- มีการสอนแบบตัวต่อตัว ครูจะต้องเป็นผูม้ีความรู้คู่คณุธรรม

2. ยุคคร ุศ ึกษาเพ ื่อปฏิร ูปบา้นเมอืง (พ .ศ .2435-2455) - เริ่มมีโรงเรียนฝึกหัดอาจารย์ เพื่อส่งครูไป

สอนในกรุงเทพมหานคร และหัวเมืองต่างๆ

การผลิตคร ูในประเทศไทย (ต่อ)

3.ยุคคร ุศ ึกษาเพ ื่อพ ัฒนาอาชพีและ ท้องถ ิ่น (พ .ศ .2456-2488)

- ให้ความสำาคญัของชนบท- เน้นการผลิตครูด้านอาชพีโดยเฉพาะเกษตรกรรม- เปน็การเริ่มต้นโครงการฝึกหัดครูชนบท

4. ยุคคร ุศ ึกษาเพ ื่อความทันสมยั (พ .ศ .2489-2516)- ผลิตครูเพื่อให้มีความเป็นสากล- อาศัยความเจริญ และรับความชว่ยเหลือจากต่างประเทศ

การผลติคร ูในประเทศไทย (ตอ่) 5.ยุคคร ูศ ึกษาเพ ื่อแสวงหา

เอกล ักษณ์ (พ .ศ .2517-2530)- ปฏิรูปการศึกษาเพื่อชวีิตและสังคม- เปลี่ยนแปลงการศึกษาให้มีเอกลักษณ์ของไทย- เร่งปฏิรูปการศึกษาระดับประถมศึกษา

6. ยุคคร ุศ ึกษาเพ ื่อพ ัฒนาว ิชาชพีคร ู(พ .ศ .2535-2539)- ต้องการให้วิชาชีพครูเป็นวิชาชพีชัน้สงูและครูเปน็นักวิชาชพีชั้นสูง

การผลิตคร ูในประเทศไทย (ต่อ) 7. ยุคคร ูศ ึกษาเพ ื่อปฏิร ูปการศ ึกษา ( ตั้งแต ่พ .ศ .2540 เปน็ต ้นมา)

สืบเนื่องจากยุคที่ 6 โดยสรุปการผลิตครูใน สังคมไทยทีผา่นมากว่าทศวรรษ ได้มีบทบาทที่

น่าสนใจ คอื- การรวมชาติ สร้างเอกภาพ ให้เปน็รัฐชาติ เปน็เอกรัฐ- การปลูกฝังอุดมการณ์ของชาติ- การผลิตคนเข้ารับราชการ- การพัฒนาอาชพีในท้องถ่ิน- การสร้างความทันสมัยโดยการจัดการศึกษา

สมัยใหม่ทั่วประเทศ และ- การแสวงหาตัวของเราเอง มีการเรียนวิชาวัฒนธรรมไทยเพื่อสบืสานความเปน็ไทย

สร ุปครูเป็นวิชาชพีชัน้สงูที่มีความสำาคญัและมี

บทบาทมากในการพัฒนาคนและพัฒนาชาติ ในอดีต ครู คอื ปูชนียบคุคลของสงัคม เปน็ผู้

พร้อมซึ่งความฉลาด รอบรู้คคูวามดีเป็นบุคคล ที่มีบทบาทสำาคญัในการสบืสาน ถ่ายทอด

ความรู้และความดีจากคนรุ่นหนึ่งไปสูค่นอีก รุ่นหนึง่ของสงัคม เปน็แบบอย่างของคนทั่วไป

ในด้านความประพฤติและคณุธรรม

THANK YOU

top related