Top Banner
Volume 1 / 2013 MARCH 2013 @ FRUpdate SET Financial Reporting Update @ The Stock Exchange of Thailand
16

Volume 1 / 2013 FRUpdate SET · Inspiration Get the Look สวัสดีครับ FRUpdate@SET Volume 1/2013 ฉบับ แรกของป 2556 ได มาทักทายท

Aug 19, 2020

Download

Documents

dariahiddleston
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: Volume 1 / 2013 FRUpdate SET · Inspiration Get the Look สวัสดีครับ FRUpdate@SET Volume 1/2013 ฉบับ แรกของป 2556 ได มาทักทายท

Volume 1 / 2013

MARCH 2013

@FRUpdate SET Financial Reporting Update @ The Stock Exchange of Thailand

Page 2: Volume 1 / 2013 FRUpdate SET · Inspiration Get the Look สวัสดีครับ FRUpdate@SET Volume 1/2013 ฉบับ แรกของป 2556 ได มาทักทายท

Inspiration Get the Look

สวัสดีครับ FRUpdate@SET Volume 1/2013 ฉบับแรกของป 2556 ไดมาทักทายทุกทานกันแลวนะครับ ชวงนี้ หลายๆ ทานคงจะกําลังเตรียมการเพื่อจัดประชุมสามัญผูถือหุนของบริษัทประจําป 2556 ซึ่งบริษัทจดทะเบียนสวนใหญจะจัดประชุมสามัญผูถือหุนดังกลาวในเดือนเมษายน 2556 เมื่อเตรียมการใหบริษัทเสร็จแลว ก็อยา ลืมเตรียมวางแผนพักผอนใหกับตัวเองดวยนะครับ ชวงกลางเดือนเมษายน จะมีวันหยุดยาวชวงเทศกาลสงกรานตใหทุกทานไดพักผอนกัน

ในปนี้ FRUpdate@SET จะเขาสูปที่ 3 แลว ซึ่งเรายังคงเลือกสรรขอมูลที่เปนประโยชนเกี่ยวกับการรายงานทางการเงินมานําเสนอทานเชนเดิม โดยฉบับน้ีเราไดรับเกียรติจากคุณชูพงษ สุรชุติกาล หุนสวนดานการสอบบัญชีของบริษัท ดีลอยท ทูช โธมัทสุ ไชยยศ สอบบัญชี จํากัด นําเสนอบทความเรื่องผลกระทบจากรายงานของผูสอบบัญชีแบบใหม ที่มีการเปล่ียนแปลงจาก 3 วรรค เปน 6 วรรค และการแสดงความเห็นตองบการเงินเพียงปเดียว ผูใชงบการเงินจะไดรับประโยชนอยางไรบาง.. ติดตามไดใน Special Topic

Inside TFRS ยังเกาะติดกระแส IFRS โดยนําเสนอบทความเก่ียวกับกลุมมาตรฐานใหม 5 ฉบับท่ีเก่ียวของกับหนวยงานที่เสนอรายงาน ซึ่ง IFRS ฉบับดังกลาวมีผลบังคับใชแลวตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2556 ประกอบดวย IFRS 10 : Consolidated Financial Statements IFRS 11 : Joint Arrangements IFRS 12 : Disclosure of Interests in Other Entities IAS 27 : Separate Financial Statements และ IAS 28 : Investments in Associates and Joint Ventures.. ติดตามเน้ือหาแลว ลองประเมินผลกระทบตอบริษัทเองดวยนะครับ

แลวพบกันใหมใน FRUpdate@SET Volume 2/2013 นะครับ

ลิขสิทธ์ิของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

ทัศนะและขอคิดเห็นตางๆ ท่ีปรากฏในหนังสือเปนความเห็นสวนตัวของผูเขียน ซึ่งตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยไมจําเปนตองเห็นดวยเสมอไป

ที่ปรึกษา FRUpdate@SETรศ.ดร.อังครัตน เพรียบจริยวัฒน ที่ปรึกษา ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยผาณิต เกิดโชคชัย ผูอํานวยการฝายศูนยการเรียนรู

ทีมงาน FRUpdate@SET : ฝายกํากับบริษัทจดทะเบียนปริมใจ เอี่ยมเพชราพงศ อุษณีย สมศิริ ชยาภรณ ตางวิวัฒน

We’ve got mailเราอยากทราบวาทานคิดอยางไรกับรูปแบบ

เน้ือหา หรือคําตอบท่ีทานอยากใหเราชวยหา...

สงสารถึงเราไดที่

[email protected]

สุภกิจ จิระประดิษฐกุลผูชวยผูจัดการ

ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

39

141516

12

Inside TFRS กลุมมาตรฐานใหม 5 ฉบับท่ีเก่ียวของกับหนวยงานท่ีเสนอรายงาน

Special Topic“ผลกระทบจากรายงานของผูสอบบัญชีแบบใหม”ชูพงษ สุรชุติกาลหุนสวนดานการสอบบัญชีบริษัท ดีลอยท ทูช โธมัทสุ ไชยยศ สอบบัญชี จํากัด

IFRS Update พัฒนาการของมาตรฐานการบัญชีในตางประเทศ

TFRS Progress คณะกรรมการกํากับดูแลการประกอบวิชาชีพบัญชี (กกบ.) พิจารณาอนุมัติแนวปฏิบัติทางบัญชีและการตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน

Financial Reporting QUIZ

Training & SeminarUPDATE

Page 3: Volume 1 / 2013 FRUpdate SET · Inspiration Get the Look สวัสดีครับ FRUpdate@SET Volume 1/2013 ฉบับ แรกของป 2556 ได มาทักทายท

Page 3

Vol. 1 / 2013

คณะกรรมการมาตรฐานการบัญชีระหวางประเทศ (International Accounting Standards Board หรือ IASB) ไดประกาศใชมาตรฐานใหมที่เกี่ยวของกับหนวยงานที่เสนอรายงาน โดยมาตรฐานที่ออกใหมประกอบดวย IFRS 10 Consolidated Financial Statements, IFRS 11 Joint Arrangements และ IFRS 12 Disclosure of Interests in Other Entities และปรับปรุงมาตรฐาน 2 ฉบับคือ IAS 27 โดยใชชื่อ Separate Financial Statements ซ่ึงครอบคลุมเน้ือหาเพียงท่ีเก่ียวของกับงบการเงินเฉพาะกิจการ และ IAS 28 ใชช่ือ Investments in Associates and Joint Ventures เพ่ือใหสอดคลองกับการเปล่ียนแปลงวิธีการบัญชีสําหรับขอตกลงรวมคา

กลุมมาตรฐานท่ีออกใหมดังกลาวมีผลใชบังคับแลวตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2556 เปนตนไป สําหรับประเทศไทยสภาวิชาชีพบัญชีฯ ยังอยูระหวางการปรับปรุงมาตรฐานไทยใหเปนไปตาม IFRS

กลุมมาตรฐานใหม 5 ฉบับ ที่เก่ียวของกับหนวยงานที่เสนอรายงาน

Inside TFRS

ภาพรวมโครงการปรับปรุงและออกมาตรฐานการบัญชีที่เกี่ยวของกับหนวยงานที่เสนอรายงาน

กอนเปลี่ยนแปลง

IAS 27 Consolidated and Separate Financial Statements

SIC 12 Consolidation-Special Purpose Entities

IFRS 10 Consolidated Financial Statements

IAS 27 Separate Financial Statements (2011)

IAS 28 Investments in Associates and Joint Ventures (2011)

IFRS 11 Joint Arrangements

IAS 31 Interests in Joint Ventures

SIC 13 Jointly Controlled Entities-Non-monetary Contributions by Venturers

IAS 28 Investments in Associates

หลังเปลี่ยนแปลง

IFRS 12 Disclosure of Interests in Other Entities

Page 4: Volume 1 / 2013 FRUpdate SET · Inspiration Get the Look สวัสดีครับ FRUpdate@SET Volume 1/2013 ฉบับ แรกของป 2556 ได มาทักทายท

Page 4

• ขอกําหนดที่สําคัญ

o IFRS 10 กําหนดหลักการนําเสนอและจัดทํางบการเงินรวมเมื่อกิจการหนึ่งมีอํานาจควบคุมในกิจการอื่น ซึ่งเคยกําหนดใน IAS 27 ฉบับเดิม รวมทั้งทดแทน SIC 12 Consolidation-Special Purpose Entities1 ดังนั้น IAS 27 ฉบับปรับปรุงใหมคงเหลือแตการบัญชีสําหรับเงินลงทุนในบริษัทยอย การรวมคา และบริษัทรวมในงบการเงินเฉพาะกิจการ

o IFRS 10 ไมไดเปลี่ยนแปลงข้ันตอนการจัดทํางบการเงินรวม แตเปลี่ยนแปลงขอพิจารณาการรวมกิจการผูถูกลงทุนในงบการเงินรวม โดยปรับปรุงคําจํากัดความของ “อํานาจควบคุม” กลาวคือ ผูลงทุนมีอํานาจควบคุมผูถูกลงทุนเมื่อผูลงทุนมีองคประกอบทุกขอตอไปนี้

♣ อํานาจเหนือผูถูกลงทุนเมื่อผูลงทุนมีสิทธิที่ทําใหสามารถกําหนดกิจกรรมที่สงผลอยางมีนัยสําคัญตอผลตอบแทนของผูถูกลงทุน

♣ ความเส่ียงหรือสิทธิในผลตอบแทนท่ีไมแนนอนจากการเขาไปเก่ียวของกับผูถูกลงทุน

♣ ความสามารถในการใชอํานาจเหนือผูถูกลงทุนเพื่อสงผลตอจํานวนผลตอบแทนของผูลงทุน

o IFRS 10 ยังอธิบายเพิ่มเติมถึงคําจํากัดความใหมของอํานาจควบคุมในประเด็นตาง ๆ เชน ในการมีอํานาจควบคุมผูถูกลงทุน ผูลงทุนไมจําเปนตองมีเงินลงทุนในสวนทุน หรือ ไมไดมีสิทธิออกเสียงเปนสวนใหญก็ได

• ผลกระทบจาก IFRS 10

o ขอกําหนดของ IFRS 10 อาจทําใหมีการเปล่ียนแปลงอยางมีนัยสําคัญในงบการเงินรวม เนื่องจากคําจํากัดความใหมของอํานาจควบคุมอาจทําใหตองมีการรวมกิจการท่ีเดิมไมรวมอยูในกลุมกิจการในการจัดทํางบการเงนิรวม เปนผลใหสินทรัพยและหนี้สินของกลุมกิจการเพิ่มขึ้น

o การประเมินการมีอํานาจควบคุมจําเปนตองมีความเขาใจที่ครอบคลุมทั้งเรื่องของวัตถุประสงคและรูปแบบของผูถูกลงทุน สิทธิและความเสี่ยงในผลตอบแทนที่ไมแนนอนของผูลงทุน ตลอดจน สิทธิและผลตอบแทนท่ีเปนของผูลงทุนอื่น ดังนั้นบริษัทอาจจําเปนตองมีแหลงขอมูลอื่นนอกเหนือจากหนวยงานทางบัญชี เชน ฝายบุคคลและที่ปรึกษากฎหมาย ตลอดจนขอมูลจากภายนอกกิจการ นอกจากนี้ตองใชดุลยพินิจอยางมากเกี่ยวกับขอเท็จจริงและสถานการณแวดลอมตางๆ

IFRS 10 Consolidated Financial Statements และ IAS 27 Separate Financial Statements (2011)

1 SIC 12 Consolidation-Special Purpose Entities ใหแนวทางในการพิจารณาวาเมื่อใดบริษัทผูจัดทํางบการเงินรวมควรนํากิจการเฉพาะกิจมารวมในงบการเงินรวมดวย

Page 5: Volume 1 / 2013 FRUpdate SET · Inspiration Get the Look สวัสดีครับ FRUpdate@SET Volume 1/2013 ฉบับ แรกของป 2556 ได มาทักทายท

Page 5

Vol. 1 / 2013

IFRS 11 Joint Arrangements และ IAS 28 Investments in Associates and Joint Ventures

• ขอกําหนดที่สําคัญ

o IFRS 11 ทดแทน IAS 31 Interests in Joint Ventures และ SIC 13 Jointly-controlled Entities – Non-monetary Contributions by Venturers2

o ขอตกลงรวม เปนขอตกลงซึ่งผูมีสวนรวมตั้งแต 2 ฝายขึ้นไปมีอํานาจควบคุมรวมกัน โดยขอตกลงรวมมีลักษณะดังนี้

♣ ผูมีสวนรวมถูกผูกมัดดวยขอตกลงตามสัญญา และ

♣ ขอตกลงตามสัญญากําหนดใหผูมีสวนรวมตั้งแตสองฝายขึ้นไปมีอํานาจควบคุมรวม

o อํานาจควบคุมรวม เปนการตกลงตามสัญญาในการรวมควบคุมในขอตกลง ซึ่งจะเกิดขึ้นเฉพาะเมื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับกิจกรรมท่ีเกี่ยวของตองไดรับฉันทานุมัติจากผูควบคุมรวม

o IFRS 11 กําหนดใหผูมีสวนรวมในขอตกลงรวมรับรูสิทธิและภาระผูกพันที่เกิดขึ้นตามเนื้อหาทางเศรษฐกิจ มากกวาโครงสรางตามกฎหมายของขอตกลง โดยเนนที่การแบงปนสิทธิและภาระผูกพันของผูมีสวนรวมในขอตกลงรวม สวนโครงสรางและรูปแบบของขอตกลงเปนเพียงหนึ่งในปจจัยท่ีตองพิจารณาในการประเมินสิทธิและภาระผูกพันของแตละฝาย

o IFRS 11 กําหนดวิธีการบัญชีสําหรับขอตกลงรวม เปน 2 ประเภท ไดแก

♣ การดําเนินงานรวม (Joint operation) เปนขอตกลงรวมซึ่งผูมีสวนรวมที่มีอํานาจควบคุมรวมมีสิทธิในสินทรัพยและภาระผูกพันในหนี้สินที่เก่ียวของกับขอตกลง โดยผูมีสวนรวมในการดําเนินงาน (ผูดําเนินงานรวม) จะรับรูสวนไดเสียของตนในการดําเนินงานรวมไวในงบการเงิน โดยใน

- สินทรัพย รวมสวนของตนในสินทรัพยที่ควบคุมรวมกันไว- หนี้สิน รวมสวนของตนในหน้ีสินที่เกิดขึ้นรวมกันไว- รายได รวมสวนของตนในรายไดจากการขายผลผลิตของการดําเนินงานรวม- คาใชจาย รวมสวนของตนในคาใชจายที่เกิดขึ้นรวมกัน

2 SIC 13 Jointly-controlled Entities – Non-monetary Contributions by Venturer ใหความชัดเจนถึงสถานการณซึ่งผูรวมทุนในกิจการท่ีควบคุมรวมกัน (Jointly Controlled Entity – JCE) ควรรับรูบางสวนของผลกําไรหรือขาดทุนซึ่งเปนผลจากการโอนสินทรัพยที่ไมเปนตัวเงินแก JCE เพื่อแลกเปลี่ยนกับสวนไดเสียในสวนของทุนใน JCE ไวในกําไรหรือขาดทุนของตน

Page 6: Volume 1 / 2013 FRUpdate SET · Inspiration Get the Look สวัสดีครับ FRUpdate@SET Volume 1/2013 ฉบับ แรกของป 2556 ได มาทักทายท

Page 6

IFRS 12 Disclosure of Interests in Other Entities

♣ การรวมคา (Joint venture) เปนขอตกลงรวมซึ่งผูมีสวนรวมที่มีอํานาจควบคุมรวมในขอตกลงมีสิทธิในสินทรัพยสุทธิของขอตกลง โดยผูมีสวนรวมที่มีอํานาจควบคุม (ผูรวมคา) ตองบันทึกบัญชีดวยวิธีสวนไดเสียตามที่กําหนดไวใน IAS 28 Investments in Associates เทานั้น ไมอนุญาตใหใชวิธีรวมกันตามสัดสวน (proportionate consolidation) อีกตอไป

o IAS 28 ไดมีการแกไขโดยใหใชวิธีสวนไดเสียสําหรับการรวมคา

• ผลกระทบจาก IFRS 11

o ขอกําหนดของ IFRS 11 อาจมีผลตอการนําเสนองบการเงินรวมทั้งอัตราสวนทางการเงินบางประเภท เชน หนี้สินตอทุน และเงื่อนไขการกูยืม หากบริษัทตองเปลี่ยนแปลงวิธีการบันทึกบัญชีจากวิธีสวนไดเสียเปนสัดสวนในสินทรัพยและหนี้สิน

o บริษัทตองใชดุลยพินิจอยางมากตอขอเท็จจริงและสถานการณตาง ๆ เพื่อประเมินวามีขอตกลงที่มีอํานาจควบคุมรวมหรือไม และหากมีควรจัดประเภทขอตกลงนั้นอยางไร

• ขอกําหนดที่สําคัญ

o IFRS 12 กําหนดใหบริษัทเปดเผยขอมูลที่ชวยผูใชงบการเงินในการประเมินลักษณะความเส่ียงและผลกระทบทางการเงินที่เกี่ยวของกับสวนไดเสียของบริษัทในบริษัทยอย บริษัทรวมและขอตกลงรวม รวมท้ังกิจการอ่ืนๆ ท่ีถูกจัดโครงสรางใหไมตองรวมอยูในงบการเงินรวม (unconsolidated structured entities)

o IFRS 12 กําหนดใหเปดเผยขอมูล ดังนี้

♣ การใชดุลยพินิจท่ีมีนัยสําคัญของฝายจัดการในการตัดสินวาบริษัทควบคุม ควบคุมรวม มีอิทธิพลเหนืออยางมีนัยสําคัญ หรือมีสวนไดเสียในรูปแบบอื่นในกิจการอื่น รวมถึงการเปดเผยเก่ียวกับ

- การประเมินความสัมพันธของการเปนตัวการ-ตัวแทน ในการจัดทํางบการเงินรวม- การตัดสินประเภทของขอตกลงรวม และ- การไมใชขอสันนิษฐานเก่ียวกับการมีอิทธิพลเหนืออยางมีนัยสําคัญและการควบคุม เมื่อสิทธิในการออกเสียงอยูระหวาง 20-50% และมากกวา 50% ตามลําดับ

Page 7: Volume 1 / 2013 FRUpdate SET · Inspiration Get the Look สวัสดีครับ FRUpdate@SET Volume 1/2013 ฉบับ แรกของป 2556 ได มาทักทายท

Page 7

Vol. 1 / 2013

♣ สวนไดเสียในบริษัทยอย รายละเอียดการเปดเผยขอมูลรวมถึง

- บริษัทยอยที่รวมอยูในกลุม- สวนไดเสียของสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม (non-controlling interests – NCI) ในกิจกรรมของกลุมและกระแสเงินสด และขอมูลเกี่ยวกับบริษัทยอยที่สําคัญแตละแหงที่ไมมีอํานาจควบคุม เชน ชื่อ สถานที่ประกอบการหลักและสรุปขอมูลทางการเงิน

- ขอจํากัดท่ีสําคัญในการเขาถึงหรือใชสินทรัพยและภาระผูกพันที่สําคัญในการชําระหนี้สิน

- ความเสี่ยงท่ีเกี่ยวของกับกิจการที่ถูกจัดโครงสรางใหไมตองรวมอยูในงบการเงินรวม (unconsolidated structured entities) เชน ขอตกลงที่สามารถเรียกรองใหกลุมบริษัทใหการสนับสนุนทางการเงิน

- วิธีการบัญชีสําหรับการเปลี่ยนแปลงในสวนไดเสียของความเปนเจาของในบริษัทยอยโดยไมสูญเสียอํานาจในการควบคุม โดยจัดทําตารางแสดงถึงผลกระทบตอสวนของทุนของบริษัทใหญ

- วิธีการบัญชีสําหรับการสูญเสียการควบคุม-รายละเอียดของผลกําไรหรือขาดทุนท่ีมีการรับรูและรายการตางๆ ในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จท่ีมีการรับรูผลกําไรหรือขาดทุนนั้น และ

- บริษัทยอยที่รวมอยูในงบการเงินรวม โดยใชวันสิ้นปบัญชีที่แตกตางออกไป

♣ สวนไดเสียในขอตกลงรวมและบริษัทรวม รายละเอียดการเปดเผยขอมูลรวมถึง

- ชื่อ ประเทศท่ีมีการจัดตั้ง และสถานท่ีประกอบการหลัก- สัดสวนของสวนไดเสียในความเปนเจาของและวิธีที่ใชในการวัดมูลคา- สรุปขอมูลทางการเงิน- มูลคายุติธรรม (หากมีขอมูลที่เปดเผยเกี่ยวกับราคาเสนอซ้ือ-ขาย)- ขอจํากัดที่สําคัญเกี่ยวกับความสามารถในการโอนเงินทุนหรือชําระคืนเงินกู- วันสิ้นสุดปการเงินของขอตกลงรวมหรือของบริษัทรวมถาแตกตางจาก วันสิ้นปการเงินของบริษัทใหญ

- สวนแบงที่ยังไมไดรับรูในผลขาดทุนตามวิธีสวนไดเสีย ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น

♣ สวนไดเสียในกิจการท่ีถูกจัดโครงสรางใหไมตองรวมอยูในงบการเงินรวม รายละเอียดการเปดเผยขอมูล รวมถึง

- ชื่อ วัตถุประสงค ขนาด กิจกรรม และแหลงเงินทุนของกิจการที่ถูกจัดโครงสราง- นโยบายในการกําหนดกิจการท่ีถูกจัดโครงสราง

Page 8: Volume 1 / 2013 FRUpdate SET · Inspiration Get the Look สวัสดีครับ FRUpdate@SET Volume 1/2013 ฉบับ แรกของป 2556 ได มาทักทายท

Page 8

- มูลคาที่แสดงไวตามบัญชีของสินทรัพยที่โอนใหแกกิจการที่ถูกจัดโครงสราง- สินทรัพยและหน้ีสินท่ีเก่ียวของกับกิจการท่ีถูกจัดโครงสรางท่ีมีการรับรูและรายการแตละรายการที่มีการรับรูสินทรัพยและหนี้สินเหลานั้น

- ผลขาดทุนสูงสุดที่อาจเกิดขึ้นจากการเขาไปเก่ียวของกับกิจการดังกลาว- ขอมูลเกี่ยวกับการสนับสนุนดานการเงินและดานอื่น ๆ ท่ีบริษัทใหหรือตั้งใจจะใหแกกิจการดังกลาว

• ผลกระทบจาก IFRS 12

o IFRS 12 มีขอกําหนดที่ใหรายละเอียดการเปดเผยขอมูลของสวนไดเสียในกิจการอื่นมากขึ้น จึงคาดวาจะใหประโยชนกับผูใชงบการเงินไดดีกวาเดิม อยางไรก็ดี การเปดเผยขอมูลกรณีสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม การรวมคาและบริษัทรวมที่ใชวิธีสวนไดเสียมีสาระสําคัญตองบการเงินรวม โดยเฉพาะสรุปขอมูลทางการเงินที่สําคัญอาจมีปริมาณมากและกลายเปนภาระของผูจัดทํา ผูสอบบัญชี และผูใชงบการเงิน

o ชวยใหผูใชงบการเงินประเมินผลกระทบทางการเงิน ถาฝายจัดการจะมีขอสรุปที่แตกตางออกไปในการจัดทํางบการเงินรวม

o บริษัทอาจจําเปนตองเพ่ิมขั้นตอนการปฏิบัติงานและเปล่ียนแปลงระบบเพ่ือรวบรวมขอมูลในการจัดเตรียมการเปดเผยขอมูล

Page 9: Volume 1 / 2013 FRUpdate SET · Inspiration Get the Look สวัสดีครับ FRUpdate@SET Volume 1/2013 ฉบับ แรกของป 2556 ได มาทักทายท

Special TOPIC

ชูพงษ สุรชุติกาลหุนสวนดานการสอบบัญชีบริษัท ดีลอยท ทูช โธมัทสุ ไชยยศ สอบบัญชี จํากัด

ผลกระทบจากรายงานของผู�สอบบัญชีแบบใหม�

""

ในป 2554 ผูลงทุนหรือผูใชงบการเงินคงไดทราบถึงการนํามาตรฐานการรายงานทางการเงินใหมหรือปรับปรุงใหมมาใชหลายฉบับซึ่งมีผลกระทบตอการบันทึกบัญชี การแสดง

และการนําเสนอรายการตางๆในงบการเงิน สําหรับชวงเดือนสองเดือนที่ผานมาผูใชงบการเงินคงสังเกตเห็นการเปลี่ยนแปลงจากเดิมในหนารายงานของผูสอบบัญชีตอ

งบการเงินสําหรับปสิ้นสุดวันท่ี 31 ธันวาคม 2555 สิ่งที่สังเกตเห็นไดชัดเจนคือ รายงานของผูสอบบัญชีมีการเปลี่ยนแปลงจาก 3 วรรคเพ่ิมเปน 6 วรรค และการแสดงความเห็นตองบการเงินเพียงปเดียว บทความนี้จะใหขอมูลเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงในรายงานของ

ผูสอบบัญชีและวิเคราะหเบื้องตนเกี่ยวกับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงดังกลาว

ทําไมจึงต�องเปลี่ยน

การเปลี่ยนแปลงดังกลาวสืบเน่ืองจากเมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม 2555 สภาวิชาชีพบัญชีฯไดมีการออกประกาศสภาวิชาชีพบัญชีที่ 21/2555 เรื่องมาตรฐานการสอบบัญชีใหม มาตรฐานการสอบทาน มาตรฐานงานที่ใหความเชื่อมั่น มาตรฐานงานบริการเกี่ยวเนื่อง และแมบทสําหรับงานที่ใหความเชื่อมั่น โดยสาระสําคัญของประกาศฉบับดังกลาว คือ การกําหนดใหผูสอบบัญชีตองปฏิบัติงานตามมาตรฐานการสอบบัญชีชุดใหมในการตรวจสอบงบการเงินสําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2555 ทั้งนี้ เนื่องจากในอดีตมาตรฐานการสอบบัญชีของประเทศไทยท่ีใชกันกอนมาตรฐานการสอบบัญชีชุดใหมนี้จะออกใช ไดจัดทําขึ้นโดยสมาคมนักบัญชีและผูสอบบัญชีรับอนุญาตแหงประเทศไทยตั้งแตป 2542 และไมไดมีการปรับปรุงใหมนับจากชวงเวลาดังกลาว โดยที่มาตรฐานการสอบบัญชีชุดเดิมใชตามมาตรฐานการสอบบัญชีระหวางประเทศในขณะนั้น แตมาตรฐานการสอบบัญชีระหวางประเทศไดมีการปรับปรุงใหมเปน

Page 9

Vol. 1 / 2013

Page 10: Volume 1 / 2013 FRUpdate SET · Inspiration Get the Look สวัสดีครับ FRUpdate@SET Volume 1/2013 ฉบับ แรกของป 2556 ได มาทักทายท

Page 10

ระยะๆ สภาวิชาชีพบัญชีฯจึงไดมีการขออนุญาตจาก International Federation of Accountants (IFAC) ในการแปลมาตรฐานการสอบบัญชีระหวางประเทศ (International Standards on Auditing (“ISA”)) และใหนํามาใชในการปฏิบัติงานตรวจสอบสําหรับผูสอบบัญชีของไทย (ซ่ึงปจจุบันประเทศไทยไดรับการประกาศจาก IFAC วาเปนประเทศท่ีใช International Standards on Auditing) มาตรฐานการสอบบัญชีใหมดังกลาวสงผลทั้งในแนวคิด กระบวนการ และวิธีปฏิบัติงานตรวจสอบซึ่งมีขอกําหนดที่ผูสอบบัญชีตองคํานึงถึงและปฏิบัติตามในรายละเอียดท่ีมากขึ้นเพื่อบรรลุจุดมุงหมายหลักคือคุณภาพของงานสอบบัญชีที่ไดมาตรฐานและใหการรายงานผลการตรวจสอบท่ีมีความนาเชื่อถือมากข้ึน

รูปแบบของรายงานของผู�สอบบัญชีเปลี่ยนแปลงอะไรบ�าง

เมื่อพิจารณาถึงการเปลี่ยนแปลงของรายงานของผูสอบบัญชี โดยภาพรวมเปนการแยกแตละสวนของการรายงานใหมีความชัดเจนมากขึ้น โดยเฉพาะในสวนของความรับผิดชอบของผูบริหารและของผูสอบบัญชีซึ่งมีรายละเอียดมากขึ้นกวาเดิม ดังนี้

1. ความรับผิดชอบของผูบริหารตองบการเงิน

ในรายงานแบบเดิมจะมีเพียงประโยคสั้นๆอธิบายเกี่ยวกับความรับผิดชอบของผูบริหารตอความถูกตองและครบถวนของขอมูลในงบการเงิน ในขณะที่รายงานแบบใหมจะเพิ่มเติมการอธิบายความรับผิดชอบของผูบริหารเกี่ยวกับการควบคุมภายในที่จําเปนเพื่อใหสามารถจัดทํางบการเงินโดยปราศจากการแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงไมวาจะเกิดการทุจริตหรือขอผิดพลาดได การระบุดังกลาวจะเปนการสื่อสารถึงขอเท็จจริงที่วาใหผูบริหารมีหนาที่และความรับผิดชอบในการออกแบบและนําการควบคุมภายในไปปฏิบัติเพื่อปองกันหรือตรวจจับการเกิดการทุจริตหรือขอผิดพลาดในการจัดทํางบการเงินและใหแนใจวางบการเงินแสดงขอมูลโดยถูกตองตามที่ควร

2. ความรับผิดชอบของผูสอบบัญชี

รายงานแบบใหมมีการอธิบายความรับผิดชอบของผูสอบบัญชีจากเดิมขยายออกเปน 3 วรรค ประกอบดวย

1) คําอธิบายถึงความรับผิดชอบในการแสดงความเห็นตองบการเงินของผูสอบบัญชี รวมถึงการปฏิบัติตามจรรยาบรรณของผูสอบบัญชี

2) คําอธิบายถึงวิธีการตรวจสอบ รวมถึงการพิจารณาการควบคุมภายในของกิจการในการตรวจสอบและขอบเขตของการพิจารณาการควบคุมภายในที่ใชในงานสอบบัญชีและ การใชดุลยพินิจของผูสอบบัญชีในการตรวจสอบ และ

3) คําอธิบายถึงการสรุปผลเกี่ยวกับหลักฐานการสอบบัญชีที่ไดรับ

การปฏิบัติงานตรวจสอบดังกลาวขางตนเปนสิ่งผูสอบบัญชีไดปฏิบัติอยูแลวในการสอบบัญชี ทั้งนี้ โดยมีสวนที่ตองเนนเพิ่มขึ้นเกี่ยวกับการประเมินความเสี่ยงที่งบการเงินอาจผิดพลาดอันเกิดจากการทุจริต

Page 11: Volume 1 / 2013 FRUpdate SET · Inspiration Get the Look สวัสดีครับ FRUpdate@SET Volume 1/2013 ฉบับ แรกของป 2556 ได มาทักทายท

Page 11

Vol. 1 / 2013

หรือการไมมีการควบคุมภายในที่เหมาะสม การระบุไวในรายงานแบบใหมก็เพื่อใหขอมูลที่ชัดเจนมากขึ้นเกี่ยวกับกระบวนการปฏิบัติงานสอบบัญชีแกผูใชงบการเงิน

นอกจากนั้น เกณฑที่ใชวัดความถูกตองของงบการเงินในวรรคความเห็นในรายงานการสอบบัญชีแบบใหมก็คือ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน สวนในวรรคความเห็นของรายงานรูปแบบเดิม ผูสอบบัญชีอางถึงหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป

การรายงานป�เดียว

การเปล่ียนแปลงท่ีสําคัญอีกประการหน่ึงท่ีผูใชงบการเงินอาจสังเกตได คือ การแสดงความเห็นของผูสอบบัญชีตองบการเงินจากเดิมท่ีเปนการแสดงความเห็นตองบการเงินปปจจุบันและงบการเงินปกอนท่ีแสดงเปรียบเทียบ มาเปนการแสดงความเห็นตองบการเงินปปจจุบันเทานั้น ซึ่งเปนไปตามคําชี้แจงของสภาวิชาชีพบัญชี เร่ือง รายงานของผูสอบบัญชีรับอนุญาตเพื่อแสดงความเห็นตองบการเงิน โดยกําหนดใหผูสอบบัญชีแสดงความเห็นตองบการเงินปปจจุบัน โดยขอมูลปกอนที่นํามาเปรียบเทียบถือวาเปนขอมูลเปรียบเทียบแบบตัวเลขเปรียบเทียบ (Corresponding fi gures) และเปนสวนหนึ่งของงบการเงินปปจจุบัน การแสดงความเห็นของงบการเงินปปจจุบันปเดียวสอดคลองกับประเทศอ่ืนๆสวนใหญท่ีใชมาตรฐานการสอบบัญชีระหวางประเทศ ซ่ึงไดแสดงความเห็นของผูสอบบัญชีเพียงปเดียวสําหรับงบการเงินที่แสดงขอมูลแบบตัวเลขเปรียบเทียบดวยเชนกัน ประเด็น คือ ผูสอบบัญชียังคงรับผิดชอบตอตัวเลขเปรียบเทียบ (ขอมูลปกอนที่นํามาเปรียบเทียบ) อยูหรือไม คงตองสรุปวาความรับผิดชอบของผูสอบบัญชีตอการตรวจสอบงบการเงินยังคงเปนเชนเดิม การที่กิจการนําขอมูลเปรียบเทียบที่ขัดตอขอเทจ็จริงมาแสดงหรือแสดงไมครบถวน ผูสอบบัญชีก็ยังตองแสดงความเห็นอยางมีเง่ือนไข หรือแสดงความเห็นวาไมถูกตอง เพียงแตสําหรับในการรายงาน เม่ือขอมูลปกอนนํามาเปรียบเทียบและผูสอบบัญชีเห็นวาถูกตองตามท่ีควรแลว ในการรายงานก็ไมตองกลาวถึงงบการเงินของปกอนอีก เชนเดียวกับผูบริหารก็ตองรับผิดชอบตองบการเงินทั้งหมดที่จัดทําขึ้นดวย

รายงานของผูสอบบัญชีที่เปล่ียนแปลงไปจากรูปแบบเดิมนี้ดูวาจะทําใหผูใชงบการเงินเขาใจในบทบาทของผูบริหารและผูสอบบัญชีมากขึ้น และผูบริหารนาจะตระหนักในหนาที่ความรับผิดชอบตอการจัดใหมีการควบคุม ตลอดจนตอการจัดทําและนําเสนองบการเงิน โดยที่ผูสอบบัญชีเปนผูรับผิดชอบในการตรวจสอบและแสดงความเห็นตองบการเงินดังกลาว

อยางไรก็ตาม หากพิจารณาถึงขอมูลจากรายงานของผูสอบบัญชี ที่ผูใชงบการเงินควรไดรับ มีความสนใจหรือมีความคาดหวัง เพื่อใชเปนขอมูลประกอบการตัดสินใจ รายงานแบบ 6 วรรคนี้อาจยังไมไดใหขอมูลดังกลาวอยางเพียงพอ ดังนั้นคณะกรรมการมาตรฐานการสอบบัญชีและงานใหความเชื่อมั่นระหวางประเทศ (International Auditing and Assurance Standards Board (IAASB) ไดมีการยกรางหนารายงานผูสอบบัญชีใหมอีกโดยพิจารณาถึงประโยชนตอผูใชงบการเงินมากกวารายงานผูสอบบัญชีที่ใชในปจจุบันนี้ ซึ่งรายงานแบบใหมดังกลาว IAASB ไดขอความเห็นกับผูใชมาตรฐานการสอบบัญชีระหวางประเทศแลวและอยูในระหวางการพิจารณาโดย IAASB ดังนั้นมีความเปนไปไดที่รายงานของผูสอบบัญชีในประเทศไทยอาจจะตองมีการปรับปรุงเมื่อ ISA ฉบับปรับปรุงใหมมีผลบังคับใช

Page 12: Volume 1 / 2013 FRUpdate SET · Inspiration Get the Look สวัสดีครับ FRUpdate@SET Volume 1/2013 ฉบับ แรกของป 2556 ได มาทักทายท

Page 12

เมื่อเดือนธันวาคม 2555 คณะกรรมการกําหนดมาตรฐานการบัญชีระหวางประเทศ (IASB) ไดเผยแพรรางขอเสนอแกไขมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงิน IFRS 10, 11 และ IAS 28 ดังนี้

1. Acquisition of an Interest in a Joint Operation (Proposed amendment to IFRS 11)

แกไขรายงานทางการเงินระหวางประเทศ IFRS 11 Joint Arrangements (ขอตกลงรวม) เพื่อใหมีแนวทางเพ่ิมเติมสําหรับการบันทึกบัญชีรายการไดมาซ่ึงสวนไดเสียในการดําเนินงานรวม (acquisitions of interests in joint operations) ซึ่งกอใหเกิดเปนธุรกิจIASB เสนอใหผูซื้อสวนไดเสียดังกลาวตองใชหลักการที่เกี่ยวของในเรื่องของการบัญชีการรวมธุรกิจตาม IFRS 3 และมาตรฐานอ่ืน ๆ รวมทั้งใหเปดเผยขอมูลท่ีเกี่ยวของตามที่กําหนดในมาตรฐานสําหรับเรื่องการรวมธุรกิจดวย

2. Sale or Contribution of Assets between an Investor and its Associate or Joint Venture (Proposed amendment to IFRS 10 and IAS 28)

แกไขมาตรฐานรายงานทางการเงินระหวางประเทศ IFRS 10 Consolidated Financial Statements และ IAS 28 Investments in Associates and Joint Ventures โดยไดชี้ใหเห็นถึงความไมสอดคลองกันของขอกําหนดใน IFRS 10 และ IAS 28 (2011) ที่เกี่ยวกับการขายบริษัทยอย โดยผลท่ีเกิดขึ้นจากการแกไขมาตรฐานคือการรับรูกําไรหรือขาดทุนเต็มจํานวนจากการสูญเสียอํานาจการควบคุมในธุรกิจ รวมถึงกรณีที่ผูลงทุนยังคงมีการควบคุมรวมหรือมีอิทธิอยางมีนัยสําคัญในกิจการผูถูกลงทุน

IASB เปดรับฟงความเห็นตอขอเสนอแกไขน้ีถึงวันที่ 23 เมษายน 2556 รายละเอียดติดตามไดที่ www.ifrs.org

IASB publishes Exposure Draft: Proposed amendment to IFRS 11, IFRS 10 and IAS 28

IFRS UPDATE

พัฒนาการของมาตรฐานการบัญชีในตางประเทศ

เมื่อเดือนกุมภาพันธ 2556 คณะกรรมการมาตรฐานการบัญชีระหวางประเทศ (IASB)ไดเผยแพรบทท่ีหนึ่งของเอกสารเพื่อการศึกษาฉบับปรับปรุงใหม(updated educational material) ซึ่งเปนสวนหนึ่งของ IFRS 13 เร่ือง การวัดมูลคายุติธรรม โดยเนื้อหาในบทท่ีหนึ่งนั้นครอบคลุมถึงการนําหลักการของ IFRS 13 ไปใชในการวัดมูลคายุติธรรมของตราสารทุนที่ไมมีราคาเสนอซื้อเสนอขาย (unquoted equity instruments) ซึ่งอยูภายใตขอบเขตของ IFRS 9 เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน

ผูสนใจศึกษาสามารถอานรายละเอียดเพิ่มเติมที่ http://www.ifrs.org

IASB เผยแพรบทแรกของเอกสารเพื่อการศึกษาฉบับปรับปรุงใหม เรื่อง การวัดมูลคายุติธรรม

Page 13: Volume 1 / 2013 FRUpdate SET · Inspiration Get the Look สวัสดีครับ FRUpdate@SET Volume 1/2013 ฉบับ แรกของป 2556 ได มาทักทายท

Page 13

Vol. 1 / 2013

เมื่อเดือนกุมภาพันธ 2556 คณะกรรมการมาตรฐานการบัญชีระหวางประเทศ (IASB) ไดเผยแพรเอกสาร เร่ือง AN UPDATE ON INTERNATIONAL FINANCIAL REPORTING (IFRSs) จัดทําโดย Philippe Danjou ซึ่งเปนกรรมการในคณะกรรมการมาตรฐานการบัญชีระหวางประเทศ (IASB)

การเผยแพรเอกสารดังกลาวมีวัตถุประสงคหลักในการใหคําอธิบายเกี่ยวกับประเด็นหลักท่ีมีความสําคัญ 10 ประการ ในขอกําหนดของมาตรฐานการรายงานทางการเงินระหวางประเทศ (IFRSs) โดยเฉพาะอยางยิ่งประเด็นเหลาน้ีเปนประเด็นที่มักมีความเขาใจผิดคอนขางมากในทางยุโรป โดย Philippe Danjou ไดจัดทําเอกสารน้ีขึ้นครั้งแรกเปนภาษาฝร่ังเศสแลวเผยแพรในเว็บไซตของ IFRS และ ตอมาเอกสารดังกลาวไดรับการแปลเปนภาษาอังกฤษและนําออกเผยแพรในเว็บไซตของ IFRS แลว

ในเอกสารชุดนี้กลาวถึงประเด็นที่วิพากษวิจารณเกี่ยวกับ IFRS วาใหความสําคัญกับเนื้อหาทางเศรษฐกิจมากกวารูปแบบทางกฎหมาย การที่ IFRS ไมไดสะทอนใหเห็นถึงรูปแบบการทําธุรกิจ รวมถึงทําใหตัวเลขทางบัญชีผันผวนไมสะทอนความเปนจริงทางเศรษฐกิจ ซึ่งผูเขียนไดแสดงความเห็นในเชิงวิชาการไวอยางนาสนใจ

นอกจากนี้ ยังมีประเด็นเกี่ยวกับ Fair Value หรือ มูลคายุติธรรม ที่มีความเขาใจผิดและถูกกลาวถึงในหลายแงมุม เชน

• IFRS กําหนดใหใชมูลคายุติธรรมอยางกวางขวาง

• มาตรฐานบางฉบับกําหนดใหวัดมูลคาสินทรัพยและหน้ีสินดวยมูลคายุติธรรมเพ่ือสะทอนมูลคารวมของกิจการ

• เครื่องมือทางการเงินจะแสดงในมูลคายุติธรรมท้ังหมด ซึ่งจะทําใหกําไรของกิจการมีความผันผวน

• มูลคายุติธรรมถูกจํากัดความวาเปนมูลคาตลาด แมในขณะท่ีตลาดไมมีสภาพคลอง

ผูที่สนใจศึกษาเพื่อใหเกิดความรูความเขาใจที่ถูกตองเกี่ยวกับมาตรฐานการรายงานทางการเงินระหวางประเทศ (IFRSs) สามารถอานรายละเอียดเพิ่มเติมที่ http://www.ifrs.org

คําอธิบายเก่ียวกับประเด็นหลัก 10 ประการที่มักมีความเขาใจผิดเกี่ยวกับ IFRSs

Page 14: Volume 1 / 2013 FRUpdate SET · Inspiration Get the Look สวัสดีครับ FRUpdate@SET Volume 1/2013 ฉบับ แรกของป 2556 ได มาทักทายท

Page 14

TFRS Progress

คณะกรรมการกํากับดูแลการประกอบวิชาชีพบัญชี (กกบ.) พิจารณาอนุมัติแนวปฏิบัติทางบัญชีและ

การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน

เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2555 คณะกรรมการกํากับดูแลการประกอบวิชาชีพบัญชี (กกบ.) ไดอนุมัติแนวปฏิบัติทางบัญชีและการตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน รวม 5 ฉบับ ซึ่งมีผลบังคับใชในป 2556 และป 2557 ดังนี้

ทั้งนี้การจัดทําแนวปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับการโอนและการรับโอนสินทรัพยทางการเงิน ที่กําหนดขึ้นมานี้มีวัตถุประสงคเพื่อปรับปรุงลักษณะการจัดประเภทลูกหน้ีที่กิจการรับซื้อหรือรับโอนมาเพ่ือใหสอดคลองกับวิธีปฏิบัติและแนวทางการบริหารความเส่ียงของภาคธุรกิจ ตลอดจนมีความสอดคลองกับมาตรฐานการบัญชีสากลยิ่งข้ึน โดยใหจัดประเภทลูกหนี้ที่รับซื้อหรือรับโอนมาเปนเงินใหสินเชื่อ เวนแตกิจการมีเจตนารมณที่จะขายลูกหนี้นั้นตอไปในอนาคต ใหสามารถจัดเปนเงินลงทุนได โดยกําหนดใหกิจการถือปฏิบัติสําหรับรอบระยะเวลารายงานท่ีเริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2556 เปนตนไปและสนับสนุนใหกิจการท่ีมีความพรอมสามารถถือปฏิบัติตามแนวปฏิบัติทางบัญชีฉบับนี้ไดกอนวันมีผลบังคับใช

โดยสามารถอานรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ http://www.fap.or.th

แนวปฏิบัติทางบัญชีและการตีความมาตรฐาน การรายงานทางการเงินที่มีรอบระยะเวลาบัญชี

มีผลบังคับใชกับรายงานทางการเงิน

1. แนวปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับการโอนและรับโอนสินทรัพยทางการเงิน

เริ่มตนในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2556 เปนตนไป โดยใหกิจการท่ีมีความพรอมสามารถนําไปปฏิบัติกอนวันที่มีผลบังคับใชได

2. การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับท่ี 4 เรื่อง การประเมินวาขอตกลงประกอบดวยสัญญาเชาหรือไม

เริ่มตนในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2557 เปนตนไป

3. การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับท่ี 12 เรื่อง ขอตกลงสัมปทานบริการ

เริ่มตนในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2557 เปนตนไป

4. การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับท่ี 13 เรื่อง โปรแกรมสิทธิพิเศษแกลูกคา

เริ่มตนในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2557 เปนตนไป

5. การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 เรื่อง การเปดเผยขอมูลของขอตกลงสัมปทานบริการ

เริ่มตนในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2557 เปนตนไป

Page 15: Volume 1 / 2013 FRUpdate SET · Inspiration Get the Look สวัสดีครับ FRUpdate@SET Volume 1/2013 ฉบับ แรกของป 2556 ได มาทักทายท

Page 15

Vol. 1 / 2013

การถือหุนและมีผูแทนในคณะกรรมการ 10% เพียงพอท่ีจะทําใหบริษัท X มีอิทธิพลอยางมีนัยสําคัญหรือไม

วิเคราะหสถานการณ :

• บริษัท X สงผูแทน 1 คนเขาเปนตัวแทนในคณะกรรมการซ่ึงมี 10 คน คณะกรรมการถูกครอบงําโดยผูลงทุนสองรายซึ่งสามารถตัดสินใจโดยไมตองไดรับความยินยอมจากกรรมการอื่นที่เหลือ มาตรฐานระบุถึงการมีผูแทนในคณะกรรมการวาเปนขอบงช้ีหนึ่งของการมีอิทธิพลอยางมีนัยสําคัญ แตไมไดใหแนวทางวาจะประเมินการเปนผูแทนจากจํานวนของคณะกรรมการ หรือลักษณะการออกเสียงลงมติ เปนตน

• ฝายจัดการของบริษัท X พิจารณาวาการมีอิทธิพลอยางมีนัยสําคัญหรือไมควรจะพิจารณาจากสัดสวนของกรรมการ

Financial Reporting QUIZ

การมีอิทธิพลอย�างมีนัยสําคัญและการส�งตัวแทนเข�าร�วม อยู�ในคณะกรรมการของบริษัทท่ีถูกลงทุน

ตาม IAS 28 การมีอิทธิพลอยางมีนัยสําคัญตอกิจการที่ไปลงทุนอาจพิจารณาจากหลักฐานที่วากิจการมีตัวแทนอยูในคณะกรรมการบริษัทดังกลาวและมีสวนรวมในการกําหนดนโยบาย ถาเชนนั้น หากกิจการผูลงทุนมีตัวแทนเขารวมอยูในคณะกรรมการของกิจการท่ีถูกลงทุนก็จะมีอิทธิพลอยางมีนัยสําคัญ ใชหรือไม?

ขอใหพิจารณาสถานการณดังตอไปนี้

บริษัท X จํากัด ลงทุนในบริษัท เอ จํากัดในสัดสวน 8% ของทุนจดทะเบียน และไดสิทธิแตงตั้งกรรมการ 1 คน คณะกรรมการบริษัท เอ จํากัด ซึ่งมีจํานวนท้ังสิ้น 10 คน เปนผูมีอํานาจตัดสินใจขั้นสุดทายเกี่ยวกับนโยบายทางการเงินและการดําเนินงาน

“ขอมูลผูถือหุนที่ถือเกิน 5% ของบริษัทเอ จํากัด”

ชื่อผูถือหุน สัดสวนการถือหุน จํานวนผูแทนในคณะกรรมการ

บริษัท W 40% 4

บริษัท B 30% 3

บริษัท X 8% 1

นาย C (กรรมการผูจัดการของบริษัท เอ) 6% 1

นาย D (CFO ของบริษัท เอ) 6% 1

การลงมติของคณะกรรมการใชเสียง 70%

Page 16: Volume 1 / 2013 FRUpdate SET · Inspiration Get the Look สวัสดีครับ FRUpdate@SET Volume 1/2013 ฉบับ แรกของป 2556 ได มาทักทายท

Page 16

บริษัท X มีสัดสวนกรรมการ 10% และเชื่อวาจํานวนดังกลาวไมถือวามีอิทธิพลอยางมีนัยสําคัญเพียงพอ ทั้งน้ี ในคณะกรรมการยังมีกรรมการจากผูถือหุนใหญ 2 รายและจากฝายจัดการอีก 2 รายดวย แมวาบริษัท X จะมีสวนรวมในการกําหนดและตัดสินใจเก่ียวกับนโยบาย แตก็ไมมีอิทธิพลอยางมีนัยสําคัญในการตัดสินใจเรื่องเหลาน้ัน

ในสถานการณนี้ บริษัท X จึงไมมีอิทธิพลอยางมีนัยสําคัญในบริษัท เอ

ฝายกํากับบริษัทจดทะเบียน ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 62 อาคารตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก คลองเตย กรุงเทพฯ 10110 E-mail : [email protected]

ที่มา: IFRS news - Novembers 2012 ของ PricewaterhouseCoopers (www.pwc.com/ifrs)

Training & Seminar UPDATE

• จัดสัมมนาโดยสภาวิชาชีพบัญชีฯ (มีคาใชจาย)

• จัดสัมมนาโดยสมาคมบริษัทหลักทรัพยไทย (มีคาใชจาย)รายละเอียดเพิ่มเติมที่ http://www.fap.or.th

รายละเอียดเพิ่มเติมที่ : http://www.asco.or.th

วันสัมมนา ช่ือหลักสูตรสัมมนาท่ีนาสนใจ

16 พฤษภาคม 2556 09.00-17.00 น.

สนทนาภาษาบัญชี ปที่ 1 "พัฒนาวิชาชีพบัญชีสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ครั้งที่ 1/56 เตรียมพรอมไปกับสภาวิชาชีพบัญชี

18 พฤษภาคม 2556 09.00-17.00 น.

ประเด็นหลักมาตรฐานการรายงานทางการเงิน NPAEs ทั้งหมด รุนที่ 1/56 To Understand All TFRS for NPAEs

25 มิถุนายน 2556 09.00-16.30 น.

การบัญชีและการวางแผนภาษีสําหรับธุรกิจทั่วไป รุนที่ 2/56

วันสัมมนา ช่ือหลักสูตรสัมมนาท่ีนาสนใจ

22 เมษายน 2556 13.00 - 17.00 น.

การรวมธุรกิจ-ปญหาทางบัญชีและภาษีที่พบบอยในทางปฏิบัติ (Business Combination-Accounting and Taxation Practical Issues)