Top Banner
จัดทําโดย ฝายวิชาการ ชุมนุมสหกรณออมทรัพยแหงประเทศไทย จํากัด สํานักงานเลขที199 หมู 2 .นครอินทร .บางสีทอง .บางกรวย .นนทบุรี 11130 โทรศัพท 0 2496 1199 โทรสาร 0 2496 1177, 0 2496 1188 Email : [email protected] Http://www.fsct.com
119

test

Mar 06, 2016

Download

Documents

testdesdaga g re
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: test

จัดทําโดย ฝายวิชาการ ชุมนุมสหกรณออมทรัพยแหงประเทศไทย จํากัด สํานักงานเลขท่ี 199 หมู 2 ถ.นครอินทร ต.บางสีทอง อ.บางกรวย จ.นนทบุรี 11130 โทรศัพท 0 2496 1199 โทรสาร 0 2496 1177, 0 2496 1188 Email : [email protected] Http://www.fsct.com

Page 2: test

สหกรณออมทรัพยจัดต้ังขึ้นเพ่ือสงเสริมผลประโยชนทางเศรษฐกิจ และสังคมของบรรดาสมาชิกโดยวิธีชวยตนเอง และชวยเหลือซึ่งกันและกัน และตามหลักการสหกรณสากล 7 ประการ การดําเนินกิจการของสหกรณนั้น ตองยึดแนวทางการปฏิบัติตามหลักการสหกรณสากล มิเชนนั้นแลวการสหกรณจะถูกบิดเบือน และเปล่ียนแปลงไปเปนรูปแบบอื่น หลักการสหกรณสากลท่ีสําคัญขอหนึ่ง ในจํานวน 7 ประการก็คือ หลักการท่ี 5 การศึกษา การฝกอบรมและขอมูลขาวสารความวา “สหกรณพึงใหการศึกษาและการฝกอบรม” แกมวลสมาชิก ตัวแทนสมาชิก ผูจัดการ และเจาหนาที่ เพ่ือใหบุคคลเหลานั้นสามารถมีสวนชวยพัฒนาสหกรณของตนไดอยางมีประสิทธิผลรวมถึงการใหขาวสารแกสาธารณชนโดยเฉพาะอยางยิ่งแกเยาวชนและบรรดาผูนําทางความคิดในเรื่องคุณลักษณะและคุณประโยชนของสหกรณได หลักการนี้กําหนดขึ้นเพ่ือใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษาของโลกที่แบงการศึกษาออกเปน 3 ระบบ คือ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย

- การศึกษาในระบบ สวนมากเรียนในสถาบันการศึกษา 1 ป ขึ้นไปมีหลักสูตรการศึกษา และเม่ือเรียนสําเร็จแลวก็จะไดรับประกาศนียบัตร หรือ ปริญญาบัตร

- การศึกษานอกระบบ มักจะจัดในระยะเวลาส้ันๆ เฉพาะเรื่องและเฉพาะกลุม เนนกระบวนการฝกอบรมดวยเทคนิควิธีการตางๆ เชน การประชุมกลุม การอภิปราย การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ การศึกษาดูงาน - การศึกษาตามอัธยาศัย เปนเรื่องของการใหขอมูลขาวสารท่ีผูเรียนสามารถเรียนรูไดดวยตนเองจากสื่อตางๆ เชน อินเตอรเน็ต โทรทัศน วิทยุ หนังสือพิมพ แผนพับ เปนตน โดยไมจําเปนตองศึกษาในชั้นเรียน

การท่ีชุมนุมสหกรณออมทรัพยแหงประเทศไทย จํากัด (ชสอ.) จัดทําหลักสูตรวิชาชีพ (เฉพาะกลุมเปาหมายที่เปนเจาหนาท่ีทุกตําแหนง) และหลักสูตรเฉพาะทาง (เฉพาะกลุมเปาหมายที่เปนคณะกรรมการทุกคณะ) เพ่ือเสริมความรู ทักษะ และทัศนคติ เปนการจัดการศึกษานอกระบบ ดวยหลักสูตรตางๆ และเปนการศึกษาตามอัธยาศัยดวยการผลิตส่ือการเรียนรูดวยตนเองดวย CD-ROM

การกําหนดหลักสูตร และเอกสารประกอบการฝกอบรมท่ี ชสอ. ผลิตขึ้นนี้มีวัตถุประสงคเพ่ือใชประกอบการฝกอบรม และสําหรับผูท่ีไมสะดวกในการเดินทางไปเขารับการฝกอบรม สามารถนําไปศึกษาดวยตนเองพรอมส่ือ e-Training และเปนท่ีคาดหวังวาเอกสารประกอบชุดนี้จะเปนประโยชนแกผูเขารับการฝกอบรม (Participants) และผูอํานวยการฝกอบรม (Facilitators) ในการใชเปนเครื่องมือจัดฝกอบรมใหเกิดประโยชนไดอยางแทจริง

ท้ังนี้ คูมือคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ ไดรับการตรวจสอบเอกสารจากคณาจารย คณะเศรษฐศาสตร สาขาวิชาเศรษฐศาสตรสหกรณ มหาวิทยาลัยแมโจ จังหวัดเชียงใหมแลว

ชุมนุมสหกรณออมทรัพยแหงประเทศไทย จํากัด

ฝายวิชาการ ผลิต มีนาคม พ.ศ. 2548

ปรับปรุง มีนาคม พ.ศ. 2550

คํานํา

Page 3: test

หนา คาบวิชาที่ 1 ปรัชญาสหกรณ อุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณ :

การวิเคราะหและการประยุกตใช 1

1. ความหมายและความสําคัญของ “สหกรณ” (Cooperatives) 1 2. การวิเคราะหปรัชญาสหกรณ 2 3. การวิเคราะหอุดมการณสหกรณ 7 4. การวิเคราะหหลักการสหกรณ 8 5. การวิเคราะหวิธีการสหกรณ 23 6. ปญหาของสหกรณออมทรัพย และแนวทางแกไขโดยประยุกตปรัชญา

และอุดมการณสหกรณ 37

คาบวิชาที่ 2 บทบาท หนาท่ี และความรับผิดชอบของคณะกรรมการศึกษาและ 45 ประชาสัมพันธ 1. ความจําเปน ท่ีมา และโครงสรางคณะกรรมการศึกษาและ

ประชาสัมพันธ 45

2. บทบาท หนาท่ี และความรับผิดชอบของคณะกรรมการศึกษาและ ประชาสัมพันธ

47

3. หนาท่ีของคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธตามขอบังคับ 49 4. แนวทางและปญหาการประชาสัมพันธในสหกรณออมทรัพย 54 คาบวิชาที่ 3 การจัดการศึกษาและการฝกอบรมในสหกรณ 61 1. การจัดการศึกษาสําหรับผูใหญ 61 2. การผลิตสื่อเพ่ือการศึกษาและฝกอบรม 71 คาบวิชาที่ 4 องคความรูเบ้ืองตนเกี่ยวกับสหกรณออมทรัพยและแนวทางการ

จัดฝกอบรมแกบุคลากรสหกรณ 77

1. องคความรูเกี่ยวกับสหกรณออมทรัพย 77 2. แนวทางการจัดฝกอบรมแกบุคลากรสหกรณ 86 3. การติดตามและการวัดผลการจัดฝกอบรม 89 4. แผนการฝกอบรม 3 ช่ัวโมง 90

สารบัญ

Page 4: test

หนาคาบวิชาที่ 5 การประชุมคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ 93 1. บทนํา 93 2. องคประกอบท่ีสําคัญของการประชุมคณะกรรมการศึกษาและ

ประชาสัมพันธ 94

3. ความหมายของการประชุม 94 4. ข้ันตอนการดําเนินการประชุม 95 ภาคผนวก 105

Page 5: test

“สหกรณ (Cooperative)” ตามพระราชบัญญัติสหกรณ พ.ศ. 2542 หมายความวาคณะบุคคลซึ่ง

รวมกันดําเนินกิจการเพื่อประโยชนทางเศรษฐกิจและสังคมโดยชวยตนเอง ชวยเหลือซ่ึงกันและกัน และจดทะเบียนตามพระราชบัญญัติสหกรณ

ในขณะเดียวกันในการประชุมเชิงวิชาการของกรมสงเสริมสหกรณ เม่ือวันท่ี 4 กันยายน 2544 เพ่ือใหคําจํากดัความของคําวา สหกรณ คุณคาของสหกรณอุดมการณสหกรณ หลักการสหกรณ และวิธีการสหกรณ (กรมสงเสริมสหกรณ, 2544) ไดสรุปความหมายของคําตางๆ ไวดังนี้ [ท้ังนี้เพ่ือใหสอดคลองกับแถลงการณวาดวยเอกลักษณของการสหกรณ (Statement on Cooperative Identity) ซ่ึงจะขยายความใหละเอียดในท่ีมาของหลักการสหกรณขอท่ี 7 ในรายละเอียดตอไป] 1. ความหมายและความสําคัญของ “สหกรณ (Cooperatives)” สหกรณคือ “องคการของบรรดาบุคคล ซ่ึงรวมกลุมกันโดยความสมัครใจในการดําเนินวิสาหกิจท่ีพวกเขาเปนเจาของรวมกัน และควบคุมตามหลักประชาธิปไตย เพ่ือสนองความตองการอันจําเปนและความหวังรวมกันทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม” ซ่ึงเปนการแปลความจากคํานิยามของสหกรณสากลท่ีกําหนดข้ึนโดย International Cooperative Alliance (ICA) ความวา “A co-operative is an autonomous association of persons united voluntarily to meet their common economics, social and cultural needs and aspirations through a jointly owned and democratically controlled enterprise

- ความหมายของ “คุณคาของสหกรณ (Cooperative Values)” สหกรณอยูบนพ้ืนฐานแหงคุณคาของการชวยตนเอง ความรับผิดชอบตอตนเอง ความเปนประชาธิปไตย ความเสมอภาค ความเท่ียงธรรม และความเปนเอกภาพรับผิดชอบตอสังคม และความเอ้ืออาทรตอผูอ่ืน โดยสืบทอดประเพณีปฏิบัติของผูริเริ่มการสหกรณ”

- ความหมายของ “อุดมการณสหกรณ (Cooperative Ideology)” อุดมการณสหกรณ คือ “ความเช่ือรวมกันท่ีวาการชวยตนเอง และการชวยเหลือซ่ึงกันและกัน ตามหลักการสหกรณ จะนําไปสูการกินดี อยูดี มีความเปนธรรมและสันติสุขในสังคม”

- ความหมายของ “หลักการสหกรณ (Cooperative Principles)” หลักการสหกรณ คือ “แนวทางท่ีสหกรณยึดถือปฏิบัติเพ่ือใหคุณคาของสหกรณเกิดผลเปนรูปธรรม”

ปรัชญาสหกรณ อุดมการณหลักการ และวิธีการสหกรณ :การวิ เคราะหและการประยุกตใช

Page 6: test

2 คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

- ความหมายของ “วิธีการสหกรณ (Cooperative Practices)” วิธีการสหกรณ คือ “การนําหลักการสหกรณ มาใชในการดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคม เพ่ือประโยชนของมวลสมาชิก โดยไมละเลยหลักการบริหารธุรกิจ” จากความหมายของคําท้ัง 5 คํา ขางตนจะเห็นไดวาไมมีการพูดถึงคําวา “ปรัชญาสหกรณ” เลย ดังนั้นจึงมีคําถามวา “ปรัชญาสหกรณคืออะไร?” เปนสิ่งเดียวกันกับอุดมการณสหกรณหรือไม? 2. การวิเคราะหปรัชญาสหกรณ ปรัชญา ตามความหมายในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 หมายถึง วิชาท่ีวาดวยหลักแหงความรูและความจริง หรือศิลปะการคิดอยางมีเหตุผล ซ่ึงตรงกับภาษาอังกฤษวา Philosophy โดยคําน้ีมาจากภาษากรีกวา Pholosophia ซ่ึงแปลวา Love of Wisdom (ความรักในปญญา) ดังนั้น ปรัชญาจึงเปนตนกําเนิดของศาสตรท้ังปวง และเปนกุญแจไขสูความรูศาสตรอ่ืนๆ ปรัชญาตะวันตก และปรัชญาตะวันออกจะมีแนวคิดที่แตกตางกัน แตปจจุบันสวนใหญจะเปนปรัชญารวมสมัย ฉะนั้นปรัชญาก็คือ แนวคิดท่ีจะแปลงไปสูหลักการและกระบวนการปฏิบัติ ( พิสิฎฐ โคตรสุโพธิ์, 2548 ) โดยแนวคิดน้ันเปนส่ิงที่สูงที่สุดท่ีเราตองการ เชน ปรัชญาของแผนพัฒนาประเทศ หมายถึง การกําหนดไววาจะทําอะไรใหคนท้ังประเทศ จะนําประเทศไปในทิศทางใด จะกําหนดโดยเนนความเจริญเติบโตทางวัตถุหรือจะเนนการพัฒนาคน และพัฒนาจิตใจ (สเุมธ ตันติเวชกุล, 2547) พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงอธิบายความหมายของปรัชญาไววา “...โดยมากปรัชญาน้ันก็เปนความเชื่อของบุคคลแตละคนวา โลกนี้มาอยางไร และจะไปอยางไร จะมีความสุขสุดยอดอยางไร...” (สํานักราชเลขาธิการ, 2513) ดังนั้น การสรางวิธีการตางๆ บนความเช่ือแบบปรัชญาจึงเปนวิธีการที่จะไปสูความสุขสุดยอดในระดับตางๆ นั่นเอง ฉะนั้นปรัชญาในการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว จึงเปนแนวคิดที่แปลงไปสูหลักการและกระบวนการปฏิบัติ โดยแปลงมาจาก “พระราชปณิธาน” ที่พระราชทานเปนปฐมบรมราชโองการในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ณ พระท่ีน่ังไพศาลทักษิณ พระบรมมหาราชวัง เม่ือวันท่ี 5 พฤษภาคม 2493 ความวา “เราจะครองแผนดินโดยธรรม เพ่ือประโยชนสุขแหงมหาชนชาวสยาม” ซ่ึงพระราชปณิธานน้ี บอกถึงกลยุทธในการทรงงานวา จะครองแผนดิน โดยใชธรรมะ และใหความเปนธรรมกับทุกฝาย และบอกถึงเปาหมายสูงสุดท่ีมีพระประสงคดวย คือ เพ่ือประโยชนสุขแหงมหาชนชาวสยาม น่ันคือ ทุกคนที่อยูภายใตพระบารมีในแผนดินสยาม ไมวาจะเปนชาวไทย ชาวตางประเทศ ชาวเขา หรืออ่ืนๆ ตองไดรับประโยชน (มองในแงเศรษฐกิจ คือ อยูดีกินดี) และไดรับความสุขดวย (มองในแงสังคมและจิตใจ) เม่ือมีพระราชปณิธาน “จึงแปลงไปสูปรัชญาการทรงงาน” โดยพระองคทรงคิดคน ดัดแปลง ปรับปรุงและแกไข ตลอดจนนําไปสูการทดลองและปรับใชจริงในโครงการพัฒนาตางๆ อยางไดผล ดังปรากฏตามแผนภูมิท่ี 1

Page 7: test

3 ปรัชญาสหกรณ อุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณ : การวิเคราะห และการประยุกตใช

ปรัชญาการทรงงานของพระบาทสมเดจ็พระเจาอยูหัว แผนภูมิท่ี 1 : ปรัชญาการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ท่ีมา : สํานักงานสภาสถาบันราชภัฏ, 2544

ในตางประเทศองคกรตางๆ มักจะกําหนดปรัชญาการทํางานไวเบ้ืองหลังของแผนงานเสมอ (สุเมธ ตันติเวชกุล, 2547) สําหรับประเทศไทยในยุคปจจุบันก็มีการกําหนดปรัชญาขององคกรไวเชนเดียวกัน ดังจะเห็นไดจาก ปรัชญาของมหาวิทยาลัยแมโจ ซ่ึงอยูเบ้ืองหลังแผนกลยุทธของมหาวิทยาลัยท่ีกําหนดไววา “มุงม่ัน พัฒนาบัณฑิต สูความเปนผูอุดมดวยปญญา อดทน สูงาน เปนผูมีคุณธรรมและจริยธรรมเพื่อความเจริญรุงเรืองวัฒนาของสังคมไทยท่ีมีการเกษตรเปนรากฐาน” โดยปรัชญานี้ เปนการกําหนดเปาหมายสูงสุดท่ีมหาวิทยาลัยแมโจตองการเอาไว และบอกกลยุทธในการทํางาน รวมท้ังประโยชนท่ีหวังวาจะมีตอสังคมโดยสวนรวมดวย เม่ือแปลงปรัชญาน้ีไปสูการปฏิบัติจึงมีวิสัยทัศน (VISION) รองรับ และมีพันธกิจ หรือ ภารกิจ (MISSION) เปนวิธีปฏิบัติกําหนดเอาไว รวมทั้งกําหนดเปาหมายกลยุทธดานตางๆ ไวอยางชัดเจนเพ่ือจะไดบรรลุปรัชญาของมหาวิทยาลัย

เราจะครองแผนดินโดยธรรม เพื่อประโยชนสุขแหงมหาชนชาวสยาม

ปกครองโดยธรรม พัฒนาโดยวิธกีารใหม

จักรวรรดิวัตร ราชสังคหวัตถุ ๔ พละ ๕ ของพระมหากษัตริย

ทศพิธราชธรรม ประสานงาน ประสานประโยชน

รูรัก สามัคคี ขาดทุนเปนการไดกําไรของเรา

พอเพียง เปนกลาง รูดานลึก และรูดานกวาง

การพัฒนาท่ีย่ังยืน

พออยู พอกิน

กินดี อยูดี

ระดับความสําเร็จ

ระดับพฤติกรรม

ระดับกลยุทธ

ระดับปรัชญา

Page 8: test

4 คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

ใน“สหกรณ” ยังไมมีการกําหนดปรัชญาสหกรณไวชัดเจนนัก แตมีการกําหนดวิสัยทัศน(VISION) และพันธกิจ (MISSION) ของหนวยงานเอาไว ดังนั้นคนสวนใหญจึงเขาใจวา ปรัชญาสหกรณ (Co-operative Philosophy) กับอุดมการณ (Co-operative Ideology) เปนส่ิงเดียวกัน ผูเขียนจึงประสงคจะวิเคราะหใหเห็นวา ปรัชญาสหกรณ ควรเปนอยางไร โดยนําคําวา “ปรัชญา” ซ่ึงหมายถึง ความคิดหรือความเช่ืออยางมีเหตุมีผล มารวมกับคําวา “สหกรณ” ซ่ึงหมายถึง การกระทํารวมกัน หรือทํางานรวมกัน (กรมสงเสริมสหกรณ 2545) ฉะนั้น “ปรัชญาสหกรณ” โดยความหมายของคํา จึงควรหมายถึง “ความคิดหรือความเชื่ออยางมีเหตุมีผลรวมกันของสมาชิกสหกรณ” และเม่ือนําความคิดและความเชื่อน้ีแปลงมาสูจุดมุงหมายและประโยชนท่ีคนใน ขบวนการสหกรณจะไดรับ คําวา “ปรัชญาสหกรณ” ท่ีหนวยงานท่ีเกี่ยวของกับการสหกรณควรจะกําหนดไว คือ “มุงมั่นทําธุรกิจแบบสหกรณ เพื่อทําใหสมาชิกทุกคนมีความ กินดี อยูดี มคีวามยุติธรรมและสันติสุขในสังคม” เพ่ือใหเกิดความเขาใจชัดเจนในความเก่ียวเนื่องและสัมพันธกันของคําวา ปรัชญาสหกรณ อุดมการณสหกรณ หลักการสหกรณ และวิธีการสหกรณ ผูเขียนขออธิบายความหมายของคําดังกลาว ดังนี้

ปรัชญาสหกรณ = แนวคิดหรือความเชื่อท่ีสหกรณตองแปลงไปสูหลักการและกระบวนการปฏิบัติ โดยมีจุดมุงหมายท่ีสหกรณจะตองทําใหไดเพราะมีประโยชนของคนสวนใหญเปนท่ีตั้ง น่ันคือ จุดหมายปลายทางท่ีสหกรณจะตองเดินไปใหถึงนั่นเอง

อุดมการณสหกรณ = ภาพท่ีสหกรณอยากจะเห็นวาจะทําอยางไรจึงจะไปสูจุดมุงหมายได หลักการสหกรณ = แนวทางปฏิบัติเพ่ือใหภาพท่ีอยากเห็นนั้นเปนจริง จะไดบรรลุจุดมุงหมายที่วางไว

วิธีการสหกรณ = การนําหลักการสหกรณไปปฏิบัติจริงในสหกรณแตละประเภท โดยมีศีลธรรม จริยธรรม กํากับการปฏิบัติ และแสดงใหเห็นความเก่ียวเน่ืองสัมพันธกันของคําดังกลาว ดังภาพท่ี 1

Page 9: test

5 ปรัชญาสหกรณ อุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณ : การวิเคราะห และการประยุกตใช

ภาพที่ 1 ความสัมพันธของปรัชญาสหกรณ อุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณ

จากภาพท่ี 1 จะเห็นวา “ปรัชญาสหกรณ” เปนการกําหนดจุดมุงหมายสูงสุดของสหกรณท่ีจะ

นําพาสมาชิกไปใหถึงจุดหมายนั้น โดยมีประโยชนท่ีสมาชิกจะไดรับเปนผลตอบแทน “อุดมการณสหกรณ” เปนการบอกถึงภาพท่ีสหกรณจะตองเดินไปสูจุดมุงหมายไดดวยการชวย

ตนเองกอนแลวชวยเหลือซ่ึงกันและกันในหมูสมาชิกตามหลักการสหกรณ “หลักการสหกรณ” เปนแนวทางปฏิบัติเพ่ือใหอุดมการณสหกรณเปนจริงและสามารถไปสูจุดหมายสูงสุดไดโดยกําหนดหลักการข้ึนมาเพื่อถือปฏิบัติใหเหมือนกันในสหกรณทุกประเภทท่ัวโลก ( 7 ขอ ) “วิธีการสหกรณ” เปนการนําหลักการสหกรณ (7 ขอ) ไปปฏิบัติจริงในสหกรณแตละประเภท ภายใตอุดมการณสหกรณ ซ่ึงมีวิธีการแตกตางกันไป โดยผานกฎ ระเบียบ ขอบังคับ ขอตกลง สัญญา ฯลฯ ของแตละสหกรณ และใชศีลธรรม จริยธรรม กํากับการปฏิบัติทุกข้ันตอน เม่ือปฏิบัติไดสําเร็จยอมจะทําใหบรรลุจุดมุงหมายท่ีกําหนดไวตามปรัชญาสหกรณได

ปรัชญาสหกรณ คือ มุงม่ันทําธุรกิจแบบ

สหกรณเพ่ือทําใหสมาชิกทุกคน มีความ กินดี อยูดี มีความยุติธรรม

และสันติสขุในสังคม

อุดมการณสหกรณ คือ การชวยตนเอง และชวยเหลือซ่ึงกันและกัน

ตามหลักการสหกรณ

หลักการสหกรณคือ หลักการท่ีกําหนดขึ้น เพ่ือใหสหกรณท่ัวโลกถือปฏิบัติ

(7 ขอ)

วิธีการสหกรณ คือ การนําหลักการสหกรณ 7 ขอ ไปปฏิบัติในสหกรณแตละประเภท (7 ประเภท) ภายใตอุดมการณสหกรณ

ซึ่งมีวิธีการแตกตางกันไป โดยผานกฎ ระเบียบ ขอบังคบั ขอตกลง สัญญา ฯลฯ ของแตละสหกรณ และใชศีลธรรม จริยธรรมกํากับการปฏิบัติ

ผลของการปฏิบัติท่ีประสบผลสําเร็จ

Page 10: test

6 คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

ดังนั้นสหกรณออมทรัพยในประเทศไทยแตละแหงจึงสามารถกําหนดปรัชญาสหกรณใหแตกตางหรือคลายกันก็ได แตท้ังนี้ตองไมขัดกับปรัชญา อุดมการณ และหลักการสหกรณสากล สวนวิธีการของสหกรณแตละสหกรณ วิสัยทัศน (Vision) และพันธกิจ (Mission) ยอมแตกตางกันได เชน สหกรณออมทรัพยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร จํากัด วิสัยทัศน

“เปนสหกรณออมทรัพยช้ันนํา เลิศลํ้าสวัสดิการ ดําเนินงานโปรงใส คูใจประชาคม ม.ก.” ภารกิจ ใหบริการสงเสริมการออม การใหเงินกู และการจัดสวัสดิการแกสมาชิก และประชาคม ม.ก. ตลอดจนดูแลและจัดการสินทรัพย เพ่ือกอใหเกิดประโยชนสูงสุด การสรางระบบเพื่อการดําเนินงานท่ีมีประสิทธิภาพเปนท่ีเช่ือถือและไววางใจ การนําเทคโนโลยีมาใชในลักษณะของ อี - โคออป เพื่อขยายบริการอยางท่ัวถึง การสรางจิตวิญญาณสหกรณ ในบุคคลทุกฝายควบคูกับการประชาสัมพันธ เพื่อใหเขามามีสวนรวมในการพัฒนาสหกรณ เพื่อการบรรลุเปาหมายในการเปนคูใจประชาคม ม.ก. สหกรณออมทรัพยสาธารณสุขจังหวัดขอนแกน จํากัด วิสัยทัศน “สมาชิกมั่งค่ัง สหกรณมั่นคง บริหารโปรงใส บริการประทับใจ ใสใจสิ่งแวดลอม พรอมมุงพัฒนา” พันธกิจ 1. สงเสริมการออมและเพิ่มรายไดใหสมาชิก 2. ลดภาระหนี้สูญหรือ หน้ีสงสัยจะสูญ 3. ปรับปรุงกฎระเบียบใหทันสมัยและครอบคลุม 4. พัฒนาการประสานงานกับหนวยงานท่ีเก่ียวของ 5. พัฒนาระบบขอมูลสารสนเทศใหมีประสิทธิภาพและทันสมัย 6. พัฒนาระบบการใหบริการอยางมีคุณภาพ สหกรณออมทรัพยครูกระบ่ี จํากัด วิสัยทัศน “สหกรณออมทรัพยครูกระบ่ี จํากัด เปนศูนยกลางทางการเงินท่ีมีความม่ันคง มุงสงเสริมคุณภาพชีวิตสมาชิก และครอบครัวใหการศึกษาอบรมและเผยแพรขอมูลขาวสารแกสมาชิก จัดสวัสดิการชวยเหลือสมาชิกและสังคม ประสานงานและใหความรวมมือพัฒนาเครือขายสหกรณ โดยระบบการบริหาร พัฒนาระบบการบริหารจัดการท่ีมีประสิทธิภาพ”

Page 11: test

7 ปรัชญาสหกรณ อุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณ : การวิเคราะห และการประยุกตใช

พันธกิจ 1. ดํารงและพัฒนาความมั่นคงทางการเงินของสหกรณอยางตอเนื่อง 2. พัฒนาคุณภาพชีวิตสมาชิกและครอบครัวใหดีข้ึนและมีความสุขในการดํารงชีพ 3. จัดการศึกษาอบรมใหแกสมาชิก และการใหความชวยเหลือชุมชนและสังคม 4. สรางความรวมมือระหวางสหกรณและองคกรท่ีเกี่ยวของ 5. พัฒนาการใหบริการและการบริหารจัดการท่ีมีประสิทธิภาพ 3. การวิเคราะหอุดมการณสหกรณ จากภาพท่ี 1 จะเห็นวาปรัชญาสหกรณเปนความปรารถนาสุดยอดของสหกรณท่ีจะนําพาสมาชิกไปใหถึงความปรารถนาน้ัน และอุดมการณสหกรณเปนการชวยตนเองและชวยเหลือซ่ึงกันและกันของสมาชิกสหกรณ เพ่ือใหความปรารถนาสมหวัง โดยนําหลักศีลธรรม และ จริยธรรมมาใชประกอบการใชหลักการสหกรณสากลท้ัง 7 ขอ ดังกลาว ในการชวยตนเองของสมาชิก อาจจะตอง ขยัน ประหยัด ซ่ือสัตย อดทน มีวินัย การชวยตนเอง และการชวยเหลือซ่ึงกันและกัน ความสํานึกในการเปนเจาของ ความมีนํ้าใจสหกรณ (Co-op Spirit) การมีสวนรวม (Participation) ในกิจการตาง ๆ และในการทําธุรกิจกับสหกรณ อาจจะแบงเปน 2 ดาน คือ 1) เสียสละ เชน เงินทอง / ทรัพยสิน เวลา, แรงงาน, ความรู และ 2) แบงปน เชน ผลได / สวนเกิน (กําไร) และแบงปน นํ้าใจ ความหวงใยอาทรกัน ในประเทศไทยที่คนสวนใหญนับถือพุทธศาสนา จึงมักจะนําหลักศีลธรรมมาประกอบการอธิบายวา การชวยตนเอง ตองนําหลักศีลธรรมหลายอยางมาใช เชน อิทธิบาท 4 ประกอบดวย : ฉันทะ : ความพอใจ ในการเปนสมาชิก วิริยะ : ความเพียรพยายามทําธุรกิจกับสหกรณและปฏิบัติตามกฎระเบียบของสหกรณ จิตตะ : ความมุงมั่นจงรักภักดีตอสหกรณ และ วิมังสา : ความมีสติปญญาใครครวญ ไตรตรอง ในการประชุมใหญ และเสนอความคิด เห็นตอการดําเนินงานของสหกรณ

หลักธรรมของการชวยตนเอง อีกหลักธรรมหนึ่งคือ ทิฎฐธัมมิกัตถประโยชน หมายถึง ประโยชนท่ีจะหาไดในชาติน้ี ประกอบดวย : อุฎฐานสัมปทา (อุ) คือ มีความอุตสาหะ ขยันหม่ันเพียรประกอบอาชีพ อารักขสัมปทา (อา) คือ การรักษาทรัพยท่ีหามาได เชน เก็บออม ฝากสหกรณ กัลยาณมิตตา (กะ) คือ การคบเพื่อนท่ีดี ก็จะนําไปสูสิ่งดีๆ สมชีวิตตา (สะ) คือ การรูจักทํามาหากิน เล้ียงชีพดวยความรูจักประมาณตนมีความ พอเพียง

Page 12: test

8 คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

หลักธรรมที่นํามาใชกับการชวยเหลือซ่ึงกันและกัน อาจจะใช สังคหวัตถุ 4 คือ ทาน คือ การใหโดยไมหวังสิ่งตอบแทน เปนการแบงปนกัน ปยวาจา คือ การพูดจาอยางสรางสรรค พูดในส่ิงท่ีดีท่ีจะเกิดประโยชนกับสหกรณ อัตถจริยา คือ การบําเพ็ญประโยชนเกื้อกูลกัน เชน การค้ําประกันเงินกูรวมกัน การชวยเหลือกันในกิจการของสหกรณ เปนตน สมานัตตา คือ การวางตนเสมอตนเสมอปลาย เขารวมประชุมทุกครั้งท่ีสหกรณจัด

ประชุม สาราณียธรรม 6 ซ่ึงเปนธรรมแหงการสรางความรวมมือกัน สามัคคีกัน ดังนี้ เมตตากายกรรม คือ การชวยเหลือกัน เชน การมีสวนรวมทางเศรษฐกิจ การรวมมือ ระหวางสหกรณ และความเอื้ออาทรตอชุมชน เมตตาวจีกรรม คือ การบอกแจงแนะนําตักเตือนกัน เชน การเขารวมประชุม การให การศึกษา ฝกอบรมและขอมูลขาวสาร เมตตามโนกรรม คือ การคิดดวยความเมตตา เชน คิดแกไขปญหาใหกลุมสมาชิก คิดท่ี จะมีสวนรวมในทางเศรษฐกิจกับสหกรณ คิดท่ีจะรวมมือระหวาง สหกรณ และคิดท่ีจะเอื้ออาทรตอชุมชน สาธารณโภคี คือ การแบงลาภโดยชอบธรรม เฉล่ียเจือจานใหไดมีสวนรวมเทากัน เชน การมีสวนรวมทางเศรษฐกิจของสมาชิก และการจัดสรรเงิน สวนเกิน (กําไร) สีลสามัญญตา คือ การประพฤติสุจริตกับผูอ่ืน ไมเปนท่ีนารังเกียจของหมูคณะ เชน การควบคุมโดยสมาชิกตามหลักประชาธิปไตย การปกครองตนเอง และเปนอิสระ ความมีวินัย ปฏิบัติตามกฎระเบียบขอบังคับเสมอกัน ทิฎฐิสามัญญตา คือ มีความเห็นชอบรวมกับเพ่ือนรวมหมูคณะ เชน เห็นชอบใน หลักการ วิธีการสหกรณ และมีความจงรักภักดีตอสหกรณ เปนตน 4. การวิเคราะหหลักการสหกรณ เปนท่ีทราบกันดีวา International Co-operative Alliance (ICA) ไดกําหนด หลักการสหกรณสากลครั้งลาสุด (ค.ศ. 1996) ไว 7 ขอ คือ 1. หลักการเปดรับสมาชิกท่ัวไป และดวยความสมัครใจ 2. หลักการควบคุมโดยสมาชิกตามหลักประชาธิปไตย 3. หลักการมีสวนรวมทางเศรษฐกิจโดยสมาชิก 4. หลักการปกครองตนเองและความเปนอิสระ 5. หลักการใหการศึกษา การฝกอบรม และขอมูลขาวสาร 6. หลักการการรวมมือระหวางสหกรณ 7. หลักการความเอ้ืออาทรตอชุมชน

Page 13: test

9 ปรัชญาสหกรณ อุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณ : การวิเคราะห และการประยุกตใช

กอนท่ีจะกลาวรายละเอียดในหลักการสหกรณสากลแตละขอ ผูเขียนขอกลาวถึงหลักการสหกรณสากลเดิม (ค.ศ. 1966) และหลักการสหกรณของรอชเดล เพ่ือจะไดเปนแนวทางในการวิเคราะหเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงของหลักการสหกรณสากลกับการเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และสิ่งแวดลอมของโลกได อยางไรก็ตาม จะตองไมลืมวาสหกรณท่ีถูกตองตามกฎหมายเกิดข้ึนในยุโรปเปนแหงแรก (ค.ศ. 1840 - 1849) สหกรณในสมัยนั้นมีอยู 5 ประเภทคือ สหกรณผูบริโภค ซ่ึงมีรากฐานมาจากสมาคมของผูนําอันเท่ียงธรรมแหงเมืองรอชเดล สหกรณเครดิต ท่ีเกิดข้ึนใน เยอรมนี สหกรณการเกษตร ท่ีเกิดข้ึนในประเทศเดนมารค และเยอรมนี สหกรณคนงาน ท่ีมีรากฐานในประเทศฝรั่งเศส และ สหกรณบริการ ท่ีมีรากฐานในประเทศอุตสาหกรรมแถบยุโรป เชนสหกรณเคหสถาน สหกรณบริการดานสุขภาพ เปนตน สหกรณทุกประเภทท่ีกลาวถึงตางก็มีหลักการปฏิบัติของตนเอง แตเม่ือมีการกอตั้งองคการสัมพันธภาพสหกรณระหวางประเทศ : International Cooperative Alliance (ICA) ในป ค.ศ. 1895 สหกรณทุกประเภทท่ัวโลกตองปฏิบัติตามหลักการสหกรณสากล และหลักการสหกรณสากลก็มีการปรับเปล่ียนเพ่ือใหสอดคลองกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และสิ่งแวดลอม ในยุคสมัยนั้นๆ เสมอ เชน ในป ค.ศ. 1937 ไดมีการทบทวนหลักการสหกรณสากลเปนครั้งแรกและครั้งท่ี 2 ในป ค.ศ. 1966 สวนคร้ังท่ี 3 คือ ในป ค.ศ. 1995 สาเหตุท่ีมีการปรับปรุงเปล่ียนแปลงและเพิ่มเติมหลักการสหกรณสากล จะวิเคราะหใหเห็น ในแตละขอโดยการเปรียบเทียบหลักการสหกรณสากลเดิม (1966) กับหลักการสหกรณสากลในปจจุบัน (1996) ตอไป หลักการสหกรณ Rochdale ของ G.J. Holy Oake ดํารง ปนประณต (2541) ไดสรุปวา หลักการสหกรณรอชเดล เปนหลักการท่ีนํามาใชกอนหลักการสหกรณสากล ซ่ึงเดิมมีท้ังหมด 14 ขอ คือ 1. เปดรับสมาชิกท่ัวไป (Open membership) 2. ออกเสียงหน่ึงคนหนึ่งเสียง (One man one vote) 3. การคาดวยเงินสด (Cash trading) 4. การใหการศึกษาแกสมาชิก (Membership education) 5. ความเปนกลางทางการเมืองและศาสนา (Political and religious neutrality) 6. ไมเสี่ยงภัยท่ีผิดปกติ (No unusual risk assumption) 7. จํากัดเงินปนผลแกทุนเรือนหุน (Limited interest on stock) 8. การขายสินคาราคาตลาด (Goods sold at regular retail price) 9. จํากัดจํานวนหุนท่ีสมาชิกถือ (Limitation on the member of share owned) 10. การแบงสวนเกินตามสวนแหงธุรกิจ (Net margins distributed according to patronage)

Page 14: test

10 คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

11. สมาชิกเปนผูเลือกกรรมการดําเนินการ เพ่ือการบริหารกิจการของสหกรณ (That the management should be in hand of officers and committee elected periodically) 12. การบัญชีจะตองถูกตองและงบดุลจะตองแสดงตอสมาชิกโดยสมํ่าเสมอ (That frequent statement and balance sheets should be presented to members) 13. จําหนายสินคาท่ีดี บริสุทธิ์ และไมปลอมปนแกสมาชิก (That only the purest provisions procurable should be supplied to member) 14. นํ้าหนักท่ีช่ัง ตวง วัด ใหแกสมาชิกจะตองถูกตองและเปนธรรม (That full weight and measure should be given)

ตอมามีการปรับเปล่ียนโดยการตัดออก 7 ขอ คือ ขอ 6, 8, 9, 11, 12, 13 และ 14 เพราะ เห็นวาบางขอเปนเรื่องท่ีปฏิบัติเปนปกติวิสัยของสหกรณอยูแลว และบางขอเปนขอบังคับของสหกรณจึงไมจําเปนตองนํามาเขียนเปนหลักการสหกรณ ดังนั้นจึงเหลือหลักการสหกรณรอชเดล ท่ีเปนท่ียอมรับ และถือปฏิบัติท้ังหมด 7 ขอ คือ 1. เปดรับสมาชิกท่ัวไป (Open membership) 2. สมาชิกคนหนึ่งออกเสียงไดหน่ึงเสียง (One man one vote) 3. จายเงินปนผลตามสวนแหงการซื้อของสมาชิก (Patronage refund on the basic of purchase) 4. จายดอกเบ้ียตามหุนในอัตราท่ีจํากัด (Limited interest on share capital) 5. เปนกลางในลัทธิ ศาสนา และการเมือง (Political and religious neutrality) 6. ขายสินคาดวยเงินสด (Cash trading) 7. ใหการศึกษาทางการสหกรณ (Education in Co-operative)

หลักการสหกรณสากลเดิม (ค.ศ. 1966) ตอมา ICA ไดรับรองหลักการสหกรณสากล 6 ขอ เมื่อคราวประชุมสมัชชาครั้ง 23 ในวันท่ี 8

กันยายน ค.ศ. 1966 (พ.ศ. 2509) ณ กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย โดยปรับปรุงเปล่ียนแปลง เพ่ือใหเหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง ของโลกท่ีเปล่ียนแปลงไป ดังนี้ 1. การเปดรับสมาชิกท่ัวไปและดวยใจสมัคร (Open and Voluntary membership) 2. การควบคุมแบบประชาธิปไตย (Democratic Control) 3. การจํากัดดอกเบ้ียเงินทุน (Limited interest on capital) 4. การจัดสรรเงินสวนเกินอยางเท่ียงธรรม (Equitable distribution of surplus) 5. การศึกษาทางสหกรณ (Co - operative education) 6. ความรวมมือระหวางสหกรณ (Co - operation Among Co - operatives)

หลักการสหกรณสากลปจจุบัน (ค.ศ. 1996) เม่ือโลกยุคใหมมีการเปล่ียนแปลงทางดานสิทธิมนุษยชน ดานการคาเสรี ดานเทคโนโลยี ดาน

เศรษฐกิจของประเทศในภูมิภาคท่ีแตกตางกัน และดานสิ่งแวดลอม หลักการสหกรณสากลก็ตองมีการปรับเปล่ียนใหทันตอเหตุการณของโลกดวย ดังนั้น ICA จึงไดมีการประชุม ครั้งท่ี 31 ท่ีเมืองแมนเชสเตอรประเทศอังกฤษ ในเดือน กันยายน 1995 (2538) และถือใชหลักการสหกรณสากลปจจุบันในป ค.ศ. 1996 ดังนี้

Page 15: test

11 ปรัชญาสหกรณ อุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณ : การวิเคราะห และการประยุกตใช

1. การเปดรับสมาชิกท่ัวไปและดวยความสมัครใจ (Voluntary and open membership) 2. การควบคุมโดยสมาชิกตามหลักประชาธิปไตย (Democratic member Control) 3. การมีสวนรวมทางเศรษฐกิจโดยสมาชิก (Member economic participation) 4. การปกครองตนเอง และความเปนอิสระ (Autonomy and Independence) 5. การศึกษา ฝกอบรม และขอมูลขาวสาร (Education, Training and Information) 6. การรวมมือระหวางสหกรณ (Co - operation Among Cooperatives) 7. ความเอื้ออาทรตอชุมชน (Concern for Community)

เพ่ือใหการวิเคราะหการเปล่ียนแปลง ของสถานการณโลกชัดเจนย่ิงข้ึน จึงขอนําหลักการสหกรณสากลเดิม (1966) กับหลักการสหกรณสากลปจจุบัน (1996) มาเปรียบเทียบกันขอตอขอ ดังนี้

เปรียบเทียบหลักการสหกรณสากลเดิม 6 ขอ และ หลักการสหกรณสากลใหม 7 ขอ

หลักการสหกรณสากลเดิม หลักการสหกรณสากลใหม

1. Open and voluntary membership 1. Voluntary and open membership Membership of a co-operatives society shall be voluntary and available without artificial, restriction or any social political racial or religious discrimination to all persons, who can make use of its services and are willing to accept the responsibilities of membership

Co-operatives are voluntary organization, open to all persons able to use their services and willing to accept the responsibilities of membership, without gender, social, racial, political or religious discrimination.

1. การเปดรับสมาชิกทั่วไปและดวยใจสมัคร 1. การเปดรับสมาชิกท่ัวไปและดวยความสมัครใจ

สมาชิกภาพของสหกรณใหเปนไปโดยความสมัครใจ และเปดโอกาสใหทุกคนท่ีสามารถใชประโยชนในบริการของ สหกรณและเต็มใจยอมรับความรับผิดชอบของสมาชิกภาพเขาเปนสมาชิกได โดยปราศจากขอจํากัดแบบเคลือบแฝง หรือความลําเอียงทางสังคม การเมือง เชื้อชาติหรือศาสนา

สหกรณเปนองคการแหงความสมัครใจท่ีเปดรับบุคคลท้ังหลายท่ีสามารถใชบริการของสหกรณและเต็มใจรับผิดชอบในฐานะสมาชิกเขาเปนสมาชิกโดยปราศจากการกีดกันทางเพศ สังคม เชื้อชาติ การเมืองหรือศาสนา

Page 16: test

12 คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

หลักการสหกรณเดิม หลักการสหกรณสากลใหม 2. Democratic Control 2. Democratic member control Cooperative societies are democratic organizations their affairs shall be administered by persons elected or appointed in a manner agree by the members and account able to them members of voting [one member one vote] and participation in decisions affecting their societies. In other than primary societies the administration shall be conducted on a democratic basis in a suitable form.

Co-operatives are democratic organization controlled by their member, who actively participate in setting their policies and making decisions. Men and women serving as elected representatives are accountable to the membership. In primary co-operatives members have equal rights [one member one vote] and co-operatives at other levels are also organized in a democratic manner.

2. การควบคุมแบบประชาธิปไตย 2. การควบคุมโดยสมาชิกตามหลัก ประชาธิปไตย สหกรณ เปนองคการประชาธิปไตย กิจการของสหกรณจะตองบริหารโดยบุคคลท่ีไดรับเลือกหรือแตงตั้งตามวิธีท่ีสมาชิกไดตกลงกัน และจะรับผิดชอบตอสมาชิก สหกรณข้ันปฐมมีสิทธิ เท าเ ทียมกันในการออกเสียง (สมาชิกหน่ึงคนหนึ่งเสียง) และการมีสวนในการตัดสินใจท่ีมีผลกระทบตอสหกรณของตน ในสหกรณ อ่ืนนอกจากสหกรณ ข้ันปฐมการบริหารงานใหยึดหลักประชาธิปไตยในรูปแบบท่ีเหมาะสม

สหกรณเปนองคการประชาธิปไตย ท่ีควบคุมโดยมวลสมาชิกผูมีสวนรวมอยางแข็งขันในการกําหนดนโยบายและการตัดสินใจ บุรุษและสตรีผู ท่ีไดรับเลือกใหเปนผูแทนสมาชิก ตองรับผิดชอบตอมวลสมาชิก ในสหกรณข้ันปฐม สมาชิกมีสิทธิในการออกเสียงเทาเทียมกัน (สมาชิกหน่ึงคนหน่ึงเสียง) สําหรับสหกรณในระดั บ อ่ื น ให ดํ า เ นิ นไปตามแนวทางประชาธิปไตยเชนเดียวกัน

Page 17: test

13 ปรัชญาสหกรณ อุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณ : การวิเคราะห และการประยุกตใช

หลักการสหกรณเดิม หลักการสหกรณสากลใหม 3. Limited interest on capital 3. Member economic participation Share capital shall only receive a strictly limited of interest, if any.

Member contribute equitably to, and democraticallycontrol, the capital of their co-operative. At least part of that capital is usually the common property to the co-operative. They usually receive limited compensation, if any for capital subscribed as a condition of membership. Members allocated surpluses for any or all, of the following purposes; developing their cooperative, possibly by setting up reserves, part of which of least would be indivisible; benefiting members in proportion to their transactions with the co-operative; and supporting other activities approved by the membership.

3. การจํากัดดอกเบ้ียเงินทุน 3. การมีสวนรวมทางเศรษฐกิจโดยสมาชิก ทุนเรือนหุนใหไดรับดอกเบ้ียในอัตราจํากัดอยางเขมงวด ถามีการจายดอกเบ้ีย

สมาชิกสหกรณพึงมีความเท่ียงธรรมในการ “ให” และควบคุมการ “ใช” เงินทุนในสหกรณตามแนวทางประชาธิปไตย ทุนของสหกรณอยางนอยสวนหนึ่งตองเปนทรัพยสินสวนรวมของสหกรณสมาชิกจะไดรับผลตอบแทนสําหรับเงินทุนตามเง่ือนไขแหงสมาชิกภาพในอัตราท่ีจํากัด (ถามี) มวลสมาชิกเปนผูจัดสรรผลประโยชนสวนเกินเพ่ือจุดมุงหมายประการใดประการหน่ึงหรือท้ังหมดดังตอไปนี้ คือ เพ่ือการพัฒนาสหกรณของตน โดยจัดใหเปนทุนสํารองของสหกรณ ซ่ึงสวน หน่ึงแหงทุนนี้ตองไมนํามาแบงปนกัน เพ่ือประโยชนแกสมาชิกตามสวนของ ปริมาณธุรกิจท่ีทํากับสหกรณ เพ่ือสนับสนุนกิจกรรมอ่ืนใดท่ีมวลสมาชิก เห็นชอบ

Page 18: test

14 คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

หลักการสหกรณเดิม หลักการสหกรณสากลใหม 4. Equitable distribution of surplus 4. Autonomy and independence The economic results, arising out of the operations of a societies belong to the members of that society and shall be distributed in such manner as would in void one member gaining at the expense of others.

Co-operatives are autonomous, self-help organizations controlled by their members. If they enter into agreements with other organizations, including governments, or raise capital from external sources, they do so on terms that ensure democratic control by their members and maintain their co-operative autonomy.

4. การจัดสรรเงินสวนเกินอยางเที่ยงธรรม 4. หลักการปกครองตนเองและความเปน อิสระ

ผลทางเศรษฐกิจท่ีเกิดจากการดําเนินงานของสหกรณ ก็เปนของสมาชิกสหกรณน้ันและจะตองจัดสรรโดยวิธีท่ีพึงหลีกเล่ียงไมใหสมาชิกคนใดไดเปรียบสมาชิกอ่ืน ท้ังนี้อาจทําไดโดยการตัดสินใจของสมาชิกดังตอไปน้ีจัดไวเพ่ือพัฒนากิจการของสหกรณ จัดไวเพ่ือบริการสวนรวม หรือจายใหสมาชิกตามสวนท่ีทําธุรกิจกับสหกรณ

สหกรณเปนองคการอิสระ และพ่ึงพาตนเองโดยการควบคุมของสมาชิก ในกรณีท่ีสหกรณจําตองมีขอตกลง หรือผูกพันกับองคการอ่ืนๆ รวมถึงองคการของรัฐ หรือตองแสวงหาทุนจากแหลงภายนอก สหกรณตองกระทําภายใตเง่ือนไขอันเปนท่ีม่ันใจไดวา มวลสมาชิกจะยังคงไว ซ่ึงอํานาจในการควบคุมตามแนวทางประชาธิปไตย และยังคงดํารงความเปนอิสระของสหกรณ

Page 19: test

15 ปรัชญาสหกรณ อุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณ : การวิเคราะห และการประยุกตใช

หลักการสหกรณเดิม หลักการสหกรณสากลใหม 5. Co-operative education 5. Education, Training and Information All co-operative societies shall make provision for the education of their member, officers and employees and of the general public in the principle and technique of co-operation both economic and democratic.

Co-operatives provide education and training for their members, elected representatives, managers and employee, so they can contribute effectively to the development of their co-operatives. They also inform the general public, particularly young the general and opinion leaders, about the nature and benefits of co-operation.

5. การศึกษาทางสหกรณ 5. การศึกษา การฝกอบรม และขอมูล ขาวสาร

สหกรณท้ังปวงจะตองจัดใหมีการศึกษาแกสมาชิก เจาหนาท่ี และพนักงาน สหกรณ และประชาชนทั่วไป ในหลักและเทคนิคของสหกรณท้ังดานเศรษฐกิจ และประชาธิปไตย

สหกรณพึงใหการศึกษา และการฝกอบรมแกมวลสมาชิก ตัวแทน สมาชิก ผูจัดการ และพนักงาน เพื่อบุคคลเหลาน้ันสามารถมีสวนชวยพัฒนาสหกรณของตนไดอยางมีประสิทธิผล รวมถึงการใหขาวสารแก สาธารณชนโดยเฉพาะอยางย่ิงแก เยาวชน และบรรดาผู นําทางความคิดในเรื่องคุณลักษณะและคุณประโยชนของ สหกรณได

Page 20: test

16 คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

หลักการสหกรณเดิม หลักการสหกรณสากลใหม 6. Co-operation Among Co-operatives

6. Co-operation Among Co-operatives

All co-operative organization in order to best serve the interest of their members and their communities shall actively co-operate in every practical way with other co-operatives at local national and international levels having as their aim the achievement of unity of action by co-operators through out the word.

Co-operatives serve their members most effectively and strengthen the co-operative movement by working together through local, national, regional, and international structures.

6. การรวมมือระหวางสหกรณ 6. การรวมมือระหวางสหกรณ เพ่ืออํานวยประโยชนแกสมาชิกและชุมชนอยางดีท่ีสุดสหกรณท้ังปวงจะตองรวมมือกันอยางกระตือรือรนในทุกๆ ดานท่ีปฏิบัติไดกับสหกรณอ่ืนๆ ในระดับทองถิ่น ระดับชาติ และระหวางประเทศ ท่ีมีจุดมุงหมายบรรลุถึงเอกภาพแหงการปฏิบัติของนักสหกรณท่ัวโลก

สหกรณสามารถใหบริการแกสมาชิกไดอยางมีประสิทธิผลสูงสุด และเสริมสรางความเขมแข็งใหแกขบวนการสหกรณได โดยการประสานความรวมมือกันในระดับทองถิ่น ระดับชาติ ระดับภูมิภาค และระดับนานาชาต ิ

7. Concern for Community Co-operatives work for the sustainable

development of their communities through policies approved by their members.

7. ความเอ้ืออาทรตอชุมชน สหกรณพึงดําเนินกิจกรรมเพ่ือการพัฒนาท่ี

ย่ังยืนของชุมชนตามนโยบายท่ีมวลสมาชิกใหความเห็นชอบ

Page 21: test

17 ปรัชญาสหกรณ อุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณ : การวิเคราะห และการประยุกตใช

หลักการสหกรณสากลปจจุบันท้ัง 7 ขอ ถือไดวาเปนหลักการของการดําเนินธุรกิจอยางย่ังยืน ซ่ึงผูเขียนขอแบงเปน 3 ชวงของการนําไปปฏิบัติ ดังภาพท่ี 2

ภาพที่ 2 หลักการสหกรณ 7 ขอ : หลักการของการดําเนินธุรกิจอยางย่ังยืน

พัฒนาใหย่ังยืน

บํารุงรักษาเริ่ม

หลักขอที่ 1 เปดรับสมาชกิท่ัวไปและโดยใจสมัคร

หลักขอที่ 2 การควบคุมโดยสมาชิก ตามหลักประชาธิปไตย

หลักขอที่ 3การมีสวนรวมทาง เศรษฐกิจของสมาชิก

หลักขอที่ 4 การปกครองตนเอง และความเปนอิสระ

หลักขอท่ี 5 การใหการศึกษา ฝกอบรม และขาวสารขอมูล หลักขอท่ี 6 การรวมมือระหวางสหกรณ

หลักขอที่ 7 ความเอ้ืออาทรตอชุมชน

Page 22: test

18 คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

วิเคราะหหลักการสหกรณ การเปลี่ยนแปลงและสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงของหลักการสหกรณสากล หลักการสหกรณขอท่ี 1 การเปดรับสมาชิกท่ัวไปและดวยความสมัครใจ ในหลักการสหกรณขอน้ี เนื้อหาสวนใหญคลายกับหลักการสหกรณเดิมแตเพ่ิมคําวา ปราศจากการกีดกันทางเพศ ท่ีเปนเชนนี้เพราะสังคมโลกไดมีการพูดถึงสิทธิมนุษยชนมากข้ึน สตรีเรียกรองสิทธิความเทาเทียมกับบุรุษ และในอดีตผูท่ีเปนสมาชิกสหกรณมักจะเปนบุรุษซึ่งเปนหัวหนาครอบครัว เม่ือหัวหนาครอบครัวไมอยู (เสียชีวิต, ไปทํางานตางประเทศ หรือติดภารกิจอ่ืน) คนในครอบครัวก็ไมสามารถกอนิติกรรมสัญญาใดๆ กับสหกรณได จึงทําใหเปนปญหาในทางปฏิบัติ ดังนั้นเพ่ือใหปญหาน้ีคล่ีคลายไป จึงมีการเพ่ิม “การไมกีดกันทางเพศ” เขาไปในหลักการสหกรณขอท่ี 1 ดังนั้นหลักการสหกรณขอท่ี 1 น้ี จึงเปนการเนนใหเห็นวา การเปดรับสมาชิกสหกรณเปนการรับบุคคลท่ีมีความสมัครใจท่ีจะใชบริการของสหกรณ และเต็มใจรับผิดชอบในฐานะสมาชิก ซ่ึงจะไมมีการกีดกันไมวาบุคคลน้ันจะเปนเพศหญิงหรือเพศชาย ไมวาจะอยูในสังคมตางกัน เชน จะรวยหรือจนหรือคนละวรรณะก็เปนสมาชิกสหกรณได จะตางเชื้อชาติหรือนับถือศาสนาท่ีตางกัน ความเห็นทางการเมืองท่ีตางกันก็เปนสมาชิกสหกรณได หลักการสหกรณขอท่ี 2 การควบคุมโดยสมาชิกตามหลักประชาธิปไตย สืบเนื่องมาจากหลักการสหกรณขอท่ี 1 เม่ือใหโอกาสบุรุษและสตรีเขามาเปนสมาชิกสหกรณไดแลว ก็ใหโอกาส ท้ังบุรุษและสตรีมีสิทธิไดรับเลือกใหเปนผูแทนสมาชิก (เปนคณะกรรมการ) ในสหกรณข้ันปฐม ซ่ึงทําหนาท่ีกําหนดนโยบายและตัดสินใจในกิจการสหกรณแทนสมาชิก สวนสหกรณระดับอ่ืนก็ใหดําเนินการไปตามแนวประชาธิปไตยดวยเชนกัน ดังนั้นหลักการสหกรณขอท่ี 2 จึงเปนการเนนใหเห็นวา ตองมีการใชหลักประชาธิปไตยในการดําเนินงานของสหกรณ เพราะเม่ือมีการรับสมัครสมาชิกตามขอท่ี 1 แลว จะตองมีการประชุมเพ่ือใหสมาชิกไดใชสิทธิออกเสียง (ตามหลักประชาธิปไตย) ในการคัดเลือกคณะกรรมการ หรือผูแทนของสมาชิกมาดําเนินธุรกิจของสหกรณ โดยสมาชิกทุกคนจะมีสิทธิในการออกเสียงเทาเทียมกัน คือ หน่ึงคนหนึ่งเสียง (one man one vote) และยังมีสิทธิและหนาท่ีในการกําหนดนโยบายการดําเนินงานของสหกรณในท่ีประชุมใหญ รวมตัดสินใจในการกําหนดแผนงานในสหกรณข้ันปฐม นอกจากน้ันสมาชิกก็สามารถใชสิทธิเลือกผูแทนของตนไปประชุมเพ่ือออกเสียงแทนได โดยบุรุษและสตรีมีสิทธิ์ไดรับเลือกเปนผูแทนสมาชิกไดเทาเทียมกัน สวนสหกรณระดับอ่ืนก็ใหดําเนินการไปตามแนวประชาธิปไตยดวยเชนกัน หลักการสหกรณขอท่ี 3 การมีสวนรวมทางเศรษฐกิจโดยสมาชิก หลักการสหกรณขอนี้เปนการรวมหลักการสหกรณสากลเดิมขอ 3 และขอ 4 เขาดวยกันเพราะเห็นวาเปนเร่ืองเกี่ยวของกับเงินเหมือนกัน และเพิ่มเติมการจัดสรรเงินสวนเกิน คือ เพ่ือเปนทุนสํารองตามกฎหมายซ่ึงสมาชิกตองไมนํามาแบงปนกัน และจัดสรรเพ่ือสนับสนุนกิจกรรมอ่ืนใดท่ีมวลสมาชิกเห็นชอบ ซ่ึงการเพ่ิมเติมสวนนี้เปนการเปดโอกาสใหการใชจายเงินสวนเกินสามารถสนับสนุน หลักการสหกรณขอ 7 ดวย

Page 23: test

19 ปรัชญาสหกรณ อุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณ : การวิเคราะห และการประยุกตใช

ดังนั้นหลักการสหกรณขอท่ี 3 จึงเปนการชี้ใหเห็นวา เม่ือรับสมาชิกเขามาแลว (ตามหลักขอท่ี 1) มีการคัดเลือกคณะกรรมการดําเนินการแลว (ตามหลักการสหกรณขอท่ี 2) สหกรณจะอยูเฉยๆ ไมไดตองมีการดําเนินธุรกิจ (แยกตามประเภทของสหกรณ) เพราะสมาชิกสหกรณเปนท้ังเจาของสหกรณและเปนผูใชบริการจากสหกรณ เปนผูควบคุมสหกรณดวย ในฐานะท่ีเปนเจาของสหกรณตองเปน “ผูให” อยางเท่ียงธรรม คือ ตองถือหุนเปนการลงทุนในธุรกิจของตน โดยมูลคาหุนของแตละสหกรณอาจจะไมเทากัน โดยมีท้ังหุนเม่ือแรกเขา หุนระหวางการเปนสมาชิก และหุนเพ่ิมขณะใดขณะหนึ่งท่ีสมาชิกตองการ ถือวาเปนการรวมทุนภายในของสหกรณโดยสมาชิกเอง เชน ในสหกรณทุกประเภท สมาชิกทุกคนตองถือหุนเมื่อแรกเขา และ “ให” การลงทุนในสหกรณแตกตางกันในสหกรณแตละประเภทขึ้นอยูกับขอบังคับและระเบียบของสหกรณน้ันๆ เชน สหกรณออมทรัพย อาจจะกําหนดไววาสมาชิกแตละคนตองจายเงินคาหุนข้ันต่ําแตละเดือนในระหวางการเปนสมาชิกตามอัตราเงินเดือนท่ีแตกตางกันของแตละคนก็ได สหกรณการเกษตร อาจจะกําหนดไววาสมาชิกแตละคนตองถือหุนเพ่ิมตามสวนแหงเงินกูแตละคร้ัง สหกรณการเกษตรรูปพิเศษ เชน สหกรณการเกษตรในเขตปฏิรูปท่ีดิน อาจจะกําหนดไววา สมาชิกแตละคนตองถือหุนเพ่ิมตามสวนแหงเงินกูแตละครั้ง และตามสวนแหงท่ีดินท่ีถือครอง เปนตน เม่ือลงทุนในสหกรณเปนทุนภายในแลว สมาชิกก็มีหนาท่ีท่ีจะตองมีสวนรวมในการดําเนินธุรกิจ เชน มาซื้อ - ขาย สินคากับสหกรณ มาฝากเงิน - กูเงินกับสหกรณ มาใชบริการท่ีสหกรณจัดไวให เม่ือสิ้นป การบัญชีก็จะมีการสรุปผลกําไร / ขาดทุนจากการดําเนินธุรกิจ โดยผานท่ีประชุมใหญของสมาชิก หากสหกรณมีกําไรหรือสวนเกินจากการดําเนินธุรกิจก็จะตองนํามาจัดสรรใหเกิดความเท่ียงธรรมตามแนวประชาธิปไตย โดยเงินสวนเกินนั้นอยางนอยตองควบคุมการ “ใช” โดยจัดสรรใหเกิดประโยชน ดังนี้ 1. เพ่ือพัฒนาสหกรณของตน หมายความวา ตองพัฒนาท้ังวัตถุ (อาคาร สํานักงาน วัสดุ อุปกรณ ฯลฯ) และพัฒนาคนในสหกรณ (ใหความรูและโอกาสในการศึกษา อบรม สัมมนา ฯลฯ แกสมาชิก คณะกรรมการ ผูจัดการ เจาหนาท่ีสหกรณ ฯลฯ) 2. จัดใหเปนทุนสํารองตามกฎหมาย ซ่ึงทุนสวนนี้จะนํามาแบงปนกันไมได (ในกรณีของประเทศไทย เงินสวนหนึ่งจะจัดสรรเปนเงินบํารุงสันนิบาตสหกรณดวย) 3. เพ่ือประโยชนแกสมาชิกตามสวนของปริมาณธุรกิจท่ีทํากับสหกรณ หมายถึง 3.1 จายปนผลใหสมาชิกตามสวนของหุนท่ีมีอยูในสหกรณ 3.2 จายเฉล่ียคืนใหสมาชิกตามสวนของปริมาณธุรกิจท่ีทํากับสหกรณ เชน ตามสวนแหง ดอกเบ้ียเงินกู / เงินฝาก / ปริมาณการซื้อ / ปริมาณการขาย / ปริมาณการใชบริการ เปนตน

4. เพ่ือสนับสนุนกิจกรรมอ่ืนใดท่ีมวลสมาชิกเห็นชอบ เชน การดําเนินงานดานสิ่งแวดลอม ของสหกรณ การชวยเหลือสมาชิกและชุมชนของสหกรณ เปนตน

Page 24: test

20 คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

หลักการสหกรณขอท่ี 4 การปกครองตนเองและความเปนอิสระ หลักการสหกรณขอน้ีไมมีในหลักการสหกรณสากลเดิมเปนการเพ่ิมเติมใหมท้ังหมด ท้ังนี้สืบเนื่องมาจากตลาดการคาของโลกไดเปล่ียนแปลงเปนการคาแบบเสรี การลดการอุดหนุนสินคาเกษตรของรัฐบาลหลายประเทศ การทบทวนกฎเกณฑทางการเงิน การอุตสาหกรรม และการเมือง ทําใหสหกรณท่ัวโลกตองเผชิญหนากับธุรกิจขามชาติ ท่ีมีความไดเปรียบท้ังทางดานเงินทุนและสิทธิทางกฎหมาย ประกอบกับสหกรณตองทําธุรกิจกับเอกชน และกูยืมเงินจากแหลงทุนภายนอกมากข้ึน จึงจําเปนตองกําหนดหลักการสหกรณขอน้ีเอาไว เพ่ือปองกันไมใหเกิดการครอบงําทางการเมือง ครอบงําการดําเนินงาน และครอบงําทางการเงินจากผูท่ีสหกรณตองไปเกี่ยวของดวย หลักการสหกรณขอท่ี 5 การศึกษา การฝกอบรม และขอมูลขาวสาร หลักการสหกรณขอน้ีไดเพิ่มเติมคําวา การฝกอบรม และขอมูลขาวสารเขามา ท้ังนี้เพ่ือใหสอดคลองกับการเปล่ียนแปลงทางการศึกษาของโลกท่ีแบงการศึกษาออกเปน 3 ระบบ คือ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ดังนั้นหลักการสหกรณสากลขอ 5 จึงกําหนดใหสหกรณพึงใหการศึกษา (เปนการศึกษาในระบบ ซ่ึงสวนมากเรียนในสถาบันการศึกษา 1 ปข้ึนไป มีหลักสูตรการศึกษา และเม่ือเรียนสําเร็จก็ไดรับประกาศนียบัตร วุฒิบัตร ปริญญาบัตร ฯลฯ เพ่ือแสดงการจบการศึกษา) การฝกอบรม (เปนการศึกษานอกระบบ ซ่ึงมักจะจัดในระยะเวลาส้ันๆ เฉพาะเรื่อง และเฉพาะกลุม) และขอมูลขาวสาร (เปนการศึกษาตามอัธยาศัย ท่ีผูเรียนสามารถเรียนรูไดดวยตนเองจากส่ือตางๆ เชน อินเตอรเน็ต โทรทัศน วิทยุ หนังสือพิมพ แผนพับ ฯลฯ โดยไมจําเปนตองศึกษาในช้ันเรียน) ในหลักการสหกรณขอน้ียังไดเพ่ิมเติมวา ผูท่ีควรจะตองไดรับการศึกษา ฝกอบรม และรับขอมูลขาวสาร คือ สมาชิก ตัวแทนสมาชิก ผูจัดการสหกรณ พนักงาน เยาวชน และบรรดาผูนําทางดานความคิด (ผูนําชุมชน ผูนําทางศาสนา ฯลฯ) ท้ังนี้เพ่ือเปนการปูพ้ืนฐานความเขาใจ ในขบวนการสหกรณใหกับเยาวชน และเปนการใหความรูท่ีถูกตองแกผูนําดานความคิด และผูท่ีเก่ียวของ เพ่ือประโยชนในการขยายความรูความเขาใจเก่ียวกับการสหกรณอยางกวางขวาง หลักการสหกรณขอท่ี 6 ความรวมมือระหวางสหกรณ ในหลักการสหกรณขอน้ี ไดเพ่ิมเติมความรวมมือระหวางสหกรณใน “ระดับภูมิภาค” เขามา ท้ังนี้เพราะมีการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศในภูมิภาคเอเชีย ยุโรป กลุมลาตินอเมริกาบางสวน และแอฟริกา ทําใหเกิดความแตกตางในโอกาสของการเติบโตในขบวนการสหกรณ ดังนั้นจึงจําเปนตองกําหนด ความรวมมือระหวางสหกรณในระดับภูมิภาคเพ่ิมมาจากระดับทองถิ่น ระดับชาติ และระดับนานาชาติ เอาไวดวย

Page 25: test

21 ปรัชญาสหกรณ อุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณ : การวิเคราะห และการประยุกตใช

ในหลักการสหกรณขอ 6 น้ี เปนการชี้ใหเห็นวาสหกรณทุกประเภทสามารถรวมมือกันในทางธุรกิจได โดยอาจจะรวมมือท้ังในแนวดิ่ง (แนวตั้ง) และแนวนอนก็ได เชน ซ้ือ - ขาย - แลก - เปล่ียน สินคาระหวางกัน กู/ยืม เงินระหวางกัน หรือรวมมือดานขอมูลขาวสาร เปนตน ดังแผนภูมิท่ี 2 ความรวมมือในแนวด่ิง คือ ความรวมมือตางระดับ ดังน้ี ความรวมมือในแนวนอน คือ ความรวมมือในระดับเดียวกัน ดังน้ี

แผนภูมิท่ี 2 : ความรวมมือระหวางสหกรณ

สหกรณการเกษตร

สหกรณรานคา

สหกรณออมทรัพย

สหกรณนิคม

สหกรณประมง

สหกรณเครดติยูเน่ียน

สหกรณออมทรัพย

สหกรณบริการ

ระดับนานาชาติ

ระดับภูมิภาค

ระดับทองถิ่น

ระดับชาติ

..........................สหกรณท่ัวโลก

..........................สหกรณภูมิภาคเอเชีย, ภูมิภาคยุโรป ฯลฯ

..........................ชุมนุมสหกรณ

.........................สหกรณในจังหวดั

Page 26: test

22 คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

หลักการสหกรณขอท่ี 7 ความเอ้ืออาทรตอชุมชน หลักการสหกรณขอน้ีกําหนดข้ึนมาใหม เน่ืองจากเกิดปญหาทางดานส่ิงแวดลอมท่ัวโลก ดังนั้นท่ีประชุมสหประชาชาติวาดวยส่ิงแวดลอมและการพัฒนา (The United Nations Conference on Environment and Development : UNCED) ท่ีกรุงริโอ เดอ จาเนโร ประเทศบราซิล ในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1992 จึงไดอนุมัติแผนปฏิบัติการท่ี 21 (Agenda 21) เพ่ือเปนแนวทางใหประเทศตางๆ ในโลก นําไปปรับใชตามลําดับความสําคัญกอนหลัง เพ่ือใหสอดคลองกับปญหาและความจําเปนของแตละทองถิ่น แนวทางการดําเนินงานตางๆ ตามท่ีระบุไวในแผนปฏิบัติการ 21 ไดกําหนดไวสําหรับใชในปจจุบัน ไปจนกระท่ังถึงศตวรรษท่ี 21 ดังนั้น ในสวนของสหกรณ องคการสัมพันธภาพสหกรณระหวางประเทศ (ICA) จึงไดประชุมรับเอาแผนปฏิบัติการท่ี 21 มาปรับใชในขบวนการสหกรณ ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1992 (พ.ศ. 2535) ตอมาไดประกาศแถลงการณวาดวยเอกลักษณของการสหกรณ (Statement on Cooperative Identity) ในเดือนกันยายน ค.ศ. 1995 (พ.ศ. 2538) ซ่ึงมีผลมาจากการประชุมสมัชชาครั้งท่ี 31 ท่ีเมืองแมนเชสเตอร ประเทศอังกฤษ และในแถลงการณดังกลาวไดกลาวถึงสหกรณ 3 ประเด็น คือ คํานิยาม คานิยม และหลักการสหกรณ ซ่ึงในหลักการสหกรณสากลคร้ังนี้ไดเพิ่มเติม “ความเอ้ืออาทรตอชุมชน” เขามาเปนหลักการขอท่ี 7 และถือปฏิบัติตั้งแต ค.ศ. 1996 (พ.ศ. 2539) เปนตนมา โดยหลักการสหกรณขอน้ีไดกําหนดวิธีปฏิบัติในสหกรณแตละประเภทไวใน Co-operative Agenda 21 ซ่ึงกําหนดใหสมาชิกสหกรณในสหกรณทุกประเภท มีการเรียนรูและดําเนินการในดานการพัฒนาท่ีย่ังยืน และอนุรักษส่ิงแวดลอม โดยแบงออกเปน 9 สวน (หรือสหกรณ 9 ประเภทท่ัวโลก) คือ (ICA, 1996) สวนท่ี 1 ภาคการเกษตร (Agricultural Sector) สวนท่ี 2 ภาครานคา (Consumer Sector) สวนท่ี 3 ภาคการประมง (Fisheries Sector) สวนท่ี 4 ภาคการเคหะสถาน (Housing Sector) สวนท่ี 5 ภาคอุตสาหกรรม/หัตถกรรม (Industrial / Handicraft Sector) สวนท่ี 6 ภาคการทองเท่ียว (Tourism Sector) สวนท่ี 7 ภาคการพลังงาน (Energy Sector) สวนท่ี 8 ภาคการเงิน/เครดิต (Financial Sector) สวนท่ี 9 ภาคการศึกษา การส่ือสาร และการเอาใจใสดูแลสาธารณะ (Education, Communication and Public Awareness) ในท่ีน้ีจะกลาวถึงเฉพาะในภาคการเงิน / เครดิต (Financial Sector) ซ่ึง ICA ไดอธิบายเหตุผลท่ีสหกรณตองเอ้ืออาทรตอชุมชนไววา “สมาชิก ICA ประมาณรอยละ 33 เปนสมาชิกท่ีอยูในสหกรณการเงิน (financial co-operatives) ไมวาจะเปน ธนาคารสหกรณ (co-operative banks) สหกรณออมทรัพย (savings and credit co-operatives) สหกรณประกันภัย (insurance co-operatives) และอ่ืนๆ ดังน้ันเคร่ืองสงเสริมทางเศรษฐกิจท่ีจะนําไปสูการดูแลสิ่งแวดลอมอยางไดผล โดยผานทางดานการเงิน สหกรณจะตองสามารถทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในทัศนคติและนโยบายการใชจายเงินได”

Page 27: test

23 ปรัชญาสหกรณ อุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณ : การวิเคราะห และการประยุกตใช

ฉะนั้น จึงไดมีการกําหนดวัตถุประสงคในการดําเนินงาน (Objectives) ไววา “สหกรณออมทรัพย ตองมีการสงเสริมใหเกิดความปลอดภัยในดานสิ่งแวดลอมและการพัฒนาท่ีย่ังยืน โดยใชกลไกดานการเงิน” พรอมท้ังกําหนดวิธีการดําเนินการ (Methods) ไว 2 ขอ คือ 1. นําเอานโยบายส่ิงแวดลอมมาใชในสหกรณโดยยึดหลักธรรมะ 2. สงเสริมและกอใหเกิดนวัตกรรมดานการเงินใหม เพ่ือจะไดนําไปสงเสริมในดานส่ิงแวดลอมและการพัฒนาท่ีย่ังยืน

ซ่ึงหลักการสหกรณขอ 7 น้ี คนในวงการสหกรณยังนําไปใชไมครบถวน และไมถูกตองนักเพราะสวนใหญเขาใจวาเปนการเอื้ออาทรตอชุมชนในแงของการชวยเหลือสมาชิก การบริจาค เชนใหทุนการศึกษา บริจาคสรางถนน วัด โตะ เกาอ้ี บริจาคชวยเหลือผูประสบภัยธรรมชาติ และอ่ืนๆ

ดังนั้นปญหาของผูท่ีเก่ียวของกับสหกรณ ก็คือจะนําหลักการสหกรณ ท้ัง 7 ขอ ไปใชปฏิบัติจริงไดอยางไร คําตอบคือ นําไปใชโดยผาน “วิธีการสหกรณ” ซ่ึงจะไดกลาวตอไป

5. การวิเคราะหวิธีการสหกรณ

วิธีการสหกรณ คือ “การนําหลักการสหกรณมาใชในการดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ และสังคม เพ่ือประโยชนของมวลสมาชิก โดยไมละเลยหลักการบริหารธุรกิจ” ดังนั้น เม่ือสหกรณในประเทศไทยแบงออกเปน 6 ประเภท จึงมีการนําหลักการสหกรณมาใชในทางปฏิบัติแตกตางกันในแตละประเภท เชน การจัดตั้ง การระดมทุน การบริหารงาน การดําเนินธุรกิจ การสงเสริมประโยชนทางเศรษฐกิจของสมาชิก และการเอ้ืออาทรตอชุมชน โดยกําหนดวิธีปฏิบัติไวในกฎหมาย หรือ พ.ร.บ.ขอบังคับ ระเบียบขอตกลงและสัญญาของสหกรณ ยกตัวอยางเชน สหกรณประเภทสหกรณออมทรัพย

Page 28: test

24 คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

สวัสดิการสังคม

คณะผูจัดต้ังต้ังแต 10 คนข้ึนไป เพื่อทํากิจกรรมรวมกันทางดานเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดลอม

ชวยเหลือซึ่งกันและกัน

กิจกรรมดานเศรษฐกิจ กิจกรรมดานสังคมและส่ิงแวดลอม

สหกรณออมทรัพย

ชวยตนเอง

รับฝากเงิน ใหกูเงิน (สินเชื่อ)

ใหบริการ กีฬาเพื่อสุขอนามัย จริยธรรม สิ่งแวดลอม

- ขยัน - ประหยัด - ซื่อสัตย - อดทน - มีวินัย

เสียสละ

- เงิน / ทรัพยสิน - เวลา - แรงงาน - ความรู

แบงปน

- ผลได (กําไร) - น้ําใจ (ความ หวงใยอาทร)

Page 29: test

25 ปรัชญาสหกรณ อุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณ : การวิเคราะห และการประยุกตใช

กิจกรรมทางดานสังคมและสิ่งแวดลอม

กีฬาเพ่ือสุขอนามัยและหางไกลยาเสพติด

จริยธรรม ส่ิงแวดลอม สวัสดิการสังคม

- สนับสนุนอุปกรณกีฬา แกเยาวชน - สรางกิจกรรมออก กําลังกายรวมกันของ สมาชิกสหกรณ

- ปลูกฝงจิตสํานึกดานศึกษาศีลธรรม จริยธรรมใหแกเยาวชนและผูนําดานความคิด สมาชิกผูแทนสมาชิก คณะกรรมการ พนักงาน ผูจัดการและผูตรวจสอบกิจการสหกรณ

- ปลูกฝงจิตสํานึกดานสิ่งแวดลอม เชน การประหยัดพลังงาน, ทรัพยากร การนําของเหลือกลับมาใชใหม

- ทุนการศึกษาใหแกบุตรของสมาชิก - ทุนการศึกษา (เพ่ิมวุฒิ) แกพนักงานสหกรณ ผูจัดการสหกรณ - ทุนฝกอบรม / ศึกษาดูงานเกี่ยวกับสหกรณ ใหแกสมาชิก / ผูแทนสมาชิก คณะกรรมการ พนักงาน ผูจัดการและผูตรวจสอบกิจการสหกรณ - ทุนสงเคราะหศพสมาชิก - ทุนสาธารณะประโยชนอื่นๆ - ทุนฝกอบรมอาชีพเพ่ือเสริมรายไดใหแกสมาชิก

ฯลฯ

กิจกรรมดานเศรษฐกิจ

รับฝากเงิน สินเชื่อ ใหบริการ

- ประเภทออมทรัพย - ประเภทประจํา

- เงินกูเพ่ือเหตุฉุกเฉิน - เงินกูสามัญ - เงินกูพิเศษ

- ชําระคาโทรศัพท - ชําระคาน้ํา / คาไฟฟา

ฯลฯ

Page 30: test

26 คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

โดยมีโครงสรางการจัดองคการของสหกรณ ดังภาพที่ 3

ภาพท่ี 3 โครงสรางการจัดองคการของสหกรณออมทรัพย

ประชาสัมพันธ สวัสดิการ ส่ิงแวดลอม จริยธรรม กีฬา

ผูชวยผูจัดการ ผูชวยผูจัดการ

เลือกต้ังคณะกรรมการดําเนินการ

ที่ประชุมใหญ

ผูจัดการ

ผูตรวจสอบกิจการ

จัดจาง

รองผูจัดการ

สมาชิก สมาชิก สมาชิก

สินเชื่อ บัญชี การเงิน

Page 31: test

27 ปรัชญาสหกรณ อุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณ : การวิเคราะห และการประยุกตใช

จากตัวอยางท่ียกมาคราวๆ จะเห็นไดวา “วิธีการสหกรณ” เปนการนําหลักการสหกรณท้ัง 7 ขอ มาปฏิบัติ โดยผานตามข้ันตอนการดําเนินงานตามอุดมการณสหกรณ และไปตามโครงสรางการจัดองคกรของแตละสหกรณ ท้ังนี้โดยผานกฎหมายหรือพ.ร.บ. ขอบังคับ ระเบียบ ขอตกลง และสัญญา ฯลฯ ของแตละสหกรณ โดยมีศีลธรรม จริยธรรม กํากับการปฏิบัติ เม่ือวิเคราะหเจาะลึกโดยแบงเปนหมวดหมู จะพบวา “วิธีการสหกรณ” คือ การนําหลักการสหกรณมาใชโดยแบงเปน 3 ข้ันตอน คือ (3 กลุม) 1. ข้ันเริ่มดําเนินการ โดยใชหลักการสหกรณขอ 1, 2 และ 5 2. ข้ันบํารุงรักษา โดยใชหลักการสหกรณขอ 3, 4 3. ข้ันพัฒนาใหย่ังยืน โดยใชหลักการสหกรณขอ 5, 6 และ 7

โดยท้ัง 3 ข้ันตอนนี้มีเครื่องมือท่ีนํามาใชกํากับการปฏิบัติ 3 ดาน คือ (3 มุม) 1. ดานกฎหมายและขอบังคับ เชน พ.ร.บ.สหกรณ, ขอบังคับ, ระเบียบ เปนตน 2. ดานเศรษฐกิจ เชน การทําธุรกิจรวมกันเพ่ือชวยตนเอง และชวยเหลือซ่ึงกันและกันเม่ือมี สวนเกินจากการทําธุรกิจก็นํามาจัดสรรคืนสมาชิกอยางเหมาะสม หรือถาทําผิดกฎ ระเบียบ ขอตกลง ก็มีการปรับหรือฟองรองเรียกคาเสียหายได 3. ดานสังคม เชน มีจิตสํานึกในการรวมกิจกรรมของสหกรณ รูจักใชสิทธิและหนาท่ีของตน บนความเปนประชาธิปไตยในการดําเนินธุรกิจสหกรณและมีจิตสํานึกในการดูแลสังคม และสิ่งแวดลอม โดยมีศีลธรรมและจริยธรรมกํากับ จะเห็นไดวา การดําเนินงานท้ัง 3 กลุม (3 ข้ันตอน) มี 3 มุม (3 ดาน) เขามาเกี่ยวของเสมอ จะขาดกลุมใดกลุมหน่ึงหรือมุมใดมุมหน่ึงไปไมได ดังนี้

Page 32: test

28 คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

วิเคราะหวิธีการสหกรณ

การใชหลักการสหกรณมี 3 ขั้นตอน

หลักการสหกรณ ท่ีใช

เคร่ืองมือท่ีใชกํากับการปฏิบัติ มี 3 ดาน อุดมการณสหกรณ

ขั้นท่ี 1 เร่ิมดําเนินการ / จัดต้ังสหกรณ * อาจจะเริ่มจากหลักการสหกรณขอ 5 คือ มีการใหขอมูลขาวสารเ ก่ี ย วกั บ “สหกรณ ” กั บ ผู ท่ีตองการจะเปนสมาชิกสหกรณก อน เ พ่ื อ เขาจะได มีความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับสหกรณ เชน อาจจะมีการประชุม แจกแผนพับ ออกขาวในวิทยุ โทรทัศน หรือวิทยุชุมชน เปนตน * เมื่อเขาเขาใจพอสมควร ก็สามารถสมัครเขามาเปนสมาชิก โดยรวมกลุมคนท่ีมีความตองการตรงกัน ซึ่งบุคคลท่ีรวมกลุมกันนี้ตองเปนบุคคลธรรมดา และบรรลุนิ ติภาวะ ซึ่ งบุคคลแตละคนท่ีสมัครเขามาเปนสมาชิก และเต็มใจรับผิดชอบในสหกรณนี้ จะไมถูกกีดกัน ไมวาบุคคลนั้นจะเปนเพศชายหรือเพศหญิง จะอยูในสังคมตางกัน หรือจะตางเชื้อชาติ ตางศาสนาก็เปนสมาชิกสหกรณได หรื อแม แต มี ความ เห็ นทางการเมืองที่ตางกันก็เปนสมาชิกสหกรณ ได เช นเดี ยวกั นตามหลักการสหกรณขอท่ี 1

ขอ 1,2,5 ขอที่ 5 ขอที่ 1

* การใชเครื่องมือกํากับการปฏิบัติท้ัง 3 ดานนี้อาจจะใชพรอมๆ กันในแตละขั้นตอนการดําเนินงานหรืออาจจะใชดานใดดานหนึ่งในขณะ หนึ่งก็ได เชน ในขั้นเริ่มดําเนินการ : * ใชดานกฎหมายและขอบังคับ - การจัดตั้ง : เปนไปตามพ.ร.บ.สหกรณ - คุณสมบัติของสมาชิก : เปนไปตามขอบังคับ

* การชวยตนเองและชวยเหลือซึ่งกันและกันตามอุดมการณสหกรณ โดยมากมักจะนํามาใชในลักษณะของศีลธรรมและจริยธรรมกํากับการปฏิ บั ติตามหลักการสหกรณ * มีวินัย และใชอิทธิบาท 4

Page 33: test

29 ปรัชญาสหกรณ อุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณ : การวิเคราะห และการประยุกตใช

การใชหลักการสหกรณมี 3 ขั้นตอน

หลักการสหกรณ ท่ีใช

เคร่ืองมือท่ีใชกํากับการปฏบัิติ มี 3 ดาน

อุดมการณสหกรณ

* เ ม่ือสมัครเข ามาเปนสมาชิกสหกรณก็จะมีสิทธิ และหนาท่ี ดังนี้ สิทธิ - เขารวมประชุมแสดงความคิดเห็น - ออกเสียงเลือกต้ังกรรมการ และมีสิทธิไดรับเลือกเปนกรรมการใน ท่ี ป ร ะชุ ม ใหญ (ตามหลั กประชาธิปไตย) - เลือกผูแทนของตนไปประชุมเพ่ือออกเสียงแทน โดยสตรีมีสิทธิไดรับเลือกเทาเทียมกับบุรุษ - สอบถามการดําเนินงาน ขอดูเอกสารและรายงานประชุมของสหกรณได หนาท่ี - เขารวมประชุมทุกๆครั้ง โดยเฉพาะอยางยิ่งการประชุมใหญของสหกรณ - ทําธุ รกิจกับสหกรณ ท้ั งในฐ า น ะ เ ป น เ จ า ข อ ง แ ล ะ เ ป นผูใชบริการ นั่นคือ ตองมีการลงทุน (ถือหุน/ฝากเงิน) และใชบริการของสหกรณ (กูเงินและใชบริการอื่นๆ) เม่ือมีสวนเกินก็นํามาพิจารณาจัดสรรคืนสมาชิก สิทธิและหนาท่ี - กําหนดนโยบายและแผนการดําเนินงานของสหกรณในท่ีประชุมใหญ * ดังนั้นเมื่อสมาชิกรู สิทธิ หนาท่ีของตน และคณะกรรมการจัดต้ังไดยื่ น ขอ จั ดตั้ ง สหกรณ ต อน ายทะเบียนสหกรณจนไดรับอนุมัติใหจัดต้ังได สมาชิกทุกคนตองใชสิทธิและหนาท่ีของตนใหสมบูรณ

ขอท่ี 2 * ใชดานสังคม - มีจิตสํานึกในการเลือกคนดีเขามาเปนกรรมการไมใชเลนพรรคเลนพวกเพ่ือเขามาแสวงหาผลประโยชนในสหกรณ - มีจิตสํานึกในการเปนสมาชิกที่จะตองเขารวมประชุม โดยเฉพาะอยางยิ่งการประชุมเพ่ือใชสิทธิและหนาท่ีของตนในทางที่เหมาะสม * ใชดานเศรษฐกิจ - ลงทุนในสหกรณ เชน ถือหุน ฝากเงิน เพ่ือแสดงความเปนเจาของธุรกิจ (สหกรณ) - กู ยื มเงิน ใชบริการอื่ นๆ ของสหกรณ เ พ่ื อแสดงความ เป นผูใชบริการของสหกรณ - จัดสรรเงินสวนเกินคืนสมาชิก เพ่ือแสดงความเปนธุรกิจแบบสหกรณ

* ใชอิทธิบาท 4 ในการชวยตนเอง * ใช สังคหวัตถุ 4 ในการชวยเหลือซึ่ งกันและกัน

Page 34: test

30 คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

การใชหลักการสหกรณมี 3 ข้ันตอน

หลักการสหกรณ ท่ีใช

เคร่ืองมือท่ีใชกํากับการปฏบัิติ มี 3 ดาน

อุดมการณสหกรณ

ขั้นท่ี 2 ข้ันบํารุงรักษา * ดั ง ได กล าว ในช ว งวิ เ คราะหหลักการสหกรณแลววา เมื่ อรับสมาชิกสหกรณเขามา (ตามหลักการขอท่ี 1) มีการคัดเลือกคณะกรรมการดําเนินการแลว (ตามหลักการขอท่ี 2) สหกรณจะอยู เฉยๆ โดยไมทําธุรกิจไมได เพราะสมาชิกสหกรณเปนท้ังเจ าของสหกรณและเปนผู ใช บริ การจากสหกรณ เป น ผูควบคุมสหกรณดวย ดังนั้นในฐานะเจาของสหกรณจะตองเปนผู “ให” อยางเท่ียงธรรม คือ ตองลงทุนในธุ ร กิ จของตนโดยการถื อหุ นในสหกรณ ซึ่งจะมีท้ังหุนเมื่อแรกเขา หุนระหวางการเปนสมาชิก และถือหุนเพ่ิมตามท่ีตองการ นอกจากนั้นตองมีสวนรวมในการดําเนินธุรกิจ คื อ ร วมวางแผน และกํ าหนดนโยบายในการดําเนินงาน ในฐานะผูใหบริการของสหกรณ สมาชิกตองมาใชบริการของสหกรณ เชน มาซื้อ - ขายสินคากับสหกรณ มาฝากเงิน - กูเงินกับสหกรณ มาใชบริการอื่นท่ีสหกรณ จัดไวบริการ ในฐานะเจาของสหกรณ สมาชิกจะทําหนาท่ีควบคุมการ “ใช” จายเงิน และการจัดสรรเงินส วนเกินของสหกรณใหเกิดความเท่ียงธรรม โดยใหเปนไปตาม หลักการสหกรณขอ 3

ขอ 3,4 ขอท่ี 3

* ใชดานเศรษฐกิจ - ลงทุนในหุนของสหกรณ - ฝากเงิน (ออมเงิน) - กูเงิน - จัดสรรเงินสวนเกิน (กําไร) * ใชดานสังคม - ไมเลนพรรคเลนพวก - ไมจัดสรรประโยชนใหตัวเองจนลืมนึกถึงความพอดี พอประมาณ และ มี เหตุ มี ผล (นั่ น คื อ ความพอเพียง)

* ใช สังคหวัตถุ 4 ในการชวยตนเอง และใช สาราณียธรรม 6 ในการชวยเหลือซึ่งกันและกัน * มีหิ ริ โอตัปปะ คือ ความเกรงกลัว และละอายตอบาปจนไมก ล า ทุ จ ริ ต ห รื อประพฤติมิชอบในการร ว ม ทํ า ธุ ร กิ จ กั บสหกรณ ท้ั ง ในฐานะส ม า ชิ ก แ ล ะ ฐ า น ะคณะกรรมการ

Page 35: test

31 ปรัชญาสหกรณ อุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณ : การวิเคราะห และการประยุกตใช

การใชหลักการสหกรณมี 3 ข้ันตอน

หลักการ สหกรณ ท่ีใช

เคร่ืองมือท่ีใชกํากับการปฏิบัติ มี 3 ดาน

อุดมการณสหกรณ

ในกรณี ท่ีสหกรณ จัดสรรเงินสวนเกิน นอกเหนือจากหลักการสหกรณแตเปนไปตามขอบังคับและพ.ร.บ.สหกรณ เชน การกําหนดเงินโบนัส คณะกรรมการและเจาหนาที่ ฯลฯ ซึ่งมีสหกรณออมทรัพยหลายสหกรณไดจัดสรรเงินสวนเกินไวดังนี้ 1. จัดสรรใหเปนไปตามหลักการสหกรณ ตามกฎหมายและขอบังคับสหกรณ เชน - ทุนสํารองตามกฎหมาย - เงินบํารุงสันนิบาตสหกรณ 2. จัดสรรใหสมาชิกตามหลักการสหกรณ ในรูปของเงินปนผลและเงินเฉลี่ยคืน เชน - เงินปนผลตามหุนท่ีชําระแลว - เงินเฉล่ียคืนตามอัตราสวนของธุรกิจท่ีสมาชิกกระทํากับสหกรณ 3. จัดสรรใหสมาชิก ตามหลักการสหกรณ เพ่ือพัฒนาสหกรณในรูปทุน สวัสดิการ และสาธารณ- ประโยชน เชน - ทุนรักษาระดับเงินปนผล - ทุนสะสมเพ่ือขยายกิจการ - ทุนสงเสริมการศึกษา - ทุ นส ง เสริ มสวั ส ดิ การของสมาชิก - ทุนสาธารณประโยชน 4 . จั ดสรร ให ก ร รมการและเจาหนาท่ีของสหกรณในรูปของเงินโบนัส

* ใชดานกฎหมายและขอบังคับ - การ “ให ” คื อการลงทุ น ในสหกรณ หรือทําธุรกิจกับสหกรณ และการ “ใช” คือ การจัดสรรเงินสวนเกินของสหกรณตองเปนไปตาม หลักการสหกรณ กฎหมาย ขอบังคับ และระเบียบของสหกรณ - การผิดสัญญาหรือผิดขอตกลงที่ทําไวกับสหกรณก็อาจจะตองมีการปรับ การดําเนินคดีตามกฎหมาย

Page 36: test

32 คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

การใชหลักการสหกรณมี 3 ข้ันตอน

หลักการสหกรณ ท่ีใช

เคร่ืองมือท่ีใชกํากับการปฏิบัติ มี 3 ดาน

อุดมการณสหกรณ

ในการจัดสรรเงินสวนเกินนี้ สหกรณอาจจะตองเพ่ิมในเรื่องทุนสนับสนุนดานกีฬา, จริยธรรมและดานส่ิงแวดลอมใหชัดเจน โดยมีกิจกรรมรองรับเพ่ือใหสอดคลองกับหลักการสหกรณขอท่ี 7 * ในการทําธุ รกิ จของสหกรณ อาจจะตองมีการพ่ึงพาหนวยงานของรัฐบาล หรือมีการไปกูยืมเงินจากสหกรณอื่น / สถาบันการเงินอื่น หรือใหสถาบันการเงินอื่นกูยืม หรือไปรวมลงทุน / รวมทําธุรกิจกับเอกชน คณะกรรมการต องใหสมาชิกมีสวนรวมในการตัดสินใจ ไมใชใชอํานาจของคณะกรรมการหรือผู จัดการไปดําเนินการ โดยสมาชิกมิไดเห็นชอบดวย เม่ือเขาไปเก่ียวของพ่ึงพารัฐบาลหรือเกี่ยวของดานธุรกิจกับคูสัญญาแลวก็ไมไดหมายความวา สหกรณตองตกเปนเบ้ียลางภายใตการควบคุมของรัฐบาลหรือของคูสัญญา คูสัญญาจะใชสิทธิควบคุม / ครอบงํากิจการสหกรณไมได สหกรณจะตองยังคงความเปนอิสระในการบริหารงานภายใตอํ านาจการควบคุมของสมาชิกตามแนวทางประชาธิปไตย

ขอที่ 4

* ใชดานกฎหมายและขอบังคับ - ทําสัญญา, ขอตกลงในทางธุรกิจ หรือขอความชวยเหลือจากรัฐบาล ใหเปนไปตามกฎหมาย ขอบังคับ และ ระเบียบ * ใชดานสังคม - สมาชิกใชวิจารณญาณในการพิจารณาขอความชวยเหลือ หรือทําสัญญาขอตกลงกับองคการของรัฐ หรือเอกชน วาสหกรณจะเสียเปรียบ หรือเปนแหลงแสวงหาผลประโยชน ของผูท่ีเขามาเก่ียวของหรือไม หรือเปนความมักงาย เห็นแกไดของสหกรณไหม ให พิจารณาความพอเพียง ความพอประมาณ ความมีเหตุมีผลในการดําเนินธุรกิจดวย ท้ังนี้ตองใชความรูคูคุณธรรมในการดําเนินธุรกิจแตละดานดวย

* ใชการชวยเหลือซึ่งกันและกันเปนหลัก และพยายามใชคุณธรรมในการทําธุรกิจ สมาชิก / คณะกรรมการ / ผูจัดการ / เจาหนาท่ีสหกรณ ตองมีแนวคิดในการรัก และภักดีตอสหกรณ ไมสรางภาระผูกพันกับองคการของรั ฐ ห รื อ เ อ ก ช น อื่ น สถาบันการเงินอื่นเพ่ือประโยชนของตัวเอง หรือกลุมของตัวเอง

Page 37: test

33 ปรัชญาสหกรณ อุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณ : การวิเคราะห และการประยุกตใช

การใชหลักการสหกรณมี 3 ข้ันตอน

หลักการสหกรณ ท่ีใช

เคร่ืองมือท่ีใชกํากับการปฏิบัติ มี 3 ดาน

อุดมการณสหกรณ

ข้ันท่ี 3 พัฒนาใหยั่งยืน * การศึกษา ฝกอบรมและขอมูลขาวสาร เปนสวนสําคัญในการพัฒนาคน โดยเฉพาะอยางยิ่งคนที่อยูในขบวนการสหกรณ ไมวาจะเป น สม าชิ ก ตั ว แทนสมาชิ ก ผูจัดการ เจาหนาที่ เยาวชน และบรรดาผูนําทางดานความคิด (ผูนําทางสังคม ผูนําทางศาสนา ฯลฯ) ควรจะตองมีความรู ความเขาใจในปรัชญา อุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณ รวมทั้งมีความรูความเขาใจในการดําเนินธุรกิจ เฉพาะดาน ดังนั้น สหกรณจึงควรใหมีการพัฒนาคนในสหกรณ เชน - ใหทุนสนับสนุนการศึกษาตอแกเจาหนาท่ี ผูจัดการ ผูชวยผูจัดการของสหกรณ ท้ังในระดับปริญญาตรี โท และเอก โดยมีขอผูกพันวา เมื่อเรียนสําเร็จแลว ตองทํางานใหกับสหกรณตอไป เปนตน - ใหทุนฝกอบรม / สัมมนา / ดูงาน สําหรับสมาชิกสหกรณ เจาหนาที่ ผู จัดการ ผูชวยผู จัดการ เยาวชน และบรรดาผูนําทางดานความคิด - จัดทําขอมูลขาวสารท่ีจําเปนของสหกรณ ในรูปของหนังสือ เอกสาร เทป Website VCD DVD และผานส่ือตางๆ เชน วิทยุ โทรทัศน หนังสือพิมพ รวมทั้ง

ขอ 5,6,7 ขอที่ 5

* ใชดานกฎหมายและขอบังคับ - กรณีใหทุนการศึกษา : ตองทําสัญญา, ขอตกลงตามกฎหมาย * ใชดานสังคม - เ ป นกา รป ลู กฝ ง จิ ต สํ านึ กเกี่ยวกับสหกรณใหแกผูท่ีเกี่ยวของ เพ่ือกลุมคนเหลานี้จะไดตระหนักถึงการดําเนินธุรกิจแบบสหกรณอยางเขาใจชัดแจง

* ใ ช อิ ท ธิ บ า ท 4 แ ล ะ ทิ ฎ ฐ ธั ม มิ กั ต ถประโยชนในการชวยตนเอง

Page 38: test

34 คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

การใชหลักการสหกรณมี 3 ข้ันตอน

หลักการสหกรณ ท่ีใช

เคร่ืองมือท่ีใชกํากับการปฏิบัติ มี 3 ดาน

อุดมการณสหกรณ

สงโดยตรงใหบุคคลและหนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อเปนการขยายความรูความเขาใจเกี่ยวกับสหกรณใหกวางขวางในหมูคนที่เกี่ยวของ * ความรวมมือระหวางสหกรณ -เมื่อสหกรณดําเนินธุรกิจตามหลักการ ขอ 3 และ 4 แลว ธุรกิจอาจจะเติบโตจึงตองการขยายธุรกิจ แตลําพังสหกรณของตนเองอาจจะมีปริมาณธุรกิจไมเพียงพอ / หรือมีเงินลนระบบ จึงตองมีการเชื่อมโยงธุรกิจกับสหกรณอื่น ท้ังในระดับเดียวกันหรือตางระดับกันก็ได เชน ปบัญชี 2547 สหกรณออมทรัพยขาราชการกระทรวงศึกษาธิการ จํากัด ใหสหกรณออมทรัพยครูบุ รี รั มย สุ ริ นทร อุบลราชธานี ขอนแกน พะเยา อุดรธานี กระบี่ และกรมสามัญศึกษาจังหวัดเลย กูสหกรณละ 20 – 150 ลานบาท รวม 740 ลานบาท (รายงานกิจการประจําป, 2547)

ขอที่ 6

- ป ลู ก ฝ ง ค ว า ม รู เ กี่ ย ว กั บส่ิงแวดลอม เชน การใชทรัพยากร การใชพลังงานอยางประหยัด การนําของเหลือใชกลับมาใชใหม, การใชจายเงินใหคุมคา เพ่ือไมใหเกิดป ญหา ในคร อบครั ว ( เ พ ร า ะครอบครัว และคนลอมรอบตัวเรา เปนส่ิงแวดลอมดวย เมื่อเกิดผลกระทบจากปญหาหนึ่งตอคนหน่ึงจะสงผลใหกระทบตอคนอ่ืนๆได และจะนํามาซึ่งปญหาสังคมตอไป) * ใชดานกฎหมายและขอบังคับ - การกู ยื ม เงิ น การฝากเ งินระหวางสหกรณจะตองมีสัญญา, หลักฐานการรับฝาก, การชําระคืนแล ะต อ ง อ ยู ภ าย ใต ร ะ เ บี ยบ ขอบังคับ และกฎหมาย * ใชดานเศรษฐกิจ - ในกรณีเชื่อมโยงธุรกิจระหวางสหกรณ

* ใชสังคหวัตถุ 4 และสาราณียธรรม 6 ในการชวยเหลือ ซึ่งกันและกัน * ใชการชวยเหลือซึ่งกันและกันในดานเงิน และความรูบนพ้ืนฐานของความเสียสละและการแบงปน

Page 39: test

35 ปรัชญาสหกรณ อุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณ : การวิเคราะห และการประยุกตใช

การใชหลักการสหกรณมี 3 ข้ันตอน

หลักการสหกรณ ท่ีใช

เคร่ืองมือท่ีใชกํากับการปฏิบัติ มี 3 ดาน

อุดมการณสหกรณ

และนําเงินไปฝากสหกรณอื่นอีกเกือบ 200 ลาน (รายงานกิจการประจําป, 2547) - นอกจากรวมมือโดยฝากเงินและกูยืมเงินระหวางสหกรณแลว อาจจะรวมมือทางดานวิชาการได เชน สหกรณออมทรัพยระดับทองถ่ิน อาจจะขอความรวมมือจากชุมนุมสหกรณออมทรัพยแหงประเทศไทย จํากัด ในการจัดอบรมใหสมาชิกสหกรณ / คณะกรรมการ /เจาหนาที่ ฯลฯ ถือเปนการรวมมือตางระดับ(รวมมือในแนวดิ่ง)ระหวางสหกรณ - หรืออาจจะมีการแลกเปล่ียนขอมูลขาวสารดานการเงินและภาวะดอกเ บ้ี ยระหว างสหกรณ หรื อสถาบันการเงินอื่น * เอ้ืออาทรตอชุมชน - เพียงขอความสั้นๆ ในหลักการสหกรณขอ 7 ท่ีวา สหกรณพึงดําเนินกิจกรรมเพื่อการพัฒนาที่ ย่ังยืนของชุมชนตามนโยบายที่มวลสมาชิกใหความเห็นชอบ และมีการขยายความตอใน Co-operative Agenda 21 วาสหกรณ ทุกประเภทตองมีการเรียนรูและดําเนินการในดานการพัฒนา ท่ี ยั่ ง ยื นและอ นุ รั กษสิ่ งแวดลอม โดยกําหนดไวว า สหกรณออมทรัพยตองใชกลยุทธด า น ก า ร เ งิ น ใ ห เ กิ ด ก า รเปลี่ยนแปลงทัศนคติของคนในการดูแลสิ่งแวดลอม

ขอท่ี 7

* ใชดานสังคม - ในกรณีชวยเหลือเกื้อกูลดานวิชาการและขอมูลขาวสารระหวางสหกรณและสถาบันอื่นท่ีเกี่ยวของ เพ่ือใหความรูแกคนในขบวนการสหกรณและเพ่ือประโยชนในการบริหารงาน * ใชดานสังคม - สรางจิตสํานึกในการอนุรักษส่ิ งแวดลอม โดยการอบรมเชิ งปฏิบัติการ

* ชวยตนเองโดยสรางนิสัยประหยัด * ชวยเหลือซึ่งกันและกัน โดยช วยกันดู แลและรั ก ษ า ท รั พ ย า ก ร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

Page 40: test

36 คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

การใชหลักการสหกรณมี 3 ข้ันตอน

หลักการสหกรณ ท่ีใช

เคร่ืองมือท่ีใชกํากับการปฏิบัติ มี 3 ดาน

อุดมการณสหกรณ

ดังนั้น การนําหลักการสหกรณขอนี้ไปใชในสหกรณออมทรัพย นาจะเปนการใหความรูในดานส่ิงแวดลอมแกผูท่ีเกี่ยวของ โดยวิธีการฝกอบรมเชิงปฏิบัติการและสรางจิตสํานึกในการประหยั ดพลั ง งาน การ ใชทรัพยากรอยางประหยัดและจัดสภาพแวดลอมในสํานักงาน / ในบานใหเปนไปตามวิธีการจัดการอนามัยส่ิงแวดลอม เชน - ความปลอดโปรงของสํานักงาน / บาน ท่ีเนนการประหยัดพลังงาน - จัดถังขยะโดยแยกประเภทขยะเปนขยะเปยก ขยะแหง ขยะเปนพิษ - แนะนําสมาชิกท่ีกูยืมเงินจากสหกรณใหใชเงินอยางประหยัด รูคุณคาของเงิน สงเสริมใหนําของเหลือใชกลับมาใชใหม และใชเงินโดยประมาณการรายไดเทียบกับรายจ าย สร างนิ สั ยอุ ดรู รั่ วของรายจายแทนที่จะหารายไดมาใสตุมที่รั่วโดยการกูยืม เชน อุดรูรั่วจากการพนัน จากคาโทรศัพท (ท่ีไรสาระ) จากการเท่ียวเตร จากการซื้อส่ิงของเกินความจําเปน เชน กูเงินซื้อรถใหม (ท้ังๆ ท่ีคันเกายังใชได) เปนตน การฝกอบรมเชิงปฏิบัติการนี้ อาจจะเปนการใชเทคนิคการแบงกลุมเพ่ือคนหาปญหาการเปนหนี้ และหาแนวทางแกไขปญหาโดยสมาชิกกลุมเอง เพ่ือเขาจะไดนําไปใชในชีวิตจริงได

Page 41: test

37 ปรัชญาสหกรณ อุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณ : การวิเคราะห และการประยุกตใช

การใชหลักการสหกรณมี 3 ข้ันตอน

หลักการสหกรณ ท่ีใช

เคร่ืองมือท่ีใชกํากับการปฏิบัติ มี 3 ดาน อุดมการณสหกรณ

- สรางกิจกรรม หรือฝกอบรมดานการสรางอาชีพเสริมรายได / ลดค า ใ ช จ า ย เ พ่ื อ ลดป ญหาขอ งครอบครั ว สม าชิ ก สหกรณ อั นเนื่องมาจากภาวะหนี้สิน อบรมสมาชิกเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง อบรมสมาชิกเกี่ยวกับการจัดทําบัญชีครัวเรือน และนํามาปฏิบัติในชีวิตประจําวัน

ดังนั้น จึงสรุปไดวา ขบวนการสหกรณจะประสบความสําเร็จได ตองอาศัยความชวยเหลือตนเอง

และชวยเหลือซ่ึงกันและกันของกลุมคนท่ีเก่ียวของ โดยเฉพาะอยางย่ิงผูนําทางแนวคิด ตองเขาใจ ปรัชญาสหกรณ อุดมการณสหกรณ หลักการสหกรณ และวิธีการสหกรณท่ีถูกตอง จึงจะสามารถถายทอดสูผูอ่ืนไดอยางถูกตองแมนยํา และเขาใจไดงาย ผูปฏิบัติก็จะสามารถนําไปปฏิบัติไดอยางถูกตอง และจะนําความกินดี อยูดี มีความยุติธรรมและสันติสุขมาสูประชาชนไดอยางแทจริง 6. ปญหาของสหกรณออมทรัพย และแนวทางแกไขโดยประยุกตปรัชญา และอุดมการณสหกรณ จากการระดมความคิดของนักสหกรณประมาณ 140 คน เพ่ือวิเคราะหปญหาในสหกรณออมทรัพย และหาแนวทางแกไข ในโครงการผลิตมหาบัณฑิตสาขาเศรษฐศาสตรสหกรณ สําหรับนักบริหารสหกรณ มหาวิทยาลัยแมโจ ระหวางปการศึกษา 2544 - 2547 ซ่ึงผู ท่ีมีสวนรวมในการเสนอความคิดเห็นประกอบดวย นักบริหารท่ีเปนท้ังสมาชิกสหกรณออมทรัพย คณะกรรมการสหกรณออมทรัพย ผูจัดการ / ผูชวยผูจัดการสหกรณออมทรัพย ประธานกรรมการสหกรณ / รองประธานกรรมการสหกรณออมทรัพย เจาหนาท่ีสหกรณออมทรัพย และผูท่ีเกี่ยวของกับสหกรณออมทรัพย จากกรมสงเสริมสหกรณ กรมตรวจบัญชีสหกรณ สันนิบาตสหกรณ ชุมนุมสหกรณ (ออมทรัพย, การเกษตร, รานคา) ธ.ก.ส. ธนาคารออมสิน กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ กระทรวงการคลัง กระทรวงมหาดไทย สํานักพระราชวัง กรมสื่อสารทหารอากาศ กรมทรัพยากรธรณี ฯลฯ ผลการวิเคราะหปญหาในสหกรณออมทรัพย และแนวทางแกไข สามารถสรุปได 7 ดาน คือ 1. ดานบุคลากร 2. ดานการบริหารจัดการ 3. ดานความรวมมือระหวางสหกรณ 4. ดานการเงิน (ดานเศรษฐกิจ) 5. ดานสังคม 6. ดานการเมือง 7. ดานส่ิงแวดลอม ดังรายละเอียดตอไปน้ี

Page 42: test

38 คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

ปญหา แนวทางแกไข1. ดานบุคคล 1.1 สมาชิกสหกรณ * ขาดความ รู ค วาม เข า ใ จ ในปรั ชญา อุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณ * ไมเขาใจในสิทธิและหนาท่ีของตน เพราะไมเขาใจกฎหมาย ขอบังคับ และระเบียบของสหกรณ * ขาดการมีสวนรวมในการบริหาร คือ ไมเขารวมประชุมใหญเพ่ือรวมกําหนดนโยบายและแผนงานของสหกรณ * ขาดความซื่อสัตยและไมปฏิบัติตามสัญญา รวมท้ังกดดันใหสหกรณแกไขระเบียบการถือหุน เพ่ือจะไดถือหุนในอัตราท่ีต่ําแตผอนสงเงินกูคืนในจํานวนที่ต่ํา ระยะเวลาท่ียาวนานท่ีสุด * วินัยการออมมีนอย * ขาดการประมาณตน ไม มีแผนการใชจายเงินในชีวิต 1.2 คณะกรรมการ * ขาดความรู ความเข า ใจในปรั ชญา อุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณ * ขาดความรูดานการบริหาร และไมเขาใจใน พระราชบัญญัติสหกรณ ขอบังคับสหกรณและระเบียบสหกรณ

1. ดานบุคคล 1.1 สมาชิก * ใหการศึกษา ฝกอบรม และขอมูลขาวสารในเร่ืองปรัชญา อุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณแกสมาชิกอยางสมํ่าเสมอ และตอเน่ืองโดยสหกรณอาจจะดําเนินการเอง หรือรวมมือทางวิชาการกับชุมนุมสหกรณออมทรัพยแหงประเทศไทย จํากัด หรือสถาบันการศึกษาและผูเชี่ยวชาญดานสหกรณก็ได * ปลูกจิตสํานึกดานคุณธรรม จริยธรรม สิทธิและหนาท่ี ใหสมาชิกมีความสามัคคี ภักดีและซ่ือสัตยตอสหกรณ * สรางแรงจูงใจเพื่อใหสมาชิกเขามามีสวนรวมในการบริหารงานของสหกรณ โดยการประชาสัมพันธหลากหลาย เชน ทํา Website ทํา Call Center เพ่ือตอบปญหาหรือมีมุมพักผอน เชน หัตถเวช มุมอานหนังสือ มุมเครื่องดื่มสมุนไพรในการรักษาสุขภาพในสหกรณ และในบริเวณท่ีมีการประชุมใหญ * สงเสริมการออม การสรางนิสัยประหยัด โดยอาจจะทํา workshop และสรางแรงจูงใจใหรางวัลแกผูท่ีสามารถทําได ภายใน 3 เดือน 6 เดือน โดยมีกิจกรรมอยางตอเนื่อง ซ่ึงจะเปนการลงทุนในระยะแรก เพ่ือสงผลดีในระยะยาว 1.2 คณะกรรมการ * ใหการศึกษา ฝกอบรม และขอมูลขาวสารในเรื่องปรัชญา อุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณแกคณะกรรมการอยางสมํ่าเสมอ และ ตอเน่ืองโดยสหกรณอาจจะดําเนินการเอง หรือรวมมือทางวิชาการกับชุมนุมสหกรณออมทรัพยแหงประเทศไทย จํากัด หรือสถาบันการศึกษาและผูเชี่ยวชาญดานสหกรณก็ได

Page 43: test

39 ปรัชญาสหกรณ อุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณ : การวิเคราะห และการประยุกตใช

ปญหา แนวทางแกไข * ประพฤติตนไมเหมาะสม เชน - แสดงอภิสิทธิ์ เลนพรรคเลนพวก - ละเลยการปฏิบัติตามกฎเกณฑของสหกรณท่ีกําหนดไว - ทุจริตและไมโปรงใส - ครอบงําความคิดของสมาชิกเพ่ือใหเห็นดวยกับความคิดของตน 1.3 เจาหนาที่สหกรณ * ขาดความรู ความเขาใจในปรัชญา อุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณ * ขาดความรูดานการบริหาร และการดําเนินธุรกิจ * ขาดความรับผิดชอบตอหนาท่ี * ขาดความสามัคคี

1.4 ผูตรวจสอบกิจการ * ขาดความรู ความสามรถทางด านการตรวจสอบกิจการ * ไมรูบทบาทหนาท่ีของตนในฐานะผูตรวจสอบกิจการ

* ปลูกจิตสํานึกดานคุณธรรม จริยธรรม สิทธิและหนาท่ี ใหคณะกรรมการมีความสามัคคี ภักดีและซ่ือสัตยตอสหกรณ * ฝกอบรมดานการบริหารงานสหกรณอยางมืออาชีพแกคณะกรรมการ * สรางกระบวนการเลือกตั้งคณะกรรมการสหกรณใหม ให มีประสิทธิภาพโดยตองมีการทดสอบความรูเก่ียวกับสหกรณกับผูสมัครกอน * ใหคณะกรรมการเขารับการอบรมในโรงเรียนผูนําท่ี จ. กาญจนบุรี และควรจะผานการเรียนรูตามรอยพระยุคลบาทดวย 1.3 เจาหนาท่ีสหกรณ * ใหการศึกษา ฝกอบรม และขอมูลขาวสารในเรื่องปรัชญา อุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณแกเจาหนาท่ีสหกรณอยางสมํ่าเสมอ และตอเนื่องโดยสหกรณอาจจะดําเนินการเอง หรือรวมมือทางวิชาการกับชุมนุมสหกรณออมทรัพยแหงประเทศไทย จํากัด หรือสถาบันการศึกษาและผูเชี่ยวชาญดานสหกรณก็ได * ปลูกจิตสํานึกดานคุณธรรม จริยธรรม สิทธิและหนาท่ี ใหเจาหนาท่ีสหกรณมีความสามัคคี ภักดีและซ่ือสัตยตอสหกรณ * ฝกอบรมดานการบริหารงานสหกรณอยางมืออาชีพแกเจาหนาท่ีสหกรณ * สรางกิจกรรมรวมกันของเจาหนาท่ี เชน กิจกรรมดานกีฬาเพ่ือสุขภาพ ฯลฯ 1.4 ผูตรวจสอบกิจการ * ฝกอบรมเร่ืองบทบาท หนาท่ี และกฎหมายเก่ียวกับธุรกิจ กฎหมายสหกรณ (พ.ร.บ. สหกรณ) แกผูตรวจสอบกิจการ * กําหนดคุณสมบัติของผูตรวจสอบกิจการใหตรงกับหนาท่ีท่ีจะตองดําเนินการ * ปลูกจิตสํานึกดานคุณธรรม จริยธรรม สิทธิและหนาท่ี ใหผูตรวจสอบกิจการ

Page 44: test

40 คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

ปญหา แนวทางแกไข 2. ดานการบริหารจัดการ * ขาดประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ * ขาดการวิ เคราะหสภาพแวดลอมภายในและภายนอกเพ่ือนํามาปรับใชใหเหมาะสมกับสหกรณในสถานการณปจจุบัน * ขาดการพัฒนาทักษะ ความรูและประสบการณท่ีทันสมัยของนักบริหารและผูปฏิบัติงานอยางตอเนื่องและอยางเปนระบบ * นํากําไรท่ีไดจากการทําธุรกิจกับบุคคลภายนอกมาแบงปนกันเอง ซ่ึงท่ีจริงจะตองนําไปใชในกิจการสาธารณประโยชน 3. ดานความรวมมือระหวางสหกรณ * การเชื่อมโยงระหวางสหกรณยังไมเขมแข็ง * ไมมีศูนยกลางพัฒนาบุคลากรสหกรณออมทรัพยอยางเปนระบบ เพื่อสรางแนวคิด ทิศทาง และมาตรฐานการดําเนินงานสหกรณออมทรัพยใหมีประสิทธิภาพ

2. ดานการบริหารจัดการ* จัดทําแผนงานโครงการท่ีชัดเจนและระยะยาว * รวบรวมขอมูลธุรกิจใหเปนระบบเพ่ือใชในการตัดสินใจของผูบริหาร และกําหนดใหมีการติดตาม ประเมินผลอยางชัดเจน * กําหนดทิศทางการพัฒนาสหกรณ ท่ีชัดเจนตอเน่ืองและเปนระบบ รวมท้ังใหความรู ฝกอบรม และขอมูลขาวสารดานบริหารจัดการ การติดตามประเมินผลแกบุคลากรดานสหกรณ (กรรมการ เจาหนาท่ี และผูตรวจสอบกิจการ) * กําหนดในขอบังคับใหนํากําไรท่ีไดจากการทําธุ รกิ จ กับบุคคลภายนอกไปใช เ พ่ื อสาธารณ ประโยชน และดานอนุรักษสิ่งแวดลอม 3. ดานความรวมมือระหวางสหกรณ * ควรมีการจัดทํากิจกรรมรวมกันระหวางสหกรณออมทรัพยดวยกัน และกับสหกรณประเภทอื่น เพ่ือสรางความสัมพันธอันดีระหวางสหกรณ โดยมีชุมนุมสหกรณออมทรัพยแหงประเทศไทย จํากัด เปนผูดําเนินการ * จัดประชุม workshop เพ่ือหาแนวทางเชื่อมโยงเครือขายสหกรณท่ีเขมแข็งและมีประสิทธิภาพ * จัดใหมีการประกันภัยเพ่ือลดความเสี่ยง กรณีสหกรณออมทรัพยปลอยเงินกู ใหกับสหกรณการเกษตรซึ่งมีความเส่ียงสูง * ประชาสัมพันธ เ พ่ือสรางภาพลักษณ ท่ีดี ใหสหกรณออมทรัพย และสรางความรูความเขาใจในดานความรวมมือระหวางสหกรณใหผูท่ีเกี่ยวของ

Page 45: test

41 ปรัชญาสหกรณ อุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณ : การวิเคราะห และการประยุกตใช

ปญหา แนวทางแกไข 4. ดานการเงิน (ดานเศรษฐกิจ) * ปญหาเงินขาด คือ ทุนดําเนินงานไมเพียงพอท่ีจะตอบสนองความตองการของสมาชิกซ่ึงมักจะเกิดกับสหกรณออมทรัพยขนาดเล็ก * ปญหาเงินลนระบบหรือเงินเหลือ ซ่ึงมักจะเกิดกับสหกรณออมทรัพยขนาดใหญ * ไมมีสถาบันการเงินกลางของขบวนการสหกรณออมทรัพยท่ีแทจริง ท่ีจะเปนหนวยงานสนับสนุน สงเสริม ชวยเหลือ กับดูแล และคุมครองเม่ือเกิดปญหาสภาพคลองทางการเงิน หรือเกิดปญหาการบริหารการเงินอยางปจจุบันทันดวน

4. ดานการเงิน (ดานเศรษฐกิจ) * - ระดมทุนโดยใหสมาชิกถือหุนเพ่ิม หรือกําหนดใหปนผล และเงินเฉล่ียคืนเปนหุนแทนเงิน - จัดสัปดาหออมทรัพย ประชาสัมพันธใหสมาชิกฝากเงินเพ่ิม โดยการสรางแรงจูงใจ และใหความรูในการประหยัดแกสมาชิก - สรางนิสัยการออมโดยอาจขอความรวมมือจากสมาชิกออมทุกเดือน โดยตัดจายจากเงินเดือน เชนเดียวกับเงินคาหุน - กูเงินจากสหกรณออมทรัพยท่ีมีเงินลนระบบ โดยพิจารณาความพอดี พอประมาณ และความมีเหตุมีผลในการกูดวย * - จํากัดวงเงินฝากของสมาชิกแตละคน - ใชเกณฑกําหนดอัตราดอกเบ้ียใหมีสวนตางกับอัตราตลาดนอยท่ีสุด - แลกเปล่ียนขอมูลขาวสารระหวางสหกรณเพ่ือปลอยสินเช่ือใหสหกรณอ่ืน - ขยายสินเช่ือในรูปแบบตางๆท่ีเปนการสงเสริมรายได และท่ีไมเปนการขัดตอศีลธรรมอันดี หรือเปนการสรางความฟุมเฟอยใหสมาชิกโดยกําหนดอัตราดอกเบ้ียท่ีต่ํากวาปกติ * จัดตั้งธนาคารสหกรณเพ่ือเปนสถาบันการเงินการเงินกลางในการสนับสนุน สงเสริม ชวยเหลือ กํากับดูแลและคุมครองสหกรณเม่ือสหกรณมีปญหาสภาพคลองทางการเงิน

Page 46: test

42 คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

ปญหา แนวทางแกไข5. ดานสังคม * สมาชิกนําเงินกูไปใชผิดวัตถุประสงคทําใหเกิดภาระหน้ีสิน และมีปญหาครอบครัวตามมา สงผลใหเกิดปญหาการทะเลาะเบาะแวง การหยาราง เด็กขาดความอบอุน กอใหเกิดปญหาสังคมตางๆ ตามมาอีกมากมาย 6. ดานการเมือง * ปญหาการเลือกตั้งประธานกรรมการสหกรณท่ีมีการเมืองเขามาแทรกแซง เพราะประธานกรรมการสหกรณส วนใหญ เปนบุคคลของนักการเมืองท้ังระดับทองถิ่นและนักการเมืองระดับชาติ 7. ดานสิ่งแวดลอม * การพิจารณาใหสินเชื่อแกสมาชิก ปจจุบันไมไดคํ านึ งถึ งผลกระทบท่ี เกิดข้ึนตอชุมชนและสิ่งแวดลอม

5. ดานสังคม* สรางระบบการตรวจสอบการใชเงินกูของสมาชิก และถาสมาชิกใชเงินกูผิดวัตถุประสงค ตองมีระบบการลงโทษ เชน ไมใหกูในคราวถัดไป หรือลดวงเงินกูลง เปนตน * สรางจิตสํานึกในดานการประหยัด และความพอเพียงโดยใหความรูเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง และการปรับใช ในสหกรณออมทรัพย ใหแกสมาชิกเพื่อสรางศรัทธาและความเช่ือม่ัน 6. ดานการเมือง * สรางความรูความเขาใจเก่ียวกับปรัชญา อุดมการณ หลักการ และวิธีสหกรณใหสมาชิกไดเขาใจ เพ่ือจะไดใชวิจารณญาณในการเลือกประธานกรรมการสหกรณ 7. ดานสิ่งแวดลอม * ไมปลอยสินเช่ือใหแกสมาชิกท่ีนําเงินไปใชในทางท่ีผิดตอศีลธรรม เชน นําไปสรางรายได โดยผลิตสุราพ้ืนบาน ฯลฯ หรือไมปลอยสินเช่ือใหสมาชิกท่ีมีรายไดไมพอกับรายจาย เพราะจะทําใหเกิดปญหาในครอบครัวสมาชิกในระยะยาว ซ่ึงจะสงผลใหเกิดปญหาสังคมไดดวย

Page 47: test

43 ปรัชญาสหกรณ อุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณ : การวิเคราะห และการประยุกตใช

ขอเสนอแนะจากการระดมความคิด ปจจุบันสหกรณออมทรัพย ตองมีการทบทวนภาพลักษณท่ีมีตอสายตาของสังคมภายนอก เพราะสหกรณมุงหวังแตจะนํากําไรมาแบงปนเปนหลัก การดําเนินการของสหกรณออมทรัพย ไมเปนไปตามปรัชญาสหกรณ อุดมการณ หลักการ วิธีการของสหกรณท่ีแทจริง การท่ีจะทําใหสหกรณออมทรัพย ซ่ึงถือวาเปนสหกรณประเภทหนึ่งมีประสิทธิภาพและเปนไปตามปรัชญาสหกรณ อุดมการณ หลักการและวิธีการสหกรณน้ันตองกลับไปดูจุดมุงหมายการจัดตั้งสหกรณออมทรัพยวามีวัตถุประสงคอยางไร ซ่ึงสามารถแยกได ดังนี้

1. สหกรณออมทรัพยมีความมุงหมายสําคัญ 2 ประการ คือ (1) สงเสริมใหสมาชิกมีนิสัยประหยัดและออมทรัพย โดยชวยใหสามารถสงวนรายไดสวนหนึ่งของตนไวในทางม่ันคงและไดรับผลประโยชนตามสมควร (2) จัดใหมีเงินกูสําหรับสมาชิกตามขอกําหนดอันสมควร ท้ังนี้ถือวาความมุงหมายในเรื่องการสงเสริมการออมทรัพยและการประหยัดมีความสําคัญอันดับแรก สวนความมุงหมายในการกูเงินเปนลําดับรอง สําหรับการใหเงินกูน้ันสหกรณจะตองพิจารณาอยางถี่ถวนวาสมาชิกผูขอกูมีความจําเปนหรือจะไดรับผลประโยชนจริงๆ เทาน้ัน 2. การรับสมาชิก หลักสําคัญย่ิงประการหน่ึงคือ นโยบายการรับสมาชิกใหมีจํานวนมากท่ีสุดเทาท่ีจะมากได สหกรณออมทรัพยไมควรเปนองคการเฉพาะของคนบางกลุมบางพวกเทาน้ัน แตควรเปนองคกรท่ีสามารถรับและชวยเหลือคนจํานวนมากภายในวงสัมพันธเดียวกัน รวมท้ังตองพิจารณาถึงวาบุคคลท่ีจะสมัครเขาเปนสมาชิกมีความตั้งใจและบริสุทธิ์ใจท่ีจะไดรับความชวยเหลือจากสหกรณออมทรัพยหรือไมประกอบดวย 3. การออมทรัพย สหกรณออมทรัพยจะตองใหบริการท่ีสําคัญท่ีสุดแกสมาชิกในการชวยใหเขาสามารถออมเงินไดเพราะเงินออมเปนเรื่องความปลอดภัยของตนเองและครอบครัว โดยเนนใหสมาชิกออมเงินอยางสมํ่าเสมอ เพราะหากมีความจําเปนเกิดข้ึนจะไดนําเงินท่ีออมไวใชไดทันที ไมตองเดือดรอนไปเปนหน้ี การออมทรัพยอาจเปนในรูปหุนก็ได แตตองจํากัดการถือหุนข้ันสูงไวดวย เพ่ือไมใหมีสมาชิกคนหนึ่งหรือเพียงไมก่ีคนมีเงินออมในสหกรณมากเกินไป จนอาจกอใหเกิดผลกระทบตอความม่ันคงของสหกรณไดหากสมาชิกน้ันๆ ลาออกหรือถอนหุนออกจากสหกรณ 4. ความเปนเจาของ สมาชิกทุกคนซึ่งสงเงินสะสมเพ่ือถือหุนในสหกรณออมทรัพยใด ถือวาเปนเจาของสหกรณออมทรัพยน้ันดวย มีสวนเปนเจาของรวมกัน ดังนั้นผูถือหุนในสหกรณออมทรัพยมีความรับผิดชอบจํากัดเพียงไมเกินจํานวนคาหุนท่ียังสงใชไมครบมูลคาหุนท่ีตนถือเทาน้ัน และสมาชิกคนหนึ่งมีหน่ึงเสียงในการลงคะแนน โดยไมคํานึงวาเขาถือหุนอยูในสหกรณเปนจํานวนเทาใด 5. การใหเงินกู สหกรณออมทรัพยใหเงินกูแกสมาชิกตามความจําเปนหรือมีประโยชนและความสามารถในการชําระหนี้ของเขา ไมใชเปนการใหเงินกูเพ่ือสหกรณจะไดรับดอกเบ้ียมากท่ีสุดเทาท่ีจะมากไดจากสมาชิก ดังนั้นสหกรณควรพิจารณาการใหเงินกูอยางรอบคอบ สหกรณออมทรัพยไมควรใหเงินกูแกสมาชิกท่ีเห็นไดชัดเจนวาผูกูไมสามารถชําระคืนได รวมท้ังสมาชิกตองมีความซื่อสัตยและตองรักษาขอผูกพันในการชําระหนี้ใหเปนไปตามสัญญาเงินกู สหกรณจะตองหาวิธีท่ีดีท่ีสุดในการใหเงินกู ซ่ึงจะทําใหสมาชิกผูกูไดรับประโยชนมากท่ีสุด และสามารถชําระคืนเงินกูใหแกสหกรณไดตรงเวลา

Page 48: test

44 คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

6. ดอกเบ้ียเงินกู สหกรณออมทรัพยเรียกเก็บดอกเบ้ียเงินกูจากสมาชิกเพ่ือเปนคาใชจายตางๆ เชน เปนเงินสะสม เปนทุนสํารอง และจายเปนเงินปนผล โดยอัตราดอกเบ้ียเงินกูท่ีสหกรณเรียกเก็บจะตองไมสูงกวาอัตราข้ันสูงท่ีกฎหมายหรือกฎระเบียบซึ่งทางราชการกําหนด และตามปกติจะตองต่ํากวาอัตราดอกเบ้ียท่ีธนาคารพาณิชยหรือสถาบันการเงินหรือเอกชนอ่ืนเรียกเก็บ สหกรณตองกําหนดนโยบายดอกเบ้ียเงินกูใหเปนประโยชนแกมวลสมาชิกใหมากท่ีสุด รวมท้ังถามีทุนสํารองเพียงพอแกการสรางความม่ันคงใหแกสหกรณ สหกรณอาจลดดอกเบ้ียเงินกูใหต่ําลงไดอีก โดยพยายามลดคาใชจายการบริหารลง หรือเพิ่มจํานวนสมาชิกข้ึนเพ่ือทําใหคาใชจายเฉล่ียตอหัวสมาชิกต่ําลง สหกรณอาจลดอัตราดอกเบ้ียสําหรับเงินกูท่ีมีวัตถุประสงคเฉพาะบางประเภทใหต่ํากวาสําหรับเงินกูปกติ เชนกูพิเศษเพ่ือซ้ือหรือกอสรางบานท่ีอยูอาศัยของตนเองและครอบครัว หรือเงินกูสามัญท่ีใชหุนของตนเองเปนหลักประกันเต็มจํานวน รวมท้ังสหกรณยังอาจลดดอกเบ้ียใหแกสมาชิกในระหวางปก็ได และส่ิงแรกท่ีสหกรณออมทรัพยควรหวงใยคือ ทํารายไดใหเพียงพอแกการบริการแกสมาชิกอยางดีท่ีสุดเทาท่ีทําไดโดยคํานึงถึงความพอเพียง พอประมาณและมีเหตุมีผลเปนหลัก 7. เงินปนผลตามหุน สหกรณเปนองคการธุรกิจท่ีมีวัตถุประสงคในการอํานวยการบริการทางธุรกิจใหสมาชิกตามอุดมการณสหกรณ คือ ชวยตนเอง และการชวยเหลือซ่ึงกันและกัน กําไรท่ีเกิดข้ึนจากธุรกิจของสหกรณน้ันเรียกวา “รายไดสุทธิ” หรือ “สวนเกินสุทธิ” ซ่ึงสวนหนึ่งหรือสวนใหญสหกรณจะจายคืนใหแกสมาชิกในรูปเงินเฉล่ียคืน ตามสวนของปริมาณธุรกิจท่ีเขาไดทํากับสหกรณในระหวางป ฉะนั้นสหกรณทุกประเภทจึงยึดหลักตามอัตราเงินปนผลตามหุนท่ีจะจายใหแกสมาชิกไวตามปกติไมเกินอัตราดอกเบ้ียเงินฝาก โดยถือวาเปนคาตอบแทนสําหรับทุน (หุน) ท่ีสมาชิกไดลงทุนไวในสหกรณ แตในทางปฏิบัติสหกรณออมทรัพยไมควรจายเงินปนผลใหอัตราสูงสุดตามท่ีกฎหมายอนุญาตเสมอไป แตควรคํานึงถึงการจัดสรรกําไรสุทธิเพ่ือประโยชนอยางอื่นตามหลักการสหกรณ เชน การจัดสรรเปนทุนสํารองเพื่อการพัฒนาหรือขยายกิจการของสหกรณตอไป อันเปนการสรางความม่ันคงใหแกสหกรณ รวมทั้งจายเพื่อสนับสนุนกิจกรรมตางๆ อันเปนประโยชนแกชุมชนและสิ่งแวดลอม เปนตน 8. การดําเนินงาน สหกรณจะตองดําเนินงานตามหลักธุรกิจใหเกิดการประหยัดมากท่ีสุดเทาท่ีจะทําได และการดําเนินงานตองอาศัยคณะกรรมการทํางาน โดยการอาสาสมัครท่ีมีจิตใจมุงการบริการ มีความซ่ือสัตย และเหนือสิ่งอ่ืนใด ท้ังกรรมการ สมาชิกและเจาหนาท่ีของสหกรณตองมีความรูความเขาใจในปรัชญาสหกรณ อุดมการณ หลักการและวิธีการสหกรณโดยถูกตองและชัดเจน ถาสหกรณออมทรัพยดําเนินกิจการตามจุดมุงหมายการตั้งสหกรณออมทรัพยดังกลาวขางตน ก็จะเปนสหกรณออมทรัพยท่ีสามารถชวยเหลือสมาชิกท้ังในดานการออมเงินและชวยเหลือดานเงินกู กรณีท่ีสมาชิกมีความจําเปนจะตองใชเงิน และสวนสําคัญท่ีสุด บุคลากรของสหกรณจะตองมีความรู ความเขาใจในปรัชญาสหกรณ อุดมการณ หลักการและวิธีการสหกรณโดยถูกตอง รวมท้ังตองมีการพัฒนาบุคลากรของสหกรณอยางสมํ่าเสมอและตอเนื่อง เพ่ือจะทําใหสหกรณสามารถนําสมาชิกไปสูความ กินดี อยูดี มีความยุติธรรมและสันติสุขไดในท่ีสุด

Page 49: test

1. ความจําเปน ท่ีมา และโครงสรางคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ เปนองคกรหนึ่งในโครงสรางของฝายบริหาร ท่ีมีสวนสําคัญในการรักษาภาพลักษณและคุณคาของสหกรณออมทรัพยใหดํารงอยูอยางย่ังยืน 1) ความจําเปนท่ีสหกรณออมทรัพยตองมีคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ ก. คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ เปนกลไกในการประชาสัมพันธงานสหกรณ ข. การจัดการศึกษาตามหลักการสหกรณสากลขอท่ี 5 จะเกิดผลและมีความยั่งยืน ก็โดยการปฏิบัติของคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

ค. แบงเบาภารกิจของคณะกรรมการดําเนินการ 2) ท่ีมาของคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ จากบทบัญญัติของพระราชบัญญัติสหกรณ พ.ศ . 2542 มาตรา 51 ท่ี บัญญัติว า “ใหคณะกรรมการดําเนินการสหกรณเปนผูดําเนินกิจการและเปนผูแทนสหกรณในกิจการอันเกี่ยวกับบุคคลภายนอก เพ่ือการน้ีคณะกรรมการดําเนินการสหกรณจะมอบหมายใหกรรมการคนหน่ึง หรือหลายคน หรือผูจัดการทําการแทนก็ได” จากบทบัญญัติของมาตรา 51 กําหนดใหคณะกรรมการดําเนินการของสหกรณเปนผูดําเนินกิจการของสหกรณ และสามารถมอบหมายใหกรรมการหรือผูจัดการทําการแทนได เน่ืองจากกรรมการดําเนินการของสหกรณซ่ึงกฎหมายกําหนดใหมีไดท้ังหมดไมเกิน 15 คน ซ่ึงตองมีหนาท่ีในการดําเนินงานของสหกรณ แตทุกคนตางมีงานในตําแหนงหนาท่ีในหนวยงานตนสังกัด โอกาสท่ีกรรมการทั้ง 15 คน จะมารวมกันตัดสินใจในการบริหารงานรวมกันทุกเรื่องจึงเปนไปไดยาก และประสบการณความรูความสามารถของกรรมการแตละคนมีความแตกตางกัน กฎหมายจึงเปดโอกาสใหคณะกรรมการดําเนินการมอบอํานาจใหกรรมการคนใดคนหนึ่งหรือหลายคน มีอํานาจกระทําการแทนคณะกรรมการดําเนินการได ดวยเหตุน้ีเองขอบังคับของสหกรณจึงกําหนดใหคณะกรรมการดําเนินการมีอํานาจในการแตงตั้งคณะกรรมการหรือคณะอนุกรรมการหรือคณะทํางานเพ่ือประโยชนในการดําเนินกิจการสหกรณ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ ก็เปนคณะกรรมการคณะหนึ่งท่ีคณะกรรมการดําเนินการตั้งข้ึน

บทบาท หนา ท่ีและความรับผิดชอบของ คณะกรรมการศึกษาและ

ประชาสัมพันธ

Page 50: test

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ 46

3) จํานวนกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ จะมีจํานวนเทาใดไมมีขอกําหนดชัดเจนเอาไวเปนบรรทัดฐาน แตอยูในดุลพินิจของสหกรณวาชอบท่ีจะใหมีก่ีคน โดยมากแลวสหกรณท่ีมีคณะกรรมการดําเนินการต่ํากวา 15 คน มักจะมีคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธเพียง 3 คน และสหกรณท่ีมีคณะกรรมการดําเนินการ 15 คน มักจะมีคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ 5 คน แตหลักการขอน้ียอมไมถือเปนบรรทัดฐานตายตัววาจะตองใชปฏิบัติ ข้ึนอยูกับความเหมาะสมของแตละสหกรณเปนสําคัญ

1) โครงสรางและองคประกอบของคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ มาจากการแตงตั้งของคณะกรรมการดําเนินการ ดังนั้นโครงสรางของคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ จึงมีการจัดผังองคกร ดังนี้ องคประกอบ

1. ประธานกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ 2. เลขานุการ 3. กรรมการ

5) วาระการดํารงตําแหนงของคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ ไดรับการแตงตั้งจากคณะกรรมการดําเนินการ ดังนั้นจึงอยูไดเทากับกําหนดเวลาของคณะกรรมการดําเนินการ กลาวคือ เม่ือคณะกรรมการดําเนินการชุดท่ีแตงตั้งคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธสิ้นสุดลง ก็มีผลใหคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธส้ินสุดลงดวย ขอสําคัญท่ีจะตองไมละเวนในการปฏิบัติก็คือ ก. คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธท่ีหมดวาระลงจะตองสงมอบงานใหคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธชุดใหม ข. คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธท่ีหมดวาระลงจะตองสรุปขอมูลและงานท่ีค่ังคาง รวมตลอดถึงปญหาและอุปสรรค ขอสังเกตอันเปนประโยชนตอการพิจารณาของสหกรณสงมอบใหแกคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธชุดใหมท่ีเขารับหนาท่ีแทน

ประธาน

กรรมการ

เลขานุการ

กรรมการ กรรมการ

Page 51: test

บทบาท หนาท่ี และความรับผิดชอบของคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ 47

6) ความสัมพันธระหวางคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธกับคณะกรรมการดําเนินการและฝายจัดการ เนื่องจากคณะกรรมการดําเนินการเปนผูแตงตั้งคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ จึงตองรับผิดชอบการปฏิบัติการใดๆ ตอคณะกรรมการดําเนินการ ดังนั้นขอวินิจฉัยท้ังปวงของคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ ท่ีเปนมติของท่ีประชุมตองเสนอคณะกรรมการดําเนินการ ในการประชุมคราวถัดไปทราบเกี่ยวกับมติท่ีกระทําไปในขอบเขตอํานาจของคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ หรือเสนอคณะกรรมการดําเนินการพิจารณา ในเรื่องท่ีนอกเหนืออํานาจของคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ ในสวนความสัมพันธกับฝายจัดการน้ัน คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธจะดําเนินงานในการจัดการศึกษา หรือจัดประชาสัมพันธตองอาศัยขอมูลตางๆ ท่ีมีอยูในสหกรณ ก็ตองไดรับความรวมมือ การอํานวยความสะดวกจากฝายจัดการ รวมท้ังการจัดการงานประจําตางๆ ท่ีจะตองทําหนาท่ีเปนส่ือ ประสานงานระหวางคณะกรรมการกับสมาชิก และในกรณีการประชุมคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธเสร็จสิ้นลง เลขานุการ จะตองรับแจงมติท่ีประชุมใหฝายจัดการ (ผูจัดการ) ทราบเพื่อใหเกิดผลการปฏิบัติงานทันที นอกจากนั้นเลขานุการยังจะตองรวมมือกับผูจัดการดําเนินงานของการประชุมประจําเดือนและรวมมือกับผูจัดการเสนอรายงานตางๆ ใหแกท่ีประชุมคณะกรรมการดําเนินการไดครบถวน 2. บทบาท หนาท่ี และความรับผิดชอบของคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ 1) ความหมายของคําวา บทบาท หนาท่ี และความรับผิดชอบ 1.1) บทบาท หมายถึง ลักษณะการแสดงออกใหปรากฏตอสาธารณชน เปนท่ีประจักษชัดเพ่ือแสดงวาตนนั้นคือใคร ถาเปนกรรมการมีปฏิบัติการในขอบเขตอยางไร สมาชิกจะมาพึ่งพาอาศัยอยางไร จะชวยสมาชิกอยางไร จะทําหรือกําลังทําหรือไดทําอะไรบางตอสหกรณ จะผลักดันสหกรณไปในทิศทางใดโดยวิธีใด ฯลฯ 1.2) หนาท่ี หมายถึง ภารกิจท่ี “ตองปฏิบัติ” โดยทั่วไปมักเขาใจไปวา หนาท่ีน้ันเปนแตเพียงภารกิจท่ีตองปฏิบัติ และบัญญัติไวเปนกติกาเทาน้ัน แตความเปนจริงแลวความหมายของคําวาหนาท่ีน้ันกินขอบเขตไปไกลและกวางขวางกวาน้ัน เพราะนอกจากจะหมายถึง ภารกิจทางนิตินัยท่ีบัญญัติไวในขอบังคับ ระเบียบ หรือกฎหมายแลว ก็ยังหมายรวมถึงภารกิจท้ังมวลที่ควรจะตองปฏิบัติในครรลองของขนบธรรมเนียม พิธีปฏิบัติ จารีตทางสังคม หรือภารกิจอ่ืนใดท่ีนาจะปฏิบัติไปไดในขอบเขตที่ไมขัดตอระเบียบ ขอบังคับ หรือกฎหมาย 1.3) ความรับผิดชอบ หมายถึง ภาระทางใจของผูปฏิบัติการท่ีจะตองดําเนินการไปใหภารกิจเสร็จสิ้นสมบูรณ เปนคุณประโยชนตอสมาชิก และสหกรณใหเจริญกาวหนา เปนภาระของการคิดคน ทําโดยปรากฏออกมาในรูปของนโยบาย แผนงาน การตัดสินใจ การสรางงาน การประสานงาน การอํานวยการ เปนตน ความรับผิดชอบนี้หมายรวมถึง ความกลาหาญในการท่ีจะยอมรับผลเสีย หรือความผิดพลาดจากการบริหารงานของตน หรือของหมูคณะตนท่ีไดจัดทําไปแลวดวย นอกจากน้ี ความรับผิดชอบยังหมายรวมถึง ผลกระทบของปฏิบัติการท้ังปวง อันสงผลขางเคียงตองาน หรือบุคคล หรือสถาบันท้ังของตนและของบุคคลอ่ืนอีกดวย ส่ิงท่ีจะตองทําใจใหไดก็คือ เม่ือบุคคลหนึ่งทํางานจะตองมี

Page 52: test

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ 48

ผลงานและความรับผิดชอบเกิดข้ึนคูกันเสมอ อยาปดความรับผิดชอบของตนไปสูแหลงอ่ืน เพราะถึงปดไปไดก็เพียงช่ัวคราวหาไดรอดพนไปอยางถาวรไม คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ 1. บทบาท - แสดงตัวใหสมาชิกไดทราบวามีใครบางท่ีเปนคณะกรรมการ และจะติดตอกับ คณะกรรมการไดอยางไร - ประสานงานกับหนวยงานอื่นในนามของสหกรณ - คิดคนหาวิธีการในการพัฒนาสังคมรวมกับหนวยงานอื่น - ใกลชิดกับสมาชิกเพื่ออํานวยความสะดวก และชวยเหลือสมาชิกท่ีมีความ

เดือดรอน - รักษาเผยแพรเกียรติคุณของสหกรณ - เสริมสรางสัมพันธภาพระหวางสมาชิกและสหกรณ - ชี้ชวนและดําเนินการใหการเงินระดับสมาชิกใหอยูในระบบท่ีดี ชักจูงสมาชิก

ใหมารวมกิจกรรมทางการเงินท่ีเปนระบบระเบียบถูกตองตามกฎหมาย 2. หนาท่ี

- ประชาสัมพันธใหสมาชิกและบุคคลท่ัวไปเขาใจเชื่อม่ันและศรัทธาตอระบบสหกรณ - ระดมความคิด มีสวนรวมในการชวยแกไขปรับปรุงการปฏิบัติงานของสหกรณ - พัฒนาบุคคลในสหกรณออมทรัพยทุกระดับใหทรงคุณคา ทรงประสิทธิภาพแก สหกรณ เพ่ือความกาวหนาของสหกรณ - สนับสนุนใหมีแรงจูงใจในการเขารวมขบวนการสหกรณ เขาใจหลักการสหกรณ หวงแหนสหกรณในฐานะเปนเจาของสหกรณ - สังเกตและศึกษาการบริหารงานของสหกรณอ่ืน วิทยาการใหมๆ ท่ีอาจจะนํามา เปนประโยชนตอการบริหารสหกรณ - ติดตามความเคล่ือนไหวของสถานการณตางๆ ตลอดจนสภาพการณท่ัวไปอันมี สวนท่ีจะกระทบตอสหกรณ

3. ความรับผิดชอบ - ตองใชทรัพยากรบุคคล ทรัพยากรวัตถุอยางประหยัดใหไดประโยชนมากท่ีสุด - ใชอํานาจหนาท่ีเฉพาะในสวนท่ีเปนคุณคาตอสหกรณ - ซ่ือสัตย สุจริต ซ่ือตรงตอภารกิจท่ีไดรับมอบหมาย - ยึดม่ันในหลักการของสหกรณในการปฏิบัติงาน โดยไมนําเรื่องสวนตัวตําแหนง หนาท่ีมาปะปนในงานของสหกรณ - ไมนําเร่ืองครอบครัว ญาติมิตร มาสัมพันธกับผลประโยชนของสหกรณเคารพใน หลักเหตุผลและขอเท็จจริง - ไมเอารัดเอาเปรียบสมาชิก โดยอาศัยฐานจากสหกรณ

Page 53: test

บทบาท หนาท่ี และความรับผิดชอบของคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ 49

- ประสานงานกับทุกฝาย เพ่ือสรางความเขมแข็งใหแกกิจการของสหกรณ ติดตอ กับบุคคลทุกบุคคล ท่ีจะนํามาเปนประโยชนตอสหกรณ - ตัดสินใจและรับผิดในกิจการท้ังปวง ท่ีไดดําเนินไปแลวทุกกรณี - ยึดมั่นในมติของการทํางานเปนกลุม เปนหมู เปนคณะ เคารพหลักการและ เหตุผลของการประชุม - ยินดีและยอมรับในความเจริญกาวหนา หรือความลมเหลวลาหลังแหง กิจการสหกรณท่ีตนเองเปนผูรับผิดชอบบริหารอยู - ใชหลักการประชามติเปนเคร่ืองยุติปญหาขอขัดแยง หรือท่ีตกลงกันไมได - ยอมรับการตัดสินใจของสมาชิกเปนสําคัญ - ปฏิบัติงานโดยเห็นเปาหมายของสหกรณเปนหลักการสําคัญ - ทําตัวใหเปนแบบฉบับอันดีของสมาชิกท้ังในดานการปฏิบัติงาน และในแงของ การมีสวนรวมผลักดันใหสหกรณมีความเจริญกาวหนา

3. หนาท่ีของคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธตามขอบังคับ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ มีอํานาจหนาท่ีดําเนินกิจการตามกฎหมาย ขอบังคับ ระเบียบ มติ และคําสั่งของสหกรณรวมทั้ง 1. ใหความชวยเหลือทางวิชาการแกสมาชิก โดยใหการศึกษาและอบรมแกสมาชิกและผูท่ีสนใจใหทราบถึงเจตนารมณ หลักการสหกรณ วิธีการสหกรณและการบริหารงานของสหกรณ 2. ประชาสัมพันธเผยแพรขางสาร ความรูเก่ียวกับลักษณะ ประโยชน รวมท้ังผลงานของสหกรณใหสมาชิกและบุคคลภายนอกรับทราบ 3. ดําเนินการในการหาผูสมัครเขาเปนสมาชิก 4. ใหการศึกษาอบรมและเผยแพรแกสมาชิกถึงวิธีการออมทรัพย และการใชจายเงินอยางรอบคอบตลอดจนวิชาการตาง ๆ อันจะเปนประโยชนตอการประกอบอาชีพ 5. ศึกษา และติดตามขาวความเคล่ือนไหวดานการดําเนินงานของสหกรณอ่ืน ท้ังในและนอกประเทศ เพ่ือนําตัวอยางท่ีดีมาเสนอคณะกรรมการดําเนินการพิจารณานํามาบริการแกสมาชิกตามความเหมาะสม

Page 54: test

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ 50

ตัวอยาง การวิเคราะหงานในหนาทีข่องคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

งาน กลุมเปาหมาย จุดมุงหมาย วิธีการ 1. การชวยเหลือทาง วิชาการ

สมาชิกผูสนใจ - พัฒนาความรู ความเขาใจ ในเรื่องหลักการสหกรณ วิธีการสหกรณ และการ บริหารงานสหกรณ

- การใหการศึกษา - จดหมายขาว

2. ประชาสัมพันธ สมาชิก บุคคลทั่วไป

- เพื่อสรางทัศนคติที่ดีใน ดานภาพพจนของ สหกรณออมทรัพย - เพื่อใหสหกรณออม ทรัพยเปนที่รูจักกัน อยางกวางขวาง

- โปสเตอร - จดหมายขาว - ประชาสัมพันธทาง หนังสือพิมพ วิทยุ - สนับสนุนกิจการ สาธารณประโยชน สิ่งแวดลอม

3. หาผูสมัครเปน สมาชิก

บุคคลในหนวยงาน - เพื่อขยายแนวความ คิดดานสหกรณให กวางขวาง - เพื่อสงเสริมใหบุคคล ไดใชสหกรณเปน เคร่ืองมือในการพัฒนา คุณภาพชีวิต

- ประชาสัมพันธ แผนพับ - ฝกอบรม

4. การศึกษาอบรม สมาชิก กรรมการ เจาหนาที่

- เพื่อใหความรูเกี่ยว กับวิธีการออมทรัพย - เพื่อใหความรูเกี่ยวกับ การใชจายเงินอยาง รอบคอบ - เพื่อใหความรูทางวิชาการ ที่เปนประโยชนตอการ ประกอบอาชีพ

- ฝกอบรม - จดหมายขาว - การนําไปศึกษา ดูงาน

5. เปนผูเสนอแนะ การจัดบริการใหมๆ

สมาชิก - เพื่อนําแบบอยางที่ดีมาจัดบริการ สวัสดิการตาง ๆ เพื่อ สนองความตองการ ของสมาชิก

- ติดตามขาวความ เคลื่อนไหวของ สหกรณอื่นๆ - สอบถามความตอง การของสมาชิก - ประเมินผลการ จัดบริการของ สหกรณอยางสมํ่าเสมอ

Page 55: test

บทบาท หนาท่ี และความรับผิดชอบของคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ 51

ตัวอยาง การวางแผนปฏิบัติงานของคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ ในรอบ 1 ป

ประจําป 25……….

โครงการ / กิจกรรม ม.ค. ก.พ มี.ค. เม.ย. พ.ค มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย ธ.ค. หมายเหตุ 1. โครงการฝกอบรม ก. สมาชิกใหม □ □ □ จัดเอง ข. สมาชิกเกา □ □ □ ค. เจาหนาท่ีใหม □ 2. โครงการสัมมนา เขารวม และศึกษาดูงาน ตามที่ ก. กรรมการชุดใหม □ ชสอ. จัด ข. เจาหนาที่ □ 3. โครงการฝกอบรม อาชีพเสริม □ จัดเอง 4. โครงการประชา สัมพันธ จัดเอง - สําหรับบุคคล □ ท่ัวไป - สําหรับบุคลากร □ ในหนวยงาน 5. โครงการผลิตส่ือ □ □ □ □ □ □ จัดเอง และจดหมายขาว ราย 2 เดือน

Page 56: test

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ 52

ตัวอยางการเขียนโครงการสัมมนาและศึกษาดูงาน สําหรับกรรมการและเจาหนาท่ี …………………………………………………. หลักการและเหตุผล …………………………………………………………………………………………………… .…………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………….วัตถุประสงค 1. ……………………………………………………………… 2. ……………………………………………………………… ประเด็น 1. ……………………………………………………………….. 2. ……………………………………………………………….. กลุมเปาหมาย …………………………………………………………………… สหกรณที่ศึกษาดูงาน …………………………………………………………………… ประเด็นดูงาน …………………………………………………………………… วัน เวลา …………………………………………………………………… ผูบริหารโครงการ …………………………………………………………………… งบประมาณ …………………………………………………………………… ผลที่คาดวาจะไดรับ 1. ……………………………………………………………….. 2. ………………………………………………………………..

Page 57: test

บทบาท หนาท่ี และความรับผิดชอบของคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ 53

ตัวอยาง ตารางกําหนดแผนการจัดอบรม / สัมมนา

ชื่อโครงการ………………………………………………………………………………… วันที่จัด……………………………………………………………………………………… สถานที่………………………………………………………………………………………

รายการ ระยะเวลา (วัน) ผูรับผิดชอบ หมายเหตุ1. โครงการและกําหนดการ - รางโครงการ - ขออนุมัติจากคณะกรรมการ - จัดสงโครงการ 2. วิทยากร - กําหนดชื่อวิทยากร - การติดตอ / เชิญ - ประวัติวิทยากร - การช้ีแจงวัตถุประสงคการจัด โครงการกับวิทยากร 3. วัสดุ / อุปกรณ - การจัดหา / ติดตั้ง - การจัดเก็บ - สื่อ - ปายช่ือ 4. เอกสารประกอบ - ติดตอ / จัดหาเอกสารประกอบ จากวิทยากร / แหลงวิชาการ ตางๆ - จัดพิมพ รูปเลม 5. อาหาร / เครื่องดื่ม - ติดตอ - ดูแลการจัดบริการ 6. สถานท่ี - หองบรรยาย / ระบบไฟ / แสง / เสียง - หองพัก

Page 58: test

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ 54

4. แนวทางและปญหาการประชาสัมพันธในสหกรณออมทรัพย สหกรณออมทรัพยซ่ึงเปนสถาบันการเงินสถาบันหนึ่ง เปนสถาบันท่ีมีความจําเปนตองจัดใหมีการประชาสัมพันธเชนเดียวกับสถาบันอ่ืนๆ เชนกัน ท้ังนี้ เพราะการสรางความเช่ือถือและภาพพจนท่ีดีตอมวลสมาชิกน้ันเปนสิ่งท่ีจําเปนอยางย่ิง ไมเชนนั้นจะเกิดความไมเขาใจและมีขอขัดแยงเกิดข้ึน ดังนั้น การจัดการประชาสัมพันธในสหกรณออมทรัพยจึงจําเปนและมีรูปแบบแตกตางกันไปตามสถานการณ

พีระศักดิ์ บูรณะโสภณ. 2535. กลาววากระบวนการของการประชาสัมพันธงานสหกรณ 1. การวางแผนประชาสัมพันธ 2. การจัดหนวยงานประชาสัมพันธ 3. การกําหนดอํานาจหนาท่ีและความรับผิดชอบ 4. การดําเนินการประชาสัมพันธ

1. การวางแผนการประชาสัมพันธ เพ่ือใหการประชาสัมพันธงานของสหกรณสําเร็จลุลวงไปดวยดี ข้ันตอนของการวางแผนการประชาสัมพันธจึงควรคํานึงถึงปจจัยสําคัญ 3 ประการตอไปน้ี คือ 1.1 การวางนโยบาย คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธจะตองกําหนดนโยบายในเร่ืองการประชาสัมพันธงานสหกรณใหชัดเจนวาจะสงเสริมสนับสนุนใหมีการประชาสัมพันธกวางขวางมากนอยแคไหน เพียงใด และจะจัดสรรงบประมาณใหแกการประชาสัมพันธไดจํานวนเทาใดดวย ท้ังนี้ เพ่ือเจาหนาท่ีธุรการผูรับผิดชอบจะไดดําเนินการตามนโยบายไดอยางถูกตอง 1.2 การกําหนดวัตถุประสงคหลัก วัตถุประสงครอง สหกรณตองกําหนดวัตถุประสงคหลัก วัตถุประสงครองของการประชาสัมพันธงานสหกรณใหเดนชัด ท้ังนี้เพ่ือเจาหนาท่ีธุรการผูรับผิดชอบจะไดเตรียมการจัดเครื่องมือท่ีใชในการประชาสัมพันธไดตรงตามวัตถุประสงคเหลาน้ี

Page 59: test

บทบาท หนาท่ี และความรับผิดชอบของคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ 55

ตัวอยางความสัมพันธของวัตถุประสงคหลัก วัตถุประสงครองและเครื่องมือท่ีใชในการประชาสัมพันธงานสหกรณ

วัตถุประสงคหลัก วัตถุประสงครอง เคร่ืองมือท่ีใชใน

การ ประชาสัมพันธ

หมายเหต ุ

1. เ พ่ือสรางความนิยม

1.1 เพ่ือแจงใหสมาชิกทราบความเจริญกาวหนาของสหกรณ เชน - นําเคร่ืองคอมพิวเตอรมาใช ความสําเร็จในการดําเนินธุรกิจ ฯลฯ 1.2 เพ่ือใหความรูความเขาใจในการขอรับบริการเบิกถอนเงินโดยเดิรตคอมพิวเตอร บริการ เงินกูเปนตน 1.3 เพ่ือใหความรู ความเขาใจ ในระบบการเงนิของสหกรณ 1.4 เพ่ือโนมนาวใจใหเกิดทัศนคติ ท่ีดีตอสหกรณ - การเปนสมาชิกท่ีดีของสหกรณ - สงเสริมการศึกษาของชาติ - ทํานุบํารุงและรักษาไวซ่ึงศิลป วัฒนธรรมของชาติ ฯลฯ 1.5 เพ่ือใหความพอใจหรือความ บันเทิง

1. แผนพับ2. โปสเตอร 3. จดหมายขาว 4. วารสารภายใน สหกรณ 1. แผนพับ 2. โปสเตอร 3. จดหมายขาว 1. การจัดสัมมนา 2. สื่อบุคคล 3. แผนพับ - การมอบสิ่งของหรือเงินแกสมาชิกผูประสบสาธารณภัย - การจัดการแขงขันกีฬาการกุศล - ใหทุนการศึกษา - จัดพานักศึกษาเขาชมกิจการ - จัดกีฬาภายใน

- เพื่ อ ให เ ค รื่ อ ง มื อประชาสัมพันธเหลาน้ีมีประสิทธิภาพย่ิงข้ึนควรใชวารสารภายใน ของสหกรณดวย - ให ทุนวิ จัยในเรื่ อง เกี่ยวของกับสหกรณ - ใ ห ทุ น ส นั บ ส นุ นโครงการท่ีเก่ียวของ ฯลฯ - สนับสนุนรายการบันเ ทิ งด วยการใหโฆษณา

Page 60: test

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ 56

วัตถุประสงคหลัก วัตถุประสงครอง เคร่ืองมือท่ีใชใน

การ ประชาสัมพันธ

หมายเหต ุ

2 . เ พ่ื อ รั กษ าชื่ อ เสียงท่ีดี

2.1 เพ่ือแจงใหสมาชิกทราบความเจริญกาวหนาของสหกรณ เชน - นําเคร่ืองคอมพิวเตอรมาใช ความสําเร็จในการดําเนินธุรกิจ ฯลฯ 2.2 เพ่ือใหความรูความเขาใจในการขอรับบริการเบิกถอนเงินโดยเดิรตคอมพิวเตอร บริการเงินกู เปนตน 2.3 เพ่ือใหความรู ความเขาใจในระบบการเงินของสหกรณ 2.4 เพ่ือโนมนาวใจใหเกิดทัศนคติท่ีดีตอสหกรณ - การเปนสมาชิกท่ีดีของสหกรณ - สงเสริมการศึกษาของชาติ - ทํานุบํารุงและรักษาไวซ่ึงศิลปะ วัฒนธรรมของชาติ ฯลฯ 2.5 เพ่ือใหความพอใจหรือความบันเทิง

1. แผนพับ 2. โปสเตอร 3. จดหมายขาว 4. การจัดสัมมนา 5. สื่อบุคคล

- ดําเนินการเผยแพรขาวท่ีสมาชกิควรทราบ ควรมีความรู ความเขาใจและ จัดกิจกรรมตางๆ อยางตอเนื่องตามความเหมาะสม โดยวัตถุประสงคหลักและ รอ ง ยั งค ง เดิ ม เพียงแตรายละเอียดของคนกระทํ าหรื อกิ จ ก ร ร ม อ า จเ ป ล่ี ยน แปล ง ต า ม สถานการณและเหตุ การณปจจุบัน

Page 61: test

บทบาท หนาท่ี และความรับผิดชอบของคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ 57

วัตถุประสงคหลัก วัตถุประสงครอง เคร่ืองมือท่ีใชในการ ประชาสัมพันธ หมายเหตุ

3. เพ่ือแกไขช่ือเสียง 3.1 เพ่ือใหความรูความเขาใจท่ีแทจริง

1. หนังสือพิมพ , นิตยสาร 2. ส่ือบุคคล 3. วารสารสหกรณหรือ วารสารภายในหนวย งาน 4. จดหมายขาว ฯลฯ

- จัดประชุมแถลงขาวหรือจัดให ส่ือมวลชนชมเหตุการณจริงตามความเหมาะสมพรอมทั้ ง มี แฟ ม เ อกสา ร ท่ีเ ก่ี ย ว ข อ ง แ จ ก แ กสื่อมวลชน -สร า งความเข า ใจที่ถูกตองแกกรรมการและเจาหนาที่ และใชสื่อบุคคล ชี้แจงสมาชิกเปนรายบุคคล หรื อก ลุ ม บุ ค ค ล ท้ั ง เ ป นทางการและไม เป นทางการ - อาจเปนบทสัมภาษณ หรื อบทความมี ร าย ละเอียดขอเท็จจริง - ช้ี แจงรายละ เอี ยด ข อ เ ท็ จ จ ริ ง ถึ ง ผู ท่ีเกี่ยวของ

3.2 เพ่ือโนมนาวใจใหเกิดทัศนคติ ท่ีดี

หนังสือพิมพ, นิตยสาร

- เห็นการแกไขปญหา ท่ีเกิดขึ้นอยางมี ประสิทธิภาพและการ ปองกันไมใหเกิดขึ้น

4. เพ่ือรับฟงความคิด เห็นจากสมาชิก

4.1 เพ่ือแจงใหทราบและใหความ รูความเขาใจในการแสดงความ คิดเห็นกลับมายังสหกรณ 4.2 เพ่ือสรางทัศนคติที่ดีเมื่อมีการ ติดตอกับสหกรณ ฯลฯ

1. แผนพับ, โปสเตอร 2. โทรศัพท - ส่ือบุคคล - โทรศัพท

- ร ะ บุ ส ถ า น ที่ แ ล ะหมาย เ ลข โทร ศัพทติดตอใหชัดเจน

Page 62: test

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ 58

1.3 การวางแผนการประชาสัมพันธ การวางแผนการประชาสัมพันธจะทําใหคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธสามารถมองการณไกล และสามารถคาดการณวาในการดําเนินการประชาสัมพันธสหกรณน้ันจะมีปญหาอุปสรรคใดบาง เพ่ือท่ีจะไดเตรียมการแกไขไดทันเหตุการณ ตัวอยางที่ 1 แผนการประชาสัมพันธกําหนดกิจกรรมและระยะเวลาสําหรับการประชุมใหญของ สหกรณ เดือนเมษายน 2549

รายการ รายละเอียดกิจกรรม พ.ศ. 2549

หมายเหตุ ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

1 การเผยแพรขาวสารการประชุม 2 การจัดพิมพรายงานประจําป 3 การจัดทําโปสเตอรนัดประชุม 4 การบันทึกภาพในวันประชุม

ตัวอยางที่ 2 แผนปฏิบัติการประชาสัมพันธงานสหกรณ

กิจกรรม กลุมเปาหมาย ลักษณะเน้ือหา วิธีใช/สถานท่ี ระยะเวลาดําเนินการ ผูรับผิดชอบ งบประมาณ หมายเหตุ

1. โปสเตอร ประชาชนท่ัวไป ประโยชนและ บริการตางๆ ของ สหกรณ

สงใหสถาบันการศึกษา หนวยราชการ และติดตาม สถานท่ีตางๆ

ปลาย มิ.ย.ตน ก.ค.

ภัสสร 5,000

2. แผนพับ ประชาชน/สมาชิก วันออมแหงชาติ “การออมเพ่ือเปน เศรษฐีเงินลาน”

แจกใหสมาชิก/ประชาชน

ส.ค., ก.ย. ศุภชัย 5,000

3. วารสาร/ จุลสาร

สมาชิก หลักการและวิธีดําเนินงานของสหกรณ

แจกใหสมาชิก เม.ย. พีระศักดิ์ 5,000

4. สไลด, VDO

สมาชิก/ประชาชน การดําเนินงานของเจาหนาท่ีท่ีเกี่ยวกับ การบริการเงินกู, เงินฝาก

จัดสัมมนาประชุม

เม.ย. จินดา 10,000

2. การจัดหนวยงานประชาสัมพันธ

หนวยติดตอสอบถาม (Enquiry) เปนบริการยางหนึ่งของการประชาสัมพันธ เพ่ือเปนการอํานวยความสะดวกใหกับผูท่ีตองการจะติดตอดวย ไมวาจะเปนหนวยงานราชการ หรือสหกรณ จะตองมีหนวยติดตอสอบถาม

Page 63: test

บทบาท หนาท่ี และความรับผิดชอบของคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ 59

คุณสมบัติของเจาหนาที่ท่ีใหบริการติดตอสอบถาม 1. สนใจและเอาใจใสดูแลสมาชิกผูมาติดตอ 2. มีอุปนิสัยใจคอดี ย้ิมแยมแจมใส วาจาไพเราะ สุภาพเรียบรอย 3. เปนผูฟงท่ีดีไมโตเถียง 4. โอภาปราศรัยแกสมาชิกผูมาติดตอ 5. ใหเกียรติแกสมาชิกผูมาติดตอ 6. ใหความสําคัญตอความคิดเห็นของสมาชิกและผูมาติดตอในลักษณะถอยทีถอยอาศัยกัน 7. ควรขอโทษในสิ่งท่ีตนผิดพลาด 8. ใชความแนบเนียนในการใหขอแนะนําแกสมาชิกผูมาติดตอ 9. ในบางครั้งอาจตองขอความเห็นจากสมาชิกผูมาติดตอ 10. ควรแตงกายใหสุภาพเรียบรอย 11. บริการดวยความเต็มใจแกสมาชิกผูมาติดตอ สํานักงานสหกรณ อาคารสถานท่ีควรสะอาดเรียบรอยและเปนระเบียบ 1. ควรสะอาดเรียบรอยและเปนระเบียบ 2. การโตตอบทางโทรศัพทควรใชเสียงท่ีสุภาพและไพเราะ 3. ปายท่ีทํางานควรมีลักษณะเดนของเห็นไดแตไกล 4. อาคารสถานท่ีควรมีลักษณะเดนเปนสงาและประดับประดาใหสวยงาม 5. เจาหนาท่ีทุกคนควรไดรับการฝกอบรมอยางดีเพ่ือสามารถใหบริการแกสมาชิกผูมาติดตอไดเปนอยางดีไมขาดตกบกพรอง ข้ันตอนของการตอนรับสมาชิกและผูมาติดตอ 1. ตองเขาใจในฐานะของสมาชิกและผูมาติดตอวามีหลายระดับดวยกัน ท้ังลักษณะทาทาง กิริยามารยาท การพูดจา ซ่ึงแตละคนจะไมเหมือนกัน ดังน้ัน เจาหนาท่ีสหกรณจะตองปฏิบัติตอสมาชิกเหมือนกันทุกคน ไมมีการแบงช้ันวรรณะ จะตองใหการตอนรับดวยอัธยาศัยไมตรีท่ีดี และแสดงมารยาทอันดีตามหนาท่ีของตน 2. การตอนรับและบริการ เจาหนาท่ีสหกรณควรจะสอบถามวัตถุประสงคและความมุงหมายของการมาติดตอ ไมควรปลอยใหสมาชิกคอยนานจนเกินไป โดยแกลงทําเปนไมสนใจหรือไมเห็น ควรใหการตอนรับทันทีท่ีเห็นดวยความเต็มใจอยางย่ิง ถาหากสามารถใหคําแนะนําหรือสามารถอํานวยความสะดวกใหแกสมาชิกไดย่ิงดี เพราะการใหบริการท่ีดีน้ันยอมประทับใจสมาชิกผูท่ีมาติดตอและไดรับการยกยองชมเชย 3. การลาจาก สวนมากแลวสมาชิกมักจะเปนผูกลาวคําลาหรือขอบคุณ เจาหนาท่ีควรกลาวคํายินดีท่ีไดมีโอกาสไดใหบริการแกสมาชิก

3. การกําหนดอํานาจหนาท่ีและความรับผิดชอบ งานประชาสัมพันธของสหกรณน้ันเปนงานท่ีจะตองกระทําอยางตอเน่ือง ดังนั้น จึงมีความจําเปนท่ีจะตองกําหนดอํานาจหนาท่ีและความรับผิดชอบของเจาหนาท่ีประชาสัมพันธใหชัดเจนแลวแจงใหเจาหนาท่ีทราบ เพ่ือท่ีจะไดปฏิบัติการไดอยางถูกตอง

Page 64: test

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ 60

ท้ังนี้ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ จะตองจัดใหมีการซักซอมความเขาใจกับเจาหนาท่ี มีการติดตามผลสะทอนกลับจากสมาชิกและผูมาติดตอ โดยอาจจัดทําแบบสอบถามหรือติดตั้งตูแสดงความคิดเห็นก็ได

4. การดําเนินการประชาสัมพันธ การประชาสัมพันธของสหกรณ จําเปนตองใชเครื่องมือและส่ือตางๆ เพื่อเปนตัวนําขาวสารรายละเอียดตางๆ ไปสูสมาชิกและประชาชนท่ัวไป เพ่ือใหมีความรูความเขาใจในกิจการสหกรณใหดีย่ิงข้ึน อันจะนําไปสูความศรัทธาเช่ือถือในหมูสมาชิกและประชาชนท่ัวๆ ไป เคร่ืองมือที่จะใชในการดําเนินการประชาสัมพันธมีหลายประการ คือ 1. คําพูด คําบรรยาย การอภิปราย 2. เอกสาร 3. รูปภาพ 4. การจัดทํารายการวิทยุและโทรทัศน 5. การจัดนิทรรศการแสดงผลงานตางๆ ปญหาในการจัดประชาสัมพันธในสหกรณออมทรัพย 1. ดานบุคลากร เจาหนาท่ีท่ีมีความรู ความเขาใจในงานประชาสัมพันธมีนอย โอกาสท่ีจะเกิดความผิดพลาดจึงมีมาก 2. ดานสถานท่ี เนื่องจากสถานท่ีทํางานของสหกรณไมกวางใหญเพียงพอ ดังนั้นการจัดหนวยประชาสัมพันธจึงไมเอ้ืออํานวยและไมสะดวกในการตอนรับสมาชิกเทาท่ีควร 3. ดานนโยบายการประชาสัมพันธ คณะกรรมการไมสนใจตองานประชาสัมพันธ โดยคิดวาถึงไมทําประชาสัมพันธ สมาชิกก็ไดใหความสนใจมากูยืมเงินกันเต็มท่ีจนไมสามารถบริการไดทันความตองการ 4. ดานงบประมาณ การขออนุมัติงบประมาณตอท่ีประชุมใหญบางครั้ง สมาชิกไมใหความสําคัญดานการจัดประชาสัมพันธเทาท่ีควร

Page 65: test

1. การจัดการศึกษาสําหรับผูใหญ บุคลากรของสหกรณออมทรัพย ไมวาจะเปนสมาชิก กรรมการ ผูตรวจสอบกิจการ เจาหนาท่ีสหกรณ ลวนแตบรรลุนิติภาวะแลวท้ังสิ้น ซ่ึงถือวาเปนผูใหญแลว สามารถตัดสินใจในการกระทําไดแลวตามวิจารณญาณของตนเอง ซ่ึงกระบวนการสหกรณจะตองหลอหลอมใหบุคลากรสหกรณเหลาน้ีเขาใจในเรื่อง การสหกรณ คือ ปรัชญา และอุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณ อันเปนรากฐานของสหกรณ และตองเขาใจการดําเนินธุรกิจของสหกรณ โดยการพัฒนาในทุกดาน ดังนั้น เราตองเขาใจคําวา การศึกษา การฝกอบรม และการพัฒนาบุคคลดังตอไปน้ี การฝกอบรม คือ “การถายทอดความรูเพื่อเพ่ิมพูนทักษะ ความชํานาญ ความสามารถและทัศนคติในทางท่ีถูกท่ีควร เพ่ือชวยใหการปฏิบัติงานและภาระหนาท่ีตางๆ ในปจจุบันและอนาคตเปนไปอยางมีประสิทธิภาพมากข้ึน และไมวาการฝกอบรมจะมีข้ึนท่ีใดก็ตามวัตถุประสงคก็คือ เปนการเพ่ิมขีดความสามารถในการปฏิบัติงาน หรือเพ่ิมขีดความสามารถในการจัดรูปของ…” 1 เราอาจจะมองการฝกอบรมในเชิงของกระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอันสืบเน่ืองมาจากเรียนรู การฝกอบรมจึงหมายถึง “กระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอยางมีระบบเพื่อใหบุคคลมีความรู ความเขาใจ มีความสามารถท่ีจําเปนและมีทัศนคติท่ีดีสําหรับการปฏิบัติงานอยางใดอยางหนึ่งของ……” 2 และ การฝกอบรม คือ “กระบวนการในอันท่ีจะทําใหผูเขารับการฝกอบรมเกิดความรู ความเขาใจ ทัศนคติ และความชํานาญในเรื่องหนึ่งเรื่องใด และเปล่ียนพฤติกรรมไปตามวัตถุประสงคท่ีกําหนดไว 3 จะเห็นไดวา ความหมายของการฝกอบรมมีมากมาย ข้ึนอยูกับวาจะพิจารณาจากแนวคิด (Approach) ใดท่ีเกี่ยวกับการฝกอบรม ท้ังนี้ มีแนวคิดและทฤษฎีตางๆ ท่ีเก่ียวกับการฝกอบรมดังตอไปนี้

การฝกอบรมกับการศึกษาและการพัฒนาบุคคล ท้ังการศึกษา การพัฒนาบุคคล และการฝกอบรมลวนแตมีลักษณะท่ีสําคัญๆ คลายคลึงกันและเก่ียวของกันจนดูเหมือนจะแยกออกจากกันไดยาก แตความเขาใจถึงความแตกตางระหวางท้ังสามเร่ืองดังกลาว จะชวยทําใหสามารถเขาใจถึงลักษณะของกระบวนการฝกอบรม ตลอดจนบทบาทและหนาท่ีของผูรับผิดชอบจัดการฝกอบรมเพิ่มมากข้ึน

การจัดการศึกษา และการฝกอบรม

ในสหกรณ

Page 66: test

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ 62

การศึกษา เปนกระบวนการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมอยางมีระบบ เพ่ือใหบุคคลมีความรู ทักษะ ทัศนคติในเร่ืองท่ัวๆ ไป อยางกวางๆ โดยมุงเนนการสรางคนใหมีความสมบูรณเพื่อใหสามารถดํารงชีวิตอยูในสังคมดวยดี และสามารถปรับตัวใหเขากับสภาพแวดลอมไดเปนสําคัญ ถึงแมวาการศึกษายุคปจจุบันจะเนนใหความสําคัญแกตัวผูเรียนเปนหลัก (Student - Centered) ท้ังในดานของการจัดเน้ือหาการเรียนรู ระดับความยากงายและเทคนิควิธีการเรียนรู เพ่ือใหตรงกับความสนใจ ความตองการ ระดับสติปญญา และความสามารถของผูเรียนก็ตาม การศึกษาโดยท่ัวไปยังคงเปนการสนองความตองการของบุคคล ในการเตรียมพรอมหรือสรางพ้ืนฐานในการเลือกอาชีพมากกวาการมุงเนนใหนําไปใชในการปฏิบัติงานใดงานหนึ่ง นอกจากนั้น การศึกษาเปนเรื่องท่ีสามารถกระทําไดตลอดชีวิต (Lifelong Education) ไมจํากัดระยะเวลาอีกดวย สวนคําวา การพัฒนาบุคคล น้ัน นักวิชาการดานการฝกอบรมบางทานเห็นวาเกือบจะเปนเร่ืองเดียวกันกับการฝกอบรม โดยกลาววา การฝกอบรม เปนการเสริมสรางใหเกิดการเรียนรู สําหรับบุคลากรระดับปฏิบัติการ เพื่อใหสามารถทํางานอยางใดอยางหน่ึงไดตามจุดประสงคเฉพาะอยาง ในขณะท่ีการพัฒนาบุคคลน้ัน มุงเสริมสรางใหเกิดการเรียนรูในเรื่องท่ัวๆ ไป อยางกวางๆ จึงเปนการฝกอบรมสําหรับบุคลากรระดับบริหารเปนสวนใหญ ซ่ึงในทางปฏิบัติแลวบุคลากรท้ังสองระดับก็ตองมีท้ังการฝกอบรม และการพัฒนาบุคลากรรวมๆ กันไป เพียงแตวาจะเนนไปในทางใดเทาน้ัน 4 เดนพงษ พลละคร เห็นวาคําวา การพัฒนาบุคคล เปนคําท่ีมีความหมายกวางมากกลาวคือ กิจกรรมใดท่ีจะมีสวนทําใหบุคลากรมีความรู ทักษะ ประสบการณ และทัศนคติท่ีดีข้ึนสามารถท่ีจะปฏิบัติหนาท่ีท่ียากข้ึนและมีความรับผิดชอบท่ีสูงข้ึน ในองคการไดแลวเรียกวา เปนการพัฒนาบุคคลท้ังนั้น ซ่ึงหมายความรวมถึงการใหการศึกษาเพ่ิมเติม การฝกอบรม การสอนงาน หรือการนิเทศงาน (Job Instruction) การสอนแนะ (Coaching) การใหคําปรึกษาหารือ (Counselling) การมอบหมายหนาท่ีใหทําเปนครั้งคราว (Job Assignment) การใหรักษาการแทน (Acting) การโยกยายสับเปล่ียนหนาท่ีการงานเพื่อใหโอกาสศึกษางานท่ีแปลกใหมหรือการไดมีโอกาสศึกษาหาความรู และประสบการณจากหนวยงานอ่ืน (Job Rotation) เปนตน 5 จากความหมายของการพัฒนาบุคคลดังกลาวขางตน ทําใหเขาใจไดทันทีวาการฝกอบรมเปนเพียงวิธีการหนึ่ง หรือสวนหนึ่งของการพัฒนาบุคคลเทาน้ัน เพราะการพัฒนาบุคคลเปนเรื่องซึ่งมีจุดประสงคและแนวคิดกวางขวางกวาการฝกอบรม ดังท่ีมีผูนิยามวา การฝกอบรมคือ “การพัฒนาบุคลากรใหมีความรู ความเขาใจ ทักษะ ทัศนคติ ท่ีเหมาะสมในการปฏิบัติงานจนกระท่ังเกิดการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมในการปฏิบัติงานไปในทิศทางท่ีตองการ” 6

นอกจากน้ัน การฝกอบรมเพ่ือพัฒนาบุคคลน้ัน เปนเรื่องท่ีมีวัตถุประสงคเฉพาะเจาะจงเนนถึงการเพ่ิมประสิทธิภาพของงาน ซ่ึงตัวบุคคลน้ันปฏิบัติอยู หรือจะปฏิบัติตอไปในระยะยาว เน้ือหาของเร่ืองท่ีฝกอบรมอาจเปนเรื่องท่ีตรงกับความตองการของตัวบุคคลนั้นหรือไมก็ได แตจะเปนเร่ืองท่ีมุงเนนใหตรงกับงานท่ีกําลังปฏิบัติอยูหรือกําลังจะไดรับมอบหมายใหปฏิบัติ การฝกอบรม จะตองเปนเรื่องท่ีจะตองมีกําหนดระยะเวลาเริ่มตน และส้ินสุดลงอยางแนนอน โดยมีจุดประสงคใหเกิดการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมซึ่งสามารถประเมินผลไดจากการปฏิบัติงานหรือผลงาน (Performance) หลังจากไดรับการฝกอบรมในขณะท่ีการศึกษาเปนเร่ืองระยะยาว และอาจประเมินไมไดทันที

Page 67: test

การจัดการศึกษาและการฝกอบรมในสหกรณ 63

ตารางเปรียบเทียบความแตกตางระหวางการศึกษา การพัฒนาบุคคล และ การฝกอบรม 7

หัวขอในการ เปรียบเทียบ การศึกษา การพัฒนาบุคคล การฝกอบรม

1. เปาหมาย - เลือกอาชีพ - ปรับตัวใหเขากับ สังคมและสภาพ แวดลอม

- เสริมสรางคุณภาพ และความกาวหนา ของบุคคล

- เพ่ิมประสิทธิภาพ ในการปฏิบัติงาน

2. เนื้อหา - กวาง - ตรงกับศักยภาพ และงานในอนาคต

- ตรงกับงานที่กําลัง ปฏิบัติหรือกําลังจะ ไดรับมอบหมายให ปฏิบัติ

3. ตามความตองการ - บุคคล - หนวยงานและบุคคล - งาน 4. ระยะเวลาที่ใช - ยาวและสามารถทํา

ไดเรื่อยๆ ไมส้ินสุด- ใชเวลาตลอดอายุงาน - มองในระยะยาว

- ใชระยะเวลาจํากัด

5. วัย - วัยเรียน - วัยทํางาน - วัยทํางาน 6. ความเส่ียง (ที่จะ บรรลุวัตถุประสงค)

- ปานกลาง - สูง - ต่ํา

7. การประเมินผล ดูจาก

- การปฏิบัติงานใน อนาคต

- เกือบจะทําการ ประเมินไมไดเพราะ มีตัวแปรจากสภาพ แวดลอมจํานวนมาก ยากแกการควบคุม

- จากพฤติกรรมใน การปฏิบัติงานใน หนาที่

เทาท่ีกลาวมาแลวท้ังหมดในสวนของการศึกษา การพัฒนาบุคคลและการฝกอบรม อาจสรุปความแตกตางของท้ัง 3 คํา อยางส้ันๆ ไดดังนี้ 1. การศึกษา (Education) เนนท่ีตัวบุคคล (Individual Oriented) 2. การฝกอบรม (Training) เนนถึงการทําใหสามารถทํางานท่ีตองการได (Job Oriented) 3. การพัฒนา (Development) เนนท่ีองคการ (Organizational Oriented) เพ่ือใหตรงกับนโยบาย เปาหมาย ขององคการท่ีสังกัด

Page 68: test

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ 64

กระบวนการฝกอบรม กอนท่ีจะทําความเขาใจถึงแตละข้ันตอนของกระบวนการฝกอบรมในรายละเอียด เราอาจมองกระบวนการฝกอบรม เพ่ือพัฒนาบุคลากรอยางคราวๆ ไดดังนี้

แผนภูมิแสดงถึง “กระบวนการฝกอบรม” การหาความจําเปน ในการฝกอบรม การประเมินผล / การสรางหลักสูตร ติดตามผลการฝกอบรม ฝกอบรม การบริหารโครงการ การกําหนดโครงการ ฝกอบรม ฝกอบรม

ความหมายของกระบวนการฝกอบรม กระบวนการฝกอบรม หมายถึง ”กระบวนการหรือ ข้ันตอนการปฏิบัติในอันท่ีจะทําใหผูเขารับการฝกอบรม เกิดความรูความเขาใจ ทัศนคติ ทักษะ หรือความชํานาญ ตลอดจนประสบการณในเรื่องใดเรื่องหน่ึง และเปล่ียนแปลงพฤติกรรมไปตามวัตถุประสงคท่ีกําหนดไว” 8

เอกสารประกอบการบรรยายเรื่อง “กระบวนการฝกอบรม” , การฝกอบรมความรูพ้ืนฐานดานการฝกอบรม, สถาบันพัฒนาขาราชการพลเรือน, สํานักงาน ก.พ., ธันวาคม 2532, หนา 1 ดังท่ีระบุในแผนภูมิดังกลาวขางตน กระบวนการฝกอบรมมีข้ันตอนท่ีสําคัญ 5 ข้ันตอนซ่ึงผูรับผิดชอบจัดโครงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาบุคลากรแตละโครงการควรจะตองดําเนินการในแตละข้ันตอนครบถวนเพื่อใหเปนการฝกอบรมอยางเปนระบบ มีความสมบูรณ และเกิดผลสําเร็จตรงตามเปาหมายซึ่งอาจใหความหมายและคําอธิบายยอๆ สําหรับแตละข้ันตอนของกระบวนการฝกอบรมไดดังนี้

Page 69: test

การจัดการศึกษาและการฝกอบรมในสหกรณ 65

1. การหาความจําเปนในการฝกอบรม หมายถึง การคนหาปญหาท่ีเกิดข้ึนในองคกรหรือในหนวยงาน วามีปญหาเรื่องใดบางท่ีจะสามารถแกไขใหหมดไปหรืออาจทําใหทุเลาลงไดดวยการฝกอบรม โดยรวมไปถึงการพยายามหาขอมูลดวยวา กลุมบุคลากรเปาหมายท่ีจะตองเขารับการอบรมเปนกลุมใด ตําแหนงงานอะไร มีจํานวนมากนอยเพียงใด ควรจะตองจัดโครงการฝกอบรมใหหรือเพียงแตสงไปเขารับการอบรมภายนอกองคการเทาน้ัน มีภารกิจใดบางท่ีควรจะตองแกไข ปรับปรุงดวยการฝกอบรม พฤติกรรมประเภทใดบางท่ีควรจะตองเปล่ียนแปลงดานความรู ทักษะ ทัศนคติ หรือประสบการณ ท้ังนี้สภาพการณท่ีเปนปญหาและแสดงถึงความจําเปนในการฝกอบรมอาจมีท้ังท่ีปรากฏชัดแจง และเปนสภาพการณท่ีซับซอนจําเปน ตองวิเคราะหหาสาเหตุของปญหาเพ่ือคนหาวิธีการท่ีใชในการวิเคราะหหาความจําเปนในการฝกอบรมมีหลายวิธี เชน การสํารวจ การสังเกตการณ การทดสอบ และการประชุม เปนตน 2. การสรางหลักสูตรฝกอบรม หมายถึง การนําเอาความจําเปนในการฝกอบรมซึ่งมีอยูชัดเจนแลววา มีปญหาใดบางท่ีจะสามารถแกไขไดดวยการฝกอบรม กลุมเปาหมายเปนใคร และพฤติกรรมการเรียนรูท่ีตองการจะเปล่ียนแปลงเปนดานใดนั้น มาวิเคราะหเพื่อกําหนดเปนหลักสูตร โดยอาจประกอบดวยวัตถุประสงคของหลักสูตรฝกอบรม หมวดวิชา หัวขอวิชา วัตถุประสงคของแตละหัวขอวิชา เนื้อหาสาระหรือแนวการอบรม เทคนิคหรือวิธีการอบรม ระยะเวลา การเรียงลําดับหัวขอวิชาท่ีควรจะเปน ตลอดจนการกําหนดลักษณะของวิทยากรผูดําเนินการฝกอบรม ท้ังนี้ เพ่ือจะทําใหผูเขาอบรมไดเกิดการเรียนรูอยางมีข้ันตอน และเกิดการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมจนทําใหสิ่งท่ีเปนปญหาไดรับการแกไขลุลวงไปได หรืออาจทําใหผูเขารับการอบรมทํางานท่ีไดรับมอบหมายไดอยางมีประสิทธิภาพและเต็มใจย่ิงข้ึน 3. การกําหนดโครงการฝกอบรม คือ การวางแผนการดําเนินการฝกอบรมอยางเปนข้ันตอนดวยการเขียนออกมาเปนลายลักษณอักษร ดังท่ีเรียกวา “โครงการฝกอบรม” เปนการระบุรายละเอียดท่ีเก่ียวของท้ังหมด ตั้งแตเหตุผลความเปนมาหรือความจําเปนในการฝกอบรมหลักสูตร หัวขอวิชาตางๆ วิทยากร คุณสมบัติของผูท่ีจะเขารับการอบรม วันเวลา สถานท่ีอบรม ประมาณการคาใชจาย ตลอดจนรายละเอียดดานการบริหารและธุรการตางๆ ของการฝกอบรม ท้ังน้ีเน่ืองจากการฝกอบรม เปนกิจกรรมท่ีมีผูเก่ียวของหลายฝาย นับตั้งแตผูท่ีจะเขารับการฝกอบรม ผูบังคับบัญชา ในหนวยงานตนสังกัดของผูเขารับการฝกอบรม วิทยากร และท่ีสําคัญคือ ผูบริหารซึ่งมีอํานาจอนุมัติโครงการและคาใชจาย จําเปนจะตองเขาใจถึงรายละเอียดตางๆ ของการฝกอบรม โดยใชโครงการฝกอบรมท่ีเขียนข้ึนเปนสื่อน่ันเอง

4. การบริหารโครงการฝกอบรม สําหรับข้ันตอนนี้ ในตําราการบริหารงานฝกอบรมบางเลมระบุเปนข้ันของ “การดําเนินการฝกอบรม” แตเน่ืองจากผูเขียนพิจารณาเห็นวา ถึงแมจะดูเหมือนวาการดําเนินการฝกอบรมเปนหัวใจสําคัญของการจัดการโครงการฝกอบรม หากแทจริงแลวการดําเนินการฝกอบรมเปนเพียงสวนหนึ่งของการบริหารโครงการฝกอบรม เพราะการดําเนินการฝกอบรมท่ีมีประสิทธิภาพและสามารถบรรลุวัตถุประสงคของโครงการไดน้ัน นอกจากมาจากวิทยากรท่ีมีความรูความสามารถ และหลักสูตรฝกอบรมท่ีเหมาะสมแลว ยังจําเปนตองอาศัยเจาหนาท่ีผูรับผิดชอบจัดการฝกอบรม ซ่ึงเขาใจหลักการบริหารงานฝกอบรม พอท่ีจะสามารถวางแผนและดําเนินงานธุรการท้ังหมด

Page 70: test

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ 66

ในชวงท้ังกอน ระหวาง และหลังการอบรมไดอยางมีประสิทธิภาพอีกดวย จึงไดกําหนดขั้นตอนนี้เปนการบริหารโครงการฝกอบรม เพ่ือใหครอบคลุมเนื้อหา ท่ีผูจัดโครงการฝกอบรมควรทราบท้ังหมด สวนในการดําเนินการฝกอบรม เจาหนาท่ีผูจัดโครงการอบรมจะตองมีบทบาทหลักท่ีจะชวยอํานวยความสะดวกใหกับวิทยากรในการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหแกผูเขาอบรม ท้ังในดานสถานท่ี โสตทัศนูปกรณ วัสดุอุปกรณ ยานพาหนะ การเงิน ฯลฯ และในขณะเดียวกันยังตองดําเนินงานในฐานะผูอํานวยการโครงการ ทําหนาท่ีควบคุมใหการฝกอบรมดําเนินไปตามกําหนดการ จัดใหมีกิจกรรมละลายพฤติกรรมและกิจกรรมกลุมตางๆ ในระหวางผูเขาอบรม อันจะชวยสรางบรรยากาศในการฝกอบรมใหเอ้ืออํานวยตอการเรียนรูสําหรับผูเขาอบรมไดเปนอยางดี มิฉะนั้นอาจไมสามารถทําใหการฝกอบรมดําเนินไปตามที่ระบุไวในโครงการอยางมีประสิทธิภาพ และบรรลุประสิทธิผลเทาท่ีควร 5. การประเมินและติดตามผลการฝกอบรม ในข้ันตอนของการกําหนดโครงการฝกอบรม ผูรับผิดชอบจะตองคํานึงถึงการประเมินผลการฝกอบรมไวดวยวา จะดําเนินการประเมินผลดวยวิธีการใดบาง โดยใชเครื่องมืออะไร และจะดําเนินการติดตามผลการฝกอบรมหรือไม เม่ือใด ท้ังนี้เพราะเม่ือการฝกอบรมเสร็จสิ้นลงแลว ผูรับผิดชอบโครงการควรจะตองทําการสรุปประเมินผลการฝกอบรมและจัดทํารายงานเสนอใหคณะกรรมการไดพิจารณาถึงผลของการฝกอบรม สวนผูรับผิดชอบโครงการเองก็จะตองนําเอาผลการประเมินโครงการฝกอบรมท้ังหมดมาเปนขอมูลยอนกลับหรือ Feedback ใชพิจารณาประกอบในการจัดฝกอบรมหลักสูตรเชนเดียวกัน ในครั้ง/รุนถัดไปในข้ันตอนของการหาความจําเปนในการฝกอบรมวา ควรจะตองมีการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตรหรือการดําเนินการในการบริหารงานฝกอบรมอยางไรบาง เพ่ือจะทําใหการฝกอบรมเกิดสัมฤทธิผลตรงตามวัตถุประสงคของโครงการเพ่ิมข้ึน ในการจัดฝกอบรมแตละโครงการน้ัน ผูรับผิดชอบจัดการฝกอบรมจะสามารถตรวจสอบวาการดําเนินงานของตนเปนการฝกอบรมอยางมีระบบหรือไมไดดวยการตอบคําถามดังตอไปน้ีใหไดครบทุกขอคือ 1. ทําไมจึงตองจัดการฝกอบรม แนใจแลวใชหรือไมวาปญหาท่ีเกิดข้ึนนั้นจะแกไขไดดวยการฝกอบรม 2. ใครเปนกลุมบุคคลเปาหมายและใครเปนผูมีสวนเกี่ยวของบาง 3. จะฝกอบรมไปเพ่ืออะไร พฤติกรรมอะไรบางท่ีตองการจะใหเกิดการเปล่ียนแปลง 4. จะฝกอบรมในเร่ืองอะไรบาง หลักสูตรฝกอบรมจะเปนอยางไร 5. จะฝกอบรมอยางไร มีความพรอมในดานใดบาง 6. ฝกอบรมแลวไดผลหรือเกิดการเปล่ียนแปลงตามวัตถุประสงคของการฝกอบรมหรือไม

ขอบเขตการศึกษาสําหรับผูใหญ ในการจัดโครงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาบุคลากรของสหกรณน้ัน สหกรณจําเปนท่ีจะตองเขาใจถึงลักษณะธรรมชาติในกระบวนการเรียนรูของผูใหญเปนพื้นฐานเสียกอน จึงจะมีขอมูลประกอบการตัดสินใจเลือกทางเลือกตางๆ ในการดําเนินการตามกระบวนการบริหารงานฝกอบรมไดอยางเหมาะสม และกอใหเกิดการเรียนรูและการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมของผูเขาอบรมไดตรงกับวัตถุประสงคของการฝกอบรมมากข้ึน

Page 71: test

การจัดการศึกษาและการฝกอบรมในสหกรณ 67

การฝกอบรมมีความสัมพันธอยางใกลชิดกับการเรียนรู เน่ืองจากการฝกอบรมเปนกระบวนการหน่ึงซึ่งมุงกอใหเกิดการเรียนรู ซ่ึงหมายถึง การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่คอนขางถาวรอันเปนผลสืบเน่ืองมาจากการปฏิบัติท่ีมีการเนนยํ้าบอยๆ 8 โดยที่ผลของการเรียนรูอาจไมสามารถสังเกตเห็นไดโดยตรง แตอาจตรวจสอบไดจากผลของการกระทําหรือผลงานของผูเรียน นักจิตวิทยา ไดทําการวิจัยคนควาเก่ียวกับกระบวนการเรียนรูไวมากมาย ลวนแตเห็นวาการเรียนรูของผูใหญแตกตางจากการเรียนรูของเด็ก เรื่องท่ีสําคัญเก่ียวกับลักษณะธรรมชาติในการเรียนรูของผูใหญ อาจพอสรุปเปนขอๆ ไดดังนี้ 1. ผูใหญตองการรูเหตุผลในการเรียนรู และผูใหญจะเรียนรูตอเม่ือเขาตองการจะเรียน เนื่องจากผูใหญน้ันเขาใจตนเอง และรูวาตนเองมีความรับผิดชอบตอผลของการตัดสินใจของตนเองได กอนการเรียนรูผูใหญมักตองการจะรูวา เพราะเหตุใดหรือทําไมเขาจึงจําเปนท่ีจะตองเรียนรู เขาจะไดรับประโยชนอะไรจากการเรียนรู และจะสูญเสียประโยชนอะไรบางถาไมไดเรียนรูสิ่งเหลาน้ัน ผูใหญจึงมีความพรอมท่ีจะเรียนรูในสิ่งท่ีเขาตองการเรียนรูและพึงพอใจมากกวาจะใหผูอ่ืนมากําหนดใหและมักมีแรงจูงใจในการเรยีนรูจากภายในตนเองมากกวาแรงจูงใจภายนอก 2. ลักษณะการเรียนรูของผูใหญ ในกระบวนการเรียนรู ผูใหญตองการเปนอยางมากท่ีจะช้ีนําตนเองมากกวาจะใหผูสอนมาชี้นําหรือควบคุมเขา น่ันคือ ผูใหญอยากท่ีจะเรียนรูดวยตนเองมากกวา และดวยการเรียนรูมีลักษณะเปนการแนะแนวมากกวาการสอน ดังนั้น บทบาทของวิทยากรควรจะเปนการเขาไปมีสวนรวมกับผูเรียนในกระบวนการคนหาความจริง หรือท่ีเรียกวาผูอํานวยความสะดวกในเรียนรู (Facilitator) มากกวาท่ีจะเปนผูถายทอดความรูของตนไปยังผูเรียน นอกจากน้ันบทบาทของผูอํานวยความสะดวกในการเรียนรูควรจะตองเปนผูสรางบรรยากาศในการเรียนรู ดวยการยอมรับฟงและยอมรับในการแสดงออก ทัศนคติและความรู สึกนึกคิดเกี่ยวกับเนื้อหาสาระของวิชาท่ีเรียนของผูเรียน ชวยใหผูเรียนไดเขาใจถึงจุดมุงหมายในการเรียนรูของแตละคน และของกลุม ทําหนาท่ีจัดหาและจัดการทรัพยากรในการเรียนรูหรืออาจเปนแหลงทรัพยากรเพ่ือการเรียนรูท่ียืดหยุนเสียเอง 3. บทบาทของประสบการณของผูเรียน ประสบการณชีวิตมีผลกระทบตอการเรียนรูของผูใหญ ขอแตกตางในการเรียนรูท่ีสําคัญระหวางผูใหญกับเด็กอยางหนึ่งก็คือ ผูใหญมีประสบการณมากกวา ซ่ึงอาจเปนไดท้ังขอดีและขอเสีย ท้ังนี้ เพราะวิธีการเรียนรูเบ้ืองตนของผูใหญคือ การวิเคราะหและคนหาความจริงจากประสบการณ ซ่ึงนักจิตวิทยาบางคนเช่ือวา หากเขารับรูวา สิ่งท่ีเขาเรียนรู น้ันมีสวนชวยรักษา หรือเสริมสรางประสบการณภายในตัวเขา ผูใหญก็จะเรียนรูไดมากข้ึน แตถาหากกิจกรรมใดหรือประสบการณใดจะทําใหมีการเปล่ียนแปลงโครงสรางภายในของเขา ผูใหญก็มีแนวโนมท่ีจะตอตานโดยการปฏิเสธหรือบิดเบือนกิจกรรมหรือประสบการณน้ันๆ นอกจากนั้น ประสบการณเปนสิ่งท่ีทําใหผูใหญมีความแตกตางระหวางบุคคล เพราะย่ิงอายุมากข้ึน ประสบการณของผูใหญย่ิงจะแตกตางมากย่ิงข้ึน ดังนั้น การจัดกิจกรรมการเรียนรูสําหรับผูใหญ จึงควรจะคํานึงถึงท้ังในดานของความแตกตางระหวางบุคคลของผูใหญ และควรจะอาศัยขอดีของการมีประสบการณของผูใหญ และทําใหประสบการณน้ันมีคุณคาโดยการใชเทคนิคฝกอบรมตางๆ

Page 72: test

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ 68

ซ่ึงเนนการเรียนรูโดยอาศัยประสบการณ (Experiential Techniques) ทําใหผูเรียนไดมีโอกาสผสมผสานความรูใหมกับประสบการณเดิมท่ีมีอยู ทําใหการเรียนรูท่ีไดรับใหมน้ันมีความหมายเพิ่มเติมข้ึนอีก อาทิเชน วิธีการอภิปรายกลุม กิจกรรมการแกปญหา กรณีศึกษา และเทคนิคการฝกอบรมโดยอาศัยกระบวนการกลุมตางๆ 4. แนวโนมในการเรียนรูของผูใหญ โดยท่ัวไปเด็กมีแนวโนมท่ีจะเรียนรูโดยอาศัยเนื้อหาวิชา และมองการเรียนรูในลักษณะของการแสวงหาความรูจากเน้ือหาสาระของวิชาใดวิชาหน่ึงโดยตรง แตสําหรับผูใหญ การเรียนรูจะมุงไปท่ีชีวิตประจําวัน (Life-centered) หรือเนนท่ีงานหรือการแกปญหา (Task-centered) เสียมากกวา น่ันคือ ผูใหญจะยอมรับและสนใจกิจกรรมการเรียนรูของเขา หากเขาเช่ือและเห็นวา การเรียนรูน้ันๆ จะชวยใหเขาทํางานไดดีข้ึน หรือชวยแกปญหาในชีวิตประจําวันของเขา ดังนั้น การจัดหลักสูตรเพ่ือการเรียนการสอน ผูใหญจึงควรจะอาศัยสถานการณตาง ๆ รอบตัวของเขา และเปนการเพิ่มความรูความเขาใจ ทักษะ ซ่ึงมีสวนชวยในการแกปญหาในชีวิตจริงของเขาดวย 5. บรรยากาศในการเรียนรูของผูใหญ ผูใหญจะเรียนรูไดดีกวาในบรรยากาศท่ีมีการอํานวยความสะดวกตางๆ ท้ังทางกายภาพ เชน การจัดแสงสวาง และอุณหภูมิของหองใหพอเหมาะ มีการจัดท่ีน่ังท่ีเอ้ือตอการมีปฏิสัมพันธระหวางผูสอนกับผูเรียน หรือระหวางผูเรียนดวยกันไดสะดวก และมีบรรยากาศของการยอมรับในความแตกตางในทางความคิด และประสบการณท่ีแตกตางกันของแตละคน มีความเคารพซ่ึงกันและกัน มีอิสรภาพ และการสนับสนุนใหมีการแสดงออกและมีความเปนกันเอง มากกวาบังคับดวยระเบียบกฎเกณฑตางๆ ผูใหญก็จะปรับตัวใหเขากับสภาพแวดลอมไดมากกวา ตรงกันขามหากผูใหญตกอยูในสิ่งแวดลอมหรือสถานการณท่ีขมขู เขาก็มักจะยืนหยัดไมยอมยืดหยุน หรือไมยอมปรับตนเองใหเขากับสภาพแวดลอมนั้น แตถาหากเขารูสึกวาอยูในสภาพแวดลอมท่ีปลอดภัย เขาจะยอมรับ และปรับตนเองใหเขากับประสบการณและสิ่งแวดลอมนั้นๆ ได จากลักษณะและธรรมชาติในการเรียนรูของผูใหญดังท่ีกลาวมาแลวขางตนมีผูสรุปถึงหลักสําคัญในการเรียนรูของผูใหญไวสั้นๆ ดังนี้คือ 1. ผูใหญจะเรียนเมื่อเขาตองการจะเรียน 2. ผูใหญจะเรียนเฉพาะสิ่งท่ีเขามีความรูสึกวามีความจําเปนจะตองเรียน โดยเฉพาะอยางย่ิงเรียนเพื่อนําไปปฏิบัติ 3. ผูใหญเรียนรูโดยการกระทําไดดีกวา การสอนผูใหญจึงควรใชวิธีการหลายๆ อยางรวมทั้งใหลงมือกระทําดวย 4. จุดศูนยกลางในการเรียนรูของผูใหญอยูท่ีปญหา และปญหาเหลาน้ันจะตองเปนจริง 5. ประสบการณมีผลกระทบกระเทือนตอการเรียนรูของผูใหญ ซ่ึงอาจเปนไดท้ังคุณและโทษตอการเรียนรู 6. ผูใหญจะเรียนรูไดอยางดีย่ิงในบรรยากาศแวดลอมท่ีเปนกันเอง ไมใชรูสึกถูกบังคับโดยระเบียบกฎเกณฑ

Page 73: test

การจัดการศึกษาและการฝกอบรมในสหกรณ 69

7. ผูใหญตองการการแนะแนวไมใชการสอน และตองการการวัดผลดวยตนเอง มากกวาการใหคะแนน เทคนิค / วิธีการจัดการศึกษาผูใหญ บทบาทที่สําคัญของผูสอน วิทยากร หรือผูอํานวยความสะดวก (Facilitators) ในการเรียนรูของผูใหญ ซ่ึงจําเปนท่ีผูรับผิดชอบจัดการฝกอบรมจะตองเขาใจเทคนิค/วิธีการในการจัดฝกอบรมใหสอดคลองกันดวยนั้น อาจสรุปไดดังนี้ 1. ผูสอนจะตองยอมรับวาผูเรียนแตละคนมีคุณคา และจะตองเคารพในความรูสึกนึกคิดและความเห็น ตลอดจนประสบการณของเขาดวย 2. ผูสอนควรพยายามทําใหผูเรียนตระหนักดวยตัวเองวามีความจําเปนท่ีเขาจะตองปรับพฤติกรรม (ท้ังดานความรู ความเขาใจ ความสามารถ และทัศนคติ) โดยเฉพาะอยางย่ิงดวยการเรียนรูเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหน่ึง และอาจประสบปญหาอยางใดบาง อันเนื่องมาจากการขาดพฤติกรรมท่ีมุงหวังดังกลาว 3. ควรจัดส่ิงแวดลอมทางกายภาพใหสะดวกสบาย (เชน ท่ีน่ัง อุณหภูมิ แสงสวาง การถายเทอากาศ ฯลฯ) รวมท้ังเอ้ือตอการปฏิสัมพันธระหวางผูเรียนดวยกันเองไดสะดวกอีกดวย (เชน ไมควรจัดใหมีการน่ังขางหนาขางหลังซึ่งกันและกัน) 4. ผูสอนจะตองแสวงหาวิธีการท่ีจะแสวงหาความสัมพันธอันดี ระหวางผูเรียนดวยกันเพ่ือสรางความรูสึกไวเนื้อเช่ือใจ และความชวยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน โดยการย่ัวยุหรือสนับสนุนใหมีกิจกรรมท่ีตองมีการใหความรวมมือรวมใจกันและกัน และในขณะเดียวกันควรพยายามหลีกเล่ียงการแขงขัน และการใชวิจารณญาณตัดสินวาอะไรควรไมควรอีกดวย 5. หากเปนไปได ผูสอนควรเปดโอกาสใหผูเรียนมีสวนรวมในเร่ืองดังตอไปน้ี 1) การพิจารณากําหนดวัตถุประสงคในการเรียนรู ตามความตองการของผูเรียนโดยสอดคลองกับความตองการขององคกร ของผูสอน และของเนื้อหาวิชาดวย 2) การพิจารณาทางเลือกในการกําหนดกิจกรรมเพ่ือการเรียนการสอน รวมท้ังการเลือกวัสดุอุปกรณ และวิธีการเรียนการสอน 3) การพิจารณากําหนดมาตรการหรือเกณฑการเรียนการสอนซ่ึงเปนท่ียอมรับรวมกันรวมท้ังรวมกันกําหนดเครื่องมือและวิธีการวัดผลความกาวหนาเพ่ือใหบรรลุวัตถุประสงคท่ีกําหนดไวตั้งแตแรกดวย 6. ผูสอนจะตองชวยผูเรียนใหรูจักพัฒนาข้ันตอนและวิธีการในการประเมินตนเองตามเกณฑท่ีไดกําหนดไวแลว การนําหลักการสหกรณขอที่ 5 มาใชในการจัดการศึกษา จากหลักการสหกรณขอท่ี 5 เรื่อง การศึกษา การฝกอบรม และขาวสาร ซ่ึงพอจะแยกออกเปน 2 ประเด็นคือ

Page 74: test

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ 70

1. การใหการศึกษาอบรมแกบรรดาสมาชิก ผูแทนจากการเลือกต้ังคือ คณะกรรมการดําเนินการ ผูตรวจสอบกิจการ ผูจัดการ และเจาหนาท่ีสหกรณ เพ่ือใหบุคคลเหลานั้นมีสวนชวยเหลือในการพัฒนาสหกรณใหเจริญกาวหนา การพัฒนาความเจริญกาวหนาของสหกรณ ตองพัฒนาในหลายมิติ แตมิติท่ีสําคัญท่ีสุดคือ การพัฒนาคุณภาพบุคลากรในขบวนการสหกรณใหมีความรู ความเขาใจในปรัชญาของสหกรณวาเปนองคกรท่ีเกิดข้ึนมาจากความตองการของสมาชิก เพ่ือท่ีจะมาแกปญหาของสมาชิกเอง ในกรณีเปนสหกรณออมทรัพยน้ันสมาชิกรวมกลุมกันเพ่ือจะแกไขปญหาทางการเงิน สรางวินัยในการออม และใหระบบการหมุนเวียนของเงินอยูในกลุมของสมาชิก ไมตองพ่ึงพาการเงินจากสถาบันการเงินภายนอกมากนัก สรางเครือขายเช่ือมโยงกันเองระหวางสหกรณ นอกจากนั้นยังตองสรางความเขาใจและปลูกฝงใหบุคลากรของสหกรณทุกฝายรูซ้ึงในเรื่องของอุดมการณสหกรณ (การชวยตนเอง การชวยเหลือซ่ึงกันและกัน) หลักการสหกรณและวิธีการสหกรณ รูถึงเร่ืองของบทบาท หนาท่ี สิทธิ ภารกิจของบุคลากรสวนตางๆ ในขบวนการสหกรณ ซ่ึงจะตองดําเนินการโดย คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ เมื่อบุคลากรตางๆ ของสหกรณมีความรูความเขาใจและพรอมรวมกันดําเนินงานกับสหกรณแลวจึงดําเนินงานใหเปนไปตามวัตถุประสงคของสหกรณไดอยางราบรื่น 2. การใหความรู ขาวสาร ในเร่ืองลักษณะและประโยชนของสหกรณแกประชาชนท่ัวไป โดยเฉพาะอยางยิ่งเยาวชนและผูนําทางความคิด การใหความรูเร่ือง การสหกรณแกบุคคลภายนอก และประชาชนท่ัวไป เปนภารกิจสําคัญประการหนึ่งของขบวนการสหกรณ เฉพาะท่ีสหกรณตางๆ จะสามารถดําเนินการใหเปนไปตามวัตถุประสงคไดน้ัน จะตองประกอบดวยหลายสาเหตุ ประการหนึ่งท่ีสําคัญคือ จํานวนสมาชิกท่ีมีคุณภาพเขามาอยูรวมกันในขบวนการ การมีสมาชิกท่ีมีคุณภาพจะเปนการทําใหการชวยเหลือซ่ึงกันและกันพรอมกันท้ังในดานการรวมแรง กาย ใจ ความคิด ทรัพย การออม ทุนดําเนินงาน ดังนั้นจึงเปนหนาท่ีของสหกรณอีกเชนกันในการท่ีตองมีขาวสาร ประชาสัมพันธแกบุคคลภายนอกใหทราบถึงความหมายของสหกรณ วัตถุประสงค การดําเนินงาน และประโยชนท่ีสมาชิกแตละคนจะไดรับ และประโยชนของชุมชนท่ีจะไดรับถาสามารถจะรวมตัวกันเปนเมืองสหกรณใหได ดังนั้นในหลักการของสหกรณขอท่ี 5 จึงแบงหนาท่ีของคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธออกเปน 2 สวนตามกลุมเปาหมาย 1. บุคลากรสหกรณ 2. บุคคลภายนอก และประชาชนท่ัวไป การจัดการศึกษาแก 2 กลุมเปาหมายน้ันจะตองกําหนดแนวคิดวา 1. องคความรูท่ีกลุมเปาหมายตองรูเปนพ้ืนฐาน 2. องคความรูท่ีกลุมเปาหมายรูในหนาท่ี 3. องคความรูเสริมตามนโยบาย

Page 75: test

การจัดการศึกษาและการฝกอบรมในสหกรณ 71

กลุมเปาหมายท่ีเปนบุคลากรสหกรณน้ัน ก็ตองแยกออกวาเปนสมาชิก/กรรมการ/ฝายจัดการ/ผูตรวจสอบกิจการ ซ่ึงแตละกลุมเปาหมายก็จะตองมีองคความรูในวิชาพื้นฐานเหมือนกันแตจะแตกตางกันในวิชาเฉพาะ

- สวนกลุมเปาหมายท่ีเปนประชาชนท่ัวไปและผูนําทางความคิดน้ันก็ตองแยกออกเปน 2 สวนคือ วิชาพื้นฐานของประชาชนและผูนําทางความคิดท่ีจะบอกถึงความหมายสหกรณ การรวมตัวกัน การรวมมือกัน ประโยชนท่ีจะไดรับจากการเปนสมาชิกสหกรณ - สวนวิชาเฉพาะ ก็จะแยกไปเฉพาะท่ีเปนผูนําทางความคิดท่ีอาจจะตองบอกวิธีการในการรวมตัวกัน การจัดตั้ง การจดทะเบียน การดําเนินงาน การแบงผลประโยชน 2. การผลิตส่ือเพื่อการศึกษาและฝกอบรม การผลิตขาวสารสหกรณ ในการผลิตขาวสารสหกรณ แลวสงไปยังบุคลากรสหกรณหรือประชาชนภายนอกใหรับรูขาวสาร วิชาการ การดําเนินงานของสหกรณน้ัน เราจะตองอาศัย “สื่อ” ซ่ึงหมายความถึง ตัวกลางหรือพาหนะนําขาวสารขอความจากผูสงไปยังผูรับ ณ จุดหมายปลายทาง ส่ือในการสื่อสาร คือ ชองทางหรือตัวกลางท่ีจะทําใหขาวสารผาน ชองทาง/ตัวกลางไปยังผูรับขาสาร ส่ือการสอน เนนในเรื่องการเรียนการสอน ส่ือโสตทัศน คือ ส่ือท่ีเนนใหเกิดการเรียนรู ท่ีไดจากการเห็นทางตา และไดยินทางหู ส่ือมวลชน คือ ส่ือท่ีสงถึงมวลชน ประชาชนเปนผูรับสาร ไดแก วิทยุ โทรทัศน หนังสือพิมพ ส่ือการศึกษา เนนในเรื่องการศึกษา เชน สารคดี รายการตอบปญหา ทางวิทยุ โทรทัศน เอกสารเผยแพร ประเภทของสื่อ 1. หนังสือ และเอกสารสิ่งพิมพ นิตยสาร วารสาร ใบปลิว แผนพับ จุลสาร จดหมายขาว 2. แผนภูมิ โปสเตอร ภาพถาย 3. เครื่องฉายภาพขามศีรษะ 4. เครื่องฉายภาพทึบแสง 5. สไลดประกอบเสียง 6. หุนจําลอง 7. ตัวอยางจริง 8. กระดาษ 9. โทรทัศน / วงจรปด 10. โทรทัศน / วิทยุ 11. ภาพยนตร / วีดิโอ / เทปบันทึกเสียง

Page 76: test

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ 72

12. Power Point / Computer 13. สื่อผสม 14. การศึกษานอกสถานท่ี 15. การแสดงสาธิต การเลือกใชส่ือ 1. วัตถุประสงค/จุดมุงหมายของแหลงขอมูลคือ สหกรณ ตองการใหผูรับขาวสาร มีพฤติกรรมเปนอยางไร 2. ลักษณะของผูไดรับขาวสาร - เพศ / อายุ - ฐานะทางสังคมและเศรษฐกิจ - พ้ืนความรู 3. ทักษะในการสื่อสารของสหกรณ 4. สถานท่ีและส่ิงอํานวยความสะดวก คือ สภาพแวดลอมในทองท่ีท่ีเราจะไปใชส่ือ 5. จํานวนหรือขนาดของผูรับสาร เปนรายคน กลุม ชุมชน 6. งบประมาณ ตองเหมาะสม คุมคา และสามารถใชใหเกิดประโยชนสูงสุด ส่ือท่ีดีมีลักษณะดังน้ี 1. มีความเหมาะสมกับการใชงาน 2. งายตอการเขาใจ 3. ขอมูลถูกตอง 4. มีความเขาใจ นาสนใจ 5. ใชเฉพาะสิ่งท่ีจําเปน วิธีการใชส่ือ เมื่อตกลงวาจะใชสื่อประเภทใดแลวก็ถึงข้ันตอนการผลิตส่ือน้ันๆคือ 1. การวางแผน โดยการใชชนิดของสื่อ ประมาณขนาดผูรับสื่อ การดึงดูดความสนใจ 2. ข้ันเตรียมการ - เตรียมเจาหนาท่ี - เตรียมสภาพแวดลอม - เตรียมกลุมเปาหมาย 3. การนําเสนอ - เรียงตามลําดับความสําคัญของเร่ือง - ใชเวลาท่ีเหมาะสม - การใหผูรับขาวสารมีสวนรวม - ความชัดเจนของสื่อ 4. การติดตามผล อาจตรวจสอบความเขาใจจากผลการดําเนินงานของสหกรณ การรวมมือของสมาชิก การเขาเปนสมาชิกเพ่ิม เปนตน

Page 77: test

การจัดการศึกษาและการฝกอบรมในสหกรณ 73

การผลิตส่ือ 1. จุดมุงหมายในการผลิต 2. เตรียมเนื้อหา 3. วางโครงเรื่อง 4. การเขียนบท 5. ทําตารางแผนปฏิบัติการ 6. การเขียนคูมือการใชส่ือ 7. การทดลองใชสื่อ 8. การปรับปรุงหลังจากการทดลอง 9. ผลิตเปนจํานวนท่ีตองการ การผลิตขาวสารสหกรณ ตองคํานึงวาขาวสารสหกรณประกอบดวยอะไรบางท่ีเปนสาระท่ีจะนําไปบอกแกกลุมเปาหมาย เชน ระเบียบ ขอบังคับ ขอกําหนด บทความเก่ียวกับสหกรณ อาชีพ อัตราเงินกู อัตราดอกเบี้ยเงินฝาก การประชุมใหญ ผลการประชุมคณะกรรมการ ความเคล่ือนไหวของอัตราดอกเบ้ีย รายงานการตรวจสอบกิจการประจําเดือน สหกรณออมทรัพยท่ีประสบความสําเร็จ ถามตอบ - ปญหา ของสหกรณออมทรัพย ฯลฯ ส่ือท่ีนํามาใชข้ึนอยูท่ีความพรอม / เร่ือง / กลุมเปาหมาย / งบประมาณ / ผูรับสาร ซ่ึงอาจจะเปนใบปลิว โปสเตอร แผนวีซีดี รายการวิทยุโทรทัศน หรือสื่อตางๆ ท่ีเหมาะสมกับผูสงขาวสารคือ สหกรณ กับผูรับขาวสาร คือ สมาชิก กรรมการ ประชาชน ผูตรวจสอบกิจการ

การผลิตคูมือสําหรับสมาชิก คูมือสําหรับสมาชิกสหกรณออมทรัพย ควรจะเปนประเภทสื่อสิ่งพิมพ ท่ีเปนสมุดเย็บเลมเลมเล็กๆ พกพางาย ใชคําพูดงาย อานแลวเขาใจ ไมสลับซับซอน มีรูปภาพประกอบพอสมควร สีสันสดใสนาอาน นาเก็บรักษา พิมพดวยกระดาษท่ีมีคุณภาพและท่ีสําคัญเนื้อหาตองพรอมใหความชัดเจนในทุกดานของการเปนสมาชิกสหกรณออมทรัพย ในเรื่องของรูปเลม วิธีการพิมพคงจะศึกษาได ในท่ีน้ีจะแนะนําในสวนของเนื้อหาวาคูมือของสมาชิกสหกรณออมทรัพยควรจะมีเนื้อหาอะไรบาง เน้ือหาของคูมือสมาชิกสหกรณออมทรัพย ควรประกอบดวย 1. ความหมายของสหกรณออมทรัพย 2. ทําไมจึงตองมีสหกรณออมทรัพย 3. ประโยชนของสหกรณออมทรัพยตอสมาชิก และชุมชน 4. ปรัชญาสหกรณและอุดมการณสหกรณ หลักการของสหกรณ วิธีการของสหกรณออมทรัพย

5. สิทธิของสมาชิกสหกรณออมทรัพย 6. หนาท่ีของสมาชิกสหกรณออมทรัพย 7. โครงสรางของสหกรณออมทรัพย 8. จะเปนสมาชิกสหกรณออมทรัพยไดอยางไร

Page 78: test

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ 74

โดยเขียนรายละเอียดในแตละเร่ืองพอใหเขาใจ หากสมัครเขาเปนสมาชิกแลว ควรจะแจกคูมือในการเปนสมาชิกเฉพาะดานคือ 1. การประชุมใหญ 2. การจัดสรรกําไรสุทธิ 3. การรับบริการจากสหกรณ สุดทายควรจะมีลักษณะของจดหมายขาว ติดตอกันระหวางสหกรณกับสมาชิก เพ่ือใหรูสึกวาสหกรณและสมาชิกคือสิ่งเดียวกัน บอกใหทราบถึงการดําเนินงาน โครงการใหมๆ มติคณะกรรมการ อัตราดอกเบ้ียเงินกู เงินฝาก และเรื่องท่ีสําคัญอ่ืนๆ

การผลิตคูมือสําหรับกรรมการ (ใหม) คูมือสําหรับกรรมการ (ใหม) ควรจะเปนส่ือส่ิงพิมพ เลมเล็ก เชนเดียวกับคูมือสมาชิกเพ่ือใหกรรมการใชเปนแนวทางในการปฏิบัติหนาท่ี ในการดําเนินงาน โดยมีเน้ือหานาสนใจ นาอาน นาเก็บรักษา และมีคุณคาในการมีไวครอบครอง คูมือของกรรมการ (ใหม) ควรมี 3 ระดับคือ 1. กรรมการใหม ควรรูในเรื่ององคความรู พ้ืนฐานของสมาชิก 2. กรรมการใหม ควรรูในเรื่องบทบาท หนาท่ีของคณะกรรมการดําเนินการ 3. กรรมการใหม ควรรูในเรื่อง เฉพาะดาน - ขอบังคับ ระเบียบ ขอกําหนด - การบริหารจัดการธุรกิจสหกรณ - บทบาทหนาท่ีของกรรมการ อํานาจหนาท่ี เงินกู ศึกษาและประชาสัมพันธ และเรื่องอ่ืนๆ เกี่ยวกับการบริหารจัดการในสหกรณ

Page 79: test

การจัดการศึกษาและการฝกอบรมในสหกรณ 75

แผนการสอน กระบวนการจัดการศึกษาและฝกอบรม

เวลา เนื้อหา เทคนิค / วิธีการ สื่อ 00.00-0.30 น. 30 นาที

ขอบเขตการศึกษาสําหรับผูใหญ ความหมายของคําวา การฝกอบรม หมายถึง การถายทอดเพ่ือเพ่ิมพูนทักษะ ความชํานาญ ความรู ความเขาใจ และทัศนคติ การศึกษา กระบวนการเปล่ียนพฤติกรรมอยางมีระบบเนนเร่ืองทั่วไปอยางกวางๆ การพัฒนาบุคคล สงเสริมใหเกิดการเรียนรู ทักษะ ประสบการณ และทัศนคติที่สามารถจะปฏิบัติหนาที่ไดดีขึ้น กระบวนการฝกอบรม มี 5 ขั้นตอน 1. การหาความจําเปน 2. การสรางหลักสูตร 3. การกําหนดโครงการ 4. การบริหารโครงการ 5. การประเมินและติดตามผล

บรรยายประกอบ คําอธิบาย

Power Point

0.30-1.00 น. 30 นาที

ขอบเขตการเรียนรูสําหรับผูใหญลักษณะธรรมชาติในการเรียนรูของผูใหญ 1. ผูใหญตองการเหตุผลในการเรียนรู 2. ลักษณะการเรียนรูผูใหญ คือ ตองการเรียนรู ของตนเอง 3. บทบาทของประสบการณของผูเรียน 4. แนวโนมในการเรียนรูของผูใหญ 5. บรรยากาศในการเรียนรูของผูใหญ

บรรยายประกอบ คําอธิบาย

Power Point

1.00 -1.30 น. 30 นาที

เทคนิค / วิธีการจัดการศึกษาผูใหญ 1. ผูสอนตองยอมรับวาผูเรียนแตละคนมีคุณคา 2. ผูสอนตองพยายามทําใหผูเรียนตระหนักวาเขา มีความจําเปนจะตองเปลี่ยนพฤติกรรม 3. ควรจัดส่ิงแวดลอมใหสะดวกสบาย

บรรยายประกอบ คําอธิบาย

Power Point

4. ผูสอนตองมีความสัมพันธอันดีกับผูเรียน 5. ผูสอนควรเปดโอกาสใหผูเรียนมีสวนรวม

- การกําหนดวัตถุประสงค - เลือกกิจกรรม - เกณฑมาตรฐานการเรียนการสอน

Page 80: test

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ 76

เวลา เน้ือหา เทคนิค / วิธีการ สื่อ 6. ผูสอนจะตองชวยผูเรียนใหรูจักพัฒนา

ขั้นตอน

0.30-2.00 น. 30 นาที

การผลิตสื่อเพื่อการศึกษาและฝกอบรม หลักสหกรณขอ 5 เร่ือง การศึกษา การฝกอบรม และขาวสาร แบงออกเปน 2 ประเด็นคือ 1. ใหการศึกษาอบรมแกบุคลากรสหกรณ 2. ใหการศึกษาอบรมแกประชาชนภายนอก และผูนําทางความคิด ประเภทของสื่อ หนังสือ แผนภูมิ โอเวอรเฮด สไลด หุนจําลอง กระดาน โทรทัศน Power Point ศึกษาดูงาน การแสดงสาธิต การเลือกใช ส่ือ วัตถุประสงค ลักษณะผู รับขาวสาร ทักษะการส่ือสารงบประมาณ ส่ือท่ีดี มีความเหมาะสม เขาใจงาย ขอมูลถูกตอง เขาใจ ใชเฉพาะส่ือจําเปน วิธีการใช ส่ือ วางแผน เตรียมการ นําเสนอ ติดตามผล การผลิตสื่อ วัตถุประสงค เตรียมเนื้อหาวางโครงเร่ือง คูมือการใชส่ือ ทดลองใชปรับปรุง การผลิตขาวสารสหกรณ จัดเตรียมเนื้อหา เลือกส่ือที่เหมาะสมกับกลุมเปาหมายของสหกรณ

บรรยายประกอบ คําอธิบาย

Power Point

2.00 - 2.30 น. 30 นาที

การผลิตคูมือสําหรับสมาชิก - องคความรูในคูมือสมาชิก - องคความรู ในจดหมายขาว

บรรยายประกอบ คําอธิบาย

Power Point

2.30 - 3.00 น. 30 นาที

การผลิตคูมือสําหรับกรรมการ (ใหม) ควรมี 3 ระดับ 1. องคความรู ในคูมือสมาชิก 2. องคความรู บทบาท หนาที่กรรมการ ดําเนินการ 3. องคความรู เฉพาะดาน

บรรยายประกอบ คําอธิบาย

Power Point

Page 81: test

1. องคความรูเกี่ยวกับสหกรณออมทรัพย ในฐานะท่ีคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ เปนตัวแทนสหกรณในการถายทอดพฤติกรรมของบุคลากรสหกรณออมทรัพย (คณะกรรมการ ผูตรวจสอบกิจการ เจาหนาท่ี และสมาชิก) ท่ีพึงประสงค เพ่ือสรางคุณภาพใหแกสหกรณออมทรัพย คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ จึงตองศึกษาถึงองคความรูเกี่ยวกับสหกรณออมทรัพย ใหรูแจง เห็นจริง จึงจะสามารถถายทอดหรือสื่อสารใหแกบุคลากรสหกรณออมทรัพยไดเขาใจ โดยเฉพาะอยางย่ิงองคความรูในสหกรณออมทรัพยมีมากมาย แตอยางนอยคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ ตองมีความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับสหกรณออมทรัพยกอน ซ่ึงในข้ันตนในหลักสูตรนี้ ไดเรียบเรียงไวท้ังหมด 23 ฐานความรู เม่ือคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ มีองคความรูดังกลาวท่ีชัดเจนแลว ก็สามารถนําไปเปนแนวทางในการจัดกระบวนการฝกอบรมแกบุคลากรสหกรณได องคความรูเบ้ืองตนเกี่ยวกับสหกรณออมทรัพยประกอบดวย

1) ปรัชญาและอุดมการณสหกรณ มนุษยแสดงความคิดของตนเองโดยทางวาจา การพูด และการกระทํากิจกรรมใดๆ บอยๆ เรียกวา “นิสัย” ซ่ึงมีรากฐานจากแนวคิดของแตละคน นิสัยของกลุมคนตางๆ ท่ีมีลักษณะเหมือนๆ กัน รวมกันเปน “คานิยม” ของกลุมนั้นๆ ซ่ึงจะมีรากฐานทางแนวคิดของแตละคนเปนไปในแนวเดียวกันเมื่อรวมคานิยมของกลุมชนเขาดวยกันเรียกวา “อุดมการณ” อุดมการณ คือ แนวคิด ความเช่ือของกลุมคน ซ่ึงแนวคิดและความเชื่อน้ันมีแบบแผน มีท่ีมา มีตนกําเนิด มีความเปนไป มีเหตุผลและมีบทสรุปตามความเชื่อน้ันๆ และมีความเปนธรรมในสังคม อุดมการณสหกรณ คือ ความเชื่อรวมกันท่ีวา การชวยตนเอง และการชวยเหลือซ่ึงกันและกัน จะนําไปสูสังคมแหงการกินดี อยูดี มีสันติสุข และมีความเปนธรรมในสังคม

การชวยตนเอง คือการชวยตนเองอยางเต็มท่ี และสมศักดิ์ศรีในความเปนมนุษยโดย ขยัน คือ ทําทุกสิ่งดวยตนเอง และเกิดความภาคภูมิใจ ประหยัด คือ การรูจักใชจายอยางมีเหตุผล พัฒนาตน คือ การเพ่ิมคุณคาใหกับตนเอง หลีกพนอบาย คือ การไมหลงเขาไปติดบวงแหงความหายนะ

องคความรู เบื้ องตนเ ก่ียวกับสหกรณออมทรัพยและแนวทางการจัดฝกอบรมแก

บุคลากรสหกรณ

Page 82: test

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ 78

การชวยเหลือซ่ึงกันและกัน คือ การรวมพลังกันในการรวมกันทํางานใหผลสําเร็จโดย - เสียสละเพ่ือสวนรวม คือ การทํางานเพ่ือสวนรวมโดยเสียสละเร่ืองสวนตัวบาง - รวมมือกันพัฒนา คือ รวมแรงรวมใจเพ่ือกอใหเกิดประโยชนแกสวนรวม - ซ่ือตรงตอกติกา คือ รวมมือปฏิบัติตามกฎเกณฑเม่ือความสงบสุขของสังคม - มีเมตตารักใคร คือ ความรัก ความสมานฉันท ความสามัคคี ในสังคม 2) หลักการสหกรณ

คือ แนวทางท่ีสหกรณยึดถือปฏิบัติ เพื่อใหคุณคาของสหกรณเกิดผลเปนรูปธรรม หลักการสหกรณสากลมี 7 ประการคือ

หลักการที่ 1 การเปดรับสมาชิกท่ัวไปและดวยความสมัครใจ สหกรณเปนองคการแหงความสมัครใจท่ีเปดรับบุคคลท้ังหลายท่ีสามารถใชบริการของสหกรณและเต็มใจรับผิดชอบในฐานะสมาชิกเขาเปนสมาชิกโดยปราศจากการกีดกันทางเพศ สังคม เชื้อชาติ การเมือง หรือศาสนา

หลักการที่ 2 การควบคุมโดยสมาชิกตามหลักประชาธิปไตย สหกรณเปนองคการประชาธิปไตยท่ีควบคุมโดยมวลสมาชิกผูมีสวนรวมอยางแข็งขันในการกําหนดนโยบายและการตัดสินใจ บุรุษและสตรีผูท่ีไดรับเลือกใหเปนผูแทนสมาชิกตองรับผิดชอบตอมวลสมาชิก ในสหกรณข้ันปฐมสมาชิกมีสิทธิในการออกเสียงเทาเทียมกัน (สมาชิกหน่ึงคนหนึ่งเสียง) สําหรับสหกรณในระดับอ่ืนใหดําเนินอ่ืนใหดําเนินไปตามแนวทางประชาธิปไตยดวยกัน

หลักการที่ 3 การมีสวนรวมทางเศรษฐกิจโดยสมาชิก สมาชิกสหกรณพึงมีความเท่ียงธรรมในการ “ให” และควบคุมการ “ใช” เงินทุนในสหกรณตามแนวทางประชาธิปไตย ทุนของสหกรณอยางนอยสวนหนึ่งตองเปนทรัพยสินสวนรวมของสหกรณ สมาชิกจะไดรับผลตอบแทนสําหรับเงินทุนตามเง่ือนไขแหงสมาชิกภาพในอัตราท่ีจํากัด (ถามี) มวลสมาชิกเปนผูจัดสรรผลประโยชนสวนเกินเพื่อจุดมุงหมายประการใดประการหนึ่งหรือท้ังหมดดังตอไปนี้ คือ

- เพ่ือการพัฒนาสหกรณของตน - โดยจัดใหเปนทุนของสหกรณ ซ่ึงสวนหนึ่งแหงทุนนี้ตองไมนํามาแบงปนกัน - เพ่ือประโยชนแกสมาชิกตามสวนของปริมาณธุรกิจท่ีทํากับสหกรณ - เพ่ือสนับสนุนกิจกรรมอ่ืนใดท่ีมวลสมาชิกเห็นชอบ หลักการที่ 4 การปกครองตนเองและความเปนอิสระ

สหกรณเปนองคการอิสระและพ่ึงพาตนเองโดยการควบคุมของสมาชิกในกรณีท่ีสหกรณจําตองมีขอตกลงหรือผูกพันกับองคการอื่นๆ รวมถึงองคการของรัฐ หรือตองแสวงหาทุนจากแหลงภายนอกสหกรณตองกระทําภายใตเง่ือนไขอันเปนท่ีม่ันใจไดวามวลสมาชิกจะยังคงไวซ่ึงอํานาจในการควบคุมตามแนวทางประชาธิปไตยและยังคงดํารงความเปนอิสระของสหกรณ

หลักการที่ 5 การศึกษา การฝกอบรมและขาวสาร สหกรณพึงใหการศึกษาและการฝกอบรมแกมวลสมาชิก ตัวแทนสมาชิก ผูจัดการ และพนักงาน เพ่ือบุคคลเหลาน้ันสามารถมีสวนชวยพัฒนาสหกรณของตนไดยางมีประสิทธิผล รวมถึงการใหขาวสารแกสาธารณชนโดยเฉพาะอยางย่ิงแกเยาวชนและบรรดาผู นําทางความคิดในเร่ืองคุณลักษณะและคุณประโยชนของสหกรณได

Page 83: test

องคความรูเบื้องตนเก่ียวกับสหกรณออมทรัพยและแนวทางการจัดฝกอบรมแกบุคลากรสหกรณ 79

หลักการที่ 6 การรวมมือระหวางสหกรณ สหกรณสามารถใหบริการแกสมาชิกไดอยางมีประสิทธิผลสูงสุดและเสริมสรางความเขมแข็งใหแกขบวนการสหกรณได โดยการประสานความรวมมือกันในระดับทองถิ่น ระดับชาติ ระดับภูมิภาค และระดับนานาชาติ

หลักการที่ 7 ความเอ้ืออาทรตอชุมชน สหกรณพึงดําเนินกิจกรรมเพ่ือการพัฒนาที่ย่ังยืนของชุมชนตามนโยบายที่มวลสมาชิกใหความเห็นชอบ

3) วิธีการปฏิบัติของสหกรณออมทรัพย คือการนําหลักการของสหกรณมาประยุกตใชในการดําเนินงานทางเศรษฐกิจและสังคม เพ่ือประโยชนของมวลหมูสมาชิก และชุมชน โดยไมละเลยหลักการธุรกิจท่ีดี

วิธีการสหกรณปฏิบัติไดโดย 1. การรวมแรง

กาย รวมแรงกายทํากิจกรรมเพ่ือสวนรวมของสหกรณ ความคิด รวมคิด รวมตัดสินใจ รวมใหความเห็นแกสหกรณ ทรัพย รวมลงทุน รวมฝากเงิน รวมถือหุนในสหกรณ

2. การรวมใจ ซ่ือสัตย มีความซื่อสัตยตอตนเอง และตอสหกรณ เสียสละ เสียสละผลประโยชนสวนตัวเองบาง เพื่อผลประโยชนสวนรวม สามัคคี รวมมือกันสรางความสามัคคี เพ่ือสรางพลังในทุกดาน มีวินัย ปฏิบัติตามระเบียบขอบังคับ ขอกําหนด เพ่ือสราง

ระเบียบวินัยในสหกรณ 4) พระราชบัญญัติสหกรณ

พระราชบัญญัติสหกรณ พ.ศ. 2542 ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันท่ี 23 เมษายน 2542 มีผลบังคับใชวันท่ี 24 เมษายน 2542 พระราชบัญญัติสหกรณ พ.ศ.2542 คือกฎหมายท่ีตราข้ึนมาเพ่ือดูแลการสหกรณในประเทศท้ังระบบโดยมีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริมผลประโยชนทางเศรษฐกิจและสังคมของบรรดามวลสมาชิก โดยการชวยตนเองและการชวยเหลือซ่ึงกนัและกันตามหลักการสหกรณ พระราชบัญญัติสหกรณ พ.ศ. 2542 ประกอบดวย 10 หมวด (133 มาตรา) และหนึ่งบทเฉพาะกาล (5 มาตรา) รวม 138 มาตรา หมวดท่ี 1 บทท่ัวไป หมวดท่ี 2 การกํากับและสงเสริมสหกรณ หมวดท่ี 3 สหกรณ หมวดท่ี 4 การชําระบัญชี หมวดท่ี 5 การควบสหกรณเขาดวยกัน หมวดท่ี 6 การแยกสหกรณ

Page 84: test

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ 80

หมวดท่ี 7 ชุมนุมสหกรณ หมวดท่ี 8 สันนิบาตสหกรณแหงประเทศไทย หมวดท่ี 9 กลุมเกษตรกร หมวดท่ี 10 บทกําหนดโทษ และบทเฉพาะกาล

5) ขอบังคับสหกรณออมทรัพย คือสิ่งท่ีสมาชิกตกลงรวมกันถือใชเปนขอปฏิบัติ ซ่ึงจะตองมีขอตอไปนี้ 1. ช่ือสหกรณออมทรัพยตองมีคําวา “จํากัด” ตอทาย 2. เปนประเภทสหกรณออมทรัพย 3. มีวัตถุประสงคเพ่ือสงเสริมใหสมาชิกรูจักการออมทรัพยและกูยืมเม่ือเกิดความ จําเปนหรือหรือเพ่ือกอใหเกิดประโยชนงอกเงย 4. ท่ีตั้งของสํานักงานสหกรณ 5. หุน มูลคาของหุน การชําระคาหุน 6. ขอกําหนดเกี่ยวกับการดําเนินงาน การบัญชี การเงินของสหกรณ 7. คุณสมบัติของสมาชิก วิธีรับสมาชิก การขาดจากสมาชิกภาพ 8. ขอกําหนดเกี่ยวกับการประชุมใหญ 9. การเลือกตั้ง การดํารงตําแหนง การพนจากตําแหนง และการประชุมของคณะกรรมการดําเนินการของสหกรณ 10. การแตงตั้ง การดํารงตําแหนง การพนจากตําแหนง การกําหนดอํานาจ หนาท่ี และความรับผิดชอบของผูจัดการ

6) วัตถุประสงคของสหกรณออมทรัพย สหกรณออมทรัพยมีวัตถุประสงคเพ่ือสงเสริมผลประโยชนทางเศรษฐกิจและสังคมของบรรดาสมาชิกโดยวิธีชวยตนเองและชวยเหลือซ่ึงกันและกันตามหลักการสหกรณ

7) ทุนดําเนินงาน คือเงินท่ีสหกรณใชในการดําเนินงาน ทุนดําเนินงานแบงออกเปน 2 สวนใหญคือ

- ทุนภายนอกสหกรณ - ทุนภายในสหกรณ

ทุนภายนอกสหกรณ จากสหกรณอ่ืนๆ หรือชุมนุมสหกรณท่ีมาฝาก / ใหเงินกู - สถาบันการเงิน ธนาคารตางๆ ท่ีสหกรณกูเงิน - ผูบริจาคให

ทุนภายในสหกรณ จาก - สมาชิกถือหุน - สมาชิกฝาก / สมาชิกสมทบฝาก - ทุนสํารองของสหกรณ - ทุนตางๆ ในสหกรณ

Page 85: test

องคความรูเบื้องตนเก่ียวกับสหกรณออมทรัพยและแนวทางการจัดฝกอบรมแกบุคลากรสหกรณ 81

8) การออกหุน สหกรณออกหุนไดโดยไมจํากัดจํานวนหุน หุนแตละหุนมีมูลคาเทากัน สมาชิกแตละคนจะตองถือหุนอยางนอยหน่ึงหุน แตตองไมเกินหนึ่งในหาของหุนท่ีชําระแลวท้ังหมดของสหกรณ ซ่ึงในการชําระคาหุน สมาชิกจะนําคาหุนหักกลบลบหนี้กับสหกรณไมได สมาชิกมีความรับผิดชอบเพียงไมเกินจํานวนเงินคาหุนท่ียังถือใชไมครบมูลคาหุนท่ีตนถือ และในระหวางท่ีสมาชิกภาพของสมาชิกสหกรณไมสิ้นสุดลง เจาหน้ีของสมาชิกใชสิทธิเรียกรองในคาหุนของสมาชิกผูน้ันไมได เพื่อสรางความม่ันคงใหสมาชิกและสหกรณ สหกรณจึงกําหนดใหสมาชิกถือหุนคือ 1. ถือหุนเม่ือแรกเขา 2. ถือหุนเปนรายเดือนอยางนอยตามอัตราท่ีสหกรณกําหนด 3. เม่ือสมาชิกมีคาหุนถึงระดับท่ีขอบังคับกําหนดแลวอาจจะไมตองถือหุนเพ่ิมก็ได สมาชิกจะถอนหุนคืนได เมื่อไดลาออกจากสหกรณ และชําระหนี้สินหมดส้ินแลว การถือหุนเพ่ิม สวนใหญมาจากสมาชิกซ่ึงถือวาเปนเจาของสหกรณ เปนผูระดมทุน สมาชิกจะระดมหุนใหแกสหกรณทําได 2 วิธีใหญๆ คือ ก) แสดงความจํานงขอถือหุนเพ่ิมประจําเดือน ข) แสดงความจํานงขอถือหุนเปนครั้งๆ ตามความสามารถ

9) การฝากเงิน เปนการสรางนิสัยการออมทรัพยแกสมาชิก ในสหกรณจะมีอัตราดอกเบ้ียแตละประเภทเงินฝากไวใหสมาชิกเลือกใชบริการ เม่ือสมาชิกปฏิบัติตามกฎเกณฑนั้นๆ สมาชิกก็จะรับผลประโยชนคือ ดอกเบ้ียเงินฝากตามอัตราท่ีสหกรณประกาศใหทราบสหกรณก็จะไดรับประโยชนจากการนําเงินนั้นไปใชในธุรกิจเพ่ือชวยเหลือทางการเงินแกสมาชิกผูมีความจําเปนในการกูเงิน สมาชิกจะถอนเงินฝากทุกประเภทไดตลอดเวลา แตจะไดดอกเบ้ียตามอัตราท่ีกําหนดไว เม่ือสมาชิกมีเวลาฝากเงินตามท่ีสหกรณออกระเบียบ

ประเภทเงินฝากของสหกรณ แบงออกเปน 2 ประเภทคือ 1. เงินฝากออมทรัพย (รวมถึงเงินฝากออมทรัพยพิเศษ) 2. เงินฝากประจํา - 3 เดือน - 6 เดือน - 12 เดือน

10) การสะสมทุน เน่ืองจากสหกรณออมทรัพยเปนนิติบุคคล จําเปนตองสะสมทุน ดังนั้นทุนสะสมของสหกรณ ไดแก 1. ทุนสํารอง 2. ทุนสะสมตางๆ 3. รับเงินอุดหนุนหรือทรัพยสินท่ีมีผูยกให

Page 86: test

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ 82

11) การใหเงินกู สมาชิกอาจกูยืมเงินของสหกรณออมทรัพยท่ีตนเองเปนสมาชิกอยูได เพราะสหกรณออมทรัพยสอนใหสมาชิกทุกคนรูจักการออม / สะสมทรัพย และชวยเหลือซ่ึงกันและกันเม่ือสมาชิกเกิดความเดือดรอนก็สามารถกูยืมเงินได แตสหกรณจะใหกูยืมเงินแตเฉพาะเพ่ือการอันจําเปนหรือมีประโยชน วงเงินท่ีกําหนดในระเบียบวาดวยเงินกูท่ีออกโดยสหกรณแตละแหง โดยสาระแลวจะมีหลักเกณฑดังนี้

1. จํานวนเทาของหุนในการกูเงินแตละคร้ัง 2. วัตถุประสงคของการใชเงินกู 3. แผนการชําระคืนเงินกู 4. ระยะเวลาท่ีเปนสมาชิก 5. ผูค้ําประกัน 6. รายไดของสมาชิก สมาชิกูเงินจากสหกรณออมทรัพยดีกวากูจากแหลงเงินกูอ่ืนเพราะจะไดรับเงินเฉล่ียคืนจากดอกเบ้ีย

ท่ีตนเองเสียใหสหกรณไป ซ่ึงสถาบันการเงินไมมีใหคืนแกผูกู ในอัตราดอกเบ้ียท่ีเทากัน หรือสหกรณใหกูถูกกวา

ประเภทของเงินกูในสหกรณออมทรัพยมี 3 ประเภทคือ 1. เงินกูเพ่ือเหตุฉุกเฉิน กรณีสมาชิกมีเหตุฉุกเฉินอันจําเปนรีบดวน กูไดทันทีสงชําระภายใน 2

หรือ 3 งวด/เดือน 2. เงินกูสามัญ กรณีสมาชิกมีความประสงคจะใชจายเงินเพ่ือการอันจําเปนหรือมีประโยชน วงเงิน

กูตามจํานวนเทาของหุนท่ีถือ สงชําระคืนภายใน 72 งวด/เดือน 3. เงินกูพิเศษ เพ่ือสงเสริมฐานะความม่ันคงหรือเพ่ือการเคหะหรือกอประโยชนงอกเงยแกสมาชิก

วงเงินกูตามวัตถุประสงคท่ีขอกูเงินและมีหลักประกันเปนอสังหาริมทรัพยสงชําระคืนภายใน 120 งวด/เดือน 12) การฝากหรือการลงทุน

เงินของสหกรณน้ัน สหกรณอาจฝากหรือลงทุนไดตามท่ีกําหนดไวในวัตถุประสงคของสหกรณและตามท่ีคณะกรรมการพัฒนาการสหกรณแหงชาติกําหนดภายใตพระราชบัญญัติสหกรณ พ.ศ. 2542 มาตรา 62 โดยคํานึงถึงความม่ันคงและประโยชนสูงสุดท่ีสหกรณหรือสมาชิกจะไดรับ

13) การกูยืมเงิน กรณีเงินทุนของสหกรณมีไมเพียงพอท่ีจะใหบริการแกสมาชิก สหกรณอาจกูยืมเงินหรือออกตั๋วสัญญาใชเงิน หรือตราสารการเงิน หรือโดยวิธีอ่ืนใด สําหรับใชเปนทุนดําเนินงานตามวัตถุประสงคได

Page 87: test

องคความรูเบื้องตนเก่ียวกับสหกรณออมทรัพยและแนวทางการจัดฝกอบรมแกบุคลากรสหกรณ 83

14) การเงินและการบัญชีของสหกรณ การเงิน การบัญชี

เงินของสหกรณจะใชไปในอํานาจกระทําของสหกรณและยังฝากหรือลงทุนไดดังนี้ 1. ฝากในชุมนุมสหกรณหรือสหกรณอ่ืน 2. ฝากในธนาคารหรือสถาบันการเงินท่ีมี วัตถุประสงคในการชวยเหลือทางการเงิน แกสหกรณ 3. ซ้ือหลักทรัพยของรัฐบาลหรือรัฐวิสาหกิจ 4. ซ้ือหุนของธนาคารท่ีมีวัตถุประสงคเพ่ือ ชวยเหลือทางการเงินแกสหกรณ 5. ซ้ือหุนของชุมนุมสหกรณหรือสหกรณอ่ืน 6. ซ้ือหุนของสถาบันท่ีประกอบธุรกิจอันทํา ใหเกิดความสะดวกหรือสงเสริมความเจริญ แกสหกรณโดยไดรับความเห็นชอบจาก นายทะเบียนสหกรณ 7. ฝากหรือลงทุนอยางอ่ืนตามท่ีคณะกรรมการ พัฒนาการสหกรณแหงชาติกําหนด

1. สหกรณตองจัดทําบัญชีตามแบบและ รายการท่ีนายทะเบียนสหกรณกําหนด 2. รายการบัญชีท่ีเก่ียวกับเงินสดในวันใด สหกรณตองบันทึกในวันนั้น 3. รายการบัญชีท่ีไดเกี่ยวของกับเงินสด สหกรณตองบันทึกใหเสร็จภายใน 3 วัน 4. การปดบัญชีสหกรณตองมีเอกสารประกอบ ท่ีสมบูรณ 5. ใหสหกรณเก็บรักษาบัญชีและเอกสาร ประกอบไวท่ีสหกรณ 6. สหกรณจัดทํางบดุลอยางนอยทุกรอบ 12 เดือน 7. งบดุลตองแสดงทรัพยสินหนี้สินและทุนของ สหกรณพรอมท้ังบัญชีกําไรขาดทุนตามแบบ ท่ีนายทะเบียนสหกรณกําหนด 8. งบดุลตองทําใหเสร็จและใหผูสอบบัญชี ตรวจสอบเพ่ือขออนุมัติจากท่ีประชุมภายใน 150 วันนับแตวันสิ้นปทางบัญชี 9. สงสําเนางบดุลไปยังนายทะเบียนสหกรณ ภายใน 30 วันนับแตวันท่ีประชุมใหญ พิจารณา

15) การจัดสรรกําไรสุทธิ

ในการจัดสรรกําไรสุทธิประจําปของสหกรณใหสหกรณจัดสรรเปนทุนสํารองไมต่ํากวา 10% ของกําไรสุทธิ เปนคาบํารุงสันนิบาตสหกรณแหงประเทศไทยไมเกิน 5% ของกําไรสุทธิ แตตองไมเกินอัตราท่ีคณะกรรมการพัฒนาการสหกรณแหงชาติกําหนด กําไรสุทธิท่ีเหลือน้ันท่ีประชุมใหญอาจจัดสรรภายใตขอบังคับของสหกรณคือ 1. จายเปนเงินปนผลตามหุนท่ีชําระแลว แตไมเกินอัตราท่ีกําหนดในกฎกระทรวง 2. จายเปนเงินเฉล่ียคืน ใหแกสมาชิกตามสวนธุรกิจท่ีสมาชิกไดทําไวกับสหกรณในระหวางป 3. จายเปนเงินโบนัสแกกรรมการและเจาหนาท่ีสหกรณไมเกิน 10% ของกําไรสุทธิ 4. จายเปนทุนสะสม เพื่อดําเนินการใดๆ ตามขอบังคับของสหกรณ

Page 88: test

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ 84

16) โครงสรางการจัดองคการ

17) สมาชิกและที่ประชุมใหญ สมาชิกสหกรณคือ ผูท่ีลงช่ือขอจดทะเบียนสหกรณ ผูท่ีมีช่ืออยูในบัญชีของผูท่ีจะเปนสมาชิกสหกรณ และผูท่ีสมัครเขาเปนสมาชิกสหกรณหลังจากท่ีสหกรณน้ันจดทะเบียนแลว โดยจะถือวาเปนสมาชิกโดยสมบูรณตอเม่ือไดลงลายมือชื่อในสมุดทะเบียนสมาชิกและชําระคาหุนเรียบรอยแลว ในการประชุมใหญของสหกรณจะพิจารณาเรื่องดังตอไปน้ี 1. รับทราบจํานวนสมาชิก พรอมท้ังเขาใหม/ลาออก 2. รับรองรายงานการประชุมครั้งท่ีแลว 3. รับทราบผลการดําเนินงาน 4. พิจารณาอนุมัติงบดุล 5. พิจารณาจัดสรรกําไรสุทธิ 6. กําหนดวงเงินกูยืม 7. เลือกตั้งคณะกรรมการดําเนินการ 8. รับทราบและพิจารณารายงานผูตรวจสอบกิจการสหกรณ 9. เลือกตั้งผูตรวจสอบกิจการสหกรณ 10. อนุมัติแผนงานและงบประมาณรายจายประจําป 11. แกไขเพ่ิมเติมขอบังคับ 12. กําหนดคาเบ้ียเล้ียง/สมาชิก กรรมการ (ตามขอบังคับ)

ท่ีประชุมใหญ

ผูตรวจสอบกิจการ คณะกรรมการดําเนินการ

กรรมการ อํานวยการ

กรรมการ เงินกู

กรรมการศึกษา และประชาสัมพันธ

กรรมการ ..............

เหรัญญิก เลขานุการ

สมาชิกสหกรณ

Page 89: test

องคความรูเบื้องตนเก่ียวกับสหกรณออมทรัพยและแนวทางการจัดฝกอบรมแกบุคลากรสหกรณ 85

13. พิจารณาขอเสนอของสมาชิกสหกรณ 14. พิจารณาและปฏิบัติตามคําสั่งของนายทะเบียนสหกรณและเจาหนาท่ีผูเก่ียวของ 15. ปฏิบัติการอ่ืนๆ ท่ีเปนหนาท่ีของท่ีประชุมใหญตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ

18) คณะกรรมการดําเนินการ สมาชิกสหกรณเลือกตั้งตัวแทนของตนเองมาเปนผูดําเนินกิจการ และเปนผูแทนสหกรณในกิจกรรมอันเกี่ยวกับบุคคลภายนอก โดยเลือกตั้งประธานกรรมการหนึ่งคน และกรรมการอีก 14 คน โดยคณะกรรมการดําเนินการอยูในวาระไดคราวละ 2 ป แตตองไมเกิน 2 วาระติดตอกัน คณะกรรมการดําเนินการจะมอบหมายใหกรรมการคนหน่ึงคนใดหรือหลายคนหรือผูจัดการ ทําการแทนคณะกรรมการดําเนินการก็ได โดยผูมีลักษณะตอไปนี้หามเปนกรรมการคือ 1. เคยไดรับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงท่ีสุดใหจําคุกในความผิดเกี่ยวกับทรัพยท่ีกระทําโดยทุจริต 2. เคยถูกไลออก ปลดออก หรือออกจากราชการ องคกร หรือหนวยงานของรัฐ หรือเอกชน ฐานทุจริตตอหนาท่ี 3. เคยถูกใหพนจากตําแหนงกรรมการ 4. เคยถูกท่ีประชุมใหญมีมติใหถอดถอนออกจากตําแหนงกรรมการเพราะเหตุทุจริตตอหนาท่ี

คณะกรรมการปฏิบัติหนาท่ีตามท่ีระบุไวในกฎหมายสหกรณ (พ.ร.บ.สหกรณ 2542) และตามท่ีระบุไวในขอบังคับของแตละสหกรณ

19) คณะกรรมการอํานวยการ เปนผูดําเนินกิจการแทนคณะกรรมการดําเนินการตามท่ีไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการดําเนินการ ใหทําหนาท่ีควบคุมดูแลการเงิน การบัญชี ทรัพยสินและอํานวยการใหงานตางๆ ของสหกรณตามท่ีไดรับมอบหมายสําเร็จและเปนไปเพ่ือวัตถุประสงคของสหกรณและสมาชิก ท้ังนี้เพ่ือความสะดวกและรวดเร็วในการดําเนินงาน ซ่ึงไมจําเปนท่ีจะตองใชมติคณะกรรมการดําเนินการท้ังคณะ แตแจงผลการดําเนินการใหคณะกรรมการดําเนินการทราบ 20) คณะกรรมการเงินกู คือคณะกรรมการท่ีไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการดําเนินการ ใหทําหนาท่ีพิจารณาอนุมัติเงินกูใหแกสมาชิก แลวแจงใหคณะกรรมการดําเนินการทราบ ซ่ึงอาจจะกําหนดการพิจารณาเงินกูเดือนละคร้ัง สองคร้ัง หรือสามครั้ง ตามแตความตองการสมาชิกและพอเหมาะกับการดําเนินงานของแตละสหกรณ คณะกรรมการเงินกู จะยึดระเบียบวาดวยการใหเงินกูแกสมาชิกเปนหลักในการพิจารณา และพิจารณาตามกฎเกณฑ เปนธรรม เทาเทียม ตามระเบียบของแตละสหกรณ

21) คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ คือคณะกรรมการท่ีไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการดําเนินการ ใหทําหนาท่ีใหการศึกษาอบรมและประชาสัมพันธกับเรื่องสหกรณและเรื่องท่ีเก่ียวของแกบุคลากรของสหกรณอันไดแก สมาชิก กรรมการ เจาหนาท่ี ผูตรวจสอบกิจการ ใหรู เขาใจ ศรัทธา และปฏิบัติตามขอบังคับ ระเบียบ ขอกําหนดของสหกรณได ซ่ึงจะทําใหสหกรณสามารถดําเนินงานใหบรรลุวัตถุประสงค นอกจากน้ีแลวยังตองประชาสัมพันธ เชิญชวน ใหบุคคลภายนอกขบวนการสหกรณท่ีมีคุณสมบัติเขาใจ ศรัทธา และสมัครมาเปนสมาชิกสหกรณ เพ่ือใหสังคมน้ีเปนสังคมสหกรณและเมืองสหกรณในท่ีสุด

Page 90: test

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ 86

22) ผูตรวจสอบกิจการ คือบุคคลหรือนิติบุคคลซึ่งท่ีประชุมใหญเลือกตั้งจากสมาชิกหรือบุคคลภายนอกเพ่ือดําเนินการตรวจสอบกิจการท้ังปวงของสหกรณ แลวตองรายงานเสนอตอท่ีประชุมใหญ จํานวนผูตรวจสอบกิจการน้ันถาเปนบุคคลใหสหกรณเลือกตั้งจากสมาชิกหรือบุคคลภายนอกไมเกิน 5 คน และหากเปนนิติบุคคลมีไดไมเกิน 3 นิติบุคคล ผูตรวจสอบกิจการมีวาระอยูได 1 ป เม่ือมีการประชุมใหญประจําปแตละคร้ังก็จะตองมีการเลือกตั้งผูตรวจสอบกิจการใหม ผูตรวจสอบกิจการ ควรเขารวมประชุมกับคณะกรรมการดําเนินการทุกครั้ง เพ่ือใหทราบถึงการดําเนินงานตางๆ ของสหกรณ ใหความเห็น และขอเสนอแนะตามขอบังคับ และระเบียบของสหกรณ เพื่อใหเปนไปตามวัตถุประสงคท่ีท่ีประชุมใหญเลือกตั้งผูตรวจสอบกิจการ ไวคอยตรวจสอบดูแลการดําเนินงานของสหกรณ 23) ผูจัดการ ผูจัดการสหกรณ คือผูท่ีคณะกรรมการดําเนินการไดจัดจางมาใหเปนผูมีหนาท่ีและรับผิดชอบในการจัดการธุรกิจของสหกรณใหเปนไปตามนโยบายท่ีคณะกรรมการดําเนินการกําหนด เพ่ือใหบริการแกสมาชิกสหกรณโดยผูจัดการเปนผูบังคับบัญชาของเจาหนาท่ีของสหกรณอันอาจจะมี เจาหนาท่ีสินเช่ือ เจาหนาท่ีบัญชี เจาหนาท่ีการเงิน เจาหนาท่ีธุรการ 2. แนวทางการจัดฝกอบรมแกบุคลากรสหกรณ กรอบแนวคิด “คิดเองเปน ทําเองเปน และรวมรับผลประโยชน” การพัฒนาบุคลากรกลุมเปาหมายท้ัง 4 กลุมคือ สมาชิก กรรมการ เจาหนาท่ีสหกรณ และผูตรวจสอบกิจการนั้น ทุกกลุมเปาหมายลวนมีผลกระทบตอการดําเนินงานของสหกรณท้ังสิ้น กลุมสมาชิกและกรรมการ เปนท้ังเจาของ และผูใชบรกิาร กลุมเจาหนาที่สหกรณ เปนผูท่ีสหกรณจางมาใหเปนเจาหนาท่ีซ่ึงจะทําหนาท่ีตางๆ ในฝายจัดการ เพ่ือใหบริการแกสมาชิก และรับเงินเดือน / คาจาง / โบนัส / สวัสดิการจากสหกรณ กลุมผูตรวจสอบกิจการ อาจเปนสมาชิกหรือไมเปนสมาชิกก็ได แตท่ีประชุมใหญไดมอบหมายภารกิจใหตรวจสอบการดําเนินงานของคณะกรรมการดําเนินการใหถูกตองตามระเบียบ ขอบังคับ และมติของท่ีประชุมใหญ เพื่อประโยชนของมวลสมาชิกและไดรับคาตอบแทนจากสหกรณ ดังนั้น การจัดการองคความรูเพ่ือใหท้ัง 4 กลุมเปาหมายจะตองจัดการใหกลุมเปาหมายไดรับองคความรูใน 2 สวนคือ 1. โดยการฝกอบรมพื้นฐาน คือ การฝกอบรมท่ีเนนใหกลุมเปาหมายมีองคความรูในเร่ืองของสหกรณออมทรัพยในทุกดานอยางกวางๆ เพ่ือเปนการเตรียมพรอมและสรางพ้ืนฐานอันม่ันคงแกบุคคลท้ัง 4 กลุมเปาหมาย 2. โดยการฝกอบรมเฉพาะดาน คือ การฝกอบรมที่เนนใหองคความรูเฉพาะกลุมเปาหมาย เฉพาะเรื่องท่ีเก่ียวของโดยเฉพาะ ซ่ึงควรจะแบงเปน 3 ระดับ คือ ระดับตน ระดับกลาง และระดับสูง เพ่ือใหสอดคลองกับความตองการและการนําไปใชประโยชนของแตละกลุมเปาหมาย

Page 91: test

องคความรูเบื้องตนเก่ียวกับสหกรณออมทรัพยและแนวทางการจัดฝกอบรมแกบุคลากรสหกรณ 87

กรอบในการจัดฝกอบรมแกบุคลากรสหกรณ

หลักสูตรพ้ืนฐาน คือ องคความรูท่ีกลุมเปาหมายท่ีตองรู เพ่ือเปนพ้ืนฐานของสหกรณของทุกกลุม หลักสูตรข้ันตน ปรัชญาสหกรณและอุดมการณสหกรณ หลักการสหกรณ วิธีการ สหกรณ คุณคาสหกรณ ความแตกตางระบบสหกรณกับธุรกิจอ่ืน ลักษณะพื้นฐานของสหกรณ หลักสูตรข้ันกลาง สิทธิ หนาท่ีของสมาชิก

ธุรกิจของสหกรณออมทรัพย ถือหุน การฝาก การกู โครงสรางของสหกรณ บุคลากรของสหกรณ และหนวยงานท่ีเกี่ยวของ

หลักสูตรข้ันสูง ขอบังคับ ระเบียบ ขอกําหนด การจัดสรรกําไรสุทธิ การประชุมใหญของสมาชิกสหกรณออมทรัพย

หลักสูตรเฉพาะของสมาชิกสหกรณ หลักสูตรข้ันตน การระดมทุนโดยสมาชิกสหกรณ การทําธุรกิจตอสหกรณ หลักสูตรข้ันกลาง บทบาทหนาท่ีของสมาชิกในการประชุมใหญของสหกรณ หลักสูตรข้ันสูง จิตสํานึกในการเปนเจาของสหกรณ

หลักสูตรพ้ืนฐาน

หลักสูตรเฉพาะ

หลักสูตรเรงดวน

ชุดฝกอบรม- สหกรณขนาดเล็ก - สหกรณขนาดกลาง - สหกรณขนาดใหญ

หลักสูตรข้ันตน

หลักสูตรข้ันกลาง

หลักสูตรข้ันสูง

(ตามนโยบาย/การเปล่ียนแปลง)

สมาชิก

คณะกรรมการ

เจาหนาท่ีสหกรณ

ผูตรวจสอบกิจการ

Page 92: test

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ 88

หลักสูตรเฉพาะทางของกรรมการดําเนินการ

หลักสูตร คณะกรรมการ ดําเนินการ

คณะกรรมการ อํานวยการ

คณะกรรมการ เงินกู

คณะกรรมการ ศึกษาและ

ประชาสัมพันธ หลักสูตรข้ันตํ่า บทบาทหนาท่ีของ

คณะกรรมการ ดําเนินการ

บทบาทหนาที่ของคณะ กรรมการอํานวยการ

บทบาทหนาที่ของ คณะกรรมการเงินกู

บทบาทหนาที่ของ คณะกรรมการศึกษา และประชาสัมพันธ

หลักสูตรข้ันกลาง - พ.ร.บ.สหกรณ 2542 - การจัดสวัสดิการ - การบริหารจัดการ - กฎหมายที่เก่ียวของ - การจัดประชุม

- พ.ร.บ.สหกรณ 2542 - สวัสดิการ - การบริหารความเส่ียง - Team Work - การควบคุมงาน - การอานงบการเงิน

- ระเบียบเงินกู - การจัดสวัสดิการ - ระเบียบท่ีเก่ียวของ

- การบริหารการ ฝกอบรม - Data Base - Information - ส่ือ - การโฆษณา / ประชาสัมพันธ

หลักสูตรข้ันสูง - ระบบเตือนภัยใน สหกรณ - ความคิดสรางสรรค - การบริหารความเส่ียง - สหกรณภิบาล - การวิเคราะหงบการ เงิน

- องคกรแหงการเรียนรู - Result Base Management - การสรางเครือขาย - R & D - ระบบการเงินใน สหกรณออมทรัพย

- นโยบายการให สินเชื่อ - การใหสินเชื่อแบบ กํากับแนะนํา - สินเชื่อเพ่ือการ พัฒนา

- การเจรจาโนมนาว - การเจรจาตอรอง - การสรางพลังกลุม

หลักสูตรวิชาชีพสําหรับเจาหนาท่ีสหกรณออมทรัพย

หลักสูตร ผูจัดการ เจาหนาที่ธุรการ เจาหนาที่สินเชื่อ การเงิน / บัญชีหลักสูตรข้ันตํ่า บทบาทหนาท่ีผูจัดการ บทบาทหนาที่เจาหนาท่ี

ธุรการ บทบาทหนาที่ของ เจาหนาที่สินเชื่อ

บทบาทหนาที่ของ เจาหนาท่ี - การเงิน - บัญชี

หลักสูตรกลาง

- การบริหารการเงิน - Cash Flow

- เทคโนโลยีสารสนเทศ - Data Base ของสมาชิก

- การใหสินเชื่อแบบ กํากับ แนะนํา - Data Base ของ สมาชิก

- Cash Flow - Fund Flow - Ratio

หลักสูตรข้ันสูง - การบริหารจัดการ องคกรและธุรกิจ - การเชื่อมโยงขอมูล เครือขายสารสนเทศ - มาตรฐานการบริหาร สหกรณ

- การใชโปรแกรม Computer

- การใช Computer ประมวลผลขอมูล

- การใช Computer ประมวลผลขอมูล - การเขียนโปรแกรม บัญชี การเงิน สหกรณออมทรัพย

Page 93: test

องคความรูเบื้องตนเก่ียวกับสหกรณออมทรัพยและแนวทางการจัดฝกอบรมแกบุคลากรสหกรณ 89

หลักสูตรเฉพาะ ผูตรวจสอบกิจการ หลักสูตรข้ันตน การตรวจสอบและรายงานตามที่กรมตรวจบัญชีสหกรณแนะนํา หลักสูตรข้ันกลาง การตรวจสอบถึงระบบการดําเนินงานของสหกรณ การบัญชีการเงินของ สหกรณ ธุรกิจของสหกรณ ระบบสารสนเทศของสหกรณและระบบการ บริหารจัดการของสหกรณ หลักสูตรข้ันสูง ระบบการตรวจสอบกิจการตามระบบมาตรฐานสากล 3. การติดตามและการวัดผลการจัดฝกอบรม

การวัดผลองคความรู ไดแก 1. การเปรียบเทียบขอสอบกอน และหลังการใหการศึกษาอบรม ซ่ึงจะตองมีการออกขอสอบเปน

กลุมคือ ขอสอบของสมาชิก กรรมการ เจาหนาท่ี ผูตรวจสอบกิจการ 2. วัดผลจากการใชบริการของสมาชิก 3. วัดผลจากขอรองเรียนของสมาชิก 4. วัดผลจากคําชมของสมาชิก 5. วัดผลจากประสิทธิภาพการบริหารจัดการ สมาชิกสหกรณ การติดตาม ประเมินผลองคความรูท่ีไดรับ 1. เปรียบเทียบขอสอบกอน และหลังการอบรม 2. ปริมาณการถือหุน และเงินฝากของสมาชิก 3. การเขารวมประชุมใหญ 4. การใหความรวมมือกับสหกรณ

กรรมการ ติดตาม และประเมินผล 1. เปรียบเทียบขอสอบกอน และหลังการอบรม 2. องคประชุมของการประชุมคณะกรรมการแตละครั้ง 3. มติของคณะกรรมการในเรื่องตางๆ 4. ระเบียบตางๆ ท่ีออกมา 5. ภาพรวมของการบริหารจัดการสหกรณ

6. ขอรองเรียนของสมาชิก เจาหนาท่ีสหกรณ ติดตาม ประเมินผลการใหองคความรู 1. เปรียบเทียบขอสอบกอน และหลังการอบรม 2. คําติชมจากสมาชิกผูใชบริการ 3. การสังเกตจากคณะกรรมการดําเนินการ 4. ขอรองเรียนจากสมาชิก 5. การทุมเท อุทิศเวลาเพื่องานสหกรณ 6. การทํางานเปนทีมของเจาหนาท่ีสหกรณ 7. ความคิดสรางสรรค เพ่ือการใหบริการท่ีดี

Page 94: test

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ 90

ผูตรวจสอบกิจการ ติดตาม ประเมินผลจากใหองคความรู (อาจเปนไปไมไดเพราะมี วาระคร้ังละ 1 ป)

1. เปรียบเทียบขอสอบกอน และหลังการใหการศึกษาอบรม 2. ขอมูลการตรวจสอบกิจการ 3. ขอเสนอแนะเพื่อสรางสรรคสหกรณ

4. แผนการฝกอบรม 3 ชั่วโมง การฝกอบรมเก่ียวกับสหกรณออมทรัพย

เวลา เน้ือหา เทคนิค / วิธีการ สื่อ

0.00 – 0.30 นาที 30 นาที

การสหกรณ (ทํา Pre-Test) - ปรัชญาและอุดมการณสหกรณ - หลักการสหกรณ - วิธีการของสหกรณออมทรัพย - พ.ร.บ.สหกรณ - ขอบังคับของสหกรณออมทรัพย - วัตถุประสงคของสหกรณออมทรัพย

บรรยายประกอบคํา อธิบาย

Power Point

0.30 – 0.60 นาที 30 นาที

การดําเนินงานของสหกรณ ออมทรัพย - ทุนดําเนินงาน - การออกหุน - การรับฝากเงิน - การกูยืมเงิน - การสะสมทุน - การใหเงินกู - การฝากหรือการลงทุน - การเงินและการบัญชีของสหกรณ - การจัดสรรกําไรสุทธิ - โครงสรางการจัดองคการ - สมาชิกและที่ประชุมใหญ

บรรยายประกอบคํา อธิบาย

Power Point

0.60 – 0.90 นาที 30 นาที

คณะกรรมการ - คณะกรรมการดําเนินการ - คณะกรรมการอํานวยการ - คณะกรรมการเงินกู - คณะกรรมการศึกษาและ ประชาสัมพันธ - ผูตรวจสอบกิจการ - ผูจัดการ

บรรยายประกอบคํา อธิบาย

Power Point

Page 95: test

องคความรูเบื้องตนเก่ียวกับสหกรณออมทรัพยและแนวทางการจัดฝกอบรมแกบุคลากรสหกรณ 91

เวลา เน้ือหา เทคนิค / วิธีการ สื่อ 0.00 – 0.15 นาที 15 นาที

กลุมเปาหมายของการจัดการองคความรู - สมาชิกสหกรณ - กรรมการ - เจาหนาที่สหกรณ - ผูตรวจสอบกิจการ

บรรยายประกอบคําอธิบาย Power Point

0.15 – 0.30 นาที 15 นาที

แนวคิดการจัดการองคความรู - หลักสูตรพ้ืนฐาน - หลักสูตรเฉพาะทาง - หลักสูตรเรงดวน ใชหลักสูตรพ้ืนฐาน และหลักสูตรเฉพาะทาง แยกออกเปนกลุมเปาหมายแตละกลุมเปาหมายควรจะมี - หลักสูตรข้ันตน - หลักสูตรข้ันกลาง - หลักสูตรข้ันสูง หมายเหตุ หลักสูตรเรงดวนเปนหลัก สูตรเฉพาะกิจตามนโยบายและตามสภาพในขณะใดขณะหนึ่ง

บรรยายประกอบคําอธิบาย Power Point

0.30 – 0.45 นาที 15 นาที

กลุมเฉพาะของสมาชิกสหกรณ ขั้นตน - การระดมทุน - การทําธุรกิจกับสหกรณ ขั้นกลาง - บทบาทของสมาชิกในการ ประชุมใหญ ขั้นสูง - จิตสํานึกในการเปนเจาของ สหกรณ

บรรยายประกอบคําอธิบาย Power Point

0.05 – 0.60 นาที 15 นาที

หลักสูตรเฉพาะทางของกรรมการ แบ งออกเป นกรรมการดํ าเนิ นการ กรรมการอํานวยการ กรรมการเงินกู และกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ แตละคณะกรรมการจะมีหลักสูตรขั้นตน ขั้นกลางและข้ันสูง

บรรยายประกอบคําอธิบาย Power Point

Page 96: test

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ 92

เวลา เนื้อหา เทคนิค / วิธีการ สื่อ 0.60 - 0.75 นาที 15 นาที

หลักสูตรวิชาชีพของเจาหนาที่ สหกรณ แบ งออกเปนหลักสูตรของผู จัดการเจ าหน าที่ ธุ รการ เจ าหน าที่ สินเชื่ อ เจ าหน าที่ การเ งิน การบัญชี แต ละตําแหนงจะมี หลักสูตรข้ันตน ข้ันกลาง และข้ันสูง

บรรยายประกอบคําอธิบาย Power Point

0.75 – 0.90 น. 15 นาที

หลักสูตรเฉพาะของผูตรวจสอบ กิจการ อาจจะไมมีก็ไดเพราะผูตรวจสอบ กิจการมีตําแหนงคราวละ 1 ป ข้ันตน การตรวจสอบตามที่กรมตรวจบัญชีสหกรณแนะนํา ข้ันกลาง การตรวจสอบระบบการดําเนิน งาน การบัญชี การเงิน ธุรกิจสหกรณระบบสารสนเทศ และระบบการบริหารจัดการของสหกรณ

บรรยายประกอบคําอธิบาย Power Point

ข้ันสูง ระบบการตรวจสอบมาตรฐาน สากล - ทํา Post Test

บรรยายประกอบคําอธิบาย Power Point

Page 97: test

1. บทนํา รูปแบบในการบริหารสหกรณออมทรัพยน้ัน สหกรณออมทรัพยโดยท่ีประชุมใหญเปนผูเลือกตั้งสมาชิกเปนกรรมการดําเนินการคณะหนึ่งเพ่ือเปนผูดําเนินกิจการและเปนผูแทนสหกรณในกิจการอันเก่ียวกับบุคคลภายนอก คณะกรรมการดําเนินการจึงเปนผูรับผิดชอบในการบริหารงานของสหกรณ และเพื่อเปนการกระจายอํานาจใหสหกรณมีการบริหารไดรวดเร็วข้ึน เกิดความชํานาญเฉพาะอยางข้ึน ขอบังคับของสหกรณออมทรัพยจึงกําหนดใหคณะกรรมการดําเนินการแตงตั้งกรรมการดวยกันเปนคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ ตามตัวอยางขอบังคับท่ีกรมสงเสริมสหกรณไดกําหนดไวดังนี้ ขอ……คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ คณะกรรมการดําเนินการอาจตั้งคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธจํานวน…….คน โดยใหมีตําแหนงประธานกรรมการคนหนึ่ง และเลขานุการคนหน่ึงนอกนั้นเปนกรรมการ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ ใหอยูในตําแหนงไดเทาท่ีกําหนดเวลาของคณะกรรมการดําเนินการ ซ่ึงตั้งคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธน้ัน ใหคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ ประชุมกันตามคราวที่มีกิจธุระ แตจะตองมีการประชุมกันเดือนละคร้ังเปนอยางนอย และใหประธานกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ หรือเลขานุการนัดเรียกประชุมได ในการประชุมคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ ตองมีกรรมการมาประชุมไมนอยกวาก่ึงหนึ่งจํานวนของกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธท้ังหมด จึงจะเปนองคประชุม ใหคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธรายงานผลการปฏิบัติงานใหคณะกรรมการดําเนินการทราบในการประชุมคราวถัดไป ขอ……อํานาจหนาท่ีของคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ ใหคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธมีอํานาจและหนาท่ีดําเนินกิจการตามกฎหมาย ขอบังคับ ระเบียบ มติ และคําสั่งของสหกรณในสวนท่ีเก่ียวของ ซ่ึงรวมท้ังในขอตอไปน้ี (1) ใหความชวยเหลือทางวิชาการแกสมาชิก โดยใหการฝกอบรมแกสมาชิก และผูท่ีสนใจใหทราบถึงเจตนารมณ หลักวิธีการ และการบริหารงานของสหกรณ (2) ประชาสัมพันธและเผยแพรขาวสาร ความรูเก่ียวกับภาพลักษณ ประโยชน รวมทั้งผลงานของสหกรณใหสมาชิกและบุคคลภายนอกรับทราบ (3) ดําเนินการในการหาผูสมัครเขาเปนสมาชิก

การประชุมคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

Page 98: test

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ 94

(4) ใหการศึกษาอบรม และเผยแพรแกสมาชิกถึงวิธีการออมทรัพย และการใชจายเงินอยางรอบคอบ ตลอดจนวิชาการตางๆ อันจะเปนประโยชนตอการประกอบอาชีพ (5) ศึกษา และติดตามขาวความเคล่ือนไหวดานการดําเนินงานของสหกรณอ่ืนท้ังในและนอกประเทศเพื่อนําตัวอยางท่ีดีมาเสนอคณะกรรมการดําเนินการพิจารณานํามาบริการแกสมาชิกตามความเหมาะสม 2. องคประกอบที่สําคัญของการประชุมคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ จะตองมีการประชุมกันอยางนอยเดือนละครั้ง ตามระเบียบวาระการประชุมท่ีกําหนดไว ผูมีอํานาจในการเรียกประชุม คือ ประธานกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธหรือเลขานุการ องคประชุม ในการประชุมคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ ตองมีกรรมการมาประชุมไมนอยกวาก่ึงหนึ่งของจํานวนกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธท้ังหมด ตัวอยางเชน คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ มีจํานวน 5 คน องคประชุมก็คือ 3 คนเปนอยางนอย ประธานในที่ประชุม ใหประธานกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธเปนประธานในท่ีประชุม ถาประธานกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธไมอยูในท่ีประชุม ก็ใหท่ีประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งเปนประธานในที่ประชุมเฉพาะการประชุมคราวนั้น การออกเสียงและการวินิจฉยัปญหาในที่ประชุม การออกเสียง กรรมการศึกษาและประชาสัมพันธคนหนึ่ง ใหมีเสียงหน่ึงในการลงคะแนนออกเสียงในท่ีประชุม จะมอบใหผูอ่ืนมาประชุมและออกเสียงแทนตนไมได การวินิจฉัยปญหา ใหถือคะแนนเสียงขางมากถาคะแนนเสียงเทากันใหประธานในท่ีประชุมออกเสียงเพ่ิมข้ึนอีกเสียงหน่ึงเปนเสียงช้ีขาด รายงานการประชุม ตองจัดใหผูเขาประชุมลงลายมือชื่อ พรอมท้ังบันทึกเรื่องท่ีพิจารณาหรือเรื่องเพื่อทราบแลวแตกรณีไวในรายงานการประชุม และใหประธานในท่ีประชุมกับกรรมการอีกคนหนึ่งท่ีเขาประชุม ลงลายมือช่ือดวย อน่ึง ในเร่ืองของประธานในท่ีประชุม การออกเสียง การวินิจฉัยปญหา และรายงานการประชุมตามที่กลาวไวตามขางตนน้ี เปนไปตามท่ีกําหนดไวในขอบังคับซึ่งใชไดกับการประชุมทุกคณะกรรมการ และไมไดนํามาอางอิงไว ณ ท่ีน้ี 3. ความหมายของการประชุม สมชาติ กิจยรรยง และอรจรีย ณ ตะก่ัวทุง, 2539 เทคนิคการจัดฝกอบรมอยางมีประสิทธิภาพ ไดใหความหมายไววา การประชุม (Conference) เปนการชุมนุมกัน รวมกัน หรือรวมกันปรึกษาหารือกันในเรื่องท่ีกําหนดไว

Page 99: test

การประชุมคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ 95

ไพพรรณ เกียรติโชคชัย, ผศ. หลักการสัมมนา ไดรวบรวมความหมายของการประชุมไวดังนี้ การประชุม หมายถึงการท่ีบุคคลตั้งแต 2 คนข้ึนไป รวมปรึกษาหารือกัน รวมท้ังมีการช้ีแจง อภิปราย เสนอแนะและแลกเปล่ียนความคิดเห็นซึ่งกันและกันซึ่งจะเปนไปโดยลําดับ หรือมีผูอ่ืนรวมฟงอยูดวยก็ได ท้ังนี้เพ่ือแสวงหาขอตกลงหรือเพ่ือการสื่อสารขอความ การประชุม หมายถึง การท่ีบุคคลกลุมหนึ่งนัดหมายมาพบปะสนทนากันอยางมีจุดหมาย มีระเบียบ มีวิธีการ ตามสถานท่ีและเวลาท่ีไดตกลงกันไว ทวีศักดิ์ ญาณประทีป, รศ. พจนานุกรมฉบับเฉลิมพระเกียรติ พ.ศ. 2530 การประชุมหมายถึง การรวมปรึกษาหารือกัน หรือการท่ีบุคคลตั้งแตสองคนข้ึนไปรวมหารือพิจารณางานกัน สุพัฒก ชุมชวย , การดําเนินการประชุมอยางมีประสิทธิภาพ การประชุมหมายถึง บุคคลตั้งแต 2 คนข้ึนไปรวมกันเพ่ือดําเนินงานขององคกรใหบรรลุวัตถุประสงคตามที่กําหนดไว โดยท่ัวไปจะเก่ียวกับการสื่อความ การวางแผน การกําหนดนโยบาย การตัดสินใจและการสรางแรงจูงใจ การประชุมคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธจึงมีความสําคัญ เพราะเปนวิธีการบริหารจัดการตามท่ีกําหนดไวในขอบังคับ และจะแสดงวาคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ ไดปฏิบัติหนาท่ีครบถวนตามท่ีกําหนดไวในขอบังคับหรือไม อยางไรก็ตาม มักจะพบปญหาตางๆ เก่ียวกับการประชุม ดังตอไปน้ี

1. การประชุมใชเวลานานเกินไป 2. การประชุมถูกแทรกแซงจากการประชุมอ่ืนๆ 3. มีผูเขารวมประชุมมากเกินไป 4. ขาดการวางแผนในการประชุม 5. ผูเขารวมประชุมไมพรอม 6. ผูนําการประชุมพูดคนเดียว 7. บางประเด็นจบลงโดยไมมีการสรุป 8. ไมไดแสดงความคิดเห็นกันอยางท่ัวถึง 9. ขอมูลไมครบถวน 10. บรรยากาศเครียด 11. บางคนไมพูดในท่ีประชุม กลับพูดนอกหองประชุมเม่ือการประชุมเสร็จสิ้นแลว

4. ข้ันตอนการดําเนินการประชุม

1) การเตรียมการกอนประชุม มีประเด็นท่ีสําคัญไดแก การกําหนดระเบียบวาระการประชุม ขอมูลประกอบในแตละวาระการประชุม และการจัดเตรียมสถานท่ีประชุม 1.1 ระเบียบวาระการประชุม อุทัย บุญประเสริฐ, รศ. 2540. เทคนิคการนําประชุม ใหความหมายระเบียบวาระการประชุมวาเปนหัวขอเร่ืองสําคัญ สําหรับการประชุมท่ีไดกําหนดไวเปนเรื่องตางๆ เรียกวา “วาระ” สําหรับการประชุมปรึกษาหารือ หรืออภิปรายกัน เพ่ือใหไดผลของการประชุม ซ่ึงอาจเปนมติหรือขอตกลง (Resolution) เปน

Page 100: test

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ 96

รายละเอียดเปนขอคิดเห็นหรือขอเสนอแนะ (Recommendation) เปนขอกําหนดสําหรับการดําเนินงานหรือแผนปฏิบัติการ (Procedure หรือ Action Plan) หรือเปนนโยบาย (Policy) หรืออยางใดอยางหน่ึง ระเบียบวาระการประชุมจึงเปนหัวใจสําคัญของการประชุมเปรียบไดกับ “พิมพเขียว” (Blue print) ของสิ่งกอสราง หรือเข็มทิศในการเดินทาง ถาปราศจากพิมพเขียวหรือเข็มทิศแลว การกอสรางหรือการเดินทางก็จะไรรูปแบบและทิศทาง และอาจจะไมไดผลลัพธออกมาตามท่ีตองการก็ได

2) ประโยชนของระเบียบวาระการประชุม มีดังน้ี (1) ทําใหวัตถุประสงคของการประชุมมีความชัดเจน สามารถกําหนดแนวทางปฏิบัติไดอยาง

ถูกตอง (2) เปนการใหขอมูลกอนการประชุม เพราะระเบียบวาระการประชุมควรสงใหผูเขาประชุมทราบ

กอนกําหนดวันประชุม 2 - 3 วัน เพื่อใหผูเขาประชุมมีเวลาท่ีจะเตรียมขอมูลเพ่ือเสนอขอคิดเห็นและขอเสนอแนะตางๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพ

(3) เปนเคร่ืองมือสําหรับประธานในท่ีประชุมไดตรวจสอบวาการอภิปรายของผูเขาประชุมอยูในวาระการประชุมหรือไม หากมีการพูดนอกประเด็นประธานในที่ประชุมสามารถบอกหรือเตือนใหพูดในประเด็นได

3) การเรียงลําดับหัวขอระเบียบวาระการประชุม มีหลักการดังน้ี (1) เรียงลําดับตามเหตุผล (2) เรียงตามลําดับของงานประจํากอน แลวจึงคํานึงถึงเรื่องอ่ืน (3) เรียงตามเรื่องท่ีนาสนใจมากท่ีสุดกอนเรื่องอ่ืน

(4) เรียงตามลําดับจากเรื่องงายกอนแลวจึงไปเรื่องยาก (5) เรียงลําดับเร่ืองเรงดวนกอนแลวจึงไปเรื่องสําคัญ ระเบียบวาระการประชุมของคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

เลขานุการจะเปนผูจัดระเบียบวาระการประชุม โดยมีฝายจัดการเปนผูประสานงานและกอนการประชุมทุกครั้งมีความจําเปนท่ีควรจะตองสรุปเรื่องราวการประชุมโดยยอใหประธานในที่ประชุมทราบ เพราะประธานในที่ประชุมกับเลขานุการ และฝายจัดการ หากมีความเขาใจไปในทิศทางเดียวกันแลว การประชุมก็จะเปนไปดวยความราบร่ืน นอกจากนั้นระเบียบวาระการประชุมจะสะทอนใหเห็นวา คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธไดปฏิบัติหนาท่ีครบถวนตามท่ีกําหนดไวในขอบังคับ ระเบียบ และมติของคณะกรรมการดําเนินการครบถวนหรือไม ระเบียบวาระการประชุมคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ ในกรณีปกติโดยทั่วๆ ไปแลวจะเปนดังน้ี ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องท่ีประธานแจงใหท่ีประชุมทราบ ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องรับรองรายงานการประชุมครั้งท่ี……… ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องติดตามผลความกาวหนาตามมติท่ีประชุมครั้งกอน หรืออาจจะใชวาเร่ืองสืบเน่ืองจากการประชุมคร้ังที่แลวก็ได

ระเบียบวาระท่ี 4 เรื่องเพื่อพิจารณา (ตัวอยาง) 4.1 แผนปฏิบัติงานของคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ ในรอบ 1 ป

Page 101: test

การประชุมคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ 97

4.2 แผนปฏิบัติการประชาสัมพันธงานของสหกรณ 4.3 แผนการประชาสัมพันธในการประชุมใหญของ สหกรณ

ระเบียบวาระท่ี 5 เรื่องเสนอเพื่อทราบ ระเบียบวาระที่ 6 เรื่องอ่ืนๆ (ถามี)

4) การจัดขอมูลประกอบวาระการประชุม จุมพล ชละเอม , แนวทางจัดประชุมในสหกรณ ไดกลาวไวโดยสรุปวา เลขานุการเปนผูเตรียมขอมูลโดยมีเจาหนาท่ีของสหกรณเปนผูคอยชวยเหลือหรือทําหนาท่ีเปนผูชวยของเลขานุการ ขอมูลท่ีเตรียมเปนขอมูลท่ีใชประกอบวาระการประชุมแตละวาระ หากเตรียมขอมูลไวดี การประชุมจะดําเนินไปดวยความสะดวกรวดเร็ว ขอมูลประกอบในแตละวาระการประชุมจะเปนดังนี้ (1) เรื่องท่ีประธานแจงใหท่ีประชุมทราบ มักเปนเร่ืองท่ัวไป ท่ีไมเจาะจงเปนขอสําคัญในระเบียบวาระ อาจเปนเรื่องบังเอิญท่ีประธานทราบมา แตประธานในท่ีประชุมมีความประสงคจะนํามาบอกกลาวตอท่ีประชุมหรืออาจเปนเรื่องการแนะนําบุคคลสําคัญท่ีมาเขารวมการประชุมในครั้งนั้นๆ ก็เปนหนาท่ีของประธานในท่ีประชุมท่ีจะเปนผูแนะนํา (2) เรื่องรับรองรายงานการประชุมคร้ังท่ีแลว กอนท่ีจะมีการประชุมในคร้ังตอไปในทุกประเภทการประชุม เลขานุการตองจัดใหมีการบันทึกรายงานการประชุมครั้งกอนใหเรียบรอย เพ่ือใหท่ีประชุมในครั้งท่ีจะประชุมไดตรวจสอบความถูกตองตลอดจนพิจารณาแกไขรายงานการประชุมใหตรงตามขอเท็จจริงใหเปนท่ียอมรับของกรรมการผูเขาประชุมในทุกประเด็นท่ีไดประชุมไปแลว และตองมีการรับรองรายงานการประชุมในท่ีสุด (3) เร่ืองติดตามผลความกาวหนาตามมติท่ีประชุมครั้งกอน เลขานุการตองตรวจสอบวา ในการประชุมครั้งท่ีผานมาท่ีประชุมไดลงมติใหดําเนินการในเร่ืองอะไรไวบาง เลขานุการจะตองติดตามประสานงาน ตลอดจนเตรียมขอมูลความคืบหนาจากผูเก่ียวของท่ีเปนเจาของเรื่องหรือซักซอมผูรับผิดชอบเตรียมชี้แจงตอท่ีประชุม (4) เรื่องเพ่ือพิจารณา เม่ือพิจารณาอํานาจหนาท่ีของคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธแลว จะพบวามีหนาท่ีในการประชาสัมพันธงานของสหกรณ และใหการศึกษาอบรมแกสมาชิก ดังนั้นในการประชุมจึงตองมีการพิจารณาเรื่องตางๆ ตามขางตน โดยมีขอมูลตางๆ เพ่ือใหท่ีประชุมไดพิจารณาอยางชัดเจน เชน ระยะเวลาดําเนินงาน ผูรับผิดชอบ และงบประมาณ เปนตน ในท่ีน้ีขอเสนอตัวอยางเรื่องเพ่ือพิจาณา 3 เรื่องพรอมกับขอมูลประกอบวาระการประชุมดังนี้ 4.1 แผนปฏิบัติงานของคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธในรอบ 1 ป 4.2 แผนปฏิบัติการประชาสัมพันธงานสหกรณ 4.3 แผนการประชาสัมพันธในการประชุมใหญของสหกรณ ท้ังนี้ระเบียบวาระท่ี 4.1 ควรกําหนดไวเปนวาระในการประชุมครั้งแรกของคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ เพ่ือเปนการวางกรอบในการทํางานของคณะกรรมการ สําหรับการประชุมครั้งตอๆ ไป ก็จะเปล่ียนแปลงไปตามสถานการณ

Page 102: test

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ 98

ตัวอยางขอมูลประกอบวาระการประชุมในเร่ืองเพ่ือพิจารณา 1) แผนปฏิบัติงานของคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธในรอบ 1 ป ขอมูลประกอบการประชุม จะประกอบไปดวยช่ือโครงการหรือกิจกรรมและระยะเวลาดําเนินงาน เปนตน

ช่ือโครงการ ระยะเวลา หมาย

เหตุ ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. 1. โครงการฝกอบรม ก. สมาชิกใหม ข. สมาชิกเกา ค. คณะกรรมการ และฝายจัดการ 2. โครงการประชา สัมพันธ ก. ออกจดหมาย ขาว ข. ประชุมใหญของ สหกรณ

2) แผนปฏิบัติการประชาสัมพันธงานสหกรณ ขอมูลประกอบการประชุม จะประกอบไปดวยกิจกรรม กลุมเปาหมาย วิธีดําเนินการ ระยะเวลาดําเนินการ ผูรับผิดชอบ และงบประมาณ เปนตน

กิจกรรม กลุมเปาหมาย ลกัษณะเน้ือหา วิธีดําเนินการ ระยะเวลา ผูรบัผิดชอบ งบประมาณ(บาท)

1. แผนพับ สมาชิก การออมเพื่อเปนเศรษฐีเงินลาน

แจกใหสมาชิก เม.ย., ก.ย. เลขานุการกับ หัวหนาฝายธุรการ

5,000.-

2. จุลสาร

สมาชิกกับสหกรณ ในบริเวณใกลเคียง

สรุปการประชุมประจําเดือนคอลัมนถาม-ตอบ

แจกใหสมาชิกและสหกรณอ่ืน

ทุกเดือน เลขานุการกับ รองผูจัดการ

10,000.-

Page 103: test

การประชุมคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ 99

3) แผนการประชาสัมพันธในการประชุมใหญของสหกรณ ขอมูลประกอบการประชุม จะประกอบไปดวยกิจกรรม ระยะเวลาดําเนินการ เปนตน

ราย การ กิจกรรม ระยะเวลา หมาย

เหตุ ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. 1

เผยแพรขาวสาร การประชุมใน จุลสารประจําเดือน

2

พิมพรายงานประจําป

3 จัดทําหนังสือ เชิญประชุม และโปสเตอร นัดประชุม

(5) เร่ืองเพื่อทราบ จะเปนหนาที่ของฝายจัดการที่จะเสนอความเห็นไปยังประธานกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ โดยผานเลขานุการกอนวาจะมีเรื่องใดควรแจงใหคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธเพ่ือทราบบางอาจจะเปนเรื่องภายในสหกรณหรือเรื่องจากภายนอกก็ได เมื่อประธานกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธเห็นชอบแลวก็ใหบรรจุเปนเรื่องเพื่อทราบในการประชุมคราวตอไป (6) เรื่องอ่ืนๆ (ถามี) หมายถึง เปนวาระการประชุมท่ีเตรียมเผ่ือไวในกรณีท่ีหากมีหัวขอการประชุมท่ีเพิ่งจะนํามาประชุมเพ่ิมเติมก็สามารถบรรจุลงไวในวาระการประชุมเรื่องอ่ืนๆ น้ีได ถาเรื่องนั้นจําเปนท่ีจะตองมีการพิจารณา มติท่ีประชุมก็ควรจะเปนวาใหนําไปพิจารณาในการประชุมคราวหนาเพ่ือท่ีฝายเลขานุการจะไดเตรียมขอมูลอยางครบถวนใหผูเขาประชุมไดพิจารณาลวงหนากอน 5) การจัดเตรียมสถานที่ประชุม การประชุมคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ เปนการประชุมเพ่ือปรึกษาหารือสําหรับกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ ซ่ึงตามปกติจะมีไมเกิน 5 คน โตะประชุมอาจเปนโตะกลมตัวเดียวท่ีมุมหองแตควรจะตองมีสภาพแวดลอมดังนี้ 1. เก็บเสียงไดดี 2. แสงสวางเพียงพอ 3. ไมมีเสียงรบกวน 4. อากาศถายเทดี

Page 104: test

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ 100

ตัวอยางการจัดโตะประชุม

2) การดําเนินการระหวางประชุม 1. ข้ันตอนการประชุม จุมพล ชละเอม , อางถึงแลว ไดกลาวถึงข้ันตอนการประชุมไวดังนี ้ (1) เลขานุการหรือกลุมของเจาหนาท่ีสหกรณท่ีไดรับมอบหมายตรวจสอบดูวาผูมาประชุมซึ่งเปนองคประชุมครบองคประชุมแลว จากน้ันจึงแจงใหประธานในท่ีประชุมทราบ (2) เม่ือองคประชุมมาครบตามจํานวนท่ีกําหนดไวแลว ประธานในท่ีประชุมจะกลาวเปดการประชุม และดําเนินการประชุมตามระเบียบวาระ (3) ในแตละวาระการประชุม ประธานในท่ีประชุมควรเปนผูกลาวนําหัวขอเร่ืองทุกคร้ังหากจะมีผูกลาวแทน ประธานควรมอบหมายกอน (4) ในการประชุม ผูเขาประชุมตองอยูในความสงบ ไมสงเสียงดังแทรกแซงระหวางมีผูกําลังพูดในท่ีประชุม หากมีความประสงคขอพูดหรืออภิปราย หรือแสดงความเห็นตองขอและไดรับอนุญาตจากประธานในท่ีประชุมกอน (5) ประธานในท่ีประชุมตองทําหนาท่ีกํากับการประชุม กลาวคือ 1) กํากับเวลา ตลอดการประชุมใหอยูในระยะเวลาท่ีเหมาะสมไมใชเวลามากหรือนอยเกินความจําเปน 2) กํากับสาระ ควบคุมการเสนอเรื่อง ความคิด คําชี้แจง ตลอดจนความเห็นและการอภิปรายของผูเขาประชุม ใหอยูในประเด็นของเร่ืองท่ีประชุม 3) กํากับความเรียบรอย ควบคุมการประชุมใหอยูในความเรียบรอยไมใหเกิดการกระทบกระท่ัง โตเถียง ขณะผูประชุมหรือท่ีประชุมมีความเห็นไมตรงกันหรือขัดแยงกัน (6) กรณีเรื่องท่ีกําลังประชุมเกี่ยวของกับเจาของเรื่องผูใด ประธานในท่ีประชุมจะเปนผูบอกใหผูเก่ียวของนั้นเปนผูชี้แจงหรือรายงาน หากประธานในท่ีประชุมหรือเลขานุการช้ีแจงแทนได ประธานในท่ีประชุมหรือเลขานุการจะเปนผูช้ีแจงก็ได

Page 105: test

การประชุมคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ 101

2. บทบาทหนาท่ีของกรรมการผูเขาประชุม 1. ประธานในที่ประชุม ในการประชุมนั้น ประธานท่ีประชุมจะเปนบุคคลท่ีมีความสําคัญมากจนเรียกไดวา “สําคัญมากที่สุด” ตอความสําเร็จหรือลมเหลวของการประชุม ประธานในท่ีประชุมท่ีไมดี นําการประชุมไมดี จะทําใหผูเขาประชุมรูสึกเบ่ือหนาย ทําใหการประชุมลมเหลว ในบางกรณียังไดพบวา ประธานไดกลายเปนตัวการ ย่ัวยุใหผูเขาประชุมขัดแยงกัน เปนตน

วีรวุธ มาฆะศิรานนท, 2542. เทคนิคการประชุมอยางมีประสิทธิภาพ ไดกลาวไววาความสําเร็จในบทบาทของการเปนประธานในท่ีประชุมจะมาจากปจจัยสําคัญ 2 ประการคือ บุคลิกภาพสวนตัวและเทคนิควิธีการตางๆ ท่ีใชนําในการประชุม

(1) บุคลิกภาพสวนตัวของประธานในที่ประชุม ท่ีสําคัญประกอบดวย 1) มีความยุติธรรม ในการใหโอกาสแกผูเขารวมประชุมทุกคนแสดงความคิดเห็นโดยเสรี รวมทั้งมีความยุติธรรมในการตัดสินใจมอบหมายงานตางๆ 2) มีความม่ันใจในตนเอง โดยศึกษารายละเอียดของวาระการประชุมเปนอยางดีและม่ันใจวาจะสามารถบริหารการประชุมไดอยางมีประสิทธิภาพ นํ้าเสียง คําพูด และสายตาของประธานท่ีประสานกับผูเขารวมประชุม จะเปนดัชนีช้ีวัดความม่ันใจไดเปนอยางดี 3) ความชัดเจนในข้ันตอนการคิด และการตัดสินใจดวยเหตุ-ดวยผล ตลอดจนสามารถสรุปประเด็นในแตละวาระการประชุม พรอมท้ังทําการมอบหมายงานไดอยางถูกตองและชัดเจน 4) ตองพยายามควบคุมตนเองใหปราศจากความเอนเอียง ไมมีอารมณโกรธฉุนเฉียว 5) มีทักษะในการพูด สรุปประเด็นใหผูอ่ืนเขาใจไดโดยงาย รวมถึงการสั่งการท่ีกระชับไมเย่ินเยอ

(2) เทคนิคและวิธีการตางๆ ท่ีใชนําในการประชุม 1) ชวงเปดการประชุม

- เปดการประชุมใหตรงเวลา - กลาวตอนรับการประชุมเพ่ือสรางบรรยากาศท่ีดีตั้งแตเริ่มแรก

- กลาวขอความรวมมือในการออกความเห็น คิดวิเคราะห และอภิปรายอยางเปนกันเอง ตรงไปตรงมา

2) ชวงนําเขาสูวาระการประชุมตางๆ - เริ่มทําการพิจารณาเรียงตามลําดับวาระการประชุมท่ีไดกําหนดไว

- คอยดูแลไมใหผูเขาประชุมจับคูแลกเปล่ียนขอคิดเห็นกันเองซึ่งจะ ทําใหเสียวินัยของท่ีประชุม

- สรางบรรยากาศแบบผอนคลายและเสริมการประชุมดวยอารมณขันบางตามความเหมาะสม

- คอยตัดบทสําหรับผูเขาประชุมบางคนท่ีพูดวกวน เย่ินเยอ โดยทําอยางนุมนวลไมใหเกิดอาการ “เสียหนา” ข้ึน

- หากมีงานท่ีตองดําเนินการตอไปหลังจากการประชุมน้ี ประธานในท่ีประชุมจะตองพิจารณามอบหมายสั่งการดวยความชัดเจน

Page 106: test

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ 102

3) ชวงปดการประชุม - ปดการประชุมใหตรงตามกําหนดเวลา - หากมีการนัดหมายการประชุมในครั้งตอไป ก็ใหนัดหมายกันในชวงนี้เลย - ขอบคุณผูเขารวมประชุมทุกคน อุทัย บุญประเสริฐ, รศ. เทคนิคการนําประชุม กลาววา ประธานควรไปถึงท่ีประชุมกอนเวลาเร่ิมประชุมเล็กนอยเพ่ือถือโอกาสทักทายปราศรัย สอบถามสุขทุกข สรางความเปนกันเอง และเปดโอกาสใหผูเขาประชุมบางคนไดพูดคุยดวยในลักษณะท่ีเปนกันเอง 2. เลขานุการ เกษม วัฒนชัย, ศ. ไดกลาวถึง บทบาทและหนาท่ีของเลขานุการในระหวางการประชุม มีดังนี้ (1) ดูแลความเรียบรอยเก่ียวกับเรื่องตางๆ ท่ีไดจัดเตรียมไวแลว (2) จัดเตรียมเอกสารท่ีไดจัดเตรียมไวแลวใหพรอมเพ่ือการแจกจายตอท่ีประชุม (3) เปนผูชวยผูบริหาร หรือประธานในการแจงระเบียบวาระ และรายละเอียดอ่ืนประกอบการประชุม (4) เปนผูชวยประธานในการสรุปมติท่ีประชุม เพ่ือความชัดเจนท่ีจะบันทึกรายงานการประชุม และแจงใหผูเก่ียวของไดรับทราบและถือปฏิบัติ (5) จดบันทึกการประชุม และดูแลการบันทึกเสียง (ถาจําเปน) เพ่ือจัดทํารายงานการประชุมโดยละเอียด (6) ดําเนินการในเรื่องใดๆ เพ่ือใหเปนไปตามขอบังคับการประชุม (ถามี) หรือตามท่ีประชุมมอบหมาย

3. กรรมการผูเขาประชุม ควรมีบทบาทหนาท่ี ไดแก กอนการเขารวมประชุมทุกครั้งจะตองเตรียมตัวโดยการศึกษาระเบียบวาระการประชุมพรอมท้ังตองจัดเตรียมรายละเอียดขอมูลเพ่ิมเติม หรือคิดวิเคราะหตามวาระตางๆ เปนการลวงหนา สิ่งท่ีผูเขาประชุมทุกคนตองตระหนักไวตลอดเวลาก็คือ มารยาทในการประชุม ซ่ึงมีประเด็นท่ีสําคัญๆ ดังน้ี (1) ตองมาเขาประชุมใหทันเวลา (2) นํากําหนดการประชุมในครั้งใหม พรอมเอกสารประกอบติดตัวมาเขารวมประชุมดวยทุกครั้ง (3) กรณีมาถึงกอนเวลาก็ควรรอในหองประชุม ไมควรเดินเขา - ออก (ถาไมจําเปน) ซ่ึงจะทําใหการประชุมเร่ิมไดยาก (4) ควรยกมือข้ึนขออนุญาตตอประธานในท่ีประชุม เม่ือไดรับอนุญาตแลวจึงจะพูดได (5) อภิปรายหรือชี้แจงดวยวาจาสุภาพ มีใจความกระชับ ชัดเจน และมีเหตุมีผลเสมอ (6) ไมควรจับกลุมคุยกันเอง (7) เก็บรักษาความลับจากท่ีประชุมไวเปนอยางดี (8) ปดเคร่ืองอุปกรณสื่อสารใดๆ เชน โทรศัพทมือถือ เพราะจะสงเสียงรบกวนสมาธิท่ีประชุม และถือไดวาไมเคารพตอท่ีประชุมอีกดวย (9) มีความพยายามรวมกันในการคิดวิเคราะหอยางหลากหลาย และหาแนวทางแกไขปญหารวมถึงกลาท่ีจะนําเสนอ และตัดสินใจตอท่ีประชุม

Page 107: test

การประชุมคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ 103

(10) ยอมเคารพมติในเสียงสวนใหญ แมจะไมเห็นดวย แตก็ควรเต็มใจปฏิบัติเพราะอยูในองคกรเดียวกัน

3) การดําเนินการภายหลังการประชุม เม่ือการประชุมคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธไดเสร็จสิ้นลงในแตละครั้งสหกรณจะตองจัดทํารายงานการประชุมและอ่ืนๆ ไดแก การแจงผลการประชุมใหคณะกรรมการดําเนินการไดทราบหรือพิจารณาแลวแตกรณี ซ่ึงจะมีรายละเอียดดังนี้ รายงานการประชุม ขอบังคับของสหกรณไดกําหนดไวดังนี้ “ขอ………รายงานการประชุม ในการประชุมใหญ การประชุมกลุม การประชุมคณะกรรมการดําเนินการหรือการประชุมคณะกรรมการอ่ืนๆ น้ัน ตองจัดใหผูเขาประชุมลงลายมือชื่อพรอมท้ังบันทึกเร่ืองที่พิจารณาวินิจฉัยท้ังสิ้นไวในรายงานการประชุม และใหประธานในท่ีประชุมกับกรรมการดําเนินการหรือกรรมการอื่นๆ แลวแตกรณี อีกคนหน่ึงเขาประชุมน้ันๆ ลงลายมือชื่อไวเปนสําคัญ” 1. ความหมายและจุดมุงหมายของรายงานการประชุม ประวีณ ณ นคร ไดกลาวถึง รายงานการประชุม และจุดมุงหมายในการจดรายงานการประชุมไวดังนี้ รายงานการประชุม เปนขอความท่ีเจาหนาท่ีจดบันทึกการพิจารณาเรื่องตางๆ ของท่ีประชุม คณะบุคคลท่ีไดจัดประชุมข้ึน ซ่ึงอาจเปนการประชุมของสภา ของคณะกรรมการ ของอนุกรรมการ หรือของคณะทํางาน โดยท่ัวไปจะบันทึกวาเปนการประชุมคณะใด เม่ือใด ท่ีใด มีใครเขาประชุมบาง ท่ีประชุมไดพิจารณาเรื่องใด อยางไร ผลการประชุมเปนประการใด จุดมุงหมายในการจดรายงานการประชุม มีดังน้ี (1) เพ่ือเก็บไวเปนหลักฐานอางอิง โดยจดบันทึกเปนหลักฐานไว และเก็บเขาเรื่องหรือเขาแฟมไว เม่ือใดตองการจะตรวจดูวาท่ีประชุมไดพิจารณาเรื่องใด มีมติวาอยางไรก็สามารถคนหาตรวจดูได (2) เพ่ือยืนยันการปฏิบัติงาน โดยจดบันทึกไววามีการอภิปรายกันในท่ีประชุมอยางไร คณะกรรมการไดทําอะไรบาง หรือมีมติในเรื่องใดไวอยางไร เพ่ือยืนยันการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ ยืนยันขอเท็จจริงและเหตุผลในการพิจารณาในท่ีประชุม และเพ่ือยืนยันวาผูใดจะตองปฏิบัติตามมติคณะกรรมการตอไปอยางไร (3) เพ่ือแสดงกิจการท่ีดําเนินมาแลว โดยจดบันทึกไววาไดทําอะไรกันมาแลวบางตามท่ีมีการรายงานใหทราบในท่ีประชุม (4) เพ่ือแจงผลการประชุมใหบุคคลท่ีเก่ียวของทราบและปฏิบัติตอไป โดยจดบันทึกการพิจารณาและมติของท่ีประชุมไวเปนหลักฐาน ใหผูท่ีเก่ียวของไดอานไดทราบและไดปฏิบัติตามมติท่ีประชุมตอไป

2. รูปแบบของรายงานการประชุม สหกรณออมทรัพยโดยท่ัวไปจะยึดรูปแบบตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยงานสารบรรณ โดยนํามาปรับปรุงใหเหมาะสมกับองคการของสหกรณ

Page 108: test

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ 104

3. การจดรายงานการประชุม ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 ไดอธิบายการจดรายงานการประชุมวา อาจทําได 3 วิธี ไดแก (1) จดละเอียดทุกคําพูดของกรรมการหรือผูเขาประชุมทุกคน พรอมดวยมติของท่ีประชุม (2) จดยอคําพูดท่ีเปนประเด็นสําคัญของกรรมการหรือผูเขาประชุม อันเปนเหตุผลนําไปสูมติของท่ีประชุม พรอมดวยมติท่ีประชุม (3) จดแตเหตุผลกับมติท่ีประชุมซึ่งเรียกวาบันทึกการประชุม ในกรณีการบันทึกรายงานการประชุมของสหกรณไมวาจะเปนการประชุมคณะกรรมการอํานวยการหรือการประชุมใหญหรือการประชุมคณะกรรมการดําเนินการสหกรณ สามารถนําวิธีการท้ัง 3 วิธีขางตนมาใชรวมกันไดโดยจะตองใหสนองตอจุดมุงหมายทั้ง 4 ขอ ตามที่กลาวไวแลวในขอ 6.6.1.1 กลาวคือ ใหสามารถใชเปนหลักฐานอางอิงได ใหสามารถยืนยันการปฏิบัติงานได ใหแสดงกิจการท่ีดําเนินมาแลวได และใหสามารถแจงผลการประชุมใหบุคคลท่ีเก่ียวของทราบและปฏิบัติตอไปได ดังนั้นในการจดรายงานการประชุมท่ีดีจะตองใชคําหรือขอความท่ีอานแลวเขาใจไดงาย ไมสับสนและตีความแตกตางกันออกไป จึงควรเลือกใชคําหรือขอความใหเหมาะสมดังตอไปนี้ (1) ไดสาระ ในระหวางการประชุมผูจดบันทึกรายงานการประชุม ควรจับประเด็นท่ีมีการประชุมแลวนําไปบันทึกใหครบถวน ท้ังในสวนท่ีเปนเหตุ ซ่ึงนํามาอาง และท่ีเปนผลซ่ึงออกมาเปนมติท่ีประชุม ความเปนสาระของเร่ืองจึงควรใหครอบคลุมถึง “ใคร” “ทําอะไร” “ทําที่ไหน” “ทําอยางไร” และ “ทําทําไม” เปนตน (2) ชัดเจน ขอความท่ีนําไปบันทึกในรายงานการประชุม ควรใหมีความชัดเจนเขาใจงายไมควรใหมีขอความท่ีกํากวม หรือคลุมเครือหรือมีแงมุมท่ีตีความตางกันในบางเรื่องท่ีประชุมกัน หากนํามาบันทึกดวยขอความสั้น ๆ อาจไมไดใจความชัดเจน ถาเขียนยาวแลวผูอานอานรูเรื่อง จึงถือวาเปนเรื่องท่ีดีกวาการเขียนแบบสั้นๆ (3) กะทัดรัด นอกเหนือจากการบันทึกรายงานการประชุมใหมีความชัดเจนแลวถาสามารถบันทึกใหกะทัดรัด โดยไมใชถอยคําท่ีฟุมเฟอยจนเกินจําเปน ก็จะทําใหบันทึกน้ันดูดีย่ิงข้ึน (4) ตรงประเด็น เปนการบันทึกรายงานการประชุมใหไดขอความที่เนนจุดตามเรื่องท่ีไดประชุมกัน เม่ืออานบันทึกแลวสามารถเขาใจเรื่องไดถูกตองตรงกัน หากบันทึกวกไปวนมาไมพยายามเนนจุดจะทําใหเกิดความไมเขาใจกับผูอานบันทึกน้ัน

Page 109: test

ภาคผนวก 105

แบบทดสอบกอน / หลัง สําหรับคาบวิชาที่ 3 1. การฝกอบรม คือ ก. กระบวนการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมอยางมีระบบ เพ่ือใหบุคคลมีความรู ทักษะอยาง กวางๆ โดยมุงเนนการสรางคนใหมีความสมบูรณ ข. กระบวนการในอันท่ีจะทําใหผูเขารับการฝกอบรมเกิดความรู ความเขาใจ ทัศนคติ และ ความชํานาญ ในเรื่องหน่ึงเรื่องใดและเปล่ียนพฤติกรรมไปตามวัตถุประสงคท่ีกําหนดไว ค. กิจกรรมที่มีสวนทําใหบุคลากรมีความรู ทักษะ ประสบการณ และทัศนคติดีข้ึน สามารถท่ีจะปฏิบัติหนาท่ีท่ียากข้ึน และมีความรับผิดชอบมากข้ึนในองคการ ง. การพัฒนาโดยการเนนท่ีองคการเพ่ือใหตรงตอนโยบาย เปาหมาย และองคการท่ีสําคัญ 2. กิจกรรมใดตองทําเปนระดับแรกในกระบวนการฝกอบรม ก. การสรางหลักสูตร ข. การกําหนดโครงการ ค. การวางแผนการบริหารโครงการ ง. การหาความจําเปน 3. ขอใดไมใชสาเหตุท่ีผูใหญตองการเรยีนรู ก. ผูใหญ จะเรียนเม่ือเขาตองการจะเรียน ข. ผูใหญ จะเรียนรูเม่ือถูกบังคับ ค. ผูใหญ จะเรียนรูเฉพาะสื่อท่ีเขารูวาจําเปน ง. ผูใหญ จะเรียนรูเม่ือรูวามีการกระทํา การเรียน การสาธิต หลายๆ วิธีในการเรียนรู 4. ขอใดไมใชเทคนิคและวิธีการในการฝกอบรมผูใหญ ก. จัดสภาพหองเรียนหรือหองอบรมใหสะดวกสบาย ข. ใหผูเขาอบรมไดมีสวนรวมในการเรียนการสอน ค. จุดศูนยกลางของการเรียนรูอยูท่ีวิทยากร ง. ควรหลีกเล่ียงการแขงขัน ในการตัดสิน 5. การพัฒนาบุคลากรของสหกรณ คือ การพัฒนากลุมเปาหมายตางๆ ของสหกรณยกเวน ก. สมาชิก ข. กรรมการ ค. ฝายจัดการ ง. ประชาชน

ภาคผนวก

Page 110: test

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ 106

6. วิชาพ้ืนฐานท่ีบุคลากรสหกรณทุกคนตองรูเปนอันดับแรกคือ ก. สิทธิในการเขารวมประชุมใหญ ข. การจัดสรรกําไรสุทธิ ค. อุดมการณสหกรณ ง. บทบาท หนาท่ีคณะกรรมการ 7. สื่อชนิดใดท่ีไมตองใชวิทยากรบรรยาย ใชไดทุกเวลา ทุกโอกาส ทุกสถานท่ีและไมตองใช สวนประกอบ ก. เครื่องฉายภาพขามศีรษะ ข. คอมพิวเตอร ค. หนังสือ / คูมือ ง. โทรทัศน / วิทยุ 8. การเลือกสื่อตองคํานึงถึง ก. จุดมุงหมายของแหลงท่ีจะใหขาวสาร ข. ทักษะการสื่อสารของผูนํา ค. จํานวนของผูรับขาวสาร ง. ถูกทุกขอ 9. องคความรูพ้ืนฐานเรื่องสหกรณในคูมือสมาชิกสหกรณออมทรัพยมีหลายเรื่องยกเวน ก. สิทธิของสมาชิก ข. หนาท่ีของสมาชิก ค. โครงสรางของสหกรณ ง. ผลิตภัณฑมวลรวมประชาชาติ 10. องคความรูของกรรมการใหม ตองรูเฉพาะดานคือ ก. อุดมการณสหกรณ ข. โครงสรางสหกรณ ค. การบริหารจัดการธุรกิจสหกรณ ง. สิทธิหนาท่ีสมาชิก เฉลย 1. ข 2. ง 3. ข 4. ค 5. ง 6. ค 7. ค 8. ง 9. ง 10. ค

Page 111: test

ภาคผนวก 107

แบบทดสอบกอนและหลังการอบรม สําหรับคาบวิชาที่ 4 องคความรูเบ้ืองตนเกี่ยวกับสหกรณออมทรัพย

ขอ 1. กีฬาชนิดใดเหมือนการสหกรณมากท่ีสุด ก. ฟุตบอล ข. บาสเกตบอล ค. ตะกรอวง ง. วอลเลยบอล ขอ 2. ใครเปนเจาของสหกรณ ก. รัฐบาล ข. รัฐวิสาหกิจ ค. ประชาชนทุกคน ง. สมาชิกสหกรณ ขอ 3. ขอใดไมถูกตอง ก. สมาชิกเลือกกรรมการ ข. ฝายจัดการเลือกสมาชิก ค. กรรมการจางฝายจัดการ ง. สมาชิกเลือกผูตรวจสอบกิจการ ขอ 4. หลักการสหกรณสากลมีก่ีขอ ก. 2 ขอ ข. 6 ขอ ค. 7 ขอ ง. 8 ขอ ขอ 5. เม่ือสหกรณมีกําไร ผลตอบแทนของสมาชิกในการถือหุนกับสหกรณเรียกวา ก. เงินปนผล ข. เงินเฉล่ียคืน ค. เงินสํารอง ง. ดอกเบ้ีย ขอ 6. ขอใดถูกตองในเร่ือง “ทุนเรือนหุน” ของสหกรณ ก. ถอนคืนไดเม่ือสมาชิกตองการ

ข. ราคาหุนเปล่ียนแปลงตามกําไรสุทธิของสหกรณ ค. สมาชิกถือหุนไดไมเกิน 20% ของทุนเรือนหุนท้ังหมดในสหกรณ ง. สหกรณจายเงินปนผลตามหุนไดในอัตรามากกวา 10% ขอ 7. ขอใดไมอยูในการจัดสรรกําไรสุทธิของสหกรณ ก. จัดสรรทุนสํารอง ข. จัดสรรเงินบํารุงสันนิบาตสหกรณแหงประเทศไทย ค. จัดสรรเงินปนผลตามหุน ง. จัดสรรคาใชจายดําเนินงานของสหกรณ ขอ 8. วิธีใดท่ีบุคลากรของสหกรณควรรูทุกกลุมเปาหมาย ก. อุดมการณ หลักการ วิธีการสหกรณ ข. การบริหาร การจัดการองคกร ค. การบริหารความเสี่ยง ง. ระบบการตรวจสอบแบบมาตรฐาน

Page 112: test

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ 108

ขอ 9. เจาหนาท่ีสหกรณ หมายถึง ก. สมาชิกสหกรณ ข. คณะกรรมการสหกรณ ค. ฝายจัดการสหกรณ ง. เจาหนาท่ีสงเสริมสหกรณ ขอ 10. ขอใดเรียงลําดับความสําคัญจากมากไปนอยไมถูกตอง ก. ชุมนุมสหกรณแหงประเทศไทย ชุมนุมระดับจังหวัด สหกรณ ข. พ.ร.บ.สหกรณ ขอบังคับ ระเบียบ ขอกําหนด ค. เงินกูพิเศษ เงินกูสามัญ เงินกูฉุกเฉิน ง. ท่ีประชุมใหญ ฝายจัดการ กรรมการ เฉลย 1. ค 2. ง 3. ข 4. ค 5. ก 6. ค 7. ง 8. ก 9. ค 10. ง

Page 113: test

ภาคผนวก 109

สหกรณ ระบุช่ือสหกรณ จํากัด รายงานการประชมุ ระบุวา คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

ครั้งที่ ระบุครั้งท่ีท่ีประชุมทับดวย พ.ศ… วันท่ี ระบุวันท่ี เดือน และ พ.ศ…..

ณ ระบุสถานท่ีประชุม ……………………………………………….

ผูมาประชุม 1. ระบุช่ือ - สกุล และตําแหนงของกรรมการ 2. ………………………………………………….. 3. ………………………………………………….. 4. ………………………………………………….. ผูไมมาประชุม 1. ระบุช่ือ - สกุล และตําแหนงของกรรมการท่ีไมมา ประชุมพรอมเหตุผล (ถามี)ผูเขารวมประชุม 1. ระบุช่ือ - สกุล และตําแหนงของผูเขารวมประชุม เร่ิมประชุมเวลา ระบุเวลาท่ีเริ่มประชุม ขอความท่ีประชุม............................................................ ………………………………………………………………. เลิกประชุมเวลา ระบุเวลาท่ีเลิกประชุม ลงชื่อ…………………..ประธานในท่ีประชุม ลงชื่อ…………………..กรรมการ (ท่ีเขาประชุม) ลงชื่อ…………………..ผูบันทึกรายงานการประชุม

Page 114: test

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ 110

ตัวอยาง การจดรายงานการประชุมแบบสรุปสาระสําคัญ สหกรณออมทรัพย……………….……จํากัด รายงานการประชุมคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ ครั้งท่ี 2 / 2548 วันท่ี 10 พฤษภาคม 2548 ณ หองประชุมสหกรณออมทรัพย…………………..จํากัด …………………………………………….. ผูมาประชุม 1. ……………………………… ประธานกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ 2. ……………………………… กรรมการ 3. ……………………………… กรรมการ 4. ……………………………… เลขานุการ ผูไมมาประชุม 1. ………….…………………. กรรมการ (ลาปวย) ผูเขารวมประชุม 1. ……………………………… ผูจัดการ 2. ……………………………… หัวหนาฝายธุรการ เร่ิมประชุมเวลา 14.00 น. ประธานกลาวเปดประชุม แลวท่ีประชุมไดพิจารณาเร่ืองตาง ๆ ดังตอไปน้ี ระเบียบวาระท่ี 1 เรื่องท่ีประธานแจงใหท่ีประชุมทราบ ไมมี ระเบียบวาระท่ี 2 เรื่องรับรองรายงานการประชุมคร้ังท่ี 1/2548 วันท่ี 10 เมษายน 2548 เลขานุการ ไดขอใหท่ีประชุม พิจารณารายงานการประชุม ครั้งท่ีแลว มติ รับรองรายงานการประชุมครั้งท่ีแลว ระเบียบวาระท่ี 3 เรื่องสืบเนื่อง

Page 115: test

ภาคผนวก 111

3.1 การจัดทําปายช่ือสหกรณ ประธานฯ แจงใหท่ีประชุมทราบวา ตามท่ีคณะกรรมการดําเนินการไดมอบหมายใหคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ ดําเนินการจัดทําปายชื่อสหกรณในวงเงินไมเกิน 1,000 บาทน้ัน ขณะน้ีเลขานุการไดดําเนินการเสร็จเรียบรอยแลวโดยมีคาใชจายเปนเงิน 900 บาท มติ รับทราบ ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องเพื่อพิจารณา 4.1 แผนปฏิบัติงานของคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธในรอบ 1 ป ประธานฯ ไดเสนอตอท่ีประชุมวา ในการปฏิบัติงานของคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ ใหเกิดประสิทธิภาพนั้น เห็นควรกําหนดแผนปฏิบัติงานในรอบ 1 ปข้ึน โดยมอบใหเลขานุการเปนผูชี้แจง เลขานุการ ไดช้ีแจงวา แผนปฏิบัติงานของคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธในรอบ 1 ปน้ี จะประกอบไปดวย 2 โครงการท่ีสําคัญ ไดแก โครงการฝกอบรมซ่ึงมีท้ังสมาชิกใหมและสมาชิกเกา และโครงการประชาสัมพันธงานสหกรณ โดยมีรายละเอียดของแผนปฏิบัติงานปรากฏตามเอกสารหนา……….จึงขอใหท่ีประชุมพิจารณา มติ เห็นชอบใหมีการดําเนินการตามแผนได และมอบใหผูท่ีรับผิดชอบในแตละ โครงการ จัดทํารายละเอียดเสนอใหท่ีประชุมคราวหนาพิจารณาตอไป 4.2 โครงการสัมมนาคณะกรรมการดําเนินการประจําป 2548 ประธานฯ แจงวา โครงการสัมมนาคณะกรรมการดําเนินการประจําป 2548 เปนงานปกติท่ีจะตองดําเนินการเปนประจําทุกป โดยมอบใหเลขานุการเปนผูช้ีแจงรายละเอียด เลขานุการ ไดชี้แจงรายละเอียดดังนี้ 1. หัวขอสัมมนา “การบริหารงานของคณะกรรมการดําเนินการ” มีเน้ือหาเก่ียวกับ บทบาท หนาท่ีของคณะกรรมการแตละคณะของสหกรณ บรรยายโดยวิทยากรจากชุมนุมสหกรณออมทรัพยแหงประเทศไทย จํากัด 2. กําหนดจัดข้ึนในวันท่ี 20 – 21 มิถุนายน 2548 ณ หองประชุมของสหกรณ 3. คาใชจาย ไมเกิน 50,000 บาท โดยใชจากงบประมาณรายจายประจําปซ่ึงไดรับอนุมัติจากท่ีประชุมใหญแลว โดยมีรายละเอียดตามเอกสารประกอบ หนา…….. มต ิ เห็นชอบ และใหเสนอคณะกรรมการดําเนินการพิจารณา

Page 116: test

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ 112

4.3 การจัดสวัสดิการเพ่ิมเติมในกับสมาชิก ประธานฯ แจงวามีเรื่องท่ีคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ ชุดกอนไดพิจารณาคางไวไดแก การใหสวัสดิการกับสมาชิกเม่ือมีอายุครบ 60 ป โดยมอบใหผูจัดการ เปนผูชี้แจงรายละเอียด ผูจัดการ ชี้แจงวาสวัสดิการดังกลาวมีวัตถุประสงคเพ่ือท่ีจะตอบแทนใหกับผูท่ีเปนสมาชิกจนกระท่ังมีอายุถึง 60 ป โดยมีหลักเกณฑดังนี้ เปนสมาชิก 10 ป แตไมถึง 15 จายให 5,000 บาท เปนสมาชิก 15 ป แตไมถึง 20 จายให 7,000 บาท เปนสมาชิก 20 ป แตไมถึง 25 จายให 9,000 บาท เปนสมาชิก 25 ป ข้ึนไป จายให 11,000 บาท ท่ีประชุมไดพิจารณากันอยางละเอียด โดยพิจารณาถึงเปนความเปนไปไดทาง การเงินของสหกรณ วาจะตองไมเปนภาระแกสหกรณในระยะยาว จึงขอใหฝายจัดการศึกษาขอมูลแลวนํามาเสนอตอท่ีประชุมอีกครั้งหนึ่ง มต ิ เห็นชอบ ระเบียบวาระที่ 5 เรื่องเสนอเพ่ือทราบ เลขานุการ แจงวาในปจจุบันสหกรณไดรับหนังสือเชิญใหรวมเขาอบรม-สัมมนาจากหนวยงานตางๆ อยูเสมอๆ หากจะตองนํามาเสนอในท่ีประชุมทุกหลักสูตรเกรงวาจะเปนการทําใหเสียเวลาการประชุมและสิ้นเปลืองวัสดุการพิมพ จึงขอหารือวิธีปฏิบัติในเรื่องนี้ดวย ท่ีประชุมพิจารณาแลว เห็นควรใหฝายจัดการไดรวบรวมรายชื่อของหนวยงานท่ีมีหนังสือเชิญใหสหกรณเขารวมอบรม-สัมมนา มาใหท่ีประชุมไดพิจารณาในคราวหนา เพ่ือจะไดกําหนดวิธีปฏิบัติตอไป มติ เห็นชอบ ระเบียบวาระที่ 6 เรื่องอ่ืนๆ (ถามี) ไมมี จากนั้นประธานไดกลาวปดประชุม เลิกประชุมเวลา 16.00 น. (ลงช่ือ)…………………………..ประธานในท่ีประชุม (ลงช่ือ).………………………….กรรมการ (ลงช่ือ)…………………………..ผูบันทึกรายงานการประชุม

Page 117: test

บรรณานุกรม 113

กรมสงเสริมสหกรณ. 2544. สรุปผลการประชุมเชิงปฏิบัติการในเร่ืองอุดมการณ หลักการ และ วิธีการสหกรณเม่ือวันท่ี 4 กันยายน 2544 ณ หองประชุมกองฝกอบรม ถนนพิชัย เขตดุสิต กรุงเทพฯ (เอกสารโรเนียว) กรมสงเสริมสหกรณ. 2546. จะจัดต้ังสหกรณไดอยางไร. เอกสารเผยแพรหมายเลข กส 17/2546. โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย จํากัด. กรุงเทพฯ. จุมพล ชละเอม. แนวทางการจัดประชุมในสหกรณ. เอกสารอัดสําเนา เดนพงษ พลละคร. ธันวาคม 2531–มกราคม 2532. “การพัฒนาผูใตบังคับบัญชา”, วารสารเพ่ิม ผลผลิต. ปที่ 28. กรุงเทพฯ. น. 20-25 ดํารง ปนประณต. 2541. วิเคราะหหลักการสหกรณ Rochdale ของ G.J.Holy Aake เอกสารประกอบการสอนวิชา ศส. 517 วิเคราะหหลักและปรัชญาสหกรณ. มหาวิทยาลัยแมโจ จ.เชียงใหม. ประวีณ ณ นคร. การประชุม. เอกสารอัดสําเนา ธนู กุลช. 2523 เอกสารประกอบการบรรยายเรื่อง “มนุษยพฤติกรรมและการเรียนรูในการฝกอบรม”, การฝกอบรมหลักสูตร การบริหารงานฝกอบรม. พิสิฏฐ โคตรสุโพธิ์. 2548. ปรัชญาตะวันตก ตะวันออกและปรัชญารวมสมัย : การแปลงปรัชญาสู แนวปฏิบัติ. เอกสารประกอบคําสอน วิชา พภ.511 หลักสูตรพัฒนาภูมิ สังคมอยางยั่งยืน มหาวิทยาลัยแมโจ จ.เชียงใหม พีระศักด์ิ บูรณะโสภณ, 2535 ประมวลบทความ : สหกรณออมทรัพย เลม 6 หนา 92 – 96. กรุงเทพฯ : ชุมนุมสหกรณออมทรัพยแหงประเทศไทย จํากัด ไพพรรณ เกียรติโชติชัย, ผศ. 2546 หลักการสัมมนา (Principle of Seminar). พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร : บริษัทการศึกษาจํากัด. มหาวิทยาลัยแมโจ. 2544 – 2547. รายงานผลการวิเคราะหสหกรณออมทรัพย โครงการผลิตมหาบัณฑิต สาขาเศรษฐศาสตรสหกรณ สําหรับนักบริหาร รศ.ดร.อุทัย บุญประเสริฐ. 2540 เทคนิคการนําประชุม. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพเอส ดี เพรส วีรวุธ มาฆะศิรานนท. 2542 เทคนิคการประชุมอยางมีประสิทธิผล. พิมพครั้งท่ี 4. กรุงเทพมหานคร : บร ิษัท เอ็กซเปอรเน็ท จํากัด. ศ.นพ.เกษม วัฒนชัย. เลขานุการกับการประชุม. เอกสารอัดสําเนา สมชาติ กิจยรรยง และดร.อรจรีย ณ ตะกั่วทุง. 2539 เทคนิคการจัดฝกอบรมอยางมีประสิทธิภาพ (ฉบับปรับปรุงใหม). พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : ซีเอ็ดยูเคชั่น. สุปราณี ศรีฉัตราภิมุข. 2524 การฝกอบรมและการพัฒนาบุคคล. กรุงเทพฯ โรงพิมพ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

บรรณานุกรม

Page 118: test

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ 114

สุพัฒก ชุมชวย. การดําเนินการประชุมอยางมีประสิทธิภาพ. กรุงเทพมหานคร : บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จํากัด (มหาชน) สุเมธ ตันติเวชกุล. 2547. “พระราชปรัชญา พระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว” เอกสารประกอบการบรรยาย วิชา พภ. 512 หลักสูตรหลักสูตรพัฒนาภูมิ สังคมอยางยั่งยืน มหาวิทยาลัยแมโจ จ.เชียงใหม สํานักราชเลขาธิการ. 2513. ประมวลพระราชดํารัสและพระบรมราโชวาทที่พระราชทานในโอกาส ตางๆ ต้ังแตเดือนธันวาคม 2511 จนถึงเดือนพฤศจิกายน 2512. โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว, กรุงเทพฯ. สํานักงาน ก.พ. ฝายฝกอบรม กองวิชาการ 2520. เอกสารประกอบการบรรยายเรื่อง “นโยบาย ฝกอบรม”, การฝกอบรมหลักสูตรเจาหนาท่ีฝกอบรม, ฝายฝกอบรม, กอง วิชาการ, สํานักงาน ก.พ.,2520 สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร. 2523. เอกสารประกอบการฝกอบรมเรื่อง “การบริหารงาน ฝกอบรม”, การฝกอบรมหลักสูตรการบริหารงานฝกอบรม. สํานักงาน ก.พ. 2532. เอกสารประกอบการบรรยายเรื่อง “กระบวนการฝกอบรม”, การฝกอบรมความรู พ้ืนฐานดานการฝกอบรม. น. 1 สํานักงาน ก.พ. 2533. เอกสารประกอบการบรรยายเรื่อง “แนวความคิดและหลักการเกี่ยวกับการ ฝกอบรม”, การฝกอบรมหลักสูตรความรูพ้ืนฐานดานการฝกอบรม. สํานักงาน ก.พ. 2533. เอกสารประกอบการบรรยายเรื่อง “กระบวนการฝกอบรม”, การฝกอบรม หลักสูตรความรูพ้ืนฐานดานการฝกอบรม. สํานักงานสภาสถาบันราชภัฎ. 2544. พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว นักบริหารจัดการของแผนดิน. บริษัทอมรินทรพริ้นติ้งแอนดพับลิชชิ่ง จํากัด (มหาชน). กรุงเทพฯ สหกรณออมทรัพยขาราชการกระทรวงศึกษาธิการ จํากัด. 2547. รายงานกิจการประจําป 2547. กรุงเทพฯ. International Co-operative Alliance, 1996 . Co-operative Agenda 21. ICA Communications Department, Geneva. Switzerland.

Page 119: test

ประวัติผูเขียน 115

ชื่อ-นามสกุล ดร.รัตนา โพธิสุวรรณ ประวัติการศึกษา - ปริญญาเอก ดานเศรษฐศาสตรเกษตร จาก university of Philippines (UPLI) - ปริญญาโท ดานเศรษฐศาสตรสหกรณ จาก มหาวิทยาลัยแมโจ - ปริญญาตรี ดานการบัญชี (บริหารธุรกิจ) จาก มหาวิทยาลัยรามคําแหง ผูเขียน คาบวิชา 1 ปรัชญาสหกรณ อุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณ : การวิเคราะหและการประยุกตใช

ชื่อ-นามสกุล ผูชวยศาสตราจารยวันชัย ธนะวังนอย ประวัติการศึกษา - วารสารศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร - นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร - นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ผูเขียน คาบวิชา 2 บทบาท หนาที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ศึกษาและประชาสัมพันธ

ชื่อ-นามสกุล นายสุพิทยา พุกจินดา ประวัติการศึกษา - วิทยาศาสตรบัณฑิต เศรษฐศาสตรสหกรณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ผูเขียน คาบวิชาที ่3 การจัดการศึกษาและการฝกอบรมในสหกรณ คาบวิชาที ่4 องคความรูเบ้ืองตนเกี่ยวกับสหกรณออมทรัพย และแนวทางการจัดฝกอบรมแกบุคลากรสหกรณ

ชื่อ-นามสกุล นายสุรจิตต แกวชิงดวง ประวัติการศึกษา - เศรษฐศาสตรบัณฑิต สาขาการเงินและการคลัง (เกียรตินิยมดี) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร - นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร - ประกาศนียบัตรวิชาวาความ สภาทนายความแหงประเทศไทย ผูเขียน คาบวิชาที ่5 การประชุมคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

ประวัติผูเขียน