Top Banner
การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณดวยโปรแกรม SPSS หนา 1 การวิเคราะหขอมูลทางสถิติเชิงปริมาณดวยโปรแกรม SPSS 1. ลักษณะแบบสอบถาม (เครื่องมือที่ใชในการวิจัย) แบบสอบถามที่ใชในการวิจัยเชิงปริมาณนั้น มักจะมีรูปแบบดังนีตอนที1 สอบถามเกี่ยวกับสถานภาพทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม มักเปนคําถามแบบตรวจสอบรายการ (Check- List) ตอนที2 สอบถามเกี่ยวกับลักษณะโดยทั่วไปของเรื่องที่กําลังทําวิจัย มักเปนคําถามแบบตรวจสอบรายการ (Check- List) ตอนที3 สอบถามเกี่ยวกับความพึงพอใจ หรือทัศนคติในประเด็นตางๆ ของเรื่องที่ทําวิจัย ลักษณะคําถามเปนแบบมาตรา สวนประมาณคา (Rating Scale) ตอนที4 สอบถามขอเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาในเรื่องที่กําลังทําวิจัย ลักษณะคําถามเปนคําถามปลายเปด (Open End) 2. การวิเคราะหขอมูล หลังจากที่ตรวจสอบความถูกตองของแบบสอบถามเรียบรอยแลว จะนําขอมูลในแบบสอบถามมาเปลี่ยนแปลงเปนรหัสตัวเลข (Code) แลวบันทึกรหัสลงในเครื่องคอมพิวเตอร ดวยโปรแกรม SPSS ลักษณะของการวิเคราะหขอมูล จะมี่ขอสังเกตดังนี2.1 แบบสอบถามเกี่ยวกับสถานภาพทั่วไป ใชวิธีการหาคาความถี่ โดยสรุปออกมาเปนคารอยละ 2.2 แบบสอบถามที่เปนการสํารวจทัศนคติเกี่ยวกับความพึงพอใจ ใชวิธีการหาคาเฉลี่ย ( x ) และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) 2.3 ถาตองการเปรียบเทียบความสัมพันธระหวางลักษณะโดยทั่วไป (คําถามในตอนที2) กับสถานภาพโดยทั่วไป (คําถามในตอนที1) จะใชคา Chi-Square ( 2 ) ดวยวิธีเปยรสัน ถาคาความถี่ที่คาดหวังในชองใดมีจํานวนนอยกวา 5 คิดเปน จํานวนที่มากกวา 20% ของจํานวนชองทั้งหมด จะใชคา Exact ในการเปรียบเทียบเพื่อหาความสัมพันธ 2.4 การเปรียบเทียบความแตกตางระหวางกลุ(ที่จําแนกเปน 2 กลุม เชน เพศ) เกี่ยวกับความพึงพอใจ ใชการวิเคราะห ความแตกตางระหวางคาเฉลี่ย 2 กลุม โดยใช t-test 2.5 การเปรียบเทียบความแตกตางระหวางกลุ(ที่จําแนกเปนหลายกลุม เชน คณะ 5 คณะ) เกี่ยวกับความพึงพอ ใชการ วิเคราะหความแปรปรวนทางเดียว (Anova) กรณีพบคาความแตกตาง จะเปรียบเทียบความแตกตางรายคู โดยใช Scheffe Analysis) 2.6 การวิเคราะหขอเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงและพัฒนารูปแบบรายการ ใชวิธีวิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis) และสรุปเปนคาความถี
48
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: SPSS Manual

การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณดวยโปรแกรม SPSS หนา 1

การวิเคราะหขอมูลทางสถิติเชิงปริมาณดวยโปรแกรม SPSS 1. ลักษณะแบบสอบถาม (เครื่องมือท่ีใชในการวิจัย)

แบบสอบถามท่ีใชในการวิจัยเชิงปริมาณนั้น มักจะมีรูปแบบดังนี้ ตอนท่ี 1 สอบถามเกี่ยวกับสถานภาพท่ัวไปของผูตอบแบบสอบถาม มักเปนคําถามแบบตรวจสอบรายการ (Check-

List) ตอนท่ี 2 สอบถามเกี่ยวกับลักษณะโดยท่ัวไปของเรื่องท่ีกําลังทําวิจัย มักเปนคําถามแบบตรวจสอบรายการ (Check-

List) ตอนท่ี 3 สอบถามเกี่ยวกับความพึงพอใจ หรือทัศนคติในประเด็นตางๆ ของเรื่องท่ีทําวิจัย ลักษณะคําถามเปนแบบมาตรา

สวนประมาณคา (Rating Scale) ตอนท่ี 4 สอบถามขอเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาในเรื่องท่ีกําลังทําวิจัย ลักษณะคําถามเปนคําถามปลายเปด

(Open End) 2. การวิเคราะหขอมูล

หลังจากท่ีตรวจสอบความถูกตองของแบบสอบถามเรียบรอยแลว จะนําขอมูลในแบบสอบถามมาเปลี่ยนแปลงเปนรหัสตัวเลข (Code) แลวบันทึกรหัสลงในเครื่องคอมพิวเตอร ดวยโปรแกรม SPSS

ลักษณะของการวิเคราะหขอมูล จะม่ีขอสังเกตดังนี้ 2.1 แบบสอบถามเกี่ยวกับสถานภาพท่ัวไป ใชวิธีการหาคาความถี่ โดยสรุปออกมาเปนคารอยละ

2.2 แบบสอบถามท่ีเปนการสํารวจทัศนคติเกี่ยวกับความพึงพอใจ ใชวธีิการหาคาเฉลี่ย ( x ) และสวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D)

2.3 ถาตองการเปรียบเทียบความสัมพันธระหวางลักษณะโดยท่ัวไป (คําถามในตอนท่ี 2) กับสถานภาพโดยท่ัวไป (คําถามในตอนท่ี 1) จะใชคา Chi-Square ( 2 ) ดวยวิธีเปยรสนั ถาคาความถี่ท่ีคาดหวังในชองใดมีจํานวนนอยกวา 5 คิดเปนจํานวนท่ีมากกวา 20% ของจํานวนชองท้ังหมด จะใชคา Exact ในการเปรียบเทียบเพื่อหาความสัมพันธ

2.4 การเปรียบเทียบความแตกตางระหวางกลุม (ท่ีจําแนกเปน 2 กลุม เชน เพศ) เกี่ยวกับความพึงพอใจ ใชการวิเคราะหความแตกตางระหวางคาเฉลี่ย 2 กลุม โดยใช t-test

2.5 การเปรียบเทียบความแตกตางระหวางกลุม (ท่ีจําแนกเปนหลายกลุม เชน คณะ 5 คณะ) เกี่ยวกับความพึงพอ ใชการวิเคราะหความแปรปรวนทางเดียว (Anova) กรณีพบคาความแตกตาง จะเปรียบเทียบความแตกตางรายคู โดยใช Scheffe Analysis)

2.6 การวิเคราะหขอเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงและพัฒนารูปแบบรายการ ใชวิธีวิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis) และสรุปเปนคาความถี่

Page 2: SPSS Manual

การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณดวยโปรแกรม SPSS หนา 2

3. ตัวอยางแบบสอบถาม

ID

แบบสอบถาม

ความพึงพอใจในการรับบริการจากหองสมุดมหาวิทยาลัยฯ คําช้ีแจง ขอใหทานกรุณาทําเครื่องหมาย หนาตัวเลือกท่ีตรงตามสภาพความเปนจริงของทาน ตอนท่ี 1 ขอมูลสถานภาพท่ัวไปของผูตอบแบบสอบถาม 1. เพศ 1. ชาย 2. หญิง 2. อาย ุ 1. ตํ่ากวา 20 ป 2. 20-29 ป 3. 30-39 ป 4. 40 ปข้ึนไป 3. คณะ 1. วิทยาศาสตรและเทคโนโลย ี 2. มนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 3. วิทยาการจัดการ 4. ครุศาสตร 5. เทคโนโลยีการเกษตร ตอนท่ี 2 ขอมูลการใชงานโดยท่ัวไปของทานท่ีมีตอหองสมุดฯ 4. ช้ันท่ีทานใชบริการบอยท่ีสุด 1. ช้ันท่ี 1 2. ช้ันท่ี 2 3. ช้ันท่ี 3 5. ชวงเวลาท่ีทานใชงานมากท่ีสุด 1. 07.30-08.30 2. 08.30-12.00 3. 12.00-13.00 4. 13.00-16.30 5. 16.30-17.30 ตอนท่ี 3 ความพึงพอใจในการใหบริการของหองสมุดฯ

ระดับความคิดเห็น ความพึงพอใจในการใหบริการ มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด

6. เจาหนาท่ีชวยคนหาหนังสือ 7. เจาหนาท่ีใหบริการยืมคืน 8. ความเปนระเบียบของช้ันวางหนังสือ 9. ความสะอาดของโตะเกาอี้สาํหรับอานหนังสือ 10. ความเงียบสงบและบรรยากาศ

ตอนท่ี 4 ขอเสนอแนะอื่นๆ เพื่อการปรับปรุงและพัฒนาหองสมุด ......................................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................... .........................................................................................................................................................................................................

ขอขอบพระคุณผูตอบแบบสอบถามทุกทาน

Page 3: SPSS Manual

การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณดวยโปรแกรม SPSS หนา 3

4. ตัวอยางของขอมูล ใหนักศึกษานําแบบสอบถามไปสมมติตนเองเปนผูตอบแบบสอบถาม 20 คน และบันทึกผลการตอบแบบสอบถามลงในแบบสอบถามท้ัง 20 ฉบับ จากนั้น นําขอมูลมาลงรหัส (อาจลงในกระดาษลงรหัสไวกอนเปนเบ้ืองตนกอนจะคียเขาโปรแกรม)

ตารางการลงรหัส ช่ืองานวิจัย ................................................................................................... ผูลงรหัส ...........................................

1 2 3 4 5 6 7 8 9 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 0 1 2 3 4 5 0 0 1 1 1 1 1 1 4 4 3 4 4

0 0 2 2 2 1 3 2 3 4 3 5 3

0 0 3 1 3 5 2 4 5 3 4 5 3

0 0 4 2 4 2 1 4 5 3 4 5 4

0 0 5 1 2 2 3 4 5 4 4 5 4

0 0 6 1 1 3 2 4 5 4 4 5 4

0 0 7 1 3 3 2 3 4 4 5 4 4

0 0 8 2 4 4 2 3 4 4 5 4 5

0 0 9 2 4 4 3 5 4 3 5 4 5

0 1 0 2 2 4 1 5 4 5 5 4 5

0 1 1 1 2 1 3 5 3 5 4 4 5

0 1 2 2 2 4 1 5 5 5 4 2 4

0 1 3 1 3 5 3 5 5 5 2 3 4

0 1 4 2 3 3 2 4 5 4 3 4 4

0 1 5 2 3 4 2 4 5 4 5 4 2

0 1 6 1 4 2 2 4 4 3 5 4 3

0 1 7 2 4 1 2 2 4 5 5 2 4

0 1 8 1 1 2 2 3 2 5 5 3 4

0 1 9 2 3 1 2 3 3 5 4 4 4

0 2 0 1 4 5 3 4 4 5 4 4 4

Page 4: SPSS Manual

การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณดวยโปรแกรม SPSS หนา 4

5. นําขอมูลเขาสูโปรแกรม SPSS 5.1 การเขาสูโปรแกรม

คลิกท่ีปุม Start เลื่อนเมาสข้ึนไปท่ี Programs เลื่อนเมาสมาทางขวา เพื่อหาเมนู SPSS for Windows เม่ือพบแลว เลื่อนเมาสไปทางขวา เพื่อหาโปรแกรม SPSS 10.0 for Windows เม่ือพบแลวใหคลิก จะปรากฏหนาตางของโปรแกรม Title แสดงการตอนรับเขาใชโปรแกรม และแสดงหนาตาง เพื่อใหเลือกวิธีการทํางานท่ีตองการ ดังนี้

Run the tutorial จะแสดงหนาตางท่ีแนะนําขอมูลตางๆ เกี่ยวกับโปรแกรม Type in data เปนหนาตางท่ีเริ่มตนปอนขอมูลใหม Run and existing query จะตองเปดไฟล Database Query ข้ึนมาทํางาน Create net query using Database Wizard สรางไฟล Database Query โดยโปรแกรมจะแสดงข้ันตอนตางๆ เพื่อชวยในการสราง Open and existing data source เปดไฟลท่ีผูใชมีอยูแลวข้ึนมาทํางาน Open another type of file เปดไฟลท่ีสรางจากโปรแกรมอื่นเขามาทํางานในโปรแกรม SPSS ตอนนี้เราจะทําการสรางแฟมขอมูลใหมสําหรับกรอกขอมูลของแบบสอบถาม จึงคลิกท่ี Type in data

Page 5: SPSS Manual

การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณดวยโปรแกรม SPSS หนา 5

5.2 สวนประกอบของโปรแกรม SPSS

หนาตาง Data Editor เปนสวนท่ีใชในการปอนขอมูล และสั่งใหมีการคํานวณคาสถิติตามท่ีตองการ ลักษณะเปนกระดาษทําการ (Work Sheet) คลายโปรแกรม Excel ประกอบไปดวย 2 ชีท คือ Data View และ Variable View โดย Data View จะเปนสวนท่ีใชในการปอนขอมูล และ Variable View เปนสวนท่ีใชประกาศตัวแปร หนาตาง SPSS Viewer เปนหนาตางแสดงผลลัพธท่ีไดจากการวิเคราะหขอมูล โดยแบงสวนการแสดงออกเปน 2 สวน ไดแก สวนซาย เรียกวา Outline Pane แสดงหัวขอของผลลัพธ และสวนขวา เรียกวา Content Pane จะแสดงรายละเอียดของผลลัพธ ซึ่งอาจเปน ตาราง ขอความ หรือกราฟ

Page 6: SPSS Manual

การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณดวยโปรแกรม SPSS หนา 6

5.3 การปรับรูปแบบและขนาดของตัวอักษรใน SPSS Data Viewer ทําไดดังนี้ ท่ีหนาตาง Data Editor เลือกเมนู View เลือกคําสั่ง Fonts จะปรากฏหนาตางดังรูปทางขวามือ จากนั้นเลือก

แบบอักษร และขนาดของตัวอักษรไดตามความตองการ (หากตองการใหแสดงผลภาษาไทยควรเลือกแบบตัวอักษรท่ีลงทายดวย UPC) จากนั้นคลิกท่ีปุม OK

5.4 การต้ังคาตัวแปร (การประกาศตัวแปร) ตัวแปรทุกตัว (หรือ หมายถึงคําถามแตละขอ) จะตองกําหนดคุณลักษณะของตัวแปร ซึ่งมีวิธีกําหนดดังนี้

ท่ีหนาตาง Data Editor .ในสวนแถบ Variable View สวนหัวของตาราง เรียกวาคอลัมน จะแสดงคุณลักษณะของตัวแปร แถว หมายถึง ตัวแปรแตละตัวของงานวิจัย (หมายถึง คําถามแตละขอของแบบสอบถามนั่นเอง) ทุกๆ ตัวแปรจะตองกําหนดคาคุณลักษณะใหถูกตอง ซึ่งจะตองกําหนดคุณลักษณะของตัวแปร 10 รูปแบบ คือ

- ช่ือ (Name) เปนช่ือของตัวแปร ซึ่งสามารถใชไดท้ังภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (แตผูสอนเห็นวาควรใชเปนภาษาอังกฤษ) ช่ือของตัวแปรตองไมเกิน 8 ตัวอักษร

- ประเภท (Type) จะบอกลักษณะของขอมูล เม่ือคลิกปุม จะปรากฏหนาตาง Variable Type โดยสามารถกําหนดคาของ Type ไดจากตัวเลือกดานซาย และกําหนดคา Width และ Decimal Places ไดจากตัวเลือกดานขวา ซึ่งจะเปนการกําหนดคาใหกับคุณลักษณะ Width และ Decimals โดยอัตโนมัติ ถาหากวาคาของตัวแปรท่ีเราเก็บ เราไมตองการนําไปคํานวณใดๆ ก็ควรประกาศเปน String แตถาตองการนําคาของขอมูลไปคํานวณ ก็ควรประกาศเปน Numeric เชน ตัวแปร เพศ เรากําหนดใหใชเลข 1 แทนเพศ ชาย และกําหนดใหใชเลข 2 แทนเพศ หญิง ตัวเลขแทนเพศนี้ เราไมไดนําไปคํานวณใด ๆ เราจึงประกาศ Type ของตัวแปรเพศ เปน String

Page 7: SPSS Manual

การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณดวยโปรแกรม SPSS หนา 7

- ความกวาง (Width) ใชกําหนดจํานวนตัวอักษร หรือตัวเลขท่ีตองการจัดเก็บ (พิจารณาจาก

แบบสอบถามวา รับตัวอักษรกี่ตัว หรือตัวเลขกี่หลัก) เชน ตัวแปร เพศ เรากําหนดในแบบสอบถามวา ถาทําเครื่องหมายเลือกท่ีเพศชาย เราใชตัวเลย 1 แทนเพศชาย และ ใช 2 แทนเพศหญิง ดังนั้น ความกวางของตัวแปร เพศ จะมีความกวาง 1 หลัก

- ทศนิยม (Decimal) กําหนดตําแหนงทศนิยมท่ีตองการเก็บ แตโดยท่ัวไปมักจะไมเก็บทศนิยม - คําอธิบายช่ือตัวแปร (Label) เปนการอธิบายรายละเอียดของตัวแปร สามารถพิมพไดท้ัง

ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ - คาตัวแปร (Values) เปนการกําหนดคาท่ีเปนไปไดของตัวแปร เชน ตัวแปร เพศ เรากาํหนดคาท่ี

เปนไปไดของตัวแปรเพศ เปน 2 คา คือ 1 แทนเพศชาย 2 แทนเพศหญิง ดังนั้น เราจะกําหนดใน Values ดังนี้

จะปรากฏหนาตาง ดังรูป

ระบุคา 1 ในชอง Value และ ระบุ ชาย ลงในชอง Value Label จากนั้นคลิก Add ระบุคา 2 ในชอง Value และ ระบุ หญิง ลงในชอง Value Label จากนั้นคลิก Add แตถาตองการท่ีจะลบคาของตัวแปรท่ีประกาศไว สามารถทําได โดยการคลิกท่ีรายการคาของตัวแปรในชอง กลาง เม่ือคลิกท่ีคาของตัว

คลิกเพื่อกําหนดคาของตัวแปร

คลิก เพื่อเพิ่มคาของตัวแปร

Page 8: SPSS Manual

การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณดวยโปรแกรม SPSS หนา 8

แปรบรรทัดท่ีตองการแลว คาของ Value และ Value Label จะปรากฏท่ีชอง 2 ชองดานบน ถาตองการลบใหคลิก Remove แตถาตองการแกไข ใหแกไขในชอง 2 ชองดานบน จากนั้นใหคลิกท่ี Change ก็จะเปนการแกไขคาของตัวแปร เม่ือไมตองการกําหนดคาเพิ่มอีกแลว ใหคลิก OK จะกลับมาท่ีหนาจอการประกาศตัวแปร

- คาแทนความสูญหายของขอมูล (Missing) เปนการกําหนดคาท่ีผูตอบแบบสอบถามไมไดตอบคําถามในบางขอ โดยผูวิจัยยังคงตองการใชขอมูลอื่นๆ ท่ีเหลือในแบบสอบถามชุดนี้อยู จึงตองกําหนดคาท่ีไมไดตอบบางขอใหเปนคาท่ีสูญหายไป หรือ Missing ซึ่งสามารถกําหนดคา Missing ไดดังนี้

จะปรากฏหนาตาง ดังรูป

No missing Values คือไมมีการกําหนดคา Missing Discrete missing values คือ การกําหนดคา Missing แบบเปนคา ๆ ไป ซึ่งสามารถกําหนดได 3 คา พรอมกัน (อาจกําหนดเพียงคาเดียวก็ได) โดยปกติแลวการกําหนดคา Missing เรามักใชเลข 9 (ในกรณีท่ีประกาศตัวแปรความกวางเปน 1) แทนแบบสอบถามขอท่ีไมไดตอบ หรือ ในกรณีท่ีมีการตอบแตตอบมากกวา 1 ขอในแบบสอบถามเดียวกัน ทําใหวิเคราะหไมได ก็อาจกาํหนดคา Missing ใหเปนเลข 8 ได Range plus one optional discrete missing value เปนการกําหนดคา Missing โดยกําหนดไดเปนชวง เชน กําหนดจาก 10 ถึง 20 และสามารถท่ีจะกําหนดเฉพาะคา Missing ได โดยเติมตัวเลขลงในชอง Discrete values

- ความกวางของคอลัมนแสดงผล (Columns) เปนการกําหนดความกวางของคอลัมนของตัวแปรตางๆ ในหนา Data View

- การจัดตําแหนงขอมูลในคอลัมน (Align) ตามตองการเชน ชิดซาย (Left) ชิดขวา (Right) หรือกึ่งกลาง (Center)

- ระดับการวัดตัวแปร (Measure) ซึ่งโดยทฤษฎีของการวิจัย การวดัจะแบงเปน 4 ระดับคือ Nominal, Ordinal, Interval และ Ratio แตใน SPSS จะมองวา Interval กับ Ratio จะเหมือนกัน และเรียกรวมกันวา Scale ดังนั้น ระดับการวัดในโปแกรม SPSS จะแบงเปน 3 ระดับคือ

Nominal ใชกับตัวแปรท่ีมีการแบงเปนกลุม เชน เพศ Ordinal ใชกับตัวแปรท่ีแบงกลุมโดยการเรียงอันดับ

คลิกเพื่อกําหนดคาของ Missing

Page 9: SPSS Manual

การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณดวยโปรแกรม SPSS หนา 9

Scale ใชกับตัวแปรท่ีเปนตัวเลข ท่ีตองการนําไปคํานวณคา เชนคาเฉลี่ย หรือสวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน

จากตัวอยางแบบสอบถาม เราสามารถประกาศตัวแปร ไดดังรูป

5.5 การคียขอมูลจากแบบสอบถาม บันทึกขอมูลของแบบสอบถามแตละฉบับ ลงในหนาตาง Data Editor ในสวนของ Data View โดยหัวคอลัมนจะ

บอกถึงตัวแปรท่ีตองการบันทึก และแตละแถว จะหมายถึง ขอมูลของแบบสอบถามแตละฉบับ วิธีการคียขอมูล แลวแตความสะดวกของผูคีย คือ ผูวิจัยอาจจะทําแผนสรุปขอมูลจากแบบสอบถาม หรือทําตารางการลง

รหัส (เหมือนตัวอยางในหนา 3) กอนแลวจึงคียขอมูล หรือจะคียจากแบบสอบถามทีละฉบับ ก็ยอมได (ข้ึนอยูกับความชํานาญของผูวิจัย)

สมมติวามีผูตอบแบบสอบถาม จํานวน 20 คน และขอมูลของแตละแบบสอบถามเปนดังนี้

Page 10: SPSS Manual

การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณดวยโปรแกรม SPSS หนา 10

5.6 การกําหนดรูปแบบของตาราง Output ตามความตองการของผูวิจัย ในการวิเคราะหขอมูล ผลการวิเคราะหขอมูลในรูปของตารางท่ีไดนั้น อาจไมถูกใจ หรือไมตรงตามความพอใจของนักวิจัย ซึ่งเราสามารถเปลี่ยนแปลงรูปแบบของตารางผลการวิเคราะหขอมูลได ตัวอยางเชน เราใชคําสั่ง Analyze Descriptive Statistics Frequencies… ไดผลการวิเคราะหดังตาราง

เพศ

6 40.0 40.0 40.09 60.0 60.0 100.0

15 100.0 100.0

ชายหญิงTotal

ValidFrequency Percent Valid Percent

CumulativePercent

ตารางท่ีไดจากการวิเคราะหดวย SPSS นี้ อาจไมเปนท่ีพึงพอใจ เราตองการท่ีจะปรับเปลี่ยนลักษณะของตารางใหเปนไปอยางท่ีเราตองการ ก็สามารถทําไดโดยการ ดับเบ้ิลคลิกท่ีตารางนั้น ดังรูป

Page 11: SPSS Manual

การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณดวยโปรแกรม SPSS หนา 11

จากรูป จะปรากฎหนาตางเล็กๆ ข้ึนมา 2 หนาตาง เราไมสนใจ คลิกปุม เพื่อปดหนาตางท้ัง 2 นั้น จะเหลือเฉพาะท่ีตองการ ดังรูป

Page 12: SPSS Manual

การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณดวยโปรแกรม SPSS หนา 12

จะสังเกตวาตารางนั้น ถูกเลือก (สังเกตลูกศรสีแดงๆ ช้ีอยู) และกรอบของตารางจะแสดงผล หรือแสดงอาการวามันถูกดับเบ้ิลคลิก

ลักษณะของตารางท่ีถูกดับเบ้ิลคลิก (สังเกตขอบตาราง)

ลักษณะของตารางท่ีไมถูกดับเบ้ิลคลิก (สังเกตขอบตาราง) เลือกคําสั่ง Format จากแถบเมนู เลือกคําสั่ง

ยอย Table looks.. (อาจใชวิธีคลิกขวาท่ีตาราง แลวเลือกคําสั่ง Table Looks.. ได) 1. เลือก Table ท่ีตองการใหเปนตนแบบ จาก Tablelook Files… ในท่ีนี้เลือก Hotdog (narrow) 2. ถาตองการปรับเปลี่ยน Font ใหคลิกท่ี Edit Looks…

จะปรากฏหนาตาง Table Properties for Hotdog (narrow) ดังรูป

1

2

Page 13: SPSS Manual

การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณดวยโปรแกรม SPSS หนา 13

คลิกท่ีแท็บ Cell Formats จะปรากฏหนาตาง ดังรูป

1 2 3

Page 14: SPSS Manual

การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณดวยโปรแกรม SPSS หนา 14

1. คลิกเลือก Area ท่ีจะเปลี่ยน Font (จะมีหลาย Area ถาเปนไปไดควรเปลี่ยนทุก Area) 2. คลิกเลือก Font Text (ถาตองการภาษาไทยควรเลือก Font ท่ีลงทายดวย UPC) 3. คลิกเลือก Font Size เม่ือเปลี่ยนครบทุก Area แลว ใหคลิก OK จะกลับมาท่ีหนาจอ ดังรูป

คลิก Save Look เม่ือตองการบันทึกตารางใหมนี้ทับตารางช่ือเดิม หรือคลิก Save As.. เม่ือตองการบันทึกตารางเปนช่ือใหม ในท่ีนี้จะเลือก Save As.. และต้ังช่ือตารางเปน mytable เก็บไวท่ีโฟลเดอร My Document ดังรูป จากนั้นคลิกท่ีคําสั่ง OK ของหนาตางท่ีปรากฏ ก็เปนอันเสร็จสิน้

Page 15: SPSS Manual

การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณดวยโปรแกรม SPSS หนา 15

แตถาตองการใหตารางใหมทุกตารางท่ีเราจะสรางข้ึนจากนี้ มีรูปแบบเหมือนตารางท่ีเราไดกําหนดไว (mytable) ใหคลิกท่ีเมนู Edit เลือกคําสั่ง Option

จะปรากฏหนาตางดังรูป ใหคลิกท่ี Pivot Table

Page 16: SPSS Manual

การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณดวยโปรแกรม SPSS หนา 16

คลิกท่ี Browse เลือกแหลงเก็บ คือ My Document และ เลือก table ท่ีสรางไวคือ mytable จากนั้นคลิก Open จะไดผลดังรูป

1

2

Page 17: SPSS Manual

การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณดวยโปรแกรม SPSS หนา 17

จากนั้นคลิก OK เทานี้ การกาํหนดรูปแบบของตารางท่ีเราตองการใหเปนคาอัตโนมัติ เม่ือสรางตารางใหมกี่ครั้งก็จะไดตารางท่ีเราสรางไวทุกครั้ง

5.7 การคํานวณหาคาความเช่ือม่ันของแบบสอบถาม และอํานาจการจาํแนกของขอคําถาม การคํานวณหาคาความเช่ือม่ัน คลิกเมนู Analyze เลือกคําสั่ง Scale เลือกคําสั่ง Reliability Analysis ดังรูป

Page 18: SPSS Manual

การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณดวยโปรแกรม SPSS หนา 18

จะปรากฏหนาตาง Reliability Analysis ดังรูป

ใหเลือกตัวแปรท่ีจะนํามาทดสอบ (มักจะเปนการหาคาความเช่ือม่ันของคําถามท่ีเปนลักษณะของ Rating Scale เกี่ยวกับ

ความพอใจ วิธีการเลือก ใหคลิกเลือกท่ีตัวแปรท่ีปรากฏอยูชองทางซาย คลิกปุม ตัวแปรท่ีเลือก จะถูกยายมาอยูชองทางดานขวา (Items: ) ถาตองการเลือกหลายตัวแปรท่ีอยูติดกัน ใหคลิกท่ีตัวแปรตัวแรก จากนั้นกดปุม Shift คางไว แลวคลิกเลือกตัว

แปรตัวสุดทาย จะปรากฏแถบแสดงใหเห็นวาเราเลือกหลายตัวแปรท่ีอยูติดกัน จากนั้นคลิกปุมลูกศร ตัวแปรเหลานั้นจะยายมาอยูชองดานขวาพรอมกัน

จากนั้นคลิกปุม Statistics จะปรากฏหนาตาง Reliability Analysis : Statistics เพื่อกําหนดคา Option ในท่ีนี้ใหคลิกในกลอง Scale if item deleted จะปรากฏเครื่องหมาย หนาขอความ

Page 19: SPSS Manual

การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณดวยโปรแกรม SPSS หนา 19

คลิกปุม Continue จะกลับมาท่ีหนาตาง Reliability Analysis จากนั้นคลิกปุม OK จะไดผลลัพธท่ีหนาตาง Output ดังรูป

คาความเช่ือม่ันเทาใดจึงจะเหมาะสมหรือยอมรับได เปนเรื่องท่ีตัดสินใจลําบาก เพราะงานวิจัยตางๆ มีจาํนวนขอคําถามไมเทากับ แตโดยปกติถาคาความเช่ือม่ันมีคาเกิน 0.80 ข้ึนไป ถือวาใชไดแลว แตถานอยกวานั้นอาจจะตองสรางจํานวนขอคําถามเพิ่มข้ึนจากเดิม ซึ่งสามารถแสดงตารางจํานวนขอคําถามท่ีควรจะมีในแบบสอบถาม ถาตองการใหคาความเช่ือม่ันถึงเกณฑท่ียอมรับได ( ธานินทร ศิลปจาร.ุ การวิจัยและวิเคราะหขอมูลทางสถิติดวย SPSS. พิมพครั้งท่ี 3. กรุงเทพฯ : วี. อินเตอร พริ้นท จาํกัด, 2548.)

Page 20: SPSS Manual

การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณดวยโปรแกรม SPSS หนา 20

Page 21: SPSS Manual

การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณดวยโปรแกรม SPSS หนา 21

อํานาจจําแนก (Discrimination) ในการพิจารณาวาขอคําถามของเรามีอํานาจจาํแนก หรือไมนั้น วิธีท่ีงายท่ีสุดคือ ดูจากคาสวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน

(Standard Deviation: S.D.) เนื่องจากคาสวนเบ่ียงเบนมาตรฐานนี้จะบอกถึงการกระจายของขอมูล ถา S.D มีคา นอย แสดงวาขอคําถามนั้นมีอํานาจจําแนกตํ่า หรือถา S.D. มีคาเปน 0 ก็แสดงวา ขอคําถามนั้นไมมีอํานาจจาํแนกเลย (ผูตอบแบบสอบถามทุกคน เลือกตอบตัวเลือกใดตัวเลือกหนึ่งของขอคําถามนั้นเพียงตัวเลือกเดียว ผูวิจัยจึงควรพิจารณาปรับปรุงขอคําถามนั้น เชน ในขอคําถามท่ีวา ชวงเวลาใดท่ีทานใชงานหองสมุดมากท่ีสุด เราถามเพียง 2 เวลาคือ 8.00-12.00 และ 13.00-16.00 ปรากฏวาผูตอบแบบสอบถามทุกคนเลือกตอบชวงเวลา 13.00-16.00 หมดทุกคน (ซึ่งจะคํานวณหาคา S.D. ไดเทากับ 0 แสดงวาแบบสอบถามขอนี้ไมมีอํานาจจําแนก จึงควรเพิ่มตัวเลือกในแบบสอบถามใหถี่ลงไปอีกเชน 13.00-14.00 ,14.00-15.00 และ 15.00-16.00 เปนตน

5.8 ตัวอยางการวเิคราะหและแปลผลขอมูลทางสถิติจากงานวิจัย

Page 22: SPSS Manual

การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณดวยโปรแกรม SPSS หนา 22

1. แบบสอบถามท่ีใชในงานวิจัย

ID

แบบสอบถาม

ความพึงพอใจในการรับบริการจากหองสมุดมหาวิทยาลัยฯ คําช้ีแจง ขอใหทานกรุณาทําเครื่องหมาย หนาตัวเลือกท่ีตรงตามสภาพความเปนจริงของทาน ตอนท่ี 1 ขอมูลสถานภาพท่ัวไปของผูตอบแบบสอบถาม 1. เพศ 1. ชาย 2. หญิง 2. อาย ุ 1. ตํ่ากวา 20 ป 2. 20-29 ป 3. 30-39 ป 4. 40 ปข้ึนไป 3. คณะ 1. วิทยาศาสตรและเทคโนโลย ี 2. มนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 3. วิทยาการจัดการ 4. ครุศาสตร 5. เทคโนโลยีการเกษตร ตอนท่ี 2 ขอมูลการใชงานโดยท่ัวไปของทานท่ีมีตอหองสมุดฯ 4. ช้ันท่ีทานใชบริการบอยท่ีสุด 1. ช้ันท่ี 1 2. ช้ันท่ี 2 3. ช้ันท่ี 3 5. ชวงเวลาท่ีทานใชงานมากท่ีสุด 1. 07.30-08.30 2. 08.30-12.00 3. 12.00-13.00 4. 13.00-16.30 5. 16.30-17.30 ตอนท่ี 3 ความพึงพอใจในการใหบริการของหองสมุดฯ

ระดับความคิดเห็น ความพึงพอใจในการใหบริการ มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด

6. เจาหนาท่ีชวยคนหาหนังสือ 7. เจาหนาท่ีใหบริการยืมคืน 8. ความเปนระเบียบของช้ันวางหนังสือ 9. ความสะอาดของโตะเกาอี้สาํหรับอานหนังสือ 10. ความเงียบสงบและบรรยากาศ

ตอนท่ี 4 ขอเสนอแนะอื่นๆ เพื่อการปรับปรุงและพัฒนาหองสมุด ......................................................................................................................................................................................................... .........................................................................................................................................................................................................

ขอขอบพระคุณผูตอบแบบสอบถามทุกทาน

Page 23: SPSS Manual

การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณดวยโปรแกรม SPSS หนา 23

2. ตารางกําหนดคาตัวแปรตางๆ ของงานวิจัย Name Width Label Value การกําหนดคา Value Measure

id 3 เลขท่ีแบบสอบถาม 001-998 None Scale sex 1 เพศ 1, 2 1 = ชาย

2 = หญิง Nominal

age 1 อายุ 1-4 1 = ตํ่ากวา 20 ป 2 = 20-29 ป 3 = 30-39 ป 4 = 40 ปข้ึนไป

Nominal

faculty 1 คณะ 1-5 1 = วิทยาศาสตรฯ 2 = มนุษยศาสตรฯ 3 = วิทยาการจัดการ 4 = ครุศาสตร 5 = เทคโนโลยีการเกษตร

Nominal

floor 1 ช้ันท่ีใชบริการบอยท่ีสุด 1-3 1 = ช้ัน 1 2 = ช้ัน 2 3 = ช้ัน 3

Nominal

time 1 ชวงเวลาท่ีใชงานมากท่ีสุด 1-5 1 = 7.30-8.30 2 = 8.30-12.00 3 = 12.00-13.00 4 = 13.00-16.30 5 = 16.30-17.30

Nominal

atti1 1 พอใจเจาหนาท่ีชวยคนหาหนังสือ 1-5 Scale atti2 1 พอใจเจาหนาท่ีใหบริการยืมคืน 1-5 Scale atti3 1 พอใจความเปนระเบียบฯ 1-5 Scale atti4 1 พอใจความสะอาด 1-5 Scale atti5 1 พอใจความเงียบและบรรยากาศ 1-5

1 = นอยท่ีสุด 2 = นอย 3 = ปานกลาง 4 = มาก 5 = มากท่ีสุด Scale

Missing Value ของตัวแปร เลขท่ีแบบสอบถามคือ 999 นอกนั้นเปน 9

Page 24: SPSS Manual

การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณดวยโปรแกรม SPSS หนา 24

3. ตารางลงรหัสขอมูลจากแบบสอบถาม

ตารางการลงรหัส ช่ืองานวิจัย ................................................................................................... ผูลงรหัส ...........................................

1 2 3 4 5 6 7 8 9 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 0 1 2 3 4 5 0 0 1 1 1 1 1 1 4 4 3 4 4

0 0 2 2 2 1 3 2 3 4 3 5 3

0 0 3 1 3 5 2 4 5 3 4 5 3

0 0 4 2 4 2 1 4 5 3 4 5 4

0 0 5 1 2 2 3 4 5 4 4 5 4

0 0 6 1 1 3 2 4 5 4 4 5 4

0 0 7 1 3 3 2 3 4 4 5 4 4

0 0 8 2 4 4 2 3 4 4 5 4 5

0 0 9 2 4 4 3 5 4 3 5 4 5

0 1 0 2 2 4 1 5 4 5 5 4 5

0 1 1 1 2 1 3 5 3 5 4 4 5

0 1 2 2 2 4 1 5 5 5 4 2 4

0 1 3 1 3 5 3 5 5 5 2 3 4

0 1 4 2 3 3 2 4 5 4 3 4 4

0 1 5 2 3 4 2 4 5 4 5 4 2

0 1 6 1 4 2 2 4 4 3 5 4 3

0 1 7 2 4 1 2 2 4 5 5 2 4

0 1 8 1 1 2 2 3 2 5 5 3 4

0 1 9 2 3 1 2 3 3 5 4 4 4

0 2 0 1 4 5 3 4 4 5 4 4 4

Page 25: SPSS Manual

การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณดวยโปรแกรม SPSS หนา 25

4. คูมือการวิเคราะหขอมูล / สถิติ / คําสั่งของโปรแกรม SPSS

ตอนที่ รายการ/ตัวแปร ลักษณะของเคร่ืองมือ สถิติ/คําส่ังของโปรแกรม 1 สถานภาพท่ัวไปของผูตอบแบบสอบถาม

- เพศ - อายุ - คณะ

ตรวจสอบรายการ (Check List)

คาความถี่ สรุปผลเปนรอยละ คําส่ัง Analyze Descriptive Statistics Frequencies…

2 ขอมูลการใชงานท่ัวไป - ช้ันท่ีใชบริการบอย - ชวงเวลาท่ีใชงานมากท่ีสุด

ตรวจสอบรายการ (Check List)

คาความถี่ สรุปผลเปนรอยละ คําส่ัง Analyze Descriptive Statistics Frequencies… คาความถี่ แสดงผลตารางแบบ 2 ทาง คําส่ัง Analyze Descriptive Statistics Crosstabs…

3 ความพึงพอใจในการใหบริการ - เจาหนาท่ีชวยคนหาหนังสือ - พอใจเจาหนาท่ีใหบริการยืมคืน - พอใจความเปนระเบียบฯ - พอใจความสะอาด - พอใจความเงียบและบรรยากาศ - ความพึงพอใจในภาพรวม (จาํแนก

ตามเพศ อายุ และคณะ)

มาตราสวนประมาณคา (Rating Scale)

คาเฉลี่ย ( x ) คาสวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) คําส่ัง Analyze Descriptive Statistics Descriptives… หาคาความพึงพอใจโดยภาพรวม คําส่ัง Analyze Compare Means Means…

4 เปรียบเทียบความแตกตางระหวางเพศ เกี่ยวกับความพึงพอใจในการใหบริการดานตางๆ และความพึงพอใจโดยภาพรวม

มาตราสวนประมาณคา (Rating Scale) ตัวแปรเพศมี 2 คา คือ เพศชาย แลเพศหญิง

T-Test คําส่ัง Analyze Compare Means Independent – Sample T-Test …

5 ขอเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงและพัฒนา คําถามปลายเปด (Open end)

วิเคราะห เนื้อหา (Contents Analysis) ออกเปนคาความถี่

Page 26: SPSS Manual

การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณดวยโปรแกรม SPSS หนา 26

การคํานวณหาคาความถี่ (Frequencies) 1. เปดไฟลท่ีขอมูลท่ีไดบันทึกไวแลว 2. คลิกเมนู Analyze เลือก Descriptive

Statistics เลือก Frequencies… ดังรูป

จะปรากฏหนาตาง Frequencies

เลือกตัวแปรท่ีตองการหาคาความถี่ ในท่ีนี้เราเลือก เพศ ชวงอายุ คณะ ช้ันท่ีใชบริการบอยท่ีสุด และ ชวงเวลาท่ีใชงานมาก

ท่ีสุด จากชองทางซาย คลิก ทําใหตัวแปรท่ีเลือกถูกนําไปไวในชองทางดานขวา หรือชอง Variable(s) ถาคลิกปุม Statistics.. จะข้ึนหนาตาง Frequencies Statistics เพื่อใหเลือกสถิติท่ีตองการวิเคราะห แลวคลิกปุม

Continue เพื่อกลับมายังหนาจอเดิม (ในท่ีนี้เราไมเลือก) ถาตองการใหผลลัพธท่ีออกมาแสดงเปนรูปกราฟดวย ใหคลิกท่ีปุม Charts… จะปรากฏหนาตาง

Frequencies:Charts ดังรูป (แตถาตองการใหแสดงเฉพาะกราฟ โดยไมแสดงตารางแจกแจงความถี่ ใหคลิกเครื่องหมาย หนา Display frequency tables ออก

None หมายถึง ไมตองการสรางกราฟ Bar chart หมายถึง ตองการสรางกราฟแทง Pie chart หมายถึง ตองการสรางกราฟวงกลม Histograms หมายถึง ตองการสรางฮีสโตแกรม (กราฟแทง + กราฟเสน) Chart Values กําหนดเพื่อระบุวาตองการแสดงขอมูลในกราฟดวย คาความถี่ (Frequencies) หรือเปอรเซนต (Percentages)

Page 27: SPSS Manual

การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณดวยโปรแกรม SPSS หนา 27

คลิกปุม Format เพื่อต้ังรูปแบบการแสดงผล ในท่ีนี้เราเลือก Ascending values เพื่อใหเรียงขอมูลตามตัวเลือกในแบบสอบถาม และ Compare variables แลวคลิกปุม Continue เพื่อกลับมายังหนาจอเดิม

คลิกปุม OK โปรแกรมจะประมวลผล แลวนําผลท่ีไดไปแสดงท่ี Output Windows (SPSS Viewer) ไดผลดังรูป

แถว Valid หมายถึง จํานวนผูตอบแบบสอบถามในขอตางๆ ท่ีสมบูรณ

แถว Missing หมายถึง จํานวนขอมูลท่ีสูญหาย (จาํนวนท่ีไมไดตอบ) ในท่ีนี้ไมมี

คาเปอรเซ็นตท่ีสมบูรณ (ตัดคาขอมูลสูญหายแลว)

คาเปอรเซ็นตสะสม

คาเปอรเซ็นต

คาความถี่

Page 28: SPSS Manual

การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณดวยโปรแกรม SPSS หนา 28

?? ?

Ë­Ô§

?? ?

???�?? ??

40 ?? ?? ????

30-39 ??

20-29 ??

µèÓ¡ÇèÒ 20 »Õ

???

à·¤â¹âÅÂÕ¡ÒÃà¡ÉµÃ

¤ÃØÈÒʵÃì

? ? ?? ? ?? ? ?? ??? ?

Á¹ØÉÂÈÒʵÃìáÅÐÊѧ¤ÁÈ

ÇÔ·ÂÒÈÒʵÃìáÅÐà·¤â¹â

?? ???? ??????? ?? ??????? ??? ?

?? ?? 3

?? ?? 2

?? ?? 1

Page 29: SPSS Manual

การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณดวยโปรแกรม SPSS หนา 29

จะเห็นวากราฟท่ีได คําอธิบายท่ีเปนภาษาไทยจะอานไมออก วิธีการเปลี่ยน font ใหเปนภาษาไทย ทําไดโดยการดับเบิลคลิกท่ีรูปกราฟนั้น (ในหนาตาง SPSS Viewer) จะปรากฏหนาตาง SPSS Chart Editor ดังรูป

คลิกท่ี 1 เพื่อเลือกขอความท่ีจะเปลี่ยน คลิกท่ี 2 เพื่อเปลี่ยนรูปแบบตัวอักษร จะปรากฏหนาตางเปน

กําหนด Font ใหเปนภาษาไทย โดยเลือกแบบท่ีลงทายดวย UPC กําหนด Size ตามความตองการ *** นาเสียดายท่ี version 10.0 ท่ีเราใชนี้ยังมีขอผิดพลาดตรงการแสดงผลภาษาไทย ทําใหผลของการเปลี่ยน Font ไมสมบูรณ

และถาหากตองการให Chart ท่ีแสดงนั้น แสดงผลของเปอรเซ็นต หรือคาของขอมูลดวย ใหคลิกท่ีเมนู Chart เลือก Option จะปรากฏหนาตาง ดังรูป

1. คลิกเพื่อเลือก

2. คลิกเพื่อเปลี่ยนรูปแบบตัวอักษร

Page 30: SPSS Manual

การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณดวยโปรแกรม SPSS หนา 30

คลิกเพื่อใหเกิดเครื่องหมาย หนา Text ถาตองการใหแสดงคําอธิบายขอมูล คลิกเพื่อใหเกิดเครื่องหมาย หนา Values ถาตองการใหแสดงคาของขอมูล คลิกเพื่อใหเกิดเครื่องหมาย หนา Percents ถาตองการใหแสดงเปอรเซ็นตของขอมูล ***** ในกรณีท่ีขอมูลจากตัวอยางท่ีเก็บมาได มีคา Missing Value ถาตองการนําคาเปอรเซน็ตจากตารางไปอธิบาย นิยมใชคาเปอรเซ็นตจากคอลัมน Valid Percent มาอธิบายแทน เพราะเปนคาท่ีจะคิดเปอรเซ็นตโดยไมนับคา Missing ของขอมูลตัวอยาง ***** การแสดงผลเปนภาษาไทย ในเวอรชันหลังจากนี้ จะมีความสมบูรณกวานี้มาก ******* ตัวอยางการรายงานผลการวิจัย ผลการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับสถานภาพท่ัวไปของผูตอบแบบสอบถามในดานเพศ ปรากฏผลดังตารางท่ี 1 และ ภาพท่ี 1 ตารางที่ 1 แสดงคารอยละของสถานภาพท่ัวไปของผูตอบแบบสอบถามในดานเพศ

เพศ จํานวน รอยละ เพศชาย 50 50.00 เพศหญิง 50 50.00

รวม 100 100.00

เพศ

50.0%

50.0%

หญ ง

ชาย

ภาพท่ี 1 แสดงคารอยละของสถานภาพท่ัวไปของผูตอบแบบสอบถามในดานเพศ

จากตารางท่ี 1 และภาพท่ี 1 พบวา ผูตอบแบบสอบถามท้ังสองเพศ เทากัน คือ เปนเพศชายรอยละ 50.00 และเปนเพศหญิง รอยละ 50.00

Page 31: SPSS Manual

การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณดวยโปรแกรม SPSS หนา 31

ผลการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับสถานภาพท่ัวไปของผูตอบแบบสอบถามในดานเพศ ปรากฏผลดังตารางท่ี 2 และ ภาพท่ี 2 ตารางที่ 2 แสดงคารอยละของสถานภาพท่ัวไปของผูตอบแบบสอบถามในดานอาย ุ

อายุ จํานวน รอยละ ตํ่ากวา 20 ป 15 15.00

20-29 ป 25 25.00 30-39 ป 30 30.00

40 ปข้ึนไป 30 30.00 รวม 100 100.00

ช วงอาย

30.0%

30.0%

25.0%

15.0%40 ป ข นไป

30-39 ป

20-29 ป

ต ำกว า 20 ป

ภาพท่ี 2 แสดงคารอยละของสถานภาพท่ัวไปของผูตอบแบบสอบถามในดานอาย ุ

จากตารางท่ี 2 และภาพท่ี 2 พบวา ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญ จะมีอายุต้ังแต 30 ปข้ึนไป โดยมีอายุ 30-39 ป คิดเปนรอยละ 30.00 และอาย ุ40 ป ข้ึนไป คิดเปนรอยละ 30.00 เชนเดียวกัน และอายุท่ีมีจํานวนนอยท่ีสุด คือ อายุตํ่ากวา 20 ป คิดเปน รอยละ 15.00 การแจกแจงความถี่แบบสองทาง (Crosstabs) เปนการแจกแจงขอมูลโดยมีตัวแปร 2 ตัวเกี่ยวของกัน เชน ตองการแสดงคารอยละของสถานภาพท่ัวไปของผูตอบแบบสอบถาม จําแนกตามเพศและอายุ สามารถทําไดดังนี้

1. ท่ีหนาตาง Data Editor คลิกเมนู Analyze เลือกคําสั่ง Descriptive Statistics เลือก Crosstabs จะปรากฏหนาตาง Crosstabs

Page 32: SPSS Manual

การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณดวยโปรแกรม SPSS หนา 32

2. เลือกตัวแปร คณะ (faculty) จากนั้นคลิกท่ีปุม ทําใหตัวแปร คณะ มาอยูในชอง Row(s):

คลิกท่ีตัวแปร ชวงเวลาท่ีใชงานมากท่ีสุด (time) จากนั้นคลิกท่ีปุม แถวกลาง เพื่อใหตัวแปร อาย ุมาอยูในชอง Column(s):

คลิกเลือก Display clustered bar charts เพื่อใหแสดง bar chart ดวย จากนั้นคลิกท่ีปุม Cells… เพื่อกําหนด Cell Display

ในสวนของ Count Observes คือ คาสังเกต เปนคาขอมูลท่ีเก็บไดจริง Expected คือ คาความถี่คาดหวัง ในสวนของ Percentages Row คือ แสดงเปอรเซ็นตในแตละแถว Column คือ แสดงเปอรเซ็นตในแตละคอลัมน Total คือ แสดงเปอรเซ็นตรวมท้ังหมด

ในท่ีนี้ใหเลือกคา Observed และ Row, Column, Total จากนั้นคลิก Continue จะกลับมาท่ีหนาจอ Crosstabs คลิก OK จะไดผลการวิเคราะหปรากฏใน SPSS Viewer (Output) ดังรูป

Page 33: SPSS Manual

การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณดวยโปรแกรม SPSS หนา 33

เพศ * ชวงเวลาท่ีใชงานมากท่ีสุด Crosstabulation

5 11 25 9 5010.0% 22.0% 50.0% 18.0% 100.0%

100.0% 50.0% 62.5% 39.1% 50.0%

5.0% 11.0% 25.0% 9.0% 50.0%10 11 15 14 50

20.0% 22.0% 30.0% 28.0% 100.0%

100.0% 50.0% 37.5% 60.9% 50.0%

10.0% 11.0% 15.0% 14.0% 50.0%5 10 22 40 23 100

5.0% 10.0% 22.0% 40.0% 23.0% 100.0%

100.0% 100.0% 100.0% 100.0% 100.0% 100.0%

5.0% 10.0% 22.0% 40.0% 23.0% 100.0%

Count% within เพศ% withinชวงเวลาท่ีใชงานมากท่ีสุด% of TotalCount% within เพศ% withinชวงเวลาท่ีใชงานมากท่ีสุด% of TotalCount% within เพศ% withinชวงเวลาท่ีใชงานมากท่ีสุด% of Total

ชาย

หญิง

เพศ

Total

7.30 - 8.30 8.30-12.00 12.00-13.00 13.00-16.30 16.30-17.30ชวงเวลาท่ีใชงานมากท่ีสุด

Total

เพศ

หญ งชาย

Count

30

20

10

0

ช วงเวลาท ใช งานมาก

7.30 - 8.30

8.30-12.00

12.00-13.00

13.00-16.30

16.30-17.30

ตัวอยางการรายงานผลการวิจัย ผลการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับการใชงานโดยท่ัวไปของผูตอบแบบสอบในดานชวงเวลาท่ีใชงานมากท่ีสุดจําแนกตามเพศ ปรากฏผลดังตารางท่ี 3 และ ภาพท่ี 3 ตารางที่ 3 แสดงคารอยละของชวงเวลาท่ีใชงานมากท่ีสุด จําแนกตามสถานภาพดานเพศ

เพศชาย เพศหญิง ชวงเวลาท่ีใชงานมากท่ีสุด จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ

7.30-8.30 5 10.00 0 0.00 8.30-12.00 0 0.00 10 20.00 12.00-13.00 11 22.00 11 22.00 13.00-16.30 25 50.00 15 30.00 16.30-17.30 9 18.00 14 28.00

รวม 50 100.00 50 100.00

Page 34: SPSS Manual

การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณดวยโปรแกรม SPSS หนา 34

เพศ

หญ งชาย

Count

30

20

10

0

ช วงเวลาท ใช งานมาก

7.30 - 8.30

8.30-12.00

12.00-13.00

13.00-16.30

16.30-17.30

ภาพท่ี 3 แสดงความถี่ของชวงเวลาท่ีเขามาใชงานมากท่ีสุด จําแนกตามเพศ

จากตารางท่ี 3 และภาพท่ี 3 พบวา ชวงเวลาท่ีมาใชงานมากท่ีสุด เม่ือจําแนกตามเพศ ปรากฏผลดังนี้ เพศชาย สวนใหญมาใชบริการมากท่ีสุดเวลา 13.00-16.30 น. คิดเปนรอยละ 50.00 รองลงมาไดแกเวลา 12.00-13.00 น. คิดเปนรอยละ 22.00 และชวงเวลาท่ีเพศชายมาใชบริการนอยท่ีสุดคือไมมีมาใชบริการเลย คือ เวลา 8.30-12.00 น. เพศหญิง สวนใหญมาใชบริการมากท่ีสุดเวลา 13.00-16.30 น. คิดเปนรอยละ 30.00 รองลงมาไดแกเวลา 16.30-17.30 น. คิดเปนรอยละ 28.00 และชวงเวลาท่ีมีเพศหญิงมาใชบริการนอยท่ีสุดคือไมมีมาใชบริการเลยคือ เวลา 7.30-8.30 น. การคํานวณหาความพึงพอใจรวม (จากความพึงพอใจหลายๆ ดาน) ดวยคําส่ัง Transform Compute ในแบบสอบถามมีการถามถึงระดับความพึงพอใจในดานตางๆ หากวาเราตองการทราบความพึงพอใจรวมของทุกๆ ดาน แลววาเปนเทาไร และหาคาเฉลี่ยวาแบบสอบถามแตละฉบับนั้น มีความพึงพอใจในทุกๆ ดานเฉลี่ยแลวเปนเทาไร เราสามารถใชคําสั่ง Transform Compute ในการคํานวณคา จากแบบสอบถามตัวอยาง เรามีการวัดระดับความพึงพอใจของผูตอบแบบสอบถาม ในการใหบริการของสํานักหอสมุด 5 ดานดวยกันคือ ดานการใหบริการของเจาหนาท่ีคนหาหนังสือ การใหบริการของเจาหนาท่ียืมคืน ความเปนระเบียบเรียบรอยของช้ันวางหนังสือ ความสะอาดของโตะเกาอี้สําหรับนั่งอาน และ ความเงียบสงบ บรรยากาศเหมาะสมกับการอานหนังสือ เราตองการทราบความพึงพอใจเฉลี่ยของทุกดานของแตละผูตอบแบบสอบถาม เพื่อจะนําไปหาคาความพึงพอใจเฉลี่ยของผูตอบแบบสอบถามท้ังหมดตอไป มีข้ันตอนการหาความพึงพอใจรวม ดังนี้

1. ท่ีเมนู Transform เลือกคําสั่ง Compute

Page 35: SPSS Manual

การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณดวยโปรแกรม SPSS หนา 35

2. ปรากฏหนาตาง Compute Variable ดังรูป ในชอง Target Variable ใหพิมพช่ือตัวแปรตัวใหม ในท่ีนี้ ต้ังช่ือวา Total จากนั้นคลิกท่ีปุม Type&Label… จะปรากฏหนาตาง Compute Variable: Type and Label ใหพิมพคําอธิบายตัวแปรใหม ในชอง Label: ในท่ีนี้ใหพิมพวา “ความพึงพอใจรวม” ประเภทของตัวแปร เนื่องจากเปนตัวเลขท่ีเกิดจากการคํานวณของตัวแปรความพึงพอใจท้ัง 5 ตัว ดังนั้น Type จึงเปน Numeric จากนั้นคลิก continue จะกลับมาท่ีหนาตาง Compute Variable อีกครั้งหนึ่ง

3. คลิกในชอง Numeric Expression: เพื่อเลือกการทํางานในชองนี้

4. คลิกปุม จากกลุมเครื่องหมาย จะปรากฏเครื่องหมายวงเล็บ () ในชอง Numeric

Expression จากนั้นคลิกท่ีตัวแปร พอใจในเจาหนาท่ีบริการคนหาหนังสือ และคลิกปุม ตัวแปรนี้จะไปอยูในชอง Numeric Expression ในวงเล็บ (ข้ันตอนนี้อาจใชวิธี ดับเบ้ิลคลิกท่ีตัวแปร เลยก็ได ตัวแปรท่ีดับเบ้ิลคลิกจะไปอยูท่ีชอง

Numeric Expression โดยอัตโนมัติ) จากนั้นคลิกท่ี (เครื่องหมาย + ) ดับเบ้ิลคลิกท่ีตัวแปร ความพึงพอใจในเจาหนาท่ีบริการยืมคืน คลิกเครื่องหมายบวก ดับเบ้ิลคลิกท่ี พอใจในความเปนระเบียบฯ คลิกเครื่องหมายบวก ดับเบ้ิลคลิกท่ีความพอใจในความสะอาดฯ คลิกเครื่องหมายบวก ดับเบ้ิลคลิกท่ี พอใจในความเงียบฯ (ครบแลว) จากนัน้ ใหคลิกหลังเครื่องหมาย ) (คลิกใหเคอเซอรกระพริบอยูหลังวงเล็บ) จากนั้นใหคลิกเครื่องหมาย หาร ( ) คลิกปุมเลข 5 จะไดสูตร ดังรูป

Page 36: SPSS Manual

การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณดวยโปรแกรม SPSS หนา 36

5. คลิก OK จะไดผลลัพธปรากฏในชีทของ Data View โดยมีตัวแปรใหมเกิดข้ึนคือ Total เปนการหาคาเฉลี่ยของความพอใจท้ัง 5 ดานของแบบสอบถามแตละฉบับ

การคํานวณหาคาเฉลีย่ (Mean) จากคําส่ัง Frequencies มักเปนการคํานวณหาคาเฉลี่ยของตัวแปรท่ีมีระดับการวัดเปน Scale หรือประกาศตัวแปรเปนประเภท Numeric ท่ีตองการคํานวณหาคาเฉลี่ย ในตัวอยางนี้จะเปนการคํานวณหาคาเฉลี่ยของความพึงพอใจในการใหบริการของหองสมุด โดยแสดงเปนภาพรวม จากคําสั่ง Frequencies ทําไดดังนี้

1. เลือกเมนู Analysis เลือกคําสั่ง Descriptive Statistics เลือก Frequencies ดังรูป

Page 37: SPSS Manual

การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณดวยโปรแกรม SPSS หนา 37

2. จะปรากฏหนาตาง Frequencies ถาเปนการทําตอเนื่องจากงานเดิม จะปรากฏตัวแปรตัวเดิมคางอยูในชอง Variable(s): ใหคลิกเลือกตัวแปรในกลอง Variable(s): ทุกตัว แลวคลิก

ปุม ตัวแปรทุกตัวจะกลับไปอยูในชองทางดานซายท้ังหมด

3. คลิกเลือกตัวแปรท่ีตองการหาคาเฉลี่ย ในท่ีนี้คือ เราจะหาคาเฉลี่ยของความพึงพอใจท้ัง 5 ดาน คือ เจาหนาท่ีชวยคนหาหนังสือ เจาหนาท่ีใหบริการยืมคืน ความเปนระเบียบของช้ันวางหนังสือ ความสะอาดของโตะเกาอี้ และความเงียบสงบของบรรยากาศ และ ใหคลิกเลือกตัวแปรท้ัง 5 ตัวนี้ จากนั้นใหคลิก ตัวแปรท้ัง 5 จะถูกยายมาในชอง Variable(s): ดังรูป

คลิกปุม Statistics จะปรากฏหนาตาง Frequencies: Statistics คลิกเลือก Mean ในสวน Central Tendency เพื่อใหคํานวณคาเฉลี่ย และคลิก Std. deviation ในสวน Dispersion เพื่อใหคํานวณคาสวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน

จากนั้นคลิกท่ีปุม Continue จะกลับมาท่ีหนาตาง Frequencies คลิกปุม OK โปรแกรมจะประมวลผลไวท่ีหนาตาง Output (SPSS Viewer)

คลิก คลิก

Page 38: SPSS Manual

การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณดวยโปรแกรม SPSS หนา 38

Statistics

100 100 100 100 100 1000 0 0 0 0 0

4.11 4.12 4.11 3.81 3.91 4.0120.86 .77 .86 .94 .74 .2753

ValidMissing

N

MeanStd. Deviation

พอในในเจาหนาท่ีชวยคนหาหนังสือ

พอใจในเจาหนาท่ีบริการยืมคืน

พอใจในความเปนระเบียบของช้ันวางหนังสือ

พอใจในความสะอาดของโตะเกาอี้

สําหรับน่ังอาน

พอใจในความเงียบสงบและบ

รรยากาศ ความพอใจรวม

ถาหากวาตารางท่ีแสดงมีจํานวนตัวแปรมาก ความยาวของตารางก็จะยาวเกินหนากระดาษได ใน SPSS สามารถปรับตารางจากแถว ใหเปนคอลัมน และจากคอลัมน ใหเปนแถว ได โดยกระทําดังนี้ ดับเบ้ิลคลิกท่ีตาราง เลือกท่ีเมนู Pivot คลิกเลือกคําสั่ง Transpose Rows and Columns จะทําใหตารางนั้นกลับจากแถวเปนคอลัมน และจากคอลัมนเปนแถว ดังรูป

ผลลัพธท่ีได

Page 39: SPSS Manual

การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณดวยโปรแกรม SPSS หนา 39

Statistics

100 0 4.11 .86

100 0 4.12 .77

100 0 4.11 .86

100 0 3.81 .94

100 0 3.91 .74

100 0 4.0120 .2753

พอในในเจาหนาที่ชวยคนหาหนังสือพอใจในเจาหนาที่บริการยืมคืนพอใจในความเปนระเบียบของชั้นวางหนังสือพอใจในความสะอาดของโตะเกาอ้ีสําหรับน่ังอานพอใจในความเงียบสงบและบรรยากาศความพอใจรวม

Valid MissingN

Mean Std. Deviation

ตัวอยางการรายงานผลการวิจัย การวิเคราะหขอมูลจะวิเคราะหท้ังในภาพรวมของความพึงพอใจในการใหบริการของสํานักหอสมุด และในรายขอ ไดแก ความพอใจในเจาหนาท่ีคนหาหนังสือ ความพอใจในเจาหนาท่ีบริการยืมคืน ความพอใจในความเปนระเบียบของช้ันวางหนังสือ ความพอใจในความสะอาดของโตะเกาอี้ และความพอใจในความเงียบสงบและบรรยากาศ โดยใชเกณฑในการวิเคราะห และแปลผลขอมูล ดังนี้ คะแนนเฉลี่ย 4.50-5.00 กําหนดใหอยูในเกณฑ พึงพอใจมากท่ีสุด คะแนนเฉลี่ย 3.50-4.49 กําหนดใหอยูในเกณฑ พึงพอใจมาก คะแนนเฉลี่ย 2.50-3.49 กําหนดใหอยูในเกณฑ พึงพอใจปานกลาง คะแนนเฉลี่ย 1.50-2.49 กําหนดใหอยูในเกณฑ พึงพอใจนอย คะแนนเฉลี่ย 1.00-1.49 กําหนดใหอยูในเกณฑ พึงพอใจนอยท่ีสุด ผลการวิเคราะหขอมูลความพึงพอใจเกี่ยวกับการใหบริการของสํานักหอสมุด โดยแสดงเปนภาพรวม ปรากฏผลดัง ตารางท่ี 4

Page 40: SPSS Manual

การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณดวยโปรแกรม SPSS หนา 40

ตารางที่ 4 แสดงคาเฉลี่ยและคาสวนเบ่ียงเบนมาตรฐานของระดับความพึงพอใจเกี่ยวกับการใหบริการในดานตางๆ ของ สํานักหอสมุด

ความพึงพอใจ x S.D.

ความพึงพอใจโดยภาพรวม 4.012 0.275 เจาหนาท่ีคนหาหนังสือ 4.11* 0.86 เจาหนาท่ีบริการยืมคืน 4.12 0.77 ความเปนระเบียบเรียบรอยของช้ันวางหนังสือ 4.11* 0.86 ความสะอาดของโตะเกาอี้สําหรับนั่งอานหนังสือ 3.81 0.94 ความเงียบสงบและบรรยากาศ 3.91 0.74 จากตารางท่ี 4 พบวา ความพึงพอใจในการใหบริการของสํานักหอสมุด โดยภาพรวม อยูในระดับ มาก โดยมีคะแนนเฉลี่ยเทากับ 4.012 เม่ือพิจารณาความพึงพอใจเปนรายดาน ปรากฏวา มีคาคะแนนเฉลี่ยอยูระหวาง 3.81 – 4.11 ซึ่งสามารถเรียงลําดับคาคะแนนเฉลี่ยจากมากไปหานอย ไดดังนี้ ลําดับท่ี 1 พอใจในเจาหนาท่ีบริการยืมคืน ( x = 4.12) ลําดับท่ี 2 มีคะแนนเทากับ 2 ดานคือ พอใจในเจาหนาท่ีคนหาหนังสือ และ ความเปนระเบียบเรียบรอยของช้ันวางหนังสือ ( x = 4.11) ลําดับท่ี 4 พอใจในความเงียบสงบและบรรยากาศ ( x = 3.91) ลําดับท่ี 5 พอใจในความสะอาดของโตะเกาอี้สาํหรับนั่งอานหนังสือ ( x = 3.81) ******** ในการจัดลําดับท่ีของคาเฉลี่ยในกรณีท่ีมีคาเทากัน

1. ถาคาเฉลี่ยเทากัน แตคา S.D. ตางกัน คาเฉลี่ยท่ีมีคา S.D. นอยกวา หมาถึง มีการกระจายของขอมูลนอยกวา หรือหมายถึง ผูตอบแบบสอบถามมีความเห็นท่ีแตกตางกันนอยกวา แสดงวา มีความนาเช่ือถือสูงกวาคาเฉลี่ยท่ีมีคา S.D. ท่ีมากกวา ดังนั้น ใหจัดลําดับคาเฉลี่ยท่ีมีคา S.D. ตํ่ากวา ไวลําดับดีกวา คาเฉลี่ยท่ีมี S.D. สูงกวา

2. ถาคาเฉลี่ยเทากัน และคา S.D. ก็เทากัน จะไดลําดับท่ีเทากัน และเวนขามการจัดลําดับของตัวถัดไปอีก 1 ลําดับ การคํานวณหาคาเฉลีย่ (Mean) ของความพึงพอใจ จําแนกตามกลุม จากคําส่ัง Compare Means ในบางครั้ง การวิเคราะหอาจตองการทราบผลของความพึงพอใจเฉลี่ย เพื่อเปรียบเทียบกันระหวางกลุม เชน ความพึงพอใจเฉลี่ยระหวางผูหญิงและผูชาย หรือความพึงพอใจในดานตางๆ ระหวางคณะตางๆ วาเหมือนหรือแตกตางกันอยางไร ทําไดโดยใชคําสั่ง Compare Means ดังนี้

1. คลิกเมนู Analyze เลือกคําสั่ง Compare Means เลือก Means..

Page 41: SPSS Manual

การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณดวยโปรแกรม SPSS หนา 41

2. ปรากฏหนาตาง Means เลือก ตัวแปร ความพึงพอใจ (ทุกดาน) ไวในชอง Dependent List และเลือกตัวแปรท่ีจะแบงกลุม ในท่ีนี้คือ ตัวแปรเพศ ไวในชอง Independent List ดังรูป

3. คลิกปุม OK เพื่อสั่งใหประมวลผล ซึ่งจะไดผลลัพธใน SPSS Viewer ดังนี้ Case Processing Summary

100 100.0% 0 .0% 100 100.0%

100 100.0% 0 .0% 100 100.0%

100 100.0% 0 .0% 100 100.0%

100 100.0% 0 .0% 100 100.0%

100 100.0% 0 .0% 100 100.0%

100 100.0% 0 .0% 100 100.0%

พอในในเจาหนาท่ีชวยคนหาหนังสือ * เพศพอใจในเจาหนาท่ีบริการยืมคืน * เพศพอใจในความเปนระเบียบของช้ันวางหนังสือ * เพศพอใจในความสะอาดของโตะเกาอี้สําหรับนั่งอาน * เพศพอใจในความเงียบสงบและบรรยากาศ * เพศความพอใจรวม * เพศ

N Percent N Percent N PercentIncluded Excluded Total

Cases

Page 42: SPSS Manual

การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณดวยโปรแกรม SPSS หนา 42

Report

4.10 4.08 3.96 3.88 3.90 3.984050 50 50 50 50 50.95 .78 .90 .87 .54 .2645

4.12 4.16 4.26 3.74 3.92 4.040050 50 50 50 50 50.77 .77 .80 1.01 .90 .2857

4.11 4.12 4.11 3.81 3.91 4.0120100 100 100 100 100 100.86 .77 .86 .94 .74 .2753

MeanNStd. DeviationMeanNStd. DeviationMeanNStd. Deviation

เพศชาย

หญิง

Total

พอในในเจาหนาท่ีชวยคนหาหนังสือ

พอใจในเจาหนาท่ีบริการยืมคืน

พอใจในความเปนระเบียบของช้ันวางหนังสือ

พอใจในความสะอาดของโตะเกาอี้

สําหรับนั่งอาน

พอใจในความเงียบสงบและบ

รรยากาศ ความพอใจรวม

ตัวอยางการรายงานผลการวิจัย ผลการวิเคราะหขอมูลความพึงพอใจเกี่ยวกับการใหบริการของสํานักหอสมุด ในดานตางๆ และภาพรวม จาํแนกตามสถานภาพดาน เพศ ปรากฏผลดังตารางท่ี 5 ตารางที่ 5 แสดงคาเฉลี่ยและคาสวนเบ่ียงเบนมาตรฐานของระดับความพึงพอใจเกี่ยวกับการใหบริการในดานตางๆ จําแนกตาม

สถานภาพดานเพศ เพศชาย เพศหญิง ความพึงพอใจ

x S.D. x S.D. ความพึงพอใจโดยภาพรวม 3.984 0.265 4.040 0.286 เจาหนาท่ีคนหาหนังสือ 4.10 0.95 4.12 0.77 เจาหนาท่ีบริการยืมคืน 4.08 0.78 4.16 0.77 ความเปนระเบียบเรียบรอยของช้ันวางหนังสือ 3.96 0.90 4.26 0.80 ความสะอาดของโตะเกาอี้สําหรับนั่งอานหนังสือ 3.88 0.87 3.74 1.01 ความเงียบสงบและบรรยากาศ 3.90 0.54 3.92 0.90 จากตารางท่ี 5 พบวา ความพึงพอใจในการใหบริการของสํานักหอสมุด ในดานตางๆ เม่ือจําแนกตามสถานภาพดานเพศ ปรากฏผลดังนี้ เพศชาย มีความพึงพอใจในการใหบริการโดยภาพรวม อยูในระดับ มาก โดยมีคะแนนเฉลี่ยเทากับ 3.984 สําหรับผลการพิจารณาเปนรายดาน ปรากฏวา มีคะแนนเฉลี่ยอยูระหวาง 3.88-4.10 ซึ่งสามารถเรียงลําดับคาคะแนนเฉลี่ยจากมากไปนอย ไดดังตอไปนี้ ลําดับท่ี 1 พอใจในเจาหนาท่ีคนหาหนังสือ ( x = 4.10) ลําดับท่ี 2 พอใจในเจาหนาท่ีบริการยืมคืน ( x = 4.08) ลําดับท่ี 3 พอใจในความเปนระเบียบเรียบรอยของช้ันวางหนังสือ ( x = 3.96) ลําดับท่ี 4 พอใจในความเงียบสงบและบรรยากาศ ( x = 3.91) ลําดับท่ี 5 พอใจในความสะอาดของโตะเกาอี้สาํหรับนั่งอานหนังสือ ( x = 3.81)

Page 43: SPSS Manual

การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณดวยโปรแกรม SPSS หนา 43

เพศหญิง มีความพึงพอใจในการใหบริการโดยภาพรวม อยูในระดับ มาก โดยมีคะแนนเฉลี่ยเทากับ 4.040 สําหรับผลการพิจารณาเปนรายดาน ปรากฏวา มีคะแนนเฉลี่ยอยูระหวาง 3.74-4.26 ซึ่งสามารถเรียงลําดับคาคะแนนเฉลี่ยจากมากไปนอย ไดดังตอไปนี้ ลําดับท่ี 1 พอใจในความเปนระเบียบเรียบรอยของช้ันวางหนังสือ ( x = 4.26) ลําดับท่ี 2 พอใจในเจาหนาท่ีบริการยืมคืน ( x = 4.16) ลําดับท่ี 3 พอใจในเจาหนาท่ีคนหาหนังสือ( x = 4.12) ลําดับท่ี 4 พอใจในความเงียบสงบและบรรยากาศ ( x = 3.92) ลําดับท่ี 5 พอใจในความสะอาดของโตะเกาอี้สาํหรับนั่งอานหนังสือ ( x = 3.74) การเปรียบเทยีบความแตกตางระหวาง 2 ตัวแปร ที่เปนอิสระตอกัน ดวย Independent-Sample T Test เม่ือมีการต้ังวัตถุประสงคในการวิจัย ไววา ตองการเปรียบเทียบความแตกตางของความพึงพอใจในการใหบริการดานตางๆ ของหองสมุด ระหวางเพศชายและเพศหญิง (แบงเปน 2 กลุมท่ีเปนอิสระตอกัน) จะใชคําสั่ง Independent-Sample T Test โดยกระทําดังนี้

1. คลิกเมนู Analyze เลือกคําสั่ง Compare Means เลือกคําสั่ง Independent-Sample T Test

2. จะปรากฏหนาตาง Independent-Sample T Test ดังรูป

Page 44: SPSS Manual

การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณดวยโปรแกรม SPSS หนา 44

เลือกตัวแปรท่ีตองการทดสอบ ในท่ีนี้คือ ความพึงพอใจในดานตางๆ เขามาไวในชอง Test Variable(s): จากนั้นคลิกตัวแปรท่ีเราแบงกลุมเปรียบเทียบ ในท่ีนี้คือ เพศ (sex) จะสังเกตวา ในชอง Grouping Variable: จะแสดง sex(? ?) หมายถึงจะถามวา group ท่ีกําหนดนั้น มีอะไรบาง ใหคลิกท่ีปุม Define Groups… จะปรากฏหนาตางใหกําหนด group ดังนี้

จากแบบสอบถาม และขอมูลเดิม เราแบงกลุมของเพศ เปน 2 กลุม โดยใหเลข 1 แทนเพศชาย และเลข 2 แทนเพศหญิง เราจึงกําหนด Group 1 เปน 1 และ Group 2 เปน 2 ดังรูป จากนั้นคลิกท่ีปุม Continue โปรแกรมจะกลับมาท่ีหนาตาง Independent-Sample T Test และปรากฏรายการ เพศ (1 2) ดังรูป

คลิกปุม Options เพื่อกําหนดคาความเช่ือม่ัน โดยกําหนดคาความเช่ือม่ันลงในชอง Confidence Interval ตามตองการ (ตามปกติ และในตัวอยาง จะกําหนดไวท่ี 95%)

คลิก Continue จะกลับมาท่ีหนาตางเดิม คราวนี้คลิก OK จะไดผลลัพธท่ี SPSS Viewer ดังนี้

Page 45: SPSS Manual

การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณดวยโปรแกรม SPSS หนา 45

Group Statistics

50 4.10 .95 .1350 4.12 .77 .1150 4.08 .78 .1150 4.16 .77 .1150 3.96 .90 .1350 4.26 .80 .1150 3.88 .87 .1250 3.74 1.01 .1450 3.90 .54 7.69E-0250 3.92 .90 .1350 3.9840 .2645 3.740E-0250 4.0400 .2857 4.041E-02

เพศชายหญิงชายหญิงชายหญิงชายหญิงชายหญิงชายหญิง

พอในในเจาหนาท่ีชวยคนหาหนังสือ

พอใจในเจาหนาท่ีบริการยืมคืน

พอใจในความเปนระเบียบของช้ันวางหนังสือ

พอใจในความสะอาดของโตะเกาอี้สําหรับนั่งอาน

พอใจในความเงียบสงบและบรรยากาศ

ความพอใจรวม

N Mean Std. DeviationStd. Error

Mean

Independent Samples Test

.658 .419 -.115 98 .908 -2.00E-02 .17 -.36 .32

-.115 94.000 .908 -2.00E-02 .17 -.36 .32

.022 .883 -.518 98 .606 -8.00E-02 .15 -.39 .23

-.518 97.974 .606 -8.00E-02 .15 -.39 .23

.704 .403 -1.756 98 .082 -.30 .17 -.64 3.91E-02

-1.756 96.698 .082 -.30 .17 -.64 3.92E-02

.859 .356 .743 98 .459 .14 .19 -.23 .51

.743 96.063 .459 .14 .19 -.23 .51

7.164 .009 -.134 98 .893 -2.00E-02 .15 -.32 .28

-.134 80.593 .893 -2.00E-02 .15 -.32 .28

.915 .341 -1.017 98 .312 -5.600E-02 5.506E-02 -.1653 5.326E-02

-1.017 97.421 .312 -5.600E-02 5.506E-02 -.1653 5.327E-02

Equal variances assumedEqual variances notassumedEqual variances assumedEqual variances notassumedEqual variances assumedEqual variances notassumedEqual variances assumedEqual variances notassumedEqual variances assumedEqual variances notassumedEqual variances assumedEqual variances notassumed

พอในในเจาหนาที่ชวยคนหาหนังสือ

พอใจในเจาหนาที่บริการยืมคืน

พอใจในความเปนระเบียบของช้ันวางหนังสือ

พอใจในความสะอาดของโตะเกาอ้ีสําหรับนั่งอาน

พอใจในความเงียบสงบและบรรยากาศ

ความพอใจรวม

F Sig.

Levene's Test forEquality of Variances

t df Sig. (2-tailed)Mean

DifferenceStd. ErrorDifference Lower Upper

95% ConfidenceInterval of the

Difference

t-test for Equality of Means

ผลการทดสอบคาความแปรปรวนของกลุม

คาสถิติท่ีคํานวณไดจากขอมูลตัวอยาง ซึ่งจะใชเทียบกับตารางทางสถิติโดยท่ัวไป

ผลตางของคาเฉลี่ยท้ัง 2 กลุม คาความคลาดเคลื่อนของผลตาง

ขอบเขตชวงความเช่ือม่ันท่ี 95% ของผลตางคาเฉลี่ย

คาความนาจะเปน (P) ใชในการทดสอบสมมติฐาน

Page 46: SPSS Manual

การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณดวยโปรแกรม SPSS หนา 46

การพิจารณาผลการทดสอบสมมติฐานดวย T-Test ท่ีเปน Independent-Sample T Test จะพิจารณาคา P จาก Sig.(2-tailed) ในชอง เทานั้น แตคา P ในชอง มี 2 ตัว คือ ตัวบนท่ีเปน Equal variance assumed และตัวลางท่ีเปน Equal variance not assumed จึงใหพิจารณาวาจะเลือกคา P จากตัวใด ดังนี้

1. ใหดูคาความแปรปรวนของกลุมในชอง วา Sig. หรือไม (Sig. คือคาในชองนี้มีคานอยกวา คา ( ซึ่ง มีคาเทากับ 0.05 เนื่องจากเรากําหนดคาระดับความเช่ือม่ันไว 95%))

2. ในกรณีท่ีคาความแปรปรวนของกลุมในชอง Sig. แสดงวาเปน Equal variance not assumed (ความแปรปรวนของกลุมไมเทากัน) ใหเลือกคา P Sig. (2-tailed) จากตัวลาง

3. ในกรณีท่ีคาความแปรปรวนของกลุมในชอง ไม Sig. แสดงวาเปน Equal variance assumed (ความแปรปรวนของกลุมเทากัน) ใหเลือกคา P Sig. (2-tailed) จากตัวบน ความพึงพอใจในดานการใหบริการคนหาหนังสือ สมมติฐานทางสถิติ H0 : ชาย = หญิง เพศชายและเพศหญิงมีความพึงพอใจในการใหบริการคนหาหนังสือไมแตกตางกัน H1 : ชาย ≠ หญิง เพศชายและเพศหญิงมีความพึงพอใจในการใหบริการคนหาหนังสือแตกตางกัน Sig. = 0.419 มากกวาคา ( = 0.05) แสดงวา ไมSig. (Equal variance assumed) ดังนั้นจะเลือกใช Sig.(2-tailed) ตัวบน นั่นคือ P(ความนาจะเปน) = 0.908 , (ระดับนัยสําคัญ) = 0.05 ดังนั้น คา P มากกวา (เทากับไม Sig.) จึงยอมรับ H0 สรุปไดวา เพศชายและเพศหญิง มีความพึงพอใจในการใหบริการดานคนหาหนังสือ ไมแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ตัวอยางการรายงานผลการวิจัย ผลการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับความแตกตางของความพึงพอใจในการใหบริการดานตางๆ ของหองสมุด จําแนกตามสถานภาพดานเพศ ปรากฏผลดังตารางท่ี 5 ตารางที่ 5 แสดงคาเฉลี่ย คาสวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และคาสถิติท่ีใชในการทดสอบสมมติฐานของการเปรียบเทียบความแตกตาง ของความพึงพอใจในการใหบริการของหองสมุดดานตางๆ จําแนกตามสถานภาพดานเพศ

เพศชาย เพศหญิง ความพึงพอใจ x S.D. x S.D.

t P

ความพอใจโดยภาพรวม 3.984 0.265 4.040 0.286 -1.017 0.312 ดานการบริการคนหาหนังสือ 4.10 0.95 4.12 0.77 -0.115 0.908 ดานการบริการยืมคืน 4.08 0.78 4.16 0.77 -0.518 0.606 ดานความเปนระเบียบของช้ันวางหนังสือ 3.96 0.90 4.26 0.80 -1.756 0.082 ดานความสะอาดของโตะเกาอี ้ 3.88 0.87 3.74 1.01 0.743 0.459 ความเงียบสงบและบรรยากาศ 3.90 0.54 3.92 0.90 -0.134 0.893 * มีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05

Page 47: SPSS Manual

การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณดวยโปรแกรม SPSS หนา 47

จากตารางท่ี 5 ผลการวิเคราะหขอมูลเปรียบเทียบความแตกตางของความพึงพอใจท่ีมีตอการใหบริการในดานตางๆ จําแนกตามสถานภาพทางเพศ พบวา ความพึงพอใจโดยภาพรวม และความพึงพอใจในดานตางๆ ทุกๆ ดาน ไมมีความแตกตางกัน นั่นคือ เพศหญิง และเพศชาย ตางมีก็มีทัศนคติ หรือความพึงพอใจในการใหบริการในดานตางๆ ทุกดานท่ีสอบถามไมแตกตางกัน คืออยูในระดับ มาก 6. การวิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis)

สําหรับขอคําถามท่ีมีลักษณะเปนแบบปลายเปด (Open-End) ผูวิจัยจะตองทําการวิเคราะหขอความท่ีผูตอบเขียนอธิบายมา โดยตองพยายามจับประเด็นแลวนําประเด็นท่ีมีความคลายคลึงกันมาจัดเปนกลุมเดียวกัน เพื่อนํามากําหนดคาความถี่ใหกับขอความหรือรายการนั้น วิธีการเชนนี้เรียกวา การวิเคราะหเนื้อหา (Contents Analysis) ตัวอยางการรายงานผลการวิจัย การแสดงความคิดเห็นของผูตอบแบบสอบถามเกี่ยวกับขอเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาหองสมุด ปรากฏผลตามตารางท่ี 6 ตารางที่ 6 แสดงคารอยละของจํานวนผูตอบแบบสอบถามปลายเปด

ผูตอบ/ไมตอบ แบบสอบถามปลายเปด จํานวน รอยละ ตอบแบบสอบถามปลายเปด 45 45.00 ผูไมตอบแบบสอบถามปลายเปด 55 55.00

รวม 100 100.00 ผลการวิเคราะหขอมูลผูตอบแบบสอบถามปลายเปดจากตารางท่ี 6 พบวา ในจาํนวนกลุมตัวอยางท้ังสิ้น 100 คน มีผูตอบแบบสอบถามปลายเปด คิดเปนรอยละ 45.00 สวนท่ีเหลือเปนผูไมตอบแบบสอบถามปลายเปด คิดเปนรอยละ 55.00 ความคิดเห็นของผูตอบแบบสอบถาม เกี่ยวกับขอเสนอแนะอื่นๆ เพื่อการปรับปรุงและพัฒนาหองสมุดนั้น มีรายละเอียดแสดงเปนคาความถี่ เปนขอๆ ไดดังนี้ ตารางที่ 7 แสดงคาความถี่ของความคิดเห็นจากผูตอบแบบสอบถามปลายเปด เกี่ยวกับขอเสนอแนะอื่นๆ เพื่อการปรับปรุงและพัฒนา หองสมุด

ขอเสอแนะเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาหองสมุด ความถ่ีของจํานวนที่ตอบ ควรเปดถึง 2 ทุม 40 ควรติดแอรทุกช้ัน 25 ควรมีหนังสือท่ีทันสมัยอยูตลอดเวลา 10 ควรเพิ่มหนังสือภาษาตางประเทศใหมากกวานี ้ 5 ควรมีคอมพิวเตอรสําหรับสืบคน 1 ตัวอยางการรายงานผล

Page 48: SPSS Manual

การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณดวยโปรแกรม SPSS หนา 48

การรายงานผลขอคําถามปลายเปดแบบตารางท่ี 7 ผลการวิเคราะหความคิดเห็นของผูตอบแบบสอบถาม จากตารางท่ี พบวา ความคิดเห็นของผูตอบแบบสอบถามท่ีตองการใหหองสมุดปรับปรุงและพัฒนา จําแนกตามความถี่ของความคิดเห็น เรียงจากมากไปหานอย ดังนี ้ ลําดับท่ี 1 ควรเปดบริการถึง 2 ทุม (ความถี่ = 40) ลําดับท่ี 2 ควรติดแอรทุกช้ัน (ความถี่ = 25) ลําดับท่ี 3 ควรมีหนังสือท่ีทันสมัยอยูตลอดเวลา (ความถี่ = 10) ลําดับท่ี 4 ควรเพิ่มหนังสือภาษาตางประเทศใหมากกวานี้ (ความถี่ = 5) ลําดับท่ี 5 ควรมีคอมพิวเตอรสําหรับสืบคน (ความถี่ = 1) หรือ อาจรายงานผลในแบบการบรรยาย ไดดังนี ้ ผลการวิเคราะหความคิดเห็นของผูตอบแบบสอบถาม จากตารางท่ี 7 พบวา ความคิดเห็นของผูตอบแบบสอบถามท่ีตองการใหหองสมุดปรับปรุงและพัฒนาการใหบริการ จําแนกตามความถี่ของความคิดเห็นเรียงจากมาไปหานอย ไดแก ควรควรเปดบริการถึง 2 ทุม (ความถี่ = 40) ควรติดแอรทุกช้ัน (ความถี่ = 25) ควรมีหนังสือท่ีทันสมัยอยูตลอดเวลา (ความถี่ = 10) ควรเพิ่มหนังสือภาษาตางประเทศใหมากกวานี ้(ความถี่ = 5) และ ควรมีคอมพิวเตอรสําหรับสืบคน (ความถี่ = 1) ตามลําดับ บรรณานุกรม ธานินทร ศิลปจารุ. การวิจัยและวิเคราะหขอมูลทางสถิติดวย SPSS. พิมพครั้งท่ี 3. กรุงเทพฯ : บริษัท วี. อินเตอร พริ้นท, 2548.