Top Banner
38

Sound System 2016

Jul 27, 2016

Download

Documents

 
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: Sound System 2016
Page 2: Sound System 2016

เสียงเกิดจากการสั่นสะเทือนของอนุภาควัสดุ ที่ส่งถ่ายพลังงานต่อเนื่องกับไปในลักษณะของคลื่น จะทำให้โมเลกุลอากาศสั่นตามไปด้วยความถี่เท่ากับการสั่นของแหล่งกำเนิดเสียง ซึ่งพลังงานของการสั่นจะแผ่ออกไปรอบๆแหล่งกำเนิดเสียง การเปลี่ยนความดันอากาศนี้เคลื่อนที่ไปข้างหน้า จนถึง หูของ ผู้ฟังทำให้ได้

ค ลื่ นเ สี ย ง !

Page 3: Sound System 2016

การเกิดคลื่นเสียงจากการสั่นของสายกีต้า

เมื่อคลื่นเสียงเดินทางเข้ากระทบเยื่อแก้วหู เปลี่ยนความดันอากาศเคลื่อนที่ไปถึงหูทำให้เยื่อแก้วหู แปรเป็นกระแสประสาทส่งไปยังสมอง

Page 4: Sound System 2016

ระบบการได้ยินของมนุษย์

Page 5: Sound System 2016

ภาพเครื่องบินไอพ่น บินผ่านทะลุกำแพงเสียง หรือบินเร็วเหนือเสียง จะเห็นคลื่นกระแทกเกิดขึ้นเป็นแนวกรวยอยู่ทางด้านหลัง

Page 6: Sound System 2016

ความสามารถในการได้ยินเสียงของมนุษย์ จะอยู่ในช่วง 20-20,000 เฮิร์ซ โดยมีค่าแตกต่างกัน เสียงพูดปกติ (125-8,000 เฮิร์ซ) เสียงเปียนโน (31.5-4,000 เฮิร์ซ) ความสามารถในการได้ยินของคนหนุ่มสาว (20-20,000เฮิร์ซ) ความสามารถในการได้ยินของผู้สูงอายุ (20-4,000เฮิร์ซ)

Page 7: Sound System 2016

ระดับเสียง (Decibel A) แหล่งกำเนิด10 เสียงใบไม้สีกั นเสียงกระซิบ20 ห้องทำงาน30 การสนทนาทั่วไป40 สำนักงานทั่วไป50 ร้านค้าใหญ่, การสนทนา60 สำนักงานที่พลุกพล่าน70 เครื่องดูดฝุ่น, การสัญจรบน

ถนน80 นกหวีดตำรวจ90 รถไฟใต้ดิน, เสียงเครื่องพิมพ์100 รถไฟลอยฟ้า เสียงขุดถนน

ดิสโกเธค 120 เสียงเครื่องปั๊มโลหะ เสียงปืนใหญ่140 เสียงเครืองบินไอพ่นขึ้น

Page 8: Sound System 2016

เสียงพึงพอใจ (Sound) หมายถึงเสียงที่มนุษย์พึงพอใจในการรับรู้ เสียงดัง (Noise) หมายถึงเสียงที่รบกวนการรับรู้ เป็นอันตรายต่อการได้ยิน เสียงรนกวน คือ ระดับเสียงที่ผู้ฟังไม่ต้องการได้ยิน เพราะสามารถกระทบต่ออารมณ์ ความรู้สึกแม้ไม่เกินเก็ณฑ์อันตราย

Page 9: Sound System 2016

เสียงที่มีระดับคงที่ (Continuous Noise) เป็นเสียงที่มีแถบเสียงกว้าง มีระดับเสียงและความถี่ค่อนข้างคงที่ มีการเปลี่ยบของระดับเสียงน้อยกว่า 1 วินาที

เสียงดังเป็นครั้งคราว (Intermittent Noise) เป็นการได้ยินเลียงดังหลายๆครั้งในการทำงาน

เสียงกระทบ (Impact-Type Noise) เป็นเสียงที่มีลักษณะเสียงแหลมและดัง เช่นเสียงค้อนหรือเสียงระเบิด ระยะเวลาที่เกิดเสียง น้อยกว่า 0.5 วินาที ต่อครั้ง

Page 10: Sound System 2016

ที่เกิดขึ้นต่อคนเราเกิดขึ้นได้ 3 ลักษณะคือ !

1) เกิดภาวะรำคาญ (Annoyance) อาทิ เสียงที่ดัง มีความถี่สูง และมีการเปลี่ยนแปลงมาก 2) ประสิทธิภาพการทำงาน (Work Efficiency) เสียงดนตรีเบาๆ จะช่วยให้คนฟังจิตใจสงบและมีสมาธิในการทำงาน 3) มีผลต่อสุขภาพ(Health) หากคนเราฟังเสียงดังๆเป็นเวลานาน อาจจะทำให้เกิดอาการคลื่นไส้ เวียนศีรษะ หรือหูหนวก ทำให้ระบบการไหลเวียนโลหิต ระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อทำงานผิดปรกติ ทำให้ความดันโลหิตสูงกว่าปรกติ การเต้นของหัวใจและการหดตัวของเส้นเลือดผิดปรกติ

Page 11: Sound System 2016

อันตรายต่อความปลอดภับในการทำงาน ทำให้พฤติกรรมส่วนบุคคล (Individual behavior effects) เปลี่ยแปลง เช่น เกิดความเชื่องช้า และเกิดความวุ่นวายในการทำงาน ทำให้ประสิทธิภาพในการทำงานลดลง รบการการนอนหลับพักผ่อน รบกวนการสื่อสาร

Page 12: Sound System 2016

ความเข้มหรือความดังของเสียง ความถี่ของเสียง ระยะการได้ยินเสียง จำนวนปีที่ทำงาน อายุของคนงาน การสูญเสียการได้ยินและโรคที่เกี่ยวกับหู ลักษณะสิ่งแวดล้อม ระยะทางจากแหล่งกำเนิด

Page 13: Sound System 2016

อันตรายจากการได้ยิน

การทำงานในที่เสียงดังมากๆ จะส่งผลให้เซลล์ขนรูปหอยโข่งในหูชั้นใน ถูกทำลายไปทีละน้อย มีผลให้หูอื้อ หูตีง เมื่อเซลล์ขนตายหมด จะไม่สามารถรักษาหรือซ่อมแซมได้

Page 14: Sound System 2016

เสียงและการควบคุมเสียงในอาคาร!

Page 15: Sound System 2016

เสียงส่งผ่านเข้าไปในอาคารได้หลายทางแบ่งตามลักษณะการส่งผ่านของเสียง เสียงแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ ! 1) Air-borne Sound เป็นเสียงที่มีอากาศเป็นตัวกลางในการส่งผ่าน เช่น เสียงตบมือ, เสียงจากลำโพง เป็นต้น ! 2) Structure-borne Sound เป็นเสียงที่ส่งผ่านตัวกลางต่างๆ อาทิ พื้น ผนัง หรือเสียงที่เกิดจากการสั่นสะเทือนของเครื่องกลบนพื้นโครงสร้าง

Page 16: Sound System 2016

การควบคุมเสียงสำหรับอาคาร เพื่อให้เกิดความเหมาะสมในการใช้งาน ของแต่ละพื้นที่ใช้สอย เสียงที่มีผลกระทบต่ออาคารจะแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ 1.เสียงจากภายนอกอาคาร (External Noises) 2.เสียงจากภายในอาคาร (Internal Noises)

External NoisesInternal Noises

Page 17: Sound System 2016

การป้องกันเสียงจากภายนอก สามารถที่จะป้องกันเสียงได้ด้วยวิธีต่างๆ !1) ควบคุมด้วยระยะทาง ทุกระยะห่างจากต้นกำเนิดเสียง ความดังของเสียงจะลดลง 2)หลีกเลี่ยงบริเวณที่เสียงกระทบโดยตรง อาทิ การทำแผงหรือผนังกันเสียง ซึ่งอาจเป็นผนัง แนวรั้ว แนวต้นไม้ ที่จะช่วยกั้นเสียงและลดความเข้มของเสียงโดยตรงก่อนที่จะที่จะถึงตัวอาคาร

Page 18: Sound System 2016

การป้องกันเสียงจากภายนอก สามารถที่จะป้องกันเสียงได้ด้วยวิธีต่างๆ !3) การวางผังอาคาร โดยให้พื้นที่ใช้สอยส่วนที่ไม่ต้องการความเงียบมากเป็นตัวป้องกันเสียง หรือกำหนดตำแหน่งช่องเปิดของอาคารหลีกเลี่ยงแนวทางของเสียง 4) การเลือกใช้วัสดุกันเสียงให้กับกรอบอาคาร อาทิ การบุฉนวนใยแก้วให้กับผนังรอบอาคาร การเลือกใช้กระจกสองชั้น หรือการใส่ฉนวนกันเสียงให้กับส่วนหลังคา

Page 19: Sound System 2016

การป้องกันเสียงจากภายใน สามารถที่จะป้องกันเสียงได้ด้วยวิธีต่างๆ !แบ่งเสียงภายในออกเป็น 2 ประเภท คือ 1) เสียงโดยตรง(Direct Noise) 2) เสียงสะท้อน (Reverberant Noise)

Page 20: Sound System 2016

การป้องกันเสียงจากภายนอก สามารถที่จะป้องกันเสียงได้ด้วยวิธีต่างๆ !1) ลดเสียงจากแหล่งกำเนิด เสียงโดยตรง ได้ด้วยการใช้แผงกั้นระหว่างต้นกำเนิดเสียงกับผู้ฟัง เก็บต้นกำเนิดเสียงไว้ในกล่อง /ห้องที่ปิดมิดชิดที่ทำด้วยวัสดุป้องกันเสียง / ห้องที่มีผนังหนาทึบ หรือทำพื้นสองชั้นที่มีความยืดหยุ่นรองรับเครื่องกล เพื่อช่วยลด Structure-borne Sound

Page 21: Sound System 2016

การป้องกันเสียงจากภายนอก สามารถที่จะป้องกันเสียงได้ด้วยวิธีต่างๆ !2) ลดเสียงที่มาตกกระทบ โดยการวัสดุดูดซับเสียง และวัสดุป้องกันเสียง อาทิ การใช้แผ่นฉนวนใยแก้วบุเสริมตรงผนังด้านที่เป็นทางต้นกำเนิดเสียง หรือบุแผ่นชานอ้อยเพื่อดูดซับเสียงในโรงแสดงมหรสพ

Page 22: Sound System 2016

การป้องกันเสียงจากภายนอก สามารถที่จะป้องกันเสียงได้ด้วยวิธีต่างๆ !3) การวางผังอาคาร โดยการแยกบริเวณที่มีเสียงดัง ออกจากบริเวณที่ต้องการความเงียบ หรืออาจจะกั้นพื้นที่สองส่วนนี้ด้วยห้องอื่น

Page 23: Sound System 2016

ที่ใช้กันอยู่ทั่วไปมีหลายลักษณะ แบ่งออกได้เป็น 4 ลักษณะ วัสดุดูดซับเสียงที่โปร่งเบาเป็นฝอยเป็นรูพรุน (อาทิ ฉนวนใยแก้ว ฉนวนใยหิน ฉนวนเซลลูโลส โฟมประเภทต่างๆ) และการใช้งาน เหมาะสำหรับเสียงที่มีความถี่สูง

Page 24: Sound System 2016

ที่ใช้กันอยู่ทั่วไปมีหลายลักษณะ แบ่งออกได้เป็น 4 ลักษณะ วัสดุดูดซับเสียงที่มีผิวปรุเป็นรู (อาทิ แผ่นดูดซับเสียงยิบซับบอร์ดที่มีรู แผ่นชานอ้อยแผ่นไม้คอร์ก) สำหรับเพิ่มพื้นที่ผิวในการรับเสียง

Page 25: Sound System 2016

ที่ใช้กันอยู่ทั่วไปมีหลายลักษณะ แบ่งออกได้เป็น 4 ลักษณะ วัสดุดูดซับเสียงที่เป็นเยื่อแผ่น (อาทิ ผนังที่มีหลายชั้น กระจกสองชั้น หรือการติดผ้าม่านให้กับผนัง/ช่องเปิด) สำหรับเสียงที่มีความถี่ต่ำ

Page 26: Sound System 2016

ที่ใช้กันอยู่ทั่วไปมีหลายลักษณะ แบ่งออกได้เป็น 4 ลักษณะ วัสดุดูดซับเสียงที่พื้นผิวมาก ที่ช่วยลดเสียงสะท้อน (อาทิ ผนังที่มีการออกแบบ เป็นช่องๆ รูปแบบต่างๆ) จะใช้วัสดุที่มีพื้นผิวมากประกอบกับวัสดุที่เป็นรูพรุน

Page 27: Sound System 2016

จะต้องคำนึงถึงประเภทของอาคาร ประเภทของห้องหรือพื้นที่ใช้สอยในแต่ละส่วนตามการใช้งาน เพื่อให้ทราบถึงระดับความดังที่เหมาะสม การออกแบบระบบเสียงเป็นเรื่องสำคัญ อาทิ การออกแบบภายในโรงภาพยนตร์, โรงละคร หรือห้องฟังดนตรี ที่ตำแหน่งของผู้ฟังในทุกจุดภายในห้อง จะต้องได้ยินเสียงชัดเจนและเท่าเทียมกัน มีระยะเวลาการสะท้อนเสียงที่เหมาะสม

Page 28: Sound System 2016

การออกแบบระบบเสียง จะต้องคำนึงถึงปัจจัยต่างๆที่สำคัญ รูปร่างของห้อง (Room Shape) ที่ควรเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าหรือสี่เหลี่ยมคางหมู การแบ่งผนังและเพดานเป็นส่วนจะช่วยการกระจายเสียงที่สม่ำเสมอ

Page 29: Sound System 2016

การออกแบบระบบเสียง จะต้องคำนึงถึงปัจจัยต่างๆที่สำคัญ ขนาดของห้อง (Room Size) การพูดธรรมดาจะได้ยินได้ในระยะประมาณ 20-30 เมตร หรือทิศทางด้านหน้าของผู้พูด ประมาณ 13 เมตร จึงมีผลต่อการกำหนดขนาดของห้อง

Page 30: Sound System 2016

การออกแบบระบบเสียง จะต้องคำนึงถึงปัจจัยต่างๆที่สำคัญ ตำแหน่งของต้นกำเนิดเสียง (Sound Source Position) ต้นกำเนิดเสียง ควรอยู่ด้านหน้าของแผ่นแข็งสะท้อนเสียง หากความสูงของห้องสูงมาก ควรมีแผ่นสะท้อนเสียงเหนือต้นกำเนิดเสียง และปัจจัยสุดท้าย

Page 31: Sound System 2016

การออกแบบระบบเสียง จะต้องคำนึงถึงปัจจัยต่างๆที่สำคัญ ช่วงเวลาเสียงสะท้อน (Reverberation Time)เ สียงสะท้อนเกิดจากการสะท้อนของเสียงตรงจากผนังและเพดาน ดังนั้นช่วงเวลาที่ต่างกันมากระหว่างเสียงตรงกับเสียงสะท้อน จะทำให้เกิดเสียงสะท้อน (Echo) ซึ่งต้องหลีกเลี่ยง

Page 32: Sound System 2016
Page 33: Sound System 2016
Page 34: Sound System 2016

ลำโพง ทวีทเตอร์ tweeter คือลำโพงที่มีเสียงที่มีความถี่สูง ซึ่งมีความถี่ 2,000 - 20,000 เฮิตช์ มาจากเสียงของนกทวีตเตอร์ที่มีความถี่สูง มิดเรนจ์ mid range คือลำโพงขนาดกลางเสียงในช่วงความถี่เป็นกลางๆ คือไม่สูงหรือไม่ต่ำมากเกินไป วูฟเฟอร์ คือลำโพงที่มีขนาดใหญ่สุดเสียงที่มีความถี่ต่ำจากเสียงของสุนัข จากเสียง วูฟ วูฟ ซับวูฟเฟอร์ คือลำโพงที่ทำหน้าที่ขับความถี่เสียงต่ำสุด มักมีตู้แยกต่างหาก

Page 35: Sound System 2016

ระบบเสียง Dolby Digital ระบบเสียงแบบเซอราวนด์ ในรูปแบบของสัญญาณดิจิตอล รองรับช่องสัญญาณเสียง 5.1 ช่อง มาจากช่องสัญญาณทางซ้าย เซ็นเตอร์ ขวา เซอราวนด์--ซ้าย เซอราวนด์ขวาและซับวูเฟอร์

Page 36: Sound System 2016

ระบบ THX พัฒนาขึ้นโดย Lucasfilm มาจาก Tomlinson Holman's eXperiment ระบบเสียงนี้จากโรงภาพยนตร์โดยทั่วไป เพราะว่าในโรงภาพยนตร์ที่ต่างที่กัน จึงกำหนดมาตรฐานเพื่อให้โรงภาพยนตร์มีระบบเสียงที่เหมือนๆ กัน

Page 37: Sound System 2016

ระบบ SDDS : Sony Dynamic Digital Sound คิดค้นและพัฒนาโดยบริษัทโซนี่ มีทั้งหมด 8 Channel เพิ่ม เข้าไปอีก 2 Channel โดยเพิ่มเสียง จากลำโพงด้านหน้าตำแหน่งกลางซ้ายและกลางขวา ทำให้เสียงจากภาพยนตร์จอใหญ่มีความลึกและครอบคลุมบริเวณได้มากกว่า ซึ่งทำให้เกิดความเร้าใจในการชมมากขึ้น

Page 38: Sound System 2016