Top Banner
รายงานการประเมินตนเอง การประกันคุณภาพการศึกษา ในระดับหลักสูตร ตามเกณฑ ASEAN University Network- Quality Assurance (AUN-QA) version 3.0 หลักสูตร วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกษตรศาสตร; ปรับปรุง พ.ศ. 2554) ปBการศึกษา 2558 (1 สิงหาคม 2558 - 31 กรกฎาคม 2559) คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร
123

SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚)...

Aug 11, 2020

Download

Documents

dariahiddleston
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

รายงานการประเมินตนเอง การประกันคุณภาพการศึกษา

ในระดับหลักสูตร ตามเกณฑ ASEAN University Network- Quality

Assurance (AUN-QA) version 3.0

หลักสูตร วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกษตรศาสตร ; ปรับปรุง พ.ศ. 2554)

ปBการศึกษา 2558 (1 สิงหาคม 2558 - 31 กรกฎาคม 2559)

คณะเกษตรศาสตร

มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร

Page 2: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

สารบัญ สJวนท่ีหนึ่ง : สJวนนํา หนOา

1.1 บทสรุปผูOบริหาร 1 1.2 การจัดทํารายงานการประเมินตนเอง 1 1.3 ขOอมูลพ้ืนฐาน

1.3.1 ภาพรวมของมหาวิทยาลัย 3 1.3.2 ภาพรวมของคณะเกษตรศาสตร� 4

- ปรัชญาและปณิธาน 6 - วิสัยทัศน� 6 - พันธกิจ 6 - วัตถุประสงค�การจัดต้ังคณะเกษตรศาสตร� 6 - ความเป-นมาของหลักสูตร 7 - ปรัชญาและความสําคัญของหลักสูตร 7 - วัตถุประสงค�ของหลักสูตร 7 - อาจารย�ประจําหลักสูตร 9 - บุคลากรสายสอนและวิจัย 9 - บุคลากรสายสนับสนุน 10 - อาคาร สถานท่ีจัดการเรียนการสอน ห6องสมุด ห6องปฏิบัติการ 11 - แผนการดําเนินงานการประเมินตนเอง 12

สJวนท่ีสอง : การประเมินตนเององค ประกอบ 1 การกํากับมาตรฐานหลักสูตร 13 สJวนท่ีสาม : การประเมินตนเองตามเกณฑ คุณภาพ AUN-QA 11 ขOอ 17

AUN - QA criterion 1 ผลการเรียนรูOท่ีคาดหวัง (Expected Learning Outcomes) 18

AUN - QA criterion 2 ขOอกําหนดของหลักสูตร (Program Specification) 35

AUN - QA criterion 3 โครงสรOางและเนื้อหาของหลักสูตร (Programme Structure and Content)37 AUN - QA criterion 4 วิธีการเรียนการสอน (Teaching and Learning Approach) 40 AUN - QA criterion 5 การประเมินผูOเรียน (Student Assessment) 44

AUN - QA criterion 6 คุณภาพบุคลากรสายวิชาการ (Academic Staff Quality) 49

AUN - QA criterion 7 คุณภาพบุคลากรสายสนับสนุน (Support Staff Quality) 72 AUN - QA criterion 8 คุณภาพและการสนับสนุนผูOเรียน (Student Quality and Support) 79 AUN - QA criterion 9 ส่ิงสนับสนุนการเรียนรูOทางกายภาพ (Facilities and Infrastructure) 96 AUN - QA criterion 10 การสJงเสริมคุณภาพการศึกษา (Quality Enhancement) 100 AUN - QA criterion 11 ผลผลิต (Output) 110

สJวนท่ีส่ี : การวิเคราะห หลักสูตร 4.1 จุดแข็งหรือข6อควรภาคภูมิใจของหลักสูตร 115

4.2 จุดอ?อนหรือข6อควรพัฒนา/ปรับปรุงของหลักสูตร 115 4.3 การให6คะแนนการประเมินตนเองในแต?ละเกณฑ�ของหลักสูตร 115 4.4 แนวทางท่ีคาดว?าจะดําเนินการเพ่ือการแก6ไข/ปรับปรุงจากผลการประเมินตนเอง 121

Page 3: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

1

สJวนท่ีหนึ่ง สJวนนํา

1.1 บทสรุปผูOบริหาร รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต

(เกษตรศาสตร�) หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554 ประจําปFการศึกษา 2558 (1 สิงหาคม 2558 - 31 กรกฎาคม 2559) จัดทําข้ึนเพ่ือเป-นการรายงานการประกันคุณภาพการศึกษา ตามเกณฑ� ASEAN University Network - Quality Assurance (AUN-QA) version 3.0 โดยมีสาระหลักเก่ียวกับการจัดการศึกษาแบบ Outcome Based Education (OBE) มุ?งสัมฤทธิ์ Expected Learning Outcome (ELO) มีลักษณะเป-นเกณฑ�ท่ีกําหนดเพียงแนวทาง เพ่ือการดําเนินอย?างเป-นระบบมุ?งสู? ELO ของหลักสูตร และการประเมิน 7 ระดับท่ีมี World Class เป-นระดับสูงสุด ดังนี้

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 คะแนน 6 คะแนน 7

ไม?ปรากฏ

การ

ดําเนินการ

(ไม?มี

เอกสาร ไม?

มีแผน

หรือไม?มี

หลักฐาน)

มีการ

วางแผน

แต?ยังไม?ได6

เริ่ม

ดําเนินการ

มีเอกสาร

แต?ไม?

เชื่อมโยง

กับการ

ปฏิบัติหรือ

มีการ

ดําเนินการ

แต?ยังไม?

ครบถ6วน

มีเอกสาร

และ

หลักฐานการ

ดําเนินการ

ตามเกณฑ�

มีเอกสารและ

หลักฐานชัดเจนท่ี

แสดงถึงการ

ดําเนินการท่ีมี

ประสิทธิภาพ

ดีกว?าเกณฑ�

ตัวอย?าง

แนวปฏิบัติ

ท่ีดี

ดีเยี่ยม

เป-นแนว

ปฏิบัติใน

ระดับโลก

หรือแนว

ปฏิบัติชั้น

นํา

1.2 การจัดทํารายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report-SAR) ฉบับนี้จึงเป-นการรายงานผลการดําเนินงานของ หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (เกษตรศาสตร�) หลักสูตรปรับปรุง 2554 ประจําปFการศึกษา 2558 ในองค�ประกอบ 1 การกํากับมาตรฐาน ภายใต6ประกาศข6อบังคับของกระทรวงศึกษาธิการ ในการประเมินคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร ประจําปFการศึกษา 2558 และผลการดําเนินงานตามเกณฑ�การประเมินคุณภาพตามเกณฑ� ASEAN University Network - Quality Assurance (AUN-QA) จํานวน 11 ตัวบ?งชี้ เพ่ือประเมินตนเองอันเกิดจากการดําเนินงานของหลักสูตร ประกอบได6ข6อมูลดิบ ตลอดจนวิเคราะห�จุดอ?อน จุดแข็ง จุดท่ีควรพัฒนา แนวทางการปรับปรุง และแนวปฏิบัติท่ีดี เพ่ือรับการตรวจประเมินคุณภาพภายในโดยคณะกรรมการผู6ทรงคุณวุฒิท่ีแต?งต้ังโดยมหาวิทยาลัยนราธิวาสราช

Page 4: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

2

นครินทร� ซ่ึงจะเป-นตัวบ?งชี้ระดับคุณภาพของการบริหารหลักสูตร อันจะเป-นหลักประกัน ความเชื่อม่ันให6กับผู6มีส?วนได6ส?วนเสีย โดยในปFการศึกษา 2558 มีคณะกรรมการประเมินหลักสูตร ประกอบด6วย

1. ผู6ช?วยศาสตราจารย� ดร.ทิพยวรรณ นิลทยา ประธาน 2. ผู6ช?วยศาสตราจารย�คล?อง วงศ�สุขมนตรี กรรมการ 3. ผู6ช?วยศาสตราจารย�เจoะเหลoาะ แขกพงศ� กรรมการ 4. นางสาวนูรีมัน ดอเลาะ เลขานุการ 5. นางสาวอาดินดา เจoะมะยิ ผู6ช?วยเลขานุการ

ผลการประเมินตนเองโดยภาพรวม สามารถสรุปไดOดังตJอไปนี้ องค ประกอบท่ี ผลการประเมินตนเอง หมายเหตุ

องค ประกอบท่ี 1 การกํากับมาตรฐานหลักสูตร ผJาน การกํากับมาตรฐานหลักสูตรตามเกณฑ ท่ี สกอ. กําหนด

AUN - QA criterion 1 ผลการเรียนรูOท่ีคาดหวัง (Expected Learning Outcomes)

3

AUN - QA criterion 2 ขOอกําหนดของหลักสูตร

(Program Specification) 3

AUN - QA criterion 3 โครงสรOางและเนื้อหาของหลักสูตร

(Programmed Structure and Content) 3

AUN - QA criterion 4 วิธีการเรียนการสอน

(Teaching and Learning Approach) 3

AUN - QA criterion 5 การประเมินผูOเรียน (Student Assessment)

3

AUN - QA criterion 6 คุณภาพบุคลากรสายวิชาการ

(Academic Staff Quality) 3

AUN - QA criterion 7 คุณภาพบุคลากรสายสนับสนุน

(Support Staff Quality) 3

AUN - QA criterion 8 คุณภาพและการสนับสนุน

ผูOเรียน (Student Quality and Support) 3

AUN - QA criterion 9 ส่ิงสนับสนุนการเรียนรูOทางกายภาพ (Facilities and Infrastructure)

3

AUN - QA criterion 10 การสJงเสริมคุณภาพการศึกษา

(Quality Enhancement) 3

AUN - QA criterion 11 ผลผลิต (Output) 3

Page 5: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

3

1.3 ขOอมูลพ้ืนฐาน 1.3.1 ภาพรวมของมหาวิทยาลัย

ตามมติท่ีประชุมคณะรัฐมนตรีเม่ือวันท่ี 8 กรกฎาคม 2546 ได6อนุมัติในหลักการจัดต้ังมหาวิทยาลัยท่ีจังหวัดนราธิวาส โดยการหลอมรวมสถาบันการศึกษาท่ีมีอยู?แล6วในจังหวัด เพ่ือใช6ทรัพยากรร?วมกันให6เกิดประโยชน�สูงสุดมีการลงทุนน6อยท่ีสุดเท?าท่ีสามารถทําได6โดยไม?ขัดต?อปรัชญาการศึกษาและภารกิจของสถาบันการศึกษาเดิม การบริหารจัดการและการดําเนินการมีความสอดคล6องและเหมาะสมกับสภาวการณ�ของประเทศ เนื่องจากจังหวัดนราธิวาส เป-นจังหวัดท่ีต้ังอยู?ในตําแหน?งทางภูมิศาสตร�ท่ีเป-นรอยต?อออกไปสู?ประเทศเพ่ือนบ6าน การจัดต้ังสถาบันอุดมศึกษาท่ีจังหวัดนราธิวาส นอกจากจะเป-นการกระจายโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษาให6กับประชาชนในพ้ืนท่ีและจังหวัดใกล6เคียงแล6ว ยังมีโอกาสท่ีจะรองรับการศึกษาต?อ และการใช6บริการทางการอุดมศึกษาของประชาชนในประเทศเพ่ือนบ6านได6อีกด6วย

พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร� พ.ศ. 2548 ได6ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล?ม 122 ตอนท่ี 14 ก เม่ือวันท่ี 8 กุมภาพันธ� 2548 และมีผลบังคับใช6ต้ังแต? วันท่ี 9 กุมภาพันธ� 2548 โดยการหลอมรวมกิจการ ทรัพย�สิน งบประมาณ รายได6 หนี้สิน บุคลากรของสถาบันศึกษาท่ีมีศักยภาพในการพัฒนาในจังหวัดนราธิวาสจํานวน 4 สถาบัน คือ

1. วิทยาลัยเทคนิคนราธิวาส สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา 2. วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีนราธิวาส สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา 3. วิทยาลัยการอาชีพตากใบ สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา 4. วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีนราธิวาส สังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร�เป-นสถาบันอุดมศึกษา สังกัดคณะกรรมการการอุดมศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการท่ีจัดการศึกษาในสาขาวิชาท่ีเป-นความต6องการของภูมิภาคและประเทศ รวมท้ังเป-นศูนย�กลางการเชื่อมโยงจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษากับประเทศเพ่ือนบ6าน เป-นสถาบันทางวิชาการท่ีให6ความรู6และความชํานาญในการปฏิบัติท่ีเก่ียวข6องกับวิชาชีพ และวิชาชีพชั้นสูง มีวัตถุประสงค�เพ่ือให6การศึกษาและส?งเสริมงานวิจัยเพ่ือสร6างองค�ความรู6 สร6างสังคมแห?งการเรียนรู6และสร6างกระบวนการเรียนรู6ท่ีก?อให6เกิดปpญญาเพ่ือพัฒนาสังคมให6อยู?ร?วมกันอย?างสันติและมีดุลยภาพ มีส?วนร?วมกับสังคมในการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม การกีฬา สืบสานและสร6างเสริมภูมิปpญญาให6เหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ การเมือง วิทยาศาสตร�และเทคโนโลยี โดยยึดหลักความรู6คู?คุณธรรม มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร� ได6มีการแบ?งส?วนราชการ ประกอบด6วย สํานักงานอธิการบดี คณะเกษตรศาสตร� คณะพยาบาลศาสตร� คณะแพทยศาสตร� คณะวิทยาการจัดการ คณะวิทยาศาสตร�และเทคโนโลยี คณะวิศวกรรมศาสตร� คณะศิลปศาสตร� สถาบันอิสลามและอาหรับศึกษา วิทยาลัยการอาชีพ ตากใบ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีนราธิวาส และวิทยาลัยเทคนิคนราธิวาส จัดการศึกษาทางด6านวิชาชีพ อาชีวศึกษาและอุดมศึกษา

Page 6: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

4

วิสัยทัศน "พัฒนาคน สังคม ภายใต6พหุวัฒนธรรมให6มีความรู6 คู?คุณธรรม สู?สากลมุ?งเน6นอาเซียน" นิยามศัพท คําอธิบายวิสัยทัศน พัฒนาคน หมายถึง การพัฒนาผู6เรียน บุคลากร และประชาชนในพ้ืนท่ีให6บริการของมหาวิทยาลัย สังคม หมายถึง พ้ืนท่ีสามจังหวัดชายแดนภาคใต6 ได6แก? จังหวัดนราธิวาส จังหวัดปpตตานี และ

จังหวัดยะลา พหุวัฒนธรรม หมายถึง การอยู?ร?วมกันท?ามกลางความหลากหลายทาง ภาษา ศาสนา และ

ศิลปวัฒนธรรม ความรูO หมายถึง การให6ความรู6 ทักษะทางวิชาการ ทักษะทางวิชาชีพ รวมถึง ประสบการณ�ในการ

ดํารงชีวิต ท้ังในส?วนของผู6เรียน บุคลากร และประชาชนท่ัวไป คุณธรรม หมายถึง การปลูกฝpงค?านิยมและจิตสํานึกในการเป-นคนดีแก?ผู6เรียนและบุคลากร

สู?สากลมุ?งเน6นอาเซียน หมายถึง การมุ?งม่ันพัฒนาคุณภาพของมหาวิทยาลัยให6เป-นท่ียอมรับด6านมาตรฐานคุณภาพ และสามารถทําข6อตกลงหรือความร?วมมือกับหน?วยงานภายนอกท้ังในและต?างประเทศ โดยเฉพาะประเทศในกลุ?มอาเซียน โดยเฉพาะประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย บรูไน สิงคโปร� และฟuลิปปuนส� เพ่ือรองรับการเป-นสมาชิกสมาคมประชาชาติแห?งเอเชียตะวันออกเฉียงใต6 พันธกิจ

1. ผลิตบัณฑิตทุกระดับท่ีมีคุณภาพ

2. ผลิตผลงานวิชาการ งานสร6างสรรค�และงานวิจัย

3. บริการวิชาการและวิชาชีพเพ่ือพัฒนาศักยภาพทุกภาคส?วน

4. ทํานุบํารุงศาสนาและศิลปวัฒนธรรม

5. การบริหารและการจัดการ 1.3.2 ภาพรวมของคณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร

ประวัติความเปkนมา คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร วันท่ี 9 กุมภาพันธ� 2548 มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร�ได6จัดต้ังข้ึนตามพระราชบัญญัติ

มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร� พ.ศ. 2548 โดยการหลอมรวมสถาบันการศึกษาท่ีมีศักยภาพในการพัฒนาในจังหวัดนราธิวาสจํานวน 4 สถาบัน คือ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีนราธิวาส สังกัดกระทรวงสาธารณสุข วิทยาลัยเทคนิคนราธิวาส วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีนราธิวาสและวิทยาลัยการอาชีพตากใบ ซ่ึงสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ

ปF พ.ศ.2549 ได6มีประกาศกฎกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การจัดต้ังส?วนราชการในมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร� ลงวันท่ี 14 พฤศจิกายน 2549 คณะเกษตรศาสตร�นับเป-นส?วนราชการใหม?ท่ีได6จัดต้ังข้ึนและมีการดําเนินงานได6อย?างมีเปvาหมายและมีประสิทธิภาพจึงได6กําหนดให6มีคณะกรรมการดําเนินงานและพัฒนาคณะเกษตรศาสตร� เพ่ือให6การบริหารจัดการเป-นไปอย?างต?อเนื่องและบรรลุเปvาหมายท่ีต้ังไว6 โดยมีรองศาสตราจารย� เสาวนิต คูประเสริฐ เป-นประธานกรรมการ และ ดร.จงรัก พลาศัย เป-นท่ี

Page 7: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

5

ปรึกษา การดําเนินงานในระยะแรกนั้น ได6รับขอใช6อาคารโสตทัศนศึกษา ของวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีนราธิวาส เป-นสํานักงานชั่วคราวคณะเกษตรศาสตร� และผลจากการประชุมสภามหาวิทยาลัย ครั้งท่ี 5/2550 เม่ือวันท่ี 21 พฤษภาคม 2550 ได6มีมติแต?งต้ัง อาจารย�มงคล วชิรอําไพ ให6 ดํารงตําแหน?งรักษาการคณบดีคณะเกษตรศาสตร�คนแรก คณะเกษตรศาสตร� มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร� เป-นคณะเกษตรศาสตร�แห?งแรกของสถาบันอุดมศึกษาในจังหวัดนราธิวาส มีวัตถุประสงค�ในจัดการเรียนการสอนในด6านการเกษตร เปuดรับนักศึกษาครั้งแรกในปFการศึกษา 2549 โดยในช?วงแรกนั้นจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเกษตรศาสตร� ซ่ึงเป-นหลักสูตรสหวิชาท่ีนักศึกษาสามารถเลือกเรียนได6ในศาสตร�ทางด6านพืชศาสตร� และสัตว�ศาสตร� โดยใช6ทรัพยากร ด6านอาคารสถานท่ี ห6องปฏิบัติการ แปลงฝwกปฏิบัติงานของนักศึกษา ของวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีนราธิวาส ณ บ6านปxาไผ? ต.ตันหยงลิมอ อ.ระแงะ จ.นราธิวาส ต้ังแต?ปF 2549-2552 รวมระยะเวลาท้ังสิ้น 4 ปF โดยมี นายมงคล วชิรอําไพ ดํารงตําแหน?งรักษาการคณบดีคณะเกษตรศาสตร�คนแรก

ต?อมาในปF พ.ศ. 2552 ผู6ช?วยศาสตราจารย� ดร.จงรัก พลาศัย อธิการบดีมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร� ในขณะนั้น มีนโยบายให6คณะเกษตรศาสตร�ย6ายจากวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี มายังพ้ืนท่ีศูนย�ราชการใหม? เพ่ือเพ่ิมโอกาสในการพัฒนา โดยมหาวิทยาลัยได6ขอใช6พ้ืนท่ีดินสาธารณประโยชน�บริเวณทีเลี้ยงสัตว�บาโงตารง (โคกมะเขือ) บ6านทุ?งกง หมู?ท่ี 8 ตําบลโคกเคียน อําเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส จํานวน 156 ไร? ซ่ึงอยู?ติดกับพ้ืนท่ีศูนย�ราชการใหม?เขตโคกขือ จากกรมท่ีดิน เพ่ือรองรับการพัฒนาโครงสร6างพ้ืนฐานและฟาร�มคณะเกษตรศาสตร�แต?พ้ืนท่ีดังกล?าวมีราษฎรในพ้ืนท่ีได6เข6ามาจับจองเป-นพ้ืนท่ีทํากิน มหาวิทยาลัยจึงได6เข6าทําการเจรจา และชี้แจงวัตถุประสงค�ในการขอใช6พ้ืนท่ีกับราษฎร และหน?วยงานท่ีเก่ียวข6องเป-นจํานวนหลายรอบจนทําให6ราษฎรบางส?วนยินดียกพ้ืนท่ีให6กับทางมหาวิทยาลัย แต?ยังมีราษฎรบางส?วนท่ียังประสงค�จะเข6าทํากินในพ้ืนท่ีจึงได6ทําหนังสือถึงผู6ตรวจการแผ?นดิน ผู6ตรวจการแผ?นดินจึงวินิจฉัยให6จัดสรรพ้ืนท่ีให6กับราษฎรสามารถเข6าทํากินจํานวน 20 ไร? และยกพ้ืนท่ี จํานวน 136-06-62 ไร? ให6มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร�เข6าบริหารจัดการ หลังจากท่ีคณะเกษตรศาสตร�ได6รับนโยบายให6ย6ายมายังพ้ืนท่ีศูนย�ราชการใหม? เขตโคกเขือ อ.เมือง จ.นราธิวาส ในปF พ.ศ. 2552 คณะผู6บริหารของคณะเกษตรศาสตร�ในขณะนั้นได6เข6าทําการสํารวจและจัดทําแผนพัฒนาพ้ืนท่ี แต?ด6วยสภาพพ้ืนท่ีในขณะนั้นเป-นปxาท่ีมีต6นเสม็ดข้ึนเต็มพ้ืนท่ี จึงมีความจําเป-นต6องมีการปรับปรุงพ้ืนท่ีก?อน เพ่ือให6สามารถรองรับการจัดการเรียนการสอนได6 จึงทําให6เกิดความไม?พร6อมของสถานท่ีรองรับการฝwกปฏิบัติงานของนักศึกษา คณะเกษตรศาสตร�จึงยังไม?พร6อมท่ีจะย6ายท่ีต้ังมายังพ้ืนท่ีดังกล?าวได6 จึงยังใช6พ้ืนท่ีของวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีนราธิวาส จัดการเรียนการสอนเช?นเดิมก?อนเป-นระยะเวลา 1 ปF หลังจากนั้น ใน พ.ศ. 2553 การปรับพ้ืนท่ีเขตศูนย�ราชการใหม? เขตโคกเขือ เสร็จสมบรูณ� คณะเกษตรศาสตร�จึงย6ายสํานักงานคณะมายังพ้ืนท่ีศูนย�ราชการใหม?เขตโคกเขือ โดยในระยะแรกได6ขอใช6อาคารปฏิบัติการ คณะวิศวกรรมศาสตร� ชั้น 3 เป-นท่ีตั้งสํานักงานชั่วคราว ปF พ.ศ. 2553 คณะเกษตรศาสตร�ได6ย6ายสํานักงานมายังพ้ืนท่ีศูนย�ราชการใหม?เขตโคกเขือ โดยในระยะแรกได6ขอใช6อาคารปฏิบัติการ คณะวิศวกรรมศาสตร� ชั้น 3 เป-นท่ีต้ังสํานักงานชั่วคราว ต?อมาในวันท่ี 25 พฤษภาคม 2554 คณะเกษตรศาสตร�ได6ย6ายสํานักงาน

Page 8: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

6

คณะฯ อีกครั้ง มาท่ี ชั้น 3 อาคารคณะศิลปศาสตร� โดยมี ผู6ช?วยศาสตราจารย�ทวี บุญภิรมย� ดํารงตําแหน?ง

คณบดีคณะเกษตรศาสตร� คนปpจจุบัน (1 ต.ค. 2558-ปpจจุบัน) และจัดการศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวน

1 หลักสูตร คือ หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต 4 ปF (ใหม? 2551) และหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต 4 ปF (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554)

ปรัชญา ปณิธาน เปlาหมาย และวัตถุประสงค คณะเกษตรศาสตร� ได6ปรับปรุงและพัฒนาปรัชญา วิสัยทัศน� พันธกิจ วัตถุประสงค� นโยบาย และ

แผนกลยุทธ�ให6สอดคล6องตามสภาพการณ�ปpจจุบันและแนวโน6มในอนาคต โดยนําแผนกลยุทธ�การพัฒนามหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร� พ.ศ. 2558-2562 มาใช6พิจารณาประกอบการกําหนดปรัชญา วิสัยทัศน� พันธกิจ วัตถุประสงค� นโยบาย และแผนกลยุทธ�การพัฒนาคณะเกษตรศาสตร� ดังนี้

ปรัชญาและปณิธาน “รับผิดชอบ ใฝxศึกษา มีคุณธรรม นําสังคม”

วิสัยทัศน “จัดการศึกษาท่ีเป-นมาตรฐาน เป-นแหล?งเรยีนรู6ของสังคม ตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มุ?งสู?อาเซียน”

พันธกิจ

เพ่ือให6สอดคล6องกับพันธกิจ ท่ีกําหนดโดย สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (กพร.) สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) และมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร� คณะเกษตรศาสตร� จึงได6กําหนดพันธกิจ 5 ด6าน เพ่ือใช6เป-นกรอบของการดําเนินงาน ดังนี้

1. ผลิตบัณฑิต/ผู6สําเร็จการศึกษา 2. ผลิตผลงานทางวิชาการ งานสร6างสรรค� และงานวิจัย 3. บริการวิชาการและวิชาชีพ 4. ทํานุบํารุงศิลปะ และวัฒนธรรม 5. การบริหารและการจัดการ

วัตถุประสงค การจัดตั้งคณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชครินทร เพ่ิมโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษาแก?ประชาชนในพ้ืนท่ีและส?งเสริมสร6างเอกภาพและความ

ม่ันคงของชาติ ต6องการเชื่อมโยงการศึกษากับศาสนาเข6าสู?ชีวิตของประชาชนชาวมุสลิม ช?วยก?อให6เกิด ความรัก ความผูกพัน และสํานึกรับผิดชอบต?อสังคม วัฒนธรรมประเทศชาติอย?างต?อเนื่อง ยั่งยืน รวมท้ังเสริมสร6างความเข6าใจระหว?างรัฐและประชาชนชาวมุสลิมให6เกิดความรัก ความสามัคคี ลดความขัดแย6งทางสังคมและการเมือง รวมท้ังการก?อความไม?สงบในพ้ืนท่ีชายแดนใต6

Page 9: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

7

ความเปkนมาของหลักสูตร คณะเกษตรศาสตร� มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร� ต้ังอยู?ในพ้ืนท่ี 3 จังหวัดชายแดนภาคใต6

ซ่ึงมีความหลากหลายในด6านศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และภาษา รวมท้ังมีความอุดมสมบูรณ�ของ

ทรัพยากรธรรมชาติ และภูมิประเทศท่ีเหมาะสมต?อการประกอบอาชีพทางการเกษตร โดยวิถีชีวิตของ

ประชาชนส?วนใหญ?มีความผูกพันกับอาชีพเกษตรกรรมมาช6านาน อาทิเช?น การทําสวนยาง การเลี้ยงสัตว�

และการประมง ดังนั้น คณะเกษตรศาสตร� มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร� จึงได6เปuดหลักสูตรวิทยา

ศาสตรบัณฑิต (เกษตรศาสตร�) หลักสูตร 4 ปF เน6นสร6างบัณฑิตด6านการเกษตรท่ีมีความพร6อมท้ังด6าน

วิชาการ และการปฏิบัติงานอาชีพ พัฒนาการเกษตรของท6องถ่ินภาคใต6 ตามแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจ

พอเพียง ตลอดจนเป-นการขยายโอกาสทางการศึกษาท่ีตรงตามความต6องการของประชาชนในพ้ืนท่ี 3

จังหวัดชายแดนภาคใต6อย?างแท6จริง อีกท้ังยังเป-นศูนย�บริการวิชาการทางการเกษตรสู?ชุมชนและภูมิภาค

นอกจากนั้นการจัดการศึกษาในระดับท่ีสูงข้ึนสามารถเปuดโลกทัศน�และพัฒนากระบวนการคิดของเยาวชน

ในท6องถ่ินให6สามารถกระทําในสิ่งท่ีถูกต6องเพ่ือความสงบสุขและสร6างชุมชนท่ีเข6มแข็ง ยิ่งไปกว?านั้นสามารถ

ชี้นําชุมชนและพัฒนาประเทศต?อไป

ปรัชญา และความสําคัญของหลักสูตร

ปรัชญาของหลักสูตรมุ?งเน6นจัดการศึกษาและพัฒนาองค�ความรู6ด6านการเกษตรท่ีสอดคล6องกับ

สภาพแวดล6อม เศรษฐกิจสังคม และภูมิปpญญาท6องถ่ิน เพ่ือตอบสนองความต6องการของพ้ืนท่ีเป-นหลัก

เพ่ือถ?ายทอดความรู6สู?ชุมชนและภูมิภาคใกล6เคียงในด6านการจัดการศึกษา สามารถผลิตทรัพยากรบุคคลท่ีมี

คุณภาพและประสิทธิภาพทางวิชาการและการปฏิบัติ รู6จักคิดอย?างมีเหตุผล มีคุณธรรม จริยธรรม และมี

ความใฝxเรียนรู6 สามารถนําความรู6ไปพัฒนาท6องถ่ินและประเทศอย?างยั่งยืนบนพ้ืนฐานวิทยาศาสตร� ตาม

แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม?

วัตถุประสงค ของหลักสูตร มุ?งเน6นผลิตบัณฑิตท่ีมีความรู6ความชํานาญในเชิงวิชาการท้ังภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติด6านการเกษตร

นําความรู6ท่ีได6ไปประกอบอาชีพตามความสามารถ ภายใต6แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม? สามารถปฏิบัติงานและร?วมมือกับหน?วยงานราชการและเอกชน ตลอดจนผู6นําชุมชนท่ีเข6มแข็งได6เป-นอย?างดี และมีเจตคติท่ีดีในการพัฒนางานด6านการเกษตรท่ีสอดคล6องกับวิถีชีวิต และความต6องการของท6องถ่ิน อีกท้ังผลิตบัณฑิตท่ีมีบุคลิกดี มีความม่ันใจในตนเอง มีความเป-นผู6นํา กล6าแสดงออก พัฒนาตนเองอย?างต?อเนื่อง ตลอดจนมีคุณธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย ซ่ือสัตย� มีจิตอาสา รักองค�กร และความรับผิดชอบต?อตนเองและสังคม รู6จักคิดอย?างมีเหตุผล สามารถแก6ปpญหาในสถานการณ�ต?างๆ ได6

Page 10: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

8

คณะเกษตรศาสตร� จัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเกษตรศาสตร� โดยเปuดรับนักศึกษาครั้งแรกในปFการศึกษา 2549 และหลังจากท่ีมีการใช6หลักสูตรครบ 5 ปF จึงได6ทําการปรับปรุงหลังสูตรในปF พ.ศ. 2554 ปpจจุบันจึงเปuดการเรียนการสอนใน หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเกษตรศาสตร� หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554 โดยมีรายละเอียดของหลักสูตรดังนี้

ช่ือหลักสูตร ภาษาไทย : หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเกษตรศาสตร� ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Science Program in Agriculture

ช่ือปริญญาและสาขาวิชา ชื่อเต็มภาษาไทย : วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกษตรศาสตร�) ชื่อย?อ : วท.บ. (เกษตรศาสตร�) ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ : Bachelor of Science (Agriculture) ชื่อย?อ : B.Sc. (Agriculture)

วิชาเอกหรือความเช่ียวชาญเฉพาะหลักสูตร เป-นหลักสูตรท่ีจัดการเรยีนการสอนสาขาวิชาเกษตรศาสตร�แบ?งเป-น 2 กลุ?มวิชา คือ กลุ?มวิชาพืชศาสตร� และกลุ?มวชิาสตัวศาสตร�

จํานวนหนJวยกิตท่ีเรียนตลอดหลักสูตร จํานวนหน?วยกิตท่ีเรียนตลอดหลักสูตร 138 หน?วยกิต รูปแบบของหลักสูตร

รูปแบบ : หลักสูตรระดับปริญญาตรี หลักสูตร 4 ปF หรือเทียบโอน ผลการเรียน

ภาษาท่ีใช6 : ภาษาไทย การรับเข6านักศึกษา : รับนักศึกษาไทย และนักศึกษาต?างชาติท่ีสามารถพูด อ?าน

และเขียนภาษาไทยได6ดี ความร?วมมือกับสถาบันอ่ืน : หลักสูตรเฉพาะของมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร�

ท่ีจัดการเรียนการสอนโดยตรง การให6ใบปริญญาแก?ผู6สําเร็จการศึกษา : ให6ปริญญาสาขาวิชาเดียว

สถานภาพทางหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร 1. เป-นหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2554 ปรับปรุงจากหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (เกษตรศาสตร�)

พ.ศ. 2551 เปuดสอนในภาคการศึกษาท่ี 1 ปFการศึกษา 2554 2. คณะกรรมการสภาวิชาการ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครนิทร�เห็นชอบหลักสูตรในการประชุม

ครั้งท่ี 1 วันท่ี 3 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2554 3. สภามหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร� อนุมัติหลักสูตร ในการประชุม ครั้งท่ี 4 วันท่ี 28

เดือน พฤษภาคม พ.ศ.2554

Page 11: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

9

ความพรOอมในการเผยแพรJหลักสูตรท่ีมีคุณภาพและมาตรฐาน หลักสูตรมีความพร6อมในการเผยแพร?คุณภาพและมาตรฐานตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี

และดําเนินการขอรับการประเมินเพ่ือข้ึนทะเบียนหลักสูตรการศึกษา พ.ศ.2556 (หลังจากเปuดสอนเป-น เวลา 3 ปF)

อาชีพท่ีสามารถประกอบไดOหลังสําเร็จการศึกษา 1. สามารถประกอบอาชีพในหน?วยงานราชการ ในหน6าท่ีนักวิชาการเกษตร นักวิจัย กรมวิชาการ

การเกษตร นักวิชาการส?งเสริมการเกษตร กรมส?งเสริมการเกษตร นักวิชาการสัตวบาล นักวิชาการทางพืชศาสตร� สัตวศาสตร� อาจารย�สอนในสถานศึกษา นักวิจัยและพัฒนา พนักงานรัฐวิสาหกิจ เจ6าหน6าท่ีการเกษตรของธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณ�การเกษตร

2. สามารถประกอบอาชีพท่ีเก่ียวกับการเกษตร เช?น นักวิชาการ นักส?งเสริม พนักงานขายในหน?วยงานเอกชน หรือประกอบธุรกิจส?วนตัว ด6านผลิตอาหารสัตว� การผลิตสัตว� ผลิตสินค6าทางการเกษตร การสุขาภิบาลสัตว� การผลิตพืช การผลิตสินค6าอ่ืนๆ ท่ีเก่ียวข6องทางการเกษตร การขาย การวิจัย การวิเคราะห� และการกําหนดมาตรฐานทางการเกษตร

อาจารย ประจําหลักสูตร ประจําปBการศึกษา 2558

ท่ี ช่ืออาจารย ประจําหลักสูตร ตําแหนJงทางวิชาการ วุฒิการศึกษาสูงสุด 1. นายทวี บุญภิรมย� ผู6ช?วยศาสตราจารย� M.S.(Crop Science)

2. นางสายทอง แก6วฉาย อาจารย� Ph.D.(Biotechnology in Plant Pathology)

3. นายเจษฎา แก6วฉาย ผู6ช?วยศาสตราจารย� วท.ม (พืชสวน)

4. นางสาวซารีนา สือแม อาจารย� ปร.ด. (สตัวศาสตร�)

5. นางสาวอัจฉรา นิยมเดชา อาจารย� วท.ม. (โภชนาศาสตร�และเทคโนโลยีอาหารสัตว�)

อาจารย ผูOสอน ประจําปBการศึกษา 2558 จํานวน 14 คน ดังนี้ กลุJมสาขาพืชศาสตร

ท่ี ช่ืออาจารย ตําแหนJงทาง

วิชาการ วุฒิการศึกษาสูงสุด หมายเหตุ

1. นายทวี บุญภิรมย� ผู6ช?วยศาสตราจารย� M.S.(Crop Science) 2. นางสายทอง แก6วฉาย อาจารย� Ph.D. (Biotechnology in Plant Pathology) 3. นางมนทนา รุจิระศักด์ิ ผู6ช?วยศาสตราจารย� วท.ม. (เกษตรศาสตร�) 4. นายเจษฎา แก6วฉาย ผู6ช?วยศาสตราจารย� วท.ม. (พืชสวน) 5 นางสาวนุร�ซานีซา เจะดาโอะ อาจารย� วท.บ. (เทคโนโลยีการผลิตพืช) 6 นางสาวศิราณี วงศ�กระจ?าง อาจารย� วท.ม. (การจัดการทรัพยากรดิน) 7 นางสาวชินีกาญจน� อ6องหว?าง อาจารย� วท.ม. (พัฒนาการเกษตร)

Page 12: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

10

8 นายนุลอัฟฎา สาและ อาจารย� วท.ม. (เกษตรศาสตร�)

กลุJมสาขาสัตวศาสตร

ท่ี ช่ืออาจารย ตําแหนJงทาง

วิชาการ วุฒิการศึกษาสูงสุด หมายเหตุ

1 นายปริญญา คามา ผู6ช?วยศาสตราจารย� วท.ม. (โภชนศาสตร�และเทคโนโลยีอาหารสัตว�)

2 นายจักรพันธ� ชาสมบัติ อาจารย� ปร.ด. (สัตวศาสตร�) 3 นางสาวซารีนา สือแม อาจารย� ปร.ด. (สัตวศาสตร�) 4 นางกนกวรรณ สุขขจรวงษ� อาจารย� ศศ.ม.

(ผู6นําทางสังคมและการเมือง)

5 นางสาวอัจฉรา นิยมเดชา อาจารย� วท.ม. (โภชนศาสตร�และเทคโนโลยีอาหารสัตว�)

6 นายวัฒนา เต็มดี อาจารย� วท.ม. (วิทยาศาสตร�และเทคโนโลยีการอาหาร)

จํานวนนักศึกษาแตJละช้ันปB ปBการศึกษา 2558

ช่ือหลักสูตรท่ีเปpดสอน ระดับช้ันปB รวมท้ังสิ้น ช้ันปFที่ 1 ช้ันปFที่ 2 ช้ันปFที่ 3 ช้ันปFที่ 4 ช้ันปFที่ 5 ขึ้นไป

วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกษตรศาสตร�) 53 53 40 30 - 176 จํานวนบุคลากรสายสนับสนุน จํานวน 8 คน จําแนกตามคุณวุฒิทางการศึกษา

ประเภท จํานวน รOอยละ ตํ่ากว?าปริญญาตรี 3 37.5 ปริญญาตรี 4 50 ปริญญาโท 1 12.5 ปริญญาเอก - -

รวม 8 100

Page 13: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

11

อาคาร สถานท่ีจัดการเรียนการสอน หOองสมุด หOองปฏิบัติการ สถานท่ีฝsกภาคปฏิบัติ

อาคารสถานท่ีจัดการเรียนการสอน 1. อาคารคณะศิลปศาสตร� ชั้น 3 และ 4 2. อาคารเฉลิมพระเกียจ เฉลิมพระชนพรรษาครบรอบ 64 ปF ชั้น 2

หOองสมุด

1. ห6องสมุดประจําคณะเกษตรศาสตร� 2. ศูนย�วิทยบริการ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร�

หOองปฏิบัติการ 1. ห6องปฏิบัติการเทคโนโลยีชีวภาพด6านพืชศาสตร� 2. ห6องปฏิบัติการโรคพืช 3. ห6องปฏิบัติการสรีรวิทยาพืช 4. ห6องปฏิบัติการปฐพี 5. ห6องปฏิบัติการโภชนะศาสตร�สัตว� 6. ห6องปฏิบัติการกายวิภาคและสรีรวิทยา และการปรับปรุงพันธุ�สัตว� 7. ห6องปฏิบัติการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร

สถานท่ีฝsกภาคปฏิบัติ

1. ฟาร�มคณะเกษตรศาสตร� 2. ฟาร�ม ศูนย�วิจัย และหน?วยงานท่ีเก่ียวข6องด6านการเกษตร ท้ังภาครัฐและเอกชน

Page 14: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

12

แผนการดําเนนิงานประเมินตนเอง

สJวนท่ีสอง

แตง่ตั งคณะกรรมการรับผิดชอบตวัชี วดั

ประชมุคณะกรรมการเพื"อนําเกณฑ์ระดบัหลกัสตูรมากําหนด แนวทาง รวบรวม วิเคราะห์ และนําเสนอ

ประชมุคณะกรรมการเพื"อกํากบัการดาํเนินงาน

เขียนรายงานการประเมินตนเอง

ปรับปรุงรายงานการประเมินตนเอง

สง่รายงานการประเมินตนเองตอ่ฝ่ายประกนัคณุภาพการศกึษา

ประเมินคณุภาพภายในระดบัหลกัสตูร

Page 15: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

13

องค ประกอบ 1 การกํากับมาตรฐานหลักสูตร หลักสูตร: หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเกษตรศาสตร� หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554

สถานท่ีจัดการเรียนการสอน : คณะเกษตรศาสตร� มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร�

เลขท่ี 99 หมู? 8 ต.โคกเคียน อ.เมือง จ.นราธิวาส

ผลการดําเนินงาน

ตารางอาจารย ประจําหลักสูตร / คุณสมบัติของอาจารย ประจําหลักสูตร (ตัวบ?งชี้ 1.1 เกณฑ�

ข6อ 1, 2) รหัสหลักสูตร 25510251100937

อาจารย ประจําหลักสูตรใน มคอ 2

ท่ี ช่ืออาจารย ประจําหลักสูตร ตําแหนJงทางวิชาการ วุฒิการศึกษาสูงสุด หมายเหตุ 1. นายทวี บุญภิรมย� ผู6ช?วยศาสตราจารย� M.S.(Crop Science) ประธานหลักสูตร

2. นางสายทอง แก6วฉาย อาจารย� Ph.D.(Biotechnology in Plant Pathology) 3. นางราฮีมา วาแมดีซา อาจารย� วท.ม.เกษตรศาสตร� 4. นายนิรันดร หนักแดง อาจารย� วท.ม.โภชนศาสตร�และเทคโนโลยีอาหารสัตว� 5. นายกนก เชาวภาษี อาจารย� วท.ม.ปรับปรุงพันธุ�สัตว�

อาจารย ประจําหลักสูตร ปtจจุบัน

ท่ี ช่ืออาจารย ประจําหลักสูตร ตําแหนJงทางวิชาการ วุฒิการศึกษาสูงสุด หมายเหตุ

1. นายทวี บุญภิรมย� ผู6ช?วยศาสตราจารย� M.S.(Crop Science) ประธาน

หลักสูตร

2. นางสายทอง แก6วฉาย อาจารย� Ph.D.(Biotechnology in Plant

Pathology)

3. นายเจษฎา แก6วฉาย ผู6ช?วยศาสตราจารย� วท.ม (พืชสวน) 4. นางสาวซารีนา สือแม อาจารย� ปร.ด. (สัตวศาสตร�) 5. นางสาวอัจฉรา นิยมเดชา อาจารย� วท.ม. (โภชนาศาสตร�และเทคโนโลยีอาหารสัตว�)

อาจารย ผูOสอน กลุJมสาขาพืชศาสตร

ท่ี ช่ืออาจารย ตําแหนJงทาง

วิชาการ วุฒิการศึกษาสูงสุด หมายเหตุ

1. นายทวี บุญภิรมย� ผู6ช?วยศาสตราจารย� M.S.(Crop Science) 2. นางสายทอง แก6วฉาย อาจารย� Ph.D.(Biotechnology in Plant Pathology) 3. นางมนทนา รุจิระศักด์ิ ผู6ช?วยศาสตราจารย� วท.ม. (เกษตรศาสตร�) 4. นายเจษฎา แก6วฉาย ผู6ช?วยศาสตราจารย� วท.ม. (พืชสวน) 5 นางสาวนุร�ซานีซา เจะดาโอะ อาจารย� วท.บ. (เทคโนโลยีการผลิตพืช)

Page 16: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

14

6 นางสาวศิราณี วงศ�กระจ?าง อาจารย� วท.ม. (การจัดการทรัพยากรดิน) 7 นางสาวชินีกาญจน� อ6องหว?าง อาจารย� วท.ม. (พัฒนาการเกษตร) 8 นายนุลอัฟฎา สาและ อาจารย� วท.ม. (เกษตรศาสตร�)

กลุJมสาขาสัตวศาสตร

ท่ี ช่ืออาจารย ตําแหนJงทาง

วิชาการ วุฒิการศึกษาสูงสุด หมายเหตุ

1 นายปริญญา คามา ผศ. วท.ม. โภชนศาสตร�และเทคโนโลยีอาหารสัตว� 2 นายจักรพันธ� ชาสมบัติ อาจารย� ปร.ด. (สัตวศาสตร�) 3 นางสาวซารีนา สือแม อาจารย� ปร.ด. (สัตวศาสตร�) 4 นางกนกวรรณ สุขขจรวงษ� อาจารย� ศศ.ม. (ผู6นําทางสังคมและการเมือง) 5 นางสาวอัจฉรา นิยมเดชา อาจารย� วท.ม. (โภชนศาสตร�และเทคโนโลยีอาหารสัตว�)

6 นายวัฒนา เต็มดี อาจารย� วท.ม. (วิทยาศาสตร�และเทคโนโลยีการอาหาร)

ผลการกํากับมาตรฐาน

เกณฑ ขOอ 1 จํานวนอาจารย ประจําหลักสูตร

จํานวนอาจารย�ประจําหลักสูตรไม?น6อยกว?า 5 คนและเป-นอาจารย�ประจําเกินกว?า 1 หลักสูตร

ไม?ได6และประจําหลักสูตรตลอดระยะเวลาท่ีจัดการศึกษาตามหลักสูตรนั้น

ผลการดําเนินงาน

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเกษตรศาสตร� หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554 มีอาจารย�ประจําหลักสูตรจํานวน 5 คน ตลอดระยะเวลาท่ีจัดการศึกษาตามหลักสูตร และไม?เป-นอาจารย�ประจําเกินกว?า 1 หลักสูตร ท้ังนี้ มีการเปลี่ยนแปลงรายชื่ออาจารย�ประจําหลักสูตรตาม มคอ.2 จํานวนสามท?านคือ

1. นายจักรพงศ� จิระแพทย� 2. นางสาวอัจฉรา นิยมเดชา

3. นางสาวซารีนา สือแม

� เป-นไปตามเกณฑ�

ขOอสังเกต อาจารย�ประจําหลักสูตรเดิมมีการลาศึกษาต?อ และมีการแต?งต้ังอาจารย�ประจํา

หลักสูตร ทดแทน

Page 17: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

15

เกณฑ ขOอ 2 คุณสมบัติอาจารย ประจําหลักสูตร

คุณสมบัติของอาจารย�ประจําหลักสูตรคุณวุฒิระดับปริญญาโทหรือเทียบเท?า หรือดํารงตําแหน?ง

ทางวิชาการไม?ต่ํากว?าผู6ช?วยศาสตราจารย� ในสาขาท่ีตรงหรือสัมพันธ�กับสาขาวิชาท่ีเปuดสอน อย?างน6อย 2

คน

ผลการดําเนินงาน อาจารย�ประจําหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเกษตรศาสตร� หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554 ทุกคน

มีคุณวุฒิตามเกณฑ�ท่ีกําหนดและตรงกับสาขาวิชาท่ีเปuดสอน โดยมีอาจารย�ประจําหลักสูตรท่ีมีคุณวุฒิปริญญาเอกจํานวน 2 คน คือ อาจารย� ดร.สายทอง แก6วฉาย (Ph.D. Biotechnology in Plant Pathology) และ อาจารย� ดร. ซารีนา สือแม (ปร.ด. สัตวศาสตร�) อาจารย�วุฒิปริญญาโทจํานวน 1 คน คือ อาจารย� อัจฉรา นิยมเดชา (วท.ม. โภชนาศาสตร�และเทคโนโลยีอาหารสัตว�) และผู6ช?วยศาสตราจารย�วุฒิปริญญาโท จํานวน 2 คน คือ ผู6ช?วยศาสตราจารย�เจษฎา แก6วฉาย (วท.ม. พืชสวน) และผู6ช?วยศาสตราจารย�ทวี บุญภิรมย� (M.S.Crop Science)

� เป-นไปตามเกณฑ�

ขOอสังเกต อาจารย�ทางสัตว�ศาสตร� มีเพียงสองท?าน

เกณฑ ขOอ 11 การปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาท่ีกําหนด

กําหนดต6องไม?เกิน 5 ปF (จะต6องปรับปรุงให6เสร็จและอนุมัติ/ให6ความเห็นชอบโดยสภา

มหาวิทยาลัย/สถาบัน เพ่ือให6หลักสูตรใช6งานในปFท่ี 6) ประกาศใช6ในปFท่ี 8)

ผลการดําเนินงาน

1) เริ่มเปuดหลักสูตรครั้งแรกในปF พ.ศ. 2554 2) ตามรอบหลักสูตรต6องปรับปรุงให6แล6วเสร็จและประกาศใช6ในปF พ.ศ. 2559

คณะเกษตรศาสตร� เปuดรับนักศึกษาครั้งแรกในปFการศึกษา 2551 และมีการปรับปรุงหลักสูตร

ในปFการศึกษา 2554 เพ่ือให6เป-นไปตามเกณฑ�ของกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห?งชาติ ระดับ

ปริญญาตรี จึงได6ดําเนินการปรับปรุงหลักสูตรในปFการศึกษา 2558 ประกาศใช6ในปF พ.ศ. 2559 เป-นท่ี

เรียบร6อยแล6ว

Page 18: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

16

ผลการประเมินตนเอง องค ประกอบ 1 การกํากับมาตรฐานหลักสูตร การกํากับใหOเปkนไปตามมาตรฐาน

ขOอ เกณฑ การประเมิน ผลการดําเนินงาน

1 จํานวนอาจารย�ประจําหลักสูตร ผJาน

2 คุณสมบัติของอาจารย�ประจําหลักสูตร ผJาน

3 คุณสมบัติของอาจารย�ผู6รับผิดชอบหลักสูตร -

4 คุณสมบัติของอาจารย�ผู6สอน -

5 คุณสมบัติของอาจารย�ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ�หลักและ

อาจารย�ท่ีปรึกษาการค6นคว6าอิสระ

-

6 คุณสมบัติของอาจารย�ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ�ร?วม (ถ6ามี) -

7 คุณสมบัติของอาจารย�ผู6สอบวิทยานิพนธ� -

8 การตีพิมพ�เผยแพร?ผลงานของผู6สําเร็จการศึกษา -

9 ภาระงานอาจารย�ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ�และการค6นคว6า

อิสระในระดับบัณฑิตศึกษา

-

10 อาจารย�ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ�และการค6นคว6าอิสระใน

ระดับบัณฑิตศึกษามีผลงานวิจัยอย?างต?อเนื่องและ

สมํ่าเสมอ

-

11 การปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาท่ีกําหนด ผJาน

สรุปผลการดําเนินงาน องค ประกอบ 1 การกํากับมาตรฐานหลักสูตร ตามเกณฑ ขOอ 1-11

� เป-นไปตามเกณฑ�ทุกข6อ

� ไม?เป-นไปตามเกณฑ� โปรดระบุข6อ.....................

ขOอสังเกต มีการเปลี่ยนแปลงอาจารย�ประจําหลักสูตรจาก มคอ. 2 และกําหนดปรับปรุงหลักสูตร ในปF

การศึกษา 2559

Page 19: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

17

สJวนท่ีสาม การประเมินตนเองตามเกณฑ คุณภาพ AUN-QA 11 ขOอ

เพ่ือให6หลักสูตรรับรู6ถึงระดับคุณภาพของหลักสูตรในแต?ละเกณฑ� และสามารถปรับปรุงพัฒนา การดําเนินการในหลักสูตรได6อย?างต?อเนื่อง การประเมินหลักสูตรจะใช6เกณฑ� 7 ระดับ ดังต?อไปนี้

Rating Description 1 Absolutely Inadequate 2 Inadequate and Improvement is Necessary 3 Inadequate but Minor Improvement Will Make It Adequate 4 Adequate as Expected 5 Better Than Adequate 6 Example of Best Practices 7 Excellent (Example of World-class or Leading Practices)

Page 20: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

18

AUN - QA criterion 1 ผลการเรียนรูOท่ีคาดหวัง (Expected Learning Outcomes)

Sub Criterion 1 1. The formulation of the expected learning outcomes takes into account and

reflects the vision and mission of the institution. The vision and mission are explicit and known to staff and students.

2. The programme shows the expected learning outcomes of the graduate. Each course and lesson should clearly be designed to achieve its expected learning outcomes which should be aligned to the programme expected learning outcomes.

3. The programme is designed to cover both subject specific outcomes that relate to the knowledge and skills of the subject discipline; and generic (sometimes called transferable skills) outcomes that relate to any and all disciplines e.g. written and oral communication, problem-solving, information technology, teambuilding skills, etc.

4. The programme has clearly formulated the expected learning outcomes which reflect the relevant demands and needs of the stakeholders.

ผลการดําเนินงาน 1.1 The expected learning outcomes have been clearly formulated and aligned with the

vision and mission of the university (1,2) หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเกษตรศาสตร� หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554 ได6กําหนด

วัตถุประสงค�ของหลักสูตร ไว6ดังนี้ 1. ความรู6ความชํานาญในเชิงวิชาการท้ังภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติด6านการเกษตร 2. นําความรู6ท่ีได6ไปประกอบอาชีพตามความสามารถ ภายใต6แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจ

พอเพียงและทฤษฎีใหม? 3. สามารถปฏิบัติงานและร?วมมือกับหน?วยงานราชการและเอกชน ตลอดจนผู6นําชุมชนท่ี

เข6มแข็งได6เป-นอย?างดี 4. และมีเจตคติท่ีดีในการพัฒนางานด6านการเกษตรท่ีสอดคล6องกับวิถีชีวิต และความ

ต6องการของท6องถ่ิน 5. มีบุคลิกภาพดี มีความม่ันใจในตนเอง มีความเป-นผู6นํา กล6าแสดงออก พัฒนาตนเอง

อย?างต?อเนื่อง 6. มีคุณธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย ซ่ือสัตย� มีจิตอาสา รักองค�กร และความ

รับผิดชอบต?อตนเองและสังคม

Page 21: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

19

7. คิดอย?างมีเหตุผล สามารถแก6ไขปpญหาในสถานการณ�ต?าง ๆ ได6 หลักสูตรได6กําหนดผลการเรียนรู6ที่คาดหวัง (ELO) จากวิสัยทัศน� พันธกิจของคณะเกษตรศาสตร� และ

ของมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร� จากวัตถุประสงค�ของหลักสูตร จากกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห?งชาติ และจากผู6ใช6บัณฑิต ศิษย�เก?า ศิษย�ปpจจุบัน จํานวน 6 ข6อ ดังนี้

1. แสดงออกถึงภาวะความเป-นผู6นํา และเป-นผู6ท่ีมีจริยธรรม คุณธรรม รักองค�กร และสังคม เพ่ือเป-นพลเมืองดีของสังคมพหุวัฒนธรรม

2. รู6และเข6าใจหลักการเกษตรศาสตร�และสามารถประยุกต�ใช6ในการปฏิบัติงานได6อย?างมีประสิทธิภาพ

3. ประยุกต�การใช6เทคโนโลยีการเกษตรบนพ้ืนฐานวิทยาศาสตร�ตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถบริหารจัดการฟาร�มเกษตรได6อย?างมีศักยภาพ

4. ปฏิบัติงานและร?วมมือกับหน?วยงานราชการและเอกชนและชุมชนได6ท้ังในประเทศหรือในกลุ?มประเทศอาเซียน

5. ประยุกต�ใช6ความรู6เพ่ือแก6ไขปpญหาด6านการเกษตรและการดําเนินชีวิตภายใต6พหุวัฒนธรรม

6. แสวงหาความรู6เพ่ือพัฒนาตนเอง แก6ไขปpญหาและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมตามการเปลี่ยนแปลงทางวิชาการอยู?ตลอดเวลา

ตารางท่ี AUN1-1 ความสอดคลOอง Expected Learning Outcome (ELO) กับวัตถุประสงค หลักสูตร

ท่ี Learning Outcome วัตถุประสงค�หลักสูตร

1 2 3 4 5 6 7 1 แสดงออกถึงภาวะความเป-นผู6นํา และเป-นผู6ท่ีมีจริยธรรม คุณธรรม

รักองค�กร และสังคม เพ่ือเป-นพลเมืองดีของสังคมพหุวัฒนธรรม � � �

2 รู6และเข6าใจหลักการเกษตรศาสตร�และสามารถประยุกต�ใช6ในการปฏิบัติงานได6อย?างมีประสิทธิภาพ � � �

3 ประยุกต�การใช6เทคโนโลยีการเกษตรบนพ้ืนฐานวิทยาศาสตร�ตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถบริหารจัดการฟาร�มเกษตรได6อย?างมีศักยภาพ

� � � �

4 ปฏิบัติงานและร?วมมือกับหน?วยงานราชการและเอกชนและชุมชนได6ท้ังในประเทศหรือในกลุ?มประเทศอาเซียน

� � �

5 ประยุกต�ใช6ความรู6เพ่ือแก6ไขปpญหาด6านการเกษตรและการดําเนินชีวิตภายใต6พหุวัฒนธรรม

� � � �

6 แสวงหาความรู6เพ่ือพัฒนาตนเอง แก6ไขปpญหาและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมตามการเปลี่ยนแปลงทางวิชาการอยู?ตลอดเวลา

� � �

Page 22: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

20

ตารางท่ี AUN1-2 แสดงความสอดคลOองระหวJาง ELO กับ วิสัยทัศน และพันธกิจ ท่ี Learning outcome วิสัยทัศน ของคณะเกษตรศาสตร พันธกิจ

1 แสดงออกถึงภาวะความเป-นผู6นํา และเป-นผู6ท่ีมีจริยธรรม คุณธรรม รักองค�กร และสังคม เพ่ือเป-นพลเมืองดีของสังคมพหุวัฒนธรรม

จัดการศึกษาท่ีเป-นมาตรฐาน เป-นแหล?งเรียนรู6ของสังคม ตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มุ?งสู?อาเซียน

ผลิตบัณฑิต

2 รู6และเข6าใจหลักการเกษตรศาสตร�และสามารถประยุกต�ใช6ในการปฏิบัติงานได6อย?างมีประสิทธิภาพ

จัดการศึกษาท่ีเป-นมาตรฐาน เป-นแหล?งเรียนรู6ของสังคม ตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มุ?งสู?อาเซียน

ผลิตบัณฑิต

3 ประยุกต�การใช6เทคโนโลยีการเกษตรบนพ้ืนฐานวิทยาศาสตร�ตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถบริหารจัดการฟาร�มเกษตรได6อย?างมีศักยภาพ

จัดการศึกษาท่ีเป-นมาตรฐาน เป-นแหล?งเรียนรู6ของสังคม ตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มุ?งสู?อาเซียน

ผลิตบัณฑิต

4 ปฏิบัติงานและร?วมมือกับหน?วยงานราชการและเอกชนและชุมชนได6ท้ังในประเทศหรือในกลุ?มประเทศอาเซียน

จัดการศึกษาท่ีเป-นมาตรฐาน เป-นแหล?งเรียนรู6ของสังคม ตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มุ?งสู?อาเซียน

ผลิตบัณฑิต

5 ประยุกต�ใช6ความรู6เพ่ือแก6ไขปpญหาด6านการเกษตรและการดําเนินชีวิตภายใต6พหุวัฒนธรรม

จัดการศึกษาท่ีเป-นมาตรฐาน เป-นแหล?งเรียนรู6ของสังคม ตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มุ?งสู?อาเซียน

ผลิตบัณฑิต

6 แสวงหาความรู6เพ่ือพัฒนาตนเอง แก6ไขปpญหาและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมตามการเปลี่ยนแปลงทางวิชาการอยู?ตลอดเวลา

จัดการศึกษาท่ีเป-นมาตรฐาน เป-นแหล?งเรียนรู6ของสังคม ตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มุ?งสู?อาเซียน

ผลิตบัณฑิต

1.2 The expected learning outcomes cover both subject specific and generic (i.e. transferable) learning outcomes (3)

ผลการเรียนรู6ท่ีคาดหวังของหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเกษตรศาสตร� หลักสูตรปรับปรุง

พ.ศ. 2554 ครอบคลุมท้ังความรู6และทักษะท่ัวไป และความรู6และทักษะเฉพาะทาง ดังนี้

Page 23: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

21

ความรูOและทักษะท่ัวไป 1. แสดงออกถึงภาวะความเป-นผู6นํา และเป-นผู6ท่ีมีจริยธรรม คุณธรรม รักองค�กร และสังคม เพ่ือเป-นพลเมืองดีของสังคมพหุวัฒนธรรม

2. ปฏิบัติงานและร?วมมือกับหน?วยงานราชการและเอกชนและชุมชนได6ท้ังในประเทศหรือในกลุ?มประเทศอาเซียน

ความรูOและทักษะเฉพาะทาง 1. รู6และเข6าใจหลักการเกษตรศาสตร�และสามารถประยุกต�ใช6ในการปฏิบัติงานได6อย?างมีประสิทธิภาพ

2. ประยุกต�การใช6เทคโนโลยีการเกษตรบนพ้ืนฐานวิทยาศาสตร�ตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถบริหารจัดการฟาร�มเกษตรได6อย?างมีศักยภาพ

3. ประยุกต�ใช6ความรู6เพ่ือแก6ไขปpญหาด6านการเกษตรและการดําเนินชีวิตภายใต6พหุวัฒนธรรม

4. แสวงหาความรู6เพ่ือพัฒนาตนเอง แก6ไขปpญหาและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมตามการเปลี่ยนแปลงทางวิชาการอยู?ตลอดเวลา โดยได6กําหนดโครงสร6างเนื้อหารายวิชาเป-นหมวดวิชาศึกษาท่ัวไป หมวดรายวิชาชีพเฉพาะ และหมวดวิชาเลือกเสรี เพ่ือให6บรรลุผลการเรียนรู6ท่ีคาดหวัง

ตารางท่ี AUN1-3 ตารางแสดงความสัมพันธ ระหวJาง ELO กับ Generic and Specific ELO Statement Generic LO Specific LO

1 แสดงออกถึงภาวะความเป-นผู6นํา และเป-นผู6ท่ีมีจริยธรรม คุณธรรม รักองค�กร และสังคม เพ่ือเป-นพลเมืองดีของสังคมพหุวัฒนธรรม

2 รู6และเข6าใจหลักการเกษตรศาสตร�และสามารถประยุกต�ใช6ในการปฏิบัติงานได6อย?างมีประสิทธิภาพ

3 ประยุกต�การใช6เทคโนโลยีการเกษตรบนพ้ืนฐานวิทยาศาสตร�ตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถบริหารจัดการฟาร�มเกษตรได6อย?างมีศักยภาพ

4 ปฏิบัติงานและร?วมมือกับหน?วยงานราชการและเอกชนและชุมชนได6ท้ังในประเทศหรือในกลุ?มประเทศอาเซียน

5 ประยุกต�ใช6ความรู6เพ่ือแก6ไขปpญหาด6านการเกษตรและการดําเนินชีวิตภายใต6พหุวัฒนธรรม

6 แสวงหาความรู6เพ่ือพัฒนาตนเอง แก6ไขปpญหาและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมตามการเปลี่ยนแปลงทางวิชาการอยู?ตลอดเวลา

Page 24: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

22

Bloom’s Taxonomy R = Remembering / Understanding; A = Applying / Analyzing E = Evaluating/ Creating

1.3 The expected learning outcomes clearly reflect the requirements of the stakeholders (4) ตารางท่ี AUN1-4 ตารางแสดงความสัมพันธ ระหวJาง ELO กับ ผูOมีสJวนไดOสJวนเสียของหลักสูตร

ELO ศิษย เกJา ผูOปกครอง ผูOใชOบัณฑิต ผูOนําชุมชน สถานประกอบการ คณาจารย แสดงออกถึงภาวะความเป-นผู6นํา และเป-นผู6ท่ีมจีริยธรรม คุณธรรม รักองค�กร และสังคม เพ่ือเป-นพลเมืองดีของสังคมพหุวัฒนธรรม

� � � � �

รู6และเข6าใจหลักการเกษตรศาสตร�และสามารถประยุกต�ใช6ในการปฏิบัติงานได6อย?างมีประสิทธิภาพ

� � � �

ประยุกต�การใช6เทคโนโลยีการเกษตรบนพ้ืนฐานวิทยาศาสตร�ตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถบรหิารจัดการฟาร�มเกษตรได6อย?างมีศักยภาพ

� � �

ปฏิบัติงานและร?วมมือกับหน?วยงานราชการและเอกชนและชุมชนได6ท้ังในประเทศหรือในกลุ?มประเทศอาเซียน

� � �

ประยุกต�ใช6ความรู6เพ่ือแก6ไขปpญหาด6านการเกษตรและการดําเนินชีวิตภายใต6พหุวัฒนธรรม

� � � �

แสวงหาความรู6เพ่ือพัฒนาตนเอง แก6ไขปpญหาและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมตามการเปลี่ยนแปลงทางวิชาการอยู?ตลอดเวลา

� � �

Page 25: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

23

ตารางท่ี AUN1-5 ตารางแสดงความสัมพันธ ระหวJาง ELO กับ ความตOองการของผูOมีสJวนไดOสJวนเสีย ผู6มีส?วนได6ส?วนเสีย ELO 1 ELO 2 ELO 3 ELO 4 ELO5 ELO6

ชุมชน

- ให6เพ่ิมเรื่องฮาลาลเพ่ือให6สอดคล6องกับชุมชน �

- ให6ใช6ภาษาท6องถ่ินในการส?งเสรมิหรือสื่อสาร �

ศิษย เกJา -เพ่ิมช่ัวโมงการปฏิบัตใิห6เพ่ิมข้ึน โดยการเพ่ิมห6องปฏิบัติการ �

สถานประกอบการ

-ความรู6พ้ืนฐานและความเช่ือมโยงกับวิชาชีพด6านการเกษตร � � � �

-การทํางานเป-นกลุ?ม

ผูOปกครอง

-ความรับผิดชอบ �

ผูOใชOบัณฑิต

-การใช6สื่อสารอย?างถูกต6องในการส?งเสริมอาชีพทางการเกษตร �

-การใช6ภาษาไทยอย?างถูกต6องเหมาะสม �

ตารางท่ี AUN1-6 แสดงการวิเคราะห ของ PLO ระดับหลักสูตรกับ Knowledge Skills Competence PLO Knowledge

(Remembering, Understanding)

Skills ( Applying, Analyzing)

Competence (Evaluating, Creating)

แสดงออกถึงภาวะความเป-นผู6นํา และเป-นผู6ท่ีมจีริยธรรม คุณธรรม รักองค�กร และสังคม

เพ่ือเป-นพลเมืองดีของสังคมพหุวัฒนธรรม

-ความรู6ด6านจริยธรรม คุณธรรมในการประกอบอาชีพทางการเกษตร และการใช6ชีวิตในสังคม -ความรู6ด6านการเป-นผู6นํา

-ทักษะการเป-นผู6นํา -ทักษะการใช6การชีวิตในสังคม -ทักษะการทํางานเป-นทีม

ภาวะความเป-นผู6นํา และเป-นผู6ท่ีมีจริยธรรม คุณธรรม รักองค�กร และสังคม เพ่ือเป-นพลเมืองดีของสังคมพหุวัฒนธรรม

รู6และเข6าใจหลักการเกษตรศาสตร�และสามารถประยุกต�ใช6ในการปฏิบัติงานได6อย?างมีประสิทธิภาพ

-ความรู6ทางการเกษตร -ความรู6ด6านมนุษยสมัพันธ�เพ่ือทํางานร?วมกันกับผู6อ่ืนได6 -ความรู6ด6านการบริหาร จัดการฟาร�ม

-ทักษะทางการเกษตร -ทักษะการทํางานเป-นทีม -ทักษะการคิด วิเคราะห� และการประยุกต�ใช6ในการปฏิบัติงาน

รู6และเข6าใจหลักการเกษตรศาสตร�และสามารถประยุกต�ใช6ในการปฏิบัติงานได6อย?างมีประสิทธิภาพ

ประยุกต�การใช6เทคโนโลยีการเกษตรบนพ้ืนฐานวิทยาศาสตร�ตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถบรหิาร

-ความรู6ด6านการเกษตร -ความรู6ด6านความปลอดภัยในการปฏิบัติงานด6านการเกษตร -ความรู6ด6านการช?างเกษตร -หลักการทางการเกษตรภายใต6

-ทักษะด6านการเกษตร -ทักษะด6านความปลอดภัยในการปฏิบัติงานด6านการเกษตร -ทักษะด6านการช?างเกษตร

ประยุกต�การใช6เทคโนโลยีการเกษตรบนพ้ืนฐานวิทยาศาสตร�ตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถบริหารจัดการฟาร�ม

Page 26: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

24

PLO Knowledge (Remembering, Understanding)

Skills ( Applying, Analyzing)

Competence (Evaluating, Creating)

จัดการฟาร�มเกษตรได6อย?างมีศักยภาพ

แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม? -ความรู6ด6านเศรษฐศาสตร�และธุรกิจเกษตร

เกษตรได6อย?างมีศักยภาพ

ปฏิบัติงานและร?วมมือกับหน?วยงานราชการและเอกชนและชุมชนได6ท้ังในประเทศหรือในกลุ?มประเทศอาเซียน

-หลักความรู6ด6านการเกษตร -ความรู6เก่ียวกับด6านการทํางานและการดํารงชีวิตภายใต6ความหลากหลายทางวัฒนธรรม -ความรู6ด6านอาเซียนศึกษา

-ทักษะด6านการเกษตร -ทักษะด6านการใช6ชีวิต -ทักษะด6านการทํางานและดําเนินชีวิตภายใต6ความหลากหลายทางวัฒนธรรม

ปฏิบัติงานและร?วมมือกับหน?วยงานราชการและเอกชนและชุมชนได6ท้ังในประเทศหรือในกลุ?มประเทศอาเซียน

ประยุกต�ใช6ความรู6เพ่ือแก6ไขปpญหาด6านการเกษตรและการดําเนินชีวิตภายใต6พหุวัฒนธรรม

- ความรู6ด6านการผลิตพืช หรือด6านการผลติสัตว�ท่ีสอดคล6องกับความต6องการของท6องถ่ิน

- ทักษะด6านการผลิตพืช หรือด6านการผลติสัตว� - ทักษะด6านการผลิตให6สอดคล6องกับท6องถ่ินและชุมชน

พัฒนาด6านการเกษตรท่ีสอดคล6องกับวิถีชีวิตและความต6องการของท6องถ่ิน

แสวงหาความรู6เพ่ือพัฒนาตนเอง แก6ไขปpญหาและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมตามการเปลี่ยนแปลงทางวิชาการอยู?ตลอดเวลา

- - ทักษะ

วิเคราะห�และแก6ไขปpญหาในสถานการณ�ต?างๆได6

ตารางท่ี AUN1-7 ความสัมพันธ ของการจัดการการเรียนการสอน การวัดและการประเมินผลการเรียนรูOท่ีคาดหวังกับรายวิชา

order code Name of course LO1 LO2 LO3 LO4 LO5 LO6 1 06-154-201 หลักการผลิตพืช

(Principles of Plant Production)

CLO แสดงซ่ึงความรับผิดชอบ ตรงต?อเวลา

CLO ความรู6เกี่ยวกับการผลิตพืช

2 06-154-202 หลักเศรษฐกจิพอเพียงและทฤษฏีใหม? (Principles of Sufficient Economy and Royal Theory)

CLO แสดงซ่ึงความรับผิดชอบ ตรงต?อเวลา

CLO ความรู6เกี่ยวกับการผลิตพืช

CLO เข6าใจการเกษตรบนพ้ืนฐานวิทยาศาสตร�ตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

CLO ทํางานกับผู6อื่นได6

3 06-154-203 การส?งเสรมิการเกษตรและสหกรณ�การเกษตร (Agricultural Extensions and Cooperatives)

CLO แสดงซ่ึงความรับผิดชอบ ตรงต?อเวลา

CLO ความรู6เกี่ยวกับการการส?งเสรมิการเกษตร

CLO เข6าใจการเกษตรบนพ้ืนฐานวิทยาศาสตร�ตามแนวคิดปรัชญาของ

Page 27: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

25

order code Name of course LO1 LO2 LO3 LO4 LO5 LO6 เศรษฐกิจพอเพียง

4 06-154-204 ปฐพีวิทยาเบ้ืองต6น (Introduction to Soil Science)

CLO แสดงซ่ึงความรับผิดชอบ ตรงต?อเวลา

CLO ความรู6เกี่ยวกับดิน

CLO เข6าใจการเกษตรบนพ้ืนฐานวิทยาศาสตร�ตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

5 06-154-205 การจดัการเกษตรแบบฮาลาล (Halal Agricultural Management)

CLO แสดงซ่ึงความรับผิดชอบ ตรงต?อเวลา

CLO ความรู6เกี่ยวกับการจดัการการเกษตรแบบฮาลาล

CLO เข6าใจการเกษตรบนพ้ืนฐานวิทยาศาสตร�ตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ประยุกต�ใช6ความรู6เพ่ือแก6ไขปpญหาด6านการเกษตรและการดําเนินชีวิตภายใต6พหุวัฒนธรรม

6 06-164-201 หลักการผลิตสัตว� (Principles of Animal Production)

CLO แสดงซ่ึงความรับผิดชอบ ตรงต?อเวลา

CLO ความรู6เกี่ยวกับสัตว�เบ้ืองต6น

CLO เข6าใจการผลิตสัตว�บนพ้ืนฐานวิทยาศาสตร�ตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

7 06-164-202 ทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศทางการเกษตร (Natural Resources and Agro-ecosystem)

CLO แสดงซ่ึงความรับผิดชอบ ตรงต?อเวลา

CLO ความรู6เกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศ

CLO เข6าใจการจัดการทรัพยากรธรรมชาติบนพ้ืนฐานวิทยาศาสตร�ตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

8 06-164-203 สถิติสําหรับการวจิัยทางการเกษตร (Statistics for Agricultural Research)

CLO แสดงซ่ึงความรับผิดชอบ ตรงต?อเวลา

CLO ความรู6เกี่ยวกับการวจิัยทางการเกษตร

9 06-164-204 การจดัการธรุกจิเกษตร (Agribusiness Management)

CLO แสดงซ่ึงความรับผิดชอบ ตรงต?อเวลา

CLO ความรู6เกี่ยวกับการจดัการธรุกจิเกษตร

CLO เข6าใจการเกษตรบนพ้ืนฐานวิทยาศาสตร�ตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

CLO ทํางานกับผู6อื่นได6

CLO แก6ไขปpญหาและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมตามการเปล่ียนแปลงทางวิชาการอยู?ตลอดเวลา

Page 28: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

26

order code Name of course LO1 LO2 LO3 LO4 LO5 LO6 10 06-254-201 สรีรวทิยาของพืช

(Plant Physiology) CLO แสดงซ่ึงความรับผิดชอบ ตรงต?อเวลา

CLO ความรู6เกี่ยวกับการผลิตพืช

CLO ทักษะการผลิตพืช

CLO ทํางานกับผู6อื่นได6

CLO แก6ไขปpญหาและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมตามการเปล่ียนแปลงทางวิชาการอยู?ตลอดเวลา

11 06-254-202 กีฏวทิยาเบ้ืองต6น (Introduction to Entomology)

CLO แสดงซ่ึงความรับผิดชอบ ตรงต?อเวลา

CLO ความรู6เกี่ยวกับแมลงเบ้ืองต6น

CLO ทํางานกับผู6อื่นได6

CLO แก6ไขปpญหาและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมตามการเปล่ียนแปลงทางวิชาการอยู?ตลอดเวลา

12 06-254-203 โรคพืชเบ้ืองต6น (Introduction to Plant Pathology)

CLO แสดงซ่ึงความรับผิดชอบ ตรงต?อเวลา

CLO ความรู6เกี่ยวกับการจดัการโรคพืชเบ้ืองต6น

CLO ทํางานกับผู6อื่นได6

CLO แก6ไขปpญหาและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมตามการเปล่ียนแปลงทางวิชาการอยู?ตลอดเวลา

13 06-254-204 อุตุนิยมวทิยาทางการเกษตร (Agricultural Meteorology)

CLO แสดงซ่ึงความรับผิดชอบ ตรงต?อเวลา

CLO ความรู6เกี่ยวกับอุตุนิยมวทิยา ความรู6เกี่ยวการผลิตพืช

CLO ทักษะการค6นคว6า วิเคราะห� สังเคราะห�

CLO ทํางานกับผู6อื่นได6

CLO แก6ไขปpญหาและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมตามการเปล่ียนแปลงทางวิชาการอยู?ตลอดเวลา

14 06-254-205 สารควบคุมการเจรญิเติบโตของพืช (Plant Growth Regulators)

CLO แสดงซ่ึงความรับผิดชอบ ตรงต?อเวลา

CLO ความรู6เกี่ยวกับเกี่ยวการผลิตพืช

CLO ทักษะการผลิตพืช

CLO ทํางานกับผู6อื่นได6

CLO แก6ไขปpญหาและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมตามการเปล่ียนแปลงทางวิชาการอยู?ตลอดเวลา

15 06-254-206 พืชไร?เศรษฐกจิ (Economic Field Crop)

CLO แสดงซ่ึงความรับผิดชอบ ตรงต?อเวลา

CLO ความรู6เกี่ยวกับเกี่ยวการผลิตพืช

CLO ทักษะการผลิตพืช

CLO ทํางานกับผู6อื่นได6

CLO แก6ไขปpญหาและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมตามการเปล่ียนแปลงทางวิชาการอยู?ตลอดเวลา

Page 29: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

27

order code Name of course LO1 LO2 LO3 LO4 LO5 LO6 16 06-254-207 พืชสวนเศรษฐกิจ

(Economic Horticulture)

CLO แสดงซ่ึงความรับผิดชอบ ตรงต?อเวลา

CLO ความรู6เกี่ยวกับเกี่ยวการผลิตพืช

CLO ทักษะการผลิตพืช

CLO ทํางานกับผู6อื่นได6

CLO แก6ไขปpญหาและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมตามการเปล่ียนแปลงทางวิชาการอยู?ตลอดเวลา

17 06-254-208 หลักการปรับปรุงพันธุ�พืช (Principle of Plant Breeding)

CLO แสดงซ่ึงความรับผิดชอบ ตรงต?อเวลา

CLO ความรู6เกี่ยวกับเกี่ยวการผลิตพืช

CLO ทักษะการผลิตพืช

CLO ทํางานกับผู6อื่นได6

CLO แก6ไขปpญหาและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมตามการเปล่ียนแปลงทางวิชาการอยู?ตลอดเวลา

18 06-254-209 วัชพืชและการจัดการ (Weeds and Weed Management)

CLO แสดงซ่ึงความรับผิดชอบ ตรงต?อเวลา

CLO ความรู6เกี่ยวกับเกี่ยวการผลิตพืช

CLO CLO ทักษะการค6นคว6า วิเคราะห� สังเคราะห�เรือ่งวัชพืช และการจัดการ

CLO ทํางานกับผู6อื่นได6

CLO แก6ไขปpญหาและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมตามการเปล่ียนแปลงทางวิชาการอยู?ตลอดเวลา

19 06-254-260 สัมมนา (Seminar)

CLO แสดงซ่ึงความรับผิดชอบ ตรงต?อเวลา

CLO ความรู6เกี่ยวกับเกี่ยวการผลิตพืช

CLO CLO ทักษะการค6นคว6า วิเคราะห� สังเคราะห�

CLO ทํางานกับผู6อื่นได6

CLO แก6ไขปpญหาด6านการเกษตรและการดําเนนิชีวิตภายใต6พหุวัฒนธรรม

CLO แก6ไขปpญหาและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมตามการเปล่ียนแปลงทางวิชาการอยู?ตลอดเวลา

20 06-254-280 ฝwกปฏิบัติงานด6านพืช 1 (Plant Science Practice I)

CLO แสดงซ่ึงความรับผิดชอบ ตรงต?อเวลา

CLO ความรู6เกี่ยวกับเกี่ยวการผลิตพืช

CLO CLO ทักษะการค6นคว6า วิเคราะห� สังเคราะห�

CLO ทํางานกับผู6อื่นได6

21 06-254-281 ฝwกปฏิบัติงานด6านพืช 2 (Plant Science Practice II)

CLO แสดงซ่ึงความรับผิดชอบ ตรงต?อเวลา

CLO ความรู6เกี่ยวกับเกี่ยวการผลิตพืช

CLO CLO ทักษะการค6นคว6า วิเคราะห� สังเคราะห�

CLO ทํางานกับผู6อื่นได6

22 06-254-282 ฝwกปฏิบัติงานด6านพืช 3 (Plant Science Practice III)

CLO แสดงซ่ึงความรับผิดชอบ ตรงต?อเวลา

CLO ความรู6เกี่ยวกับเกี่ยวการผลิตพืช

CLO CLO ทักษะการค6นคว6า วิเคราะห� สังเคราะห�

CLO ทํางานกับผู6อื่นได6

CLO แก6ไขปpญหาด6านการเกษตรและการดําเนนิชีวิตภายใต6พหุวัฒนธรรม

CLO แก6ไขปpญหาและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมตามการเปล่ียนแปลง

Page 30: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

28

order code Name of course LO1 LO2 LO3 LO4 LO5 LO6 ทางวิชาการอยู?ตลอดเวลา

23 06-264-280 ฝwกปฏิบัติงานด6านสัตว� 1 (Animal Science Practice I)

CLO แสดงซ่ึงความรับผิดชอบ ตรงต?อเวลา

CLO ความรู6เกี่ยวกับเกี่ยวการผลิตสัตว�

CLO CLO ทักษะการค6นคว6า วิเคราะห� สังเคราะห�

CLO ทํางานกับผู6อื่นได6

24 06-354-201 การขยายพันธุ�พืช (Plant Propagation)

CLO แสดงซ่ึงความรับผิดชอบ ตรงต?อเวลา

CLO ความรู6เกี่ยวกับเกี่ยวการผลิตพืช

CLO CLO ทักษะการค6นคว6า วิเคราะห� สังเคราะห�

CLO ทํางานกับผู6อื่นได6

CLO แก6ไขปpญหาด6านการเกษตรและการดําเนนิชีวิตภายใต6พหุวัฒนธรรม

CLO แก6ไขปpญหาและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมตามการเปล่ียนแปลงทางวิชาการอยู?ตลอดเวลา

25 06-354-202 หลักการจัดการศัตรูพืชแบบบูรณาการ (Principles of Pest Integral Management)

CLO แสดงซ่ึงความรับผิดชอบ ตรงต?อเวลา

CLO ความรู6เกี่ยวกับเกี่ยวการผลิตพืช

CLO CLO ทักษะการค6นคว6า วิเคราะห� สังเคราะห�

CLO ทํางานกับผู6อื่นได6

CLO แก6ไขปpญหาด6านการเกษตรและการดําเนนิชีวิตภายใต6พหุวัฒนธรรม

CLO แก6ไขปpญหาและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมตามการเปล่ียนแปลงทางวิชาการอยู?ตลอดเวลา

26 06-354-203 การอนรุักษ�และการใช6ประโยชน�ทรัพยากรพันธุกรรมพืช (Conservation and Usage of Plant Genetic Resources)

CLO แสดงซ่ึงความรับผิดชอบ ตรงต?อเวลา

CLO ความรู6เกี่ยวกับเกี่ยวการผลิตพืช

CLO CLO ทักษะการค6นคว6า วิเคราะห� สังเคราะห�

CLO ทํางานกับผู6อื่นได6

CLO แก6ไขปpญหาด6านการเกษตร

CLO แก6ไขปpญหาและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมตามการเปล่ียนแปลง

27 06-354-204 เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว (Postharvest Technology)

CLO แสดงซ่ึงความรับผิดชอบ ตรงต?อเวลา

CLO ความรู6เกี่ยวกับเกี่ยวการผลิตพืช

CLO CLO ทักษะการค6นคว6า วิเคราะห� สังเคราะห�

CLO ทํางานกับผู6อื่นได6

CLO แก6ไขปpญหาด6านการเกษตร

CLO แก6ไขปpญหาและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมตามการเปล่ียนแปลง

28 06-354-205 ความอุดมสมบูรณ�ของดิน (Soil Fertility)

CLO แสดงซ่ึงความรับผิดชอบ ตรงต?อเวลา

CLO ความรู6เกี่ยวกับเกี่ยวการจดัการดิน

CLO CLO ทักษะการค6นคว6า วิเคราะห� สังเคราะห�

CLO ทํางานกับผู6อื่นได6

CLO แก6ไขปpญหาด6านการเกษตร

CLO แก6ไขปpญหาและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมตามการเปล่ียนแปลง

29 06-354-206 ไม6ผลเมืองร6อน (Tropical Fruit Crops)

CLO แสดงซ่ึงความรับผิดชอบ ตรงต?อเวลา

CLO ความรู6เกี่ยวกับเกี่ยวการผลิตพืช

CLO CLO ทักษะการค6นคว6า วิเคราะห� สังเคราะห�

CLO ทํางานกับผู6อื่นได6

CLO แก6ไขปpญหาด6านการเกษตร

CLO แก6ไขปpญหาและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมตามการ

Page 31: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

29

order code Name of course LO1 LO2 LO3 LO4 LO5 LO6 เปล่ียนแปลง

30 06-354-207 เทคโนโลยีเมล็ดพันธุ� (Seeds Technology)

CLO แสดงซ่ึงความรับผิดชอบ ตรงต?อเวลา

CLO ความรู6เกี่ยวกับเกี่ยวการผลิตพืช

CLO CLO ทักษะการค6นคว6า วิเคราะห� สังเคราะห�

CLO ทํางานกับผู6อื่นได6

CLO แก6ไขปpญหาด6านการเกษตร

CLO แก6ไขปpญหาและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมตามการเปล่ียนแปลง

31 06-354-208 การผลิตผักเศรษฐกิจ (Economic Vegetable Production)

CLO แสดงซ่ึงความรับผิดชอบ ตรงต?อเวลา

CLO ความรู6เกี่ยวกับเกี่ยวการผลิตพืช

CLO CLO ทักษะการค6นคว6า วิเคราะห� สังเคราะห�

CLO ทํางานกับผู6อื่นได6

CLO แก6ไขปpญหาด6านการเกษตร

CLO แก6ไขปpญหาและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมตามการเปล่ียนแปลง

32 06-354-209 ไม6ดอกไม6ประดับ (Ornamental and Flowering Plants)

CLO แสดงซ่ึงความรับผิดชอบ ตรงต?อเวลา

CLO ความรู6เกี่ยวกับเกี่ยวการผลิตพืช

CLO CLO ทักษะการค6นคว6า วิเคราะห� สังเคราะห�

CLO ทํางานกับผู6อื่นได6

CLO แก6ไขปpญหาด6านการเกษตร

CLO แก6ไขปpญหาและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมตามการเปล่ียนแปลง

33 06-354-210 วิทยาการกล6วยไม6 (Orchidology)

CLO แสดงซ่ึงความรับผิดชอบ ตรงต?อเวลา

CLO ความรู6เกี่ยวกับเกี่ยวการผลิตพืช

CLO CLO ทักษะการค6นคว6า วิเคราะห� สังเคราะห�

CLO ทํางานกับผู6อื่นได6

CLO แก6ไขปpญหาด6านการเกษตร

CLO แก6ไขปpญหาและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมตามการเปล่ียนแปลง

34 06-354-211 การจดัสวนและภูมิทัศน� (Landscape Management)

CLO แสดงซ่ึงความรับผิดชอบ ตรงต?อเวลา

CLO ความรู6เกี่ยวกับเกี่ยวการผลิตพืช

CLO CLO ทักษะการค6นคว6า วิเคราะห� สังเคราะห�

CLO ทํางานกับผู6อื่นได6

CLO แก6ไขปpญหาด6านการเกษตร

CLO แก6ไขปpญหาและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมตามการเปล่ียนแปลง

35 06-354-212 การจดัการสถานเพาะชํา (Nursing Management)

CLO แสดงซ่ึงความรับผิดชอบ ตรงต?อเวลา

CLO ความรู6เกี่ยวกับเกี่ยวการผลิตพืช

CLO CLO ทักษะการค6นคว6า วิเคราะห� สังเคราะห�

CLO ทํางานกับผู6อื่นได6

CLO แก6ไขปpญหาด6านการเกษตร

CLO แก6ไขปpญหาและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมตามการเปล่ียนแปลง

36 06-354-213 การผลิตปาล�มน้ํามนั (Oil Palm Production)

CLO แสดงซ่ึงความรับผิดชอบ ตรงต?อเวลา

CLO ความรู6เกี่ยวกับเกี่ยวการผลิตพืช

CLO ทักษะการค6นคว6า วิเคราะห� สังเคราะห�

CLO ทํางานกับผู6อื่นได6

CLO แก6ไขปpญหาด6านการเกษตร

CLO แก6ไขปpญหาและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมตามการเปล่ียนแปลง

37 06-354-214 การผลิตยางพารา (Para Rubber Production)

CLO แสดงซ่ึงความรับผิดชอบ ตรงต?อเวลา

CLO ความรู6เกี่ยวกับเกี่ยวการผลิตพืช

CLO ทักษะการค6นคว6า วิเคราะห� สังเคราะห�

CLO ทํางานกับผู6อื่นได6

CLO แก6ไขปpญหาด6านการเกษตร

CLO แก6ไข

38 06-354-215 หัวข6อพิเศษทางพืช CLO แสดงซ่ึงความ CLO ความรู6เกี่ยวกับ CLO ทักษะการ CLO CLO แก6ไข CLO แก6ไข

Page 32: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

30

order code Name of course LO1 LO2 LO3 LO4 LO5 LO6 ศาสตร� (Selected Topics in Plant Science)

รับผิดชอบ ตรงต?อเวลา

เกี่ยวการผลิตพืช ค6นคว6า วิเคราะห� สังเคราะห�

ทํางานกับผู6อื่นได6

ปpญหาด6านการเกษตร

ปpญหาและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมตามการเปล่ียนแปลง

39 06-354-261 ปpญหาพิเศษ (Special Problems)

CLO แสดงซ่ึงความรับผิดชอบ ตรงต?อเวลา

CLO ความรู6เกี่ยวกับเกี่ยวการผลิตพืช

CLO ทักษะการค6นคว6า วิเคราะห� สังเคราะห�

CLO ทํางานกับผู6อื่นได6

CLO แก6ไขปpญหาด6านการเกษตร

CLO แก6ไขปpญหาและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมตามการเปล่ียนแปลง

40 06-354-262 สหกิจศึกษา (Cooperatives Education)

CLO แสดงซ่ึงความรับผิดชอบ ตรงต?อเวลา

CLO ความรู6เกี่ยวกับเกี่ยวการผลิตพืช

CLO ทักษะการค6นคว6า วิเคราะห� สังเคราะห�

CLO ทํางานกับผู6อื่นได6

CLO แก6ไขปpญหาด6านการเกษตร

CLO แก6ไขปpญหาและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมตามการเปล่ียนแปลง

41 06-264-201 อาหารและการประกอบสูตรอาหารสัตว� (Feed and Ration Formulations)

CLO แสดงซ่ึงความรับผิดชอบ ตรงต?อเวลา

CLO ความรู6เกี่ยวกับเกี่ยวการจดัการอาหารสัตว�

CLO ทักษะการค6นคว6า วิเคราะห� สังเคราะห�

CLO ทํางานกับผู6อื่นได6

CLO แก6ไขปpญหาและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมตามการเปล่ียนแปลง

42 06-264-202 สรีรวทิยาและกายวิภาคของสัตว� (Animal Physiology and Anatomy )

CLO แสดงซ่ึงความรับผิดชอบ ตรงต?อเวลา

CLO ความรู6เกี่ยวกับเกี่ยวการผลิตสัตว�

CLO ทักษะการค6นคว6า วิเคราะห� สังเคราะห�

CLO ทํางานกับผู6อื่นได6

43 06-264-203 การผสมเทียม (Artificial Insemination)

CLO แสดงซ่ึงความรับผิดชอบ ตรงต?อเวลา

CLO ความรู6เกี่ยวกับเกี่ยวการผลิตสัตว�

CLO ทักษะการค6นคว6า วิเคราะห� สังเคราะห�

CLO ทํางานกับผู6อื่นได6

CLO แก6ไขปpญหาและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมตามการเปล่ียนแปลง

44 06-264-204 โรคและการปvองกันโรคสัตว� (Disease and Prevention of Animal Disease)

CLO แสดงซ่ึงความรับผิดชอบ ตรงต?อเวลา

CLO ความรู6เกี่ยวกับเกี่ยวการผลิตสัตว�

CLO ทักษะการค6นคว6า วิเคราะห� สังเคราะห�

45 06-264-205 หลักการปรับปรุงพันธุ�สัตว� (Principle of Animal Breeding)

CLO แสดงซ่ึงความรับผิดชอบ ตรงต?อเวลา

CLO ความรู6เกี่ยวกับเกี่ยวการผลิตสัตว�

CLO ทักษะการค6นคว6า วิเคราะห� สังเคราะห�

46 06-264-206 การผลิตสัตว�ปFก (Poultry Production)

CLO แสดงซ่ึงความรับผิดชอบ ตรงต?อเวลา

CLO ความรู6เกี่ยวกับเกี่ยวการผลิตสัตว�

CLO ทักษะการค6นคว6า วิเคราะห� สังเคราะห�

CLO ทํางานกับผู6อื่นได6

47 06-264-207 การผลิตสัตว�เค้ียว CLO แสดงซ่ึงความ CLO ความรู6เกี่ยวกับ CLO ทักษะการ CLO

Page 33: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

31

order code Name of course LO1 LO2 LO3 LO4 LO5 LO6 เอื้องขนาดเล็ก (Small Ruminant Production)

รับผิดชอบ ตรงต?อเวลา

เกี่ยวการผลิตสัตว� ค6นคว6า วิเคราะห� สังเคราะห�

ทํางานกับผู6อื่นได6

48 06-264-208 การผลิตสัตว�เค้ียวเอื้องขนาดใหญ? (Large Ruminant Production)

CLO แสดงซ่ึงความรับผิดชอบ ตรงต?อเวลา

CLO ความรู6เกี่ยวกับเกี่ยวการผลิตสัตว�

CLO ทักษะการค6นคว6า วิเคราะห� สังเคราะห�

CLO ทํางานกับผู6อื่นได6

49 06-264-209 การแปรรูปผลผลิตจากสัตว�ตามหลักอิสลาม (Animal Product Processing of Islamic Principle)

CLO แสดงซ่ึงความรับผิดชอบ ตรงต?อเวลา

CLO ความรู6เกี่ยวกับเกี่ยวการผลิตสัตว�

CLO ทักษะการค6นคว6า วิเคราะห� สังเคราะห�

CLO ทํางานกับผู6อื่นได6

CLO แก6ไขปpญหาด6านการเกษตร

CLO แก6ไขปpญหาและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมตามการเปล่ียนแปลง

50

06-264-260 สัมมนา (Seminar)

CLO แสดงซ่ึงความรับผิดชอบ ตรงต?อเวลา

CLO ความรู6เกี่ยวกับเกี่ยวการผลิตสัตว�

CLO ทักษะการค6นคว6า วิเคราะห� สังเคราะห�

CLO ทํางานกับผู6อื่นได6

CLO แก6ไขปpญหาด6านการเกษตร

CLO แก6ไขปpญหาและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมตามการเปล่ียนแปลง

51 06-264-280 ฝwกปฏิบัติงานด6านสัตว� 1 (Animal Science Practice I)

CLO แสดงซ่ึงความรับผิดชอบ ตรงต?อเวลา

CLO ความรู6เกี่ยวกับเกี่ยวการผลิตสัตว�

CLO ทักษะการค6นคว6า วิเคราะห� สังเคราะห�

CLO ทํางานกับผู6อื่นได6

CLO แก6ไขปpญหาด6านการเกษตร

52 06-264-281 ฝwกปฏิบัติงานด6านสัตว� 2 (Animal Science Practice II)

CLO แสดงซ่ึงความรับผิดชอบ ตรงต?อเวลา

CLO ความรู6เกี่ยวกับเกี่ยวการผลิตสัตว�

CLO ทักษะการค6นคว6า วิเคราะห� สังเคราะห�

CLO ทํางานกับผู6อื่นได6

CLO แก6ไขปpญหาด6านการเกษตร

53 06-264-282 ฝwกปฏิบัติงานด6านสัตว� 3 (Animal Science Practice III)

CLO แสดงซ่ึงความรับผิดชอบ ตรงต?อเวลา

CLO ความรู6เกี่ยวกับเกี่ยวการผลิตสัตว�

CLO ทักษะการค6นคว6า วิเคราะห� สังเคราะห�

CLO ทํางานกับผู6อื่นได6

CLO แก6ไขปpญหาด6านการเกษตร

CLO แก6ไขปpญหาและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมตามการเปล่ียนแปลง

54 06-254-280 ฝwกปฏิบัติงานด6านพืช 1 (Plant Science Practice I)

CLO แสดงซ่ึงความรับผิดชอบ ตรงต?อเวลา

CLO ความรู6เกี่ยวกับเกี่ยวการผลิตพืช

CLO CLO ทักษะการค6นคว6า วิเคราะห� สังเคราะห�

55 06-364-201 การผลิตสุกร (Swine Production)

CLO แสดงซ่ึงความรับผิดชอบ ตรงต?อเวลา

CLO ความรู6เกี่ยวกับเกี่ยวการผลิตสัตว�

CLO ทักษะการค6นคว6า วิเคราะห� สังเคราะห�

CLO ทํางานกับผู6อื่นได6

CLO แก6ไขปpญหาด6านการเกษตร

CLO แก6ไขปpญหาและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมตามการเปล่ียนแปลง

56 06-364-202 การฟpกไข?และการจัดการโรงฟpก (Incubation and Hatchery

CLO แสดงซ่ึงความรับผิดชอบ ตรงต?อเวลา

CLO ความรู6เกี่ยวกับเกี่ยวการผลิตสัตว�

CLO ทักษะการค6นคว6า วิเคราะห� สังเคราะห�

CLO ทํางานกับผู6อื่นได6

CLO แก6ไขปpญหาด6านการเกษตร

CLO แก6ไขปpญหาและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม

Page 34: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

32

order code Name of course LO1 LO2 LO3 LO4 LO5 LO6 Management) ตามการ

เปล่ียนแปลง 57 06-364-203 พืชอาหารสัตว�และ

การจดัการทุ?งหญ6า (Forage Crops and Pasture Management)

CLO แสดงซ่ึงความรับผิดชอบ ตรงต?อเวลา

CLO ความรู6เกี่ยวกับเกี่ยวการผลิตสัตว�

CLO ทักษะการค6นคว6า วิเคราะห� สังเคราะห�

CLO ทํางานกับผู6อื่นได6

CLO แก6ไขปpญหาด6านการเกษตร

58 06-364-204 พฤติกรรมและสวัสดิภาพของสัตว� (Behavior and Welfare of Domestic Animals)

CLO แสดงซ่ึงความรับผิดชอบ ตรงต?อเวลา

CLO ความรู6เกี่ยวกับเกี่ยวการผลิตสัตว�

CLO ทักษะการค6นคว6า วิเคราะห� สังเคราะห�

CLO ทํางานกับผู6อื่นได6

59 06-364-205 เทคโนโลยีชีวภาพสําหรับการผลิตสัตว� (Biotechnology for Animal Production)

CLO แสดงซ่ึงความรับผิดชอบ ตรงต?อเวลา

CLO ความรู6เกี่ยวกับเกี่ยวการผลิตสัตว�

CLO ทักษะการค6นคว6า วิเคราะห� สังเคราะห�

CLO ทํางานกับผู6อื่นได6

CLO แก6ไขปpญหาและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมตามการเปล่ียนแปลง

60 06-364-206 การวางแผนและการวิเคราะห�โครงการเล้ียงสัตว� (Animal Production Project Planning and Analysis)

CLO แสดงซ่ึงความรับผิดชอบ ตรงต?อเวลา

CLO ความรู6เกี่ยวกับเกี่ยวการผลิตสัตว�

CLO ทักษะการค6นคว6า วิเคราะห� สังเคราะห�

CLO ทํางานกับผู6อื่นได6

CLO แก6ไขปpญหาด6านการเกษตร

CLO แก6ไขปpญหาและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมตามการเปล่ียนแปลง

61 06-364-207 ผลิตภัณฑ�สัตว� (Animal Products)

CLO แสดงซ่ึงความรับผิดชอบ ตรงต?อเวลา

CLO ความรู6เกี่ยวกับเกี่ยวการผลิตสัตว�

CLO ทักษะการค6นคว6า วิเคราะห� สังเคราะห�

CLO ทํางานกับผู6อื่นได6

CLO แก6ไขปpญหาและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมตามการเปล่ียนแปลง

62 06-364-208 ยาและการใช6ยาในสัตว� (Animal Drugs and Usage)

CLO แสดงซ่ึงความรับผิดชอบ ตรงต?อเวลา

CLO ความรู6เกี่ยวกับเกี่ยวการผลิตสัตว�

CLO ทักษะการค6นคว6า วิเคราะห� สังเคราะห�

CLO ทํางานกับผู6อื่นได6

CLO แก6ไขปpญหาด6านการเกษตร

63 06-364-209 การผลิตสัตว�น้ํา (Aquaculture)

CLO แสดงซ่ึงความรับผิดชอบ ตรงต?อเวลา

CLO ความรู6เกี่ยวกับเกี่ยวการผลิตสัตว�

CLO ทักษะการค6นคว6า วิเคราะห� สังเคราะห�

CLO ทํางานกับผู6อื่นได6

64 06-364-210 การอนรุักษ�และการผลิตนกเขาและนกกรงหัวจุก (Conservation and Production of Dove and Red Whiskered Bulbul)

CLO แสดงซ่ึงความรับผิดชอบ ตรงต?อเวลา

CLO ความรู6เกี่ยวกับเกี่ยวการผลิตสัตว�

CLO ทักษะการค6นคว6า วิเคราะห� สังเคราะห�

CLO ทํางานกับผู6อื่นได6

65 06-364-211 หัวข6อพิเศษทางสัตว CLO แสดงซ่ึงความ CLO ความรู6เกี่ยวกับ CLO ทักษะการ CLO CLO แก6ไข CLO แก6ไข

Page 35: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

33

order code Name of course LO1 LO2 LO3 LO4 LO5 LO6 ศาสตร� (Selected Topics in Animal Science)

รับผิดชอบ ตรงต?อเวลา

เกี่ยวการผลิตสัตว� ค6นคว6า วิเคราะห� สังเคราะห�

ทํางานกับผู6อื่นได6

ปpญหาด6านการเกษตร

ปpญหาและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมตามการเปล่ียนแปลง

66 06-364-261 ปpญหาพิเศษ (Special Problems)

CLO แสดงซ่ึงความรับผิดชอบ ตรงต?อเวลา

CLO ความรู6เกี่ยวกับเกี่ยวการผลิตสัตว�

CLO ทักษะการค6นคว6า วิเคราะห� สังเคราะห�

CLO ทํางานกับผู6อื่นได6

CLO แก6ไขปpญหาด6านการเกษตร

CLO แก6ไขปpญหาและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมตามการเปล่ียนแปลง

67 06-364-262 สหกิจศึกษา (Cooperatives Education)

CLO แสดงซ่ึงความรับผิดชอบ ตรงต?อเวลา

CLO ความรู6เกี่ยวกับเกี่ยวการผลิตสัตว�

CLO ทักษะการค6นคว6า วิเคราะห� สังเคราะห�

CLO ทํางานกับผู6อื่นได6

CLO แก6ไขปpญหาด6านการเกษตร

CLO แก6ไขปpญหาและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมตามการเปล่ียนแปลง

หลักฐานแสดงผลการดําเนินงาน

รหัสหลักฐาน ช่ือหลักฐาน 1.1-1 มคอ. 2 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเกษตรศาสตร� หลักสูตรใหม? พ.ศ. 2551

1.1-2 มคอ. 2 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเกษตรศาสตร� หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554

1.2-1 รายงานแบบสอบถาม และการประชุม ระหว?างคณะฯ ผู6ใช6บัณฑิต ศิษย�เก?า ศิษย�ปpจจุบัน

1.2-2 รายงานแบบสอบถามจากศิษย�ปpจจุบัน

1.3-1 มคอ. 2 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเกษตรศาสตร� หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559

1.3-2 website ของคณะเกษตรศาสตร�

1.3-3 ตารางเปรียบเทียบการปรบปรุงรายวิชา

Page 36: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

34

ผลการประเมินตนเอง AUN-1 ผลการเรียนรูOท่ีคาดหวัง (Expected Learning Outcomes)

AUN-QA Criterion 1 – Checklist Level 1 2 3 4 5 6 7

1.1 The expected learning outcomes have been clearly formulated and aligned with the vision and mission of the university (1,2)

1.2 The expected learning outcomes cover both subject specific and generic (i.e. transferable) learning outcomes (3)

1.3 The expected learning outcomes clearly reflect the requirements of the stakeholders (4)

ความคิดเห็นโดยรวม (Overall opinion) 3

Page 37: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

35

AUN - QA criterion 2 ขOอกําหนดของหลักสูตร (Program Specification)

Sub Criterion 2 1. The Institution is recommended to publish and communicate the programme and

course specifications for each programme it offers, and give detailed information about the programmed to help stakeholders make an informed choice about the programme.

2. Programme specification including course specifications describes the expected learning outcomes in terms of knowledge, skills and attitudes. They help students to understand the teaching and learning methods that enable the outcome to be achieved; the assessment methods that enable achievement to be demonstrated; and the relationship of the programme and its study elements.

ผลการดําเนินงาน

2.1 The information in the programme specification is comprehensive and up-to-date (1, 2)

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเกษตรศาสตร� หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554 ได6ปรับปรุงมาจากหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเกษตรศาสตร� หลักสูตรใหม? พ.ศ. 2551 และในปF 2559 ได6ปรับปรุงหลักสูตรหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเกษตรศาสตร� หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554 เป-น หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเกษตรศาสตร� หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559 เพื่อให6มีความทันสมัย ทันต?อการเปลี่ยนแปลง โดยนําข6อมูลมาจากความคิดเห็นของผู6มีส?วนได6ส?วนเสีย การวิเคราะห�สถานการณ� และมีการวิพากษ�หลักสูตรโดยผู6ทรงคุณวุฒิ เสนอต?อสภาวิชาการ สภามหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร� และสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาตามลําดับ เพื่ออนุมัติตามข้ันตอน 2.2 The information in the course specification is comprehensive and up-to-date (1,2) หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเกษตรศาสตร� หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554 ได6มีการปรับปรุงหลักสูตร รวมถึงการปรับปรุงรายวิชา เนื้อหารายวิชา เพิ่มเติมเนื้อหารายวิชาให6มีความทันสมัย ทันต?อเหตุการณ� ครอบคลุมเนื้อหาการเรียนรู6เพื่อให6ตอบสนองต?อผลการเรียนรู6ที่คาดหวัง 2.3 The programme and course specifications are communicated and made available to

the stakeholders (1,2) ได6มีการเผยแพร?หลักสูตรในเว็บไซด�คณะเกษตรศาสตร� มีคู?มือนักศึกษา แจกแบบโครงสร6าง

หลักสูตร และอธิบายหลักสูตรแก?นักศึกษาตอนปฐมนิเทศ

Page 38: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

36

หลักฐานแสดงผลการดําเนินงาน รหัสหลักฐาน ช่ือหลักฐาน

2.1-1 มคอ. 2 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเกษตรศาสตร� หลักสูตรใหม? พ.ศ. 2551

2.1-2 มคอ. 2 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเกษตรศาสตร� หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554

2.1-3 รายงานแบบสอบถาม และการประชุม ระหว?างคณะฯ ผู6ใช6บัณฑิต ศิษย�เก?า ศิษย�ปpจจุบัน

2.2-1 รายงานแบบสอบถามจากศิษย�ปpจจุบัน

2.2-2 มคอ. 2 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเกษตรศาสตร� หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559

2.2-3 website ของคณะเกษตรศาสตร�

2.3-1 ตารางเปรียบเทียบการปรบปรุงรายวิชา

2.3-2 คู?มือนักศึกษา

2.3-3 เอกสารโครงสร6างหลักสูตร

ผลการประเมินตนเอง AUN-2 ขOอกําหนดของหลักสูตร (Program Specification)

AUN-QA Criterion 2 – Checklist Level 1 2 3 4 5 6 7

2.1 The information in the programme specification is comprehensive and up-to-date (1,2)

2.2 The information in the course specification is comprehensive and up-to-date (1,2)

2.3 The programme and course specifications are communicated and made available to the stakeholders (1,2)

ความคิดเห็นโดยรวม (Overall opinion) 3

Page 39: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

37

AUN - QA criterion 3 โครงสรOางและเนื้อหาของหลักสูตร (Programme Structure and Content) Sub Criterion 3

1. The curriculum, teaching and learning methods and student assessment are constructively aligned to achieve the expected learning outcomes.

2. The curriculum is designed to meet the expected learning outcomes where the contribution made by each course in achieving the programme's expected learning outcomes is clear.

3. The curriculum is designed so that the subject matter is logically structured, sequenced, and integrated.

4. The curriculum structure shows clearly the relationship and progression of basic courses, the intermediate courses, and the specialised courses.

5. The curriculum is structured so that it is flexible enough to allow students to pursue an area of specialisation and incorporate more recent changes and developments in the field.

6. The curriculum is reviewed periodically to ensure that it remains relevant and Up-to-date.

ผลการดําเนินงาน 3.1 The curriculum is designed based on constructive alignment with the expected

learning outcomes (1) คณะเกษตรศาสตร� ได6กําหนดแนวทางในการจัดทํา/ปรับปรุงหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเกษตรศาสตร� โดยคํานึงถึงความทันสมัย ทุกรายวิชามีความเชื่อมโยงกัน เพ่ือนําไปสู?ผลลัพธ�การเรียนรู6 ซ่ึงได6กําหนดโครงสร6าง และเนื้อหาของหลักสูตรท่ีสอดคล6องกับวิสัยทัศน� พันธกิจของมหาวิทยาลัย (PLO 1) จํานวนรายวิชาในหลักสูตรมีสัดส?วนท่ีเหมาะสมระหว?างรายวิชาศึกษาท่ัวไปหรือพ้ืนฐานกับรายวิชาท่ีสร6างทักษะเฉพาะทาง มีการจัดเรียงลําดับของรายวิชาอย?างเป-นระบบจากรายวิชาพ้ืนฐาน รายวิชาเฉพาะทาง รายวิชาบูรณาการเช?นรายวิชาปpญหาพิเศษ ตลอดจนรายวิชาการปฏิบัติงาน นอกจากนั้นได6กําหนดผลลัพธ�การเรียนรู6ท่ีสอดคล6องกับปรัชญาและวัตถุประสงค�ของหลักสูตร ซ่ึงในหลักสูตรมีรายวิชาท่ีสามารถเสริมทักษะให6นักศึกษาได6เม่ือจบหลักสูตรนี้ไปแล6ว เนื้อหาสาระของรายวิชาในหลักสูตรนั้นทันสมัยและก6าวทันต?อความเปลี่ยนแปลง ภายใต6การควบคุมของคณะเกษตรศาสตร� โดยได6ดําเนินการตามระบบและข้ันตอนท่ีกําหนดในการจัดทําหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเกษตรศาสตร� (หลักสูตรปรับปรุงพ.ศ. 2554) ซ่ึงได6มีส?วนร?วมในการดําเนินการ ตามระบบและข้ันตอนดังนี้

Page 40: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

38

1. สํารวจความคิดเห็นจากนักศึกษาปpจจุบัน ศิษย�เก?า สถานประกอบการท้ังเอกชนและรัฐ และหน?วยงานท่ีเก่ียวกับสายวิชาชีพโดยตรง เพ่ือทราบความคิดเห็นต?อหลักสูตรเพ่ือนําความคิดเห็นท่ีได6ไปออกแบบหลักสูตรต?อไป

2. แต?งต้ังคณะกรรมการร?างและจัดทําหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเกษตรศาสตร� 3. ร?างและจัดทําหลักสูตร และเสนอต?อคณะกรรมการวิพากษ�หลักสูตร เพ่ือพิจารณากลั่นกรองหลักสูตร

ต?อไป โดยเชิญผู6ทรงคุณวุฒิท่ีมีความเชี่ยวชาญด6านสาขาเกษตรศาสตร� 4. คณะกรรมการดําเนินการปรับปรุงร?างหลักสูตรตามข6อเสนอแนะเก่ียวกับร?างหลักสูตร และปรับแก6ตาม

ข6อเสนอของผู6ทรงคุณวุฒิ และจัดทําเล?มหลักสูตรตรมรูปแบบท่ีกําหนด 5. เสนอต?อสภามหาวิทยาลัย เพ่ือพิจารณาเห็นชอบและเสนอต?อสกอ. ตามข้ันตอนเพ่ืออนุมัติหลักสูตร โดย

หลักสูตรนี้ได6รับการอนุมัติจาก สกอ. เป-นท่ีเรียบร6อยแล6ว หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเกษตรศาสตร� ได6เปuดดําเนินการหลักสูตร (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2554) ในการการศึกษา 2554 ภายหลังการอนุมัติเป-นท่ีเรียบร6อยแล6ว 3.2 The contribution made by each course to achieve the expected learning outcomes is

clear (2) หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเกษตรศาสตร� ฉบับปรับปรุง 2554 มีรายวิชาท่ีมีส?วนร?วม

ชัดเจนในการพัฒนาผลการเรียนรู6ท่ีคาดหวัง โดยแต?ละรายวิชามีความเชื่อมโยงกันและมีลําดับข้ันของรายวิชาท่ีเปuดสอดคล6องกับการพัฒนาผลการเรียนรู6 นอกจากนั้นหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาเกษตรศาสตร� ฉบับปรับปรุง 2554 มีการจัดทําแผนท่ีแสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนจากหลักสูตร (Curriculum mapping) เพ่ือให6หลักสูตรบรรลุผลการเรียนรู6ท้ัง 5 ด6านของมาตรฐานผลการเรียนรู6ระดับชาติ (TQF) 3.3 The curriculum is logically structured, sequenced, integrated and up-to-date (3,4,5,6) หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาเกษตรศาสตร� ฉบับปรับปรุง 2554 ได6จัดทําแผนการเรียน โดยลําดับรายวิชาก?อน และรายวิชาหลังอย?างเป-นระบบ เช?นนักศึกษาท่ีศึกษาหลักสูตรนี้ จะต6องเรียนรายวิชาหลักการผลิตพืช หรือรายวิชาหลักการผลิตสัตว�ก?อนท่ีจะเรียนวิชาหลักการผลิตอ่ืนๆ เพ่ือเป-นความรู6พ้ืนฐานเพ่ือได6มีความรู6หรือมีรายวิชาท่ีสอดคล6องกับรายวิชาท่ีจะต?อยอด

นอกจากนั้นหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาเกษตรศาสตร� ฉบับปรับปรุง 2554 ได6มุ?งเน6น

การศึกษาเรียนรู6เชิงปฏิบัติการเพ่ือให6นักศึกษาสามารถนําความรู6ไปประยุกต�ในการประกอบอาชีพได6จริง

และได6สอดแทรกและเชื่อมโยงการเกษตรกับบริบทของพ้ืนท่ีสามจังหวัดชายแดนใต6 และประเทศเพ่ือนบ6าน

โดยเฉพาะประเทศท่ีเน6นกระบวนการผลิตทางการเกษตรท่ียึดหลักการฮาลาล โดยกําหนดให6ปรากฏอยู?ใน

ปรัชญา วัตถุประสงค�ของหลักสูตรและคําอธิบายรายวิชาในหลักสูตร ตามข6อเสนอแนะของผู6ท่ีมีส?วนได6ส?วน

เสียในการใช6บัณฑิตของคณะเกษตรศาสตร� เช?นผู6จ6างงาน ศิษย�เก?า ผู6ทรงเชียวชาญในสาขาเกษตรศาสตร�

ท้ังพืชศาสตร�และสัตวศาสตร� ในการวิพากษ�หลักสูตร ซ่ึงมีสาระสําคัญว?า ควรให6การเพ่ิมรายวิชาท่ีทันสมัย

และปรับบางวิชาให6เหมาะสมกับบริบทของหลักสูตร ซ่ึงคําอธิบายรายวิชาเหมาะสมกับชื่อของรายวิชา และ

Page 41: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

39

มีเนื้อหาครอบคลุมกับรายวิชา นอกจากอาจารย�ประหลักหลักสูตรมีจัดทําแผนการเรียนของนักศึกษา

ประจําปFการศึกษา 2558 เพ่ือให6นักศึกษามีลําดับรายวิชาก?อนหลังท่ีเหมาะสม เอ้ือให6นักศึกษามีความรู6

พ้ืนฐานเพ่ือให6นักศึกษาสามารถนําความรู6ไปต?อยอดในรายวิชาต?อไป และมีการเปuดสอนรายวิชาเป-นไปตาม

ข6อกําหนดของหลักสูตร เพ่ือให6นักศึกษาสําเร็จได6ทันตามเวลาท่ีกําหนดในหลักสูตร อาจารย�ประจํา

หลักสูตรได6มีส?วนร?วมในการทบทวนระบบและข้ันตอนในการออกแบบหลักสูตรและสาระรายวิชาใน

หลักสูตร รวมท้ังระบบข้ันตอนการปรับปรุงหลักสูตรให6ทันสมัย หลักฐานแสดงผลการดําเนินงาน

รหัสหลักฐาน ช่ือหลักฐาน 3.1-1 มคอ. 2 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาเกษตรศาสตร� ฉบับปรับปรุง 2554 3.1-2 สรุปผลการวิพากษ�หลักสูตรจาก stakeholders 3.2-1 คู?มือการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร 3.2-2 ผลการสรุปในการวิพากษ�หลักสูตรจากผู6มีส?วนได6ส?วนเสียในการใช6บัณฑิต 3.3-1 แผนการเรียนในแต?ละภาคการศึกษาในแต?ละปF

ผลการประเมินตนเอง AUN-3 โครงสรOางและเนื้อหาของหลักสูตร (Programme Structure and

Content)

AUN-QA Criterion 3 – Checklist Level 1 2 3 4 5 6 7

3.1 The curriculum is designed based on constructive alignment with the expected learning outcomes (1)

3.2 The contribution made by each course to achieve the expected learning outcomes is clear (2)

3.3 The curriculum is logically structured, sequenced, integrated and up-to-date (3,4,5,6)

ความคิดเห็นโดยรวม (Overall opinion) 3

Page 42: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

40

AUN - QA criterion 4 วิธีการเรียนการสอน (Teaching and Learning Approach) Sub Criterion 4

1. The teaching and learning approach is often dictated by the educational philosophy of the university. Educational philosophy can be defined as a set of related beliefs that influences what and how students should be taught. It defines the purpose of education, the roles of teachers and students, and what should be taught and by what methods.

2. Quality learning is understood as involving the active construction of meaning by the student, and not just something that is imparted by the teacher. It is a deep approach of learning that seeks to make meaning and achieve understanding.

3. Quality learning is also largely dependent on the approach that the learner takes when learning. This in turn is dependent on the concepts that the learner holds of learning, what he or she knows about his or her own learning, and the strategies she or he chooses to use.

4. Quality learning embraces the principles of learning. Students learn best in a relaxed, supportive, and cooperative learning environment.

5. In promoting responsibility in learning, teachers should: a) create a teaching-learning environment that enables individuals to b) provide curricula that are flexible and enable learners to make meaningful

choices in terms of subject content, programmed routes, approaches to assessment and modes and duration of study.

6. The teaching and learning approach should promote learning, learning how to learn and instil in students a commitment of lifelong learning (e.g. commitment to critical inquiry, information-processing skills, a willingness to experiment with new ideas and practices, etc.)

ผลการดําเนินงาน

4.1 The educational philosophy is well articulated and communicated to all stakeholders (1) ปรัชญาของหลักสูตรมุ?งเน6นจัดการศึกษาและพัฒนาองค�ความรู6ด6านการเกษตรท่ีสอดคล6องกับสภาพแวดล6อม เศรษฐกิจสังคม และภูมิปpญญาท6องถ่ิน เพ่ือตอบสนองความต6องการของพ้ืนท่ีเป-นหลัก เพ่ือถ?ายทอดความรู6สู?ชุมชนและภูมิภาคใกล6เคียงในด6านการจัดการศึกษา สามารถผลิตทรัพยากรบุคคลท่ีมีคุณภาพและประสิทธิภาพทางวิชาการและการปฏิบัติ รู6จักคิดอย?างมีเหตุผล มี

Page 43: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

41

คุณธรรม จริยธรรม และมีความใฝxเรียนรู6 สามารถนําความรู6ไปพัฒนาท6องถ่ินและประเทศอย?างยั่งยืนบนพ้ืนฐานวิทยาศาสตร� ตามแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม? ท้ังนี้ปรัชญาของหลักสูตรได6สื่อสารต?อผู6มีส?วนได6ส?วนเสีย ท้ังศิษย�เก?า ผู6ปกครอง ผู6ใช6บัณฑิต ผู6นําชุมชน สถานประกอบการ และคณาจารย� รวมท้ังศิษย�ปpจจุบันทางเว็บไซต�ของคณะเกษตรศาสตร� และเว็บไซต�ของมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร� โบรชัวร� ผ?านวิทยุกระจายเสียงของมหาวิทยาลัย ความถ่ี 92.25 และสถานีวิทยุกระจายเสียง 912 คู?มือนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร� ปFการศึกษา 2558 เล?มหลักสูตร การแนะแนวการศึกษา และการประชาสัมพันธ�ผ?านคณะกรรมการประจําคณะ และในท่ีประชุมต?าง ๆ เพ่ือให6ผู6มีส?วนได6ส?วนเสียได6รับทราบข6อมูลด6านปรัชญาของหลักสูตรได6อย?างชัดเจน

4.2 Teaching and learning activities are constructively aligned to the achievement of the expected learning outcomes (2,3,4,5) กิจกรรมการเรียนการสอนมีความสอดคล6องกับ

การบรรลุผลการเรียนรู6ท่ีคาดหวัง หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเกษตรศาสตร� มี ELO ของหลักสูตรจํานวน 6 ข6อ และเพ่ือให6

บรรลุ ELO ท้ัง 6 ข6อ หลักสูตรได6มีการจัดการเรียนการสอนท่ีหลากหลายเพ่ือให6สอดคล6องกับ ELO ดังนี้

1. แสดงออกถึงภาวะความเป-นผู6นํา และเป-นผู6ท่ีมีจริยธรรม คุณธรรม รักองค�กร และสังคม เพ่ือเป-นพลเมืองดีของสังคมพหุวัฒนธรรม ด6วยวิธีการสอน เช?น การทํางานเป-นกลุ?ม การสอนสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม การจัดกิจกรรมเน6นเรื่องพหุวัฒนธรรม (งานเก่ียวข6าว งานละศีลอด งานกวนอาซูรอ) การปลูกฝpงภาวะผู6นํา ความรักองค�กร และการปฏิบัติตัวเป-นพลเมืองท่ีดีของสังคมด6วยการเชิญวิทยากร ผู6นําศาสนา ผู6นําท6องถ่ิน มาพูด และบรรยายให6นักศึกษาฟpงในประเด็นดังกล?าว และหลักสูตรยังจัดให6มีสโมสรนักศึกษาเพ่ือฝwกให6นักศึกษาทํางานเป-นทีม

2. รู6และเข6าใจหลักการเกษตรศาสตร�และสามารถประยุกต�ใช6ในการปฏิบัติงานได6อย?างมีประสิทธิภาพ สอนด6วยการบรรยายภาคทฤษฎีควบคู?กับการปฏิบัติ การศึกษาดูงาน การออกฝwกปฏิบัติงาน การทําโครงงาน และการประกอบอาชีพการเกษตรเพ่ือหารายได6ระหว?างเรียน

3. ประยุกต�การใช6เทคโนโลยีการเกษตรบนพ้ืนฐานวิทยาศาสตร�ตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถบริหารจัดการฟาร�มเกษตรได6อย?างมีศักยภาพ โดยนําความรู6ท่ีได6จากการเรียนไปปฏิบัติจริงในสภาพแวดล6อมแตกต?างกัน และการฝwกงานยังสถานประกอบการต?าง ๆ เพ่ือให6เรียนรู6การประยุกต�ใช6เทคโนโลยี การบริหารจัดการฟาร�มจากสถานการณ�จริง การประกอบอาชีพอิสระด6านการเกษตรของศิษย�เก?าและปpจจุบัน

4. ปฏิบัติงานและร?วมมือกับหน?วยงานราชการและเอกชนและชุมชนได6ท้ังในประเทศหรือในกลุ?มประเทศอาเซียน โดยการส?งนักศึกษาไปฝwกปฏิบัติงานในหน?วยงานของรัฐ และเอกชน การบริการวิชาการ และวิชาชีพโดยอาจารย�และนักศึกษา การส?งเสริม และสนับสนุนนักศึกษาเข6าทํางานกับสถานประกอบการท้ังภาครัฐ และเอกชนหลังจบ

Page 44: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

42

5. ประยุกต�ใช6ความรู6เพ่ือแก6ไขปpญหาด6านการเกษตรและการดําเนินชีวิตภายใต6พหุวัฒนธรรม โดยการส?งเสริมและสนับสนุนศิษย�เก?า ศิษย�ปpจจุบัน ประกอบอาชีพอิสระทางด6านการเกษตร และจัดให6มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู6ประสบการณ� เพ่ือการแก6ไขปpญหา และพัฒนาอาชีพการเกษตรในชุมชน

6. แสวงหาความรู6เพ่ือพัฒนาตนเอง แก6ไขปpญหาและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมตามการเปลี่ยนแปลงทางวิชาการอยู?ตลอดเวลา โดยการฝwกให6นักศึกษารู6จักกระบวนการการวางแผนการทดลอง ไปประยุกต�ใช6 ในการแก6ปpญหา และพัฒนาอาชีพ เช?น การสังเกต การต้ังสมมติฐาน การวางแผนการทดลอง การสรุปผล และการนําองค�ความรู6ไปใช6 การแสวงหาความรู6จากช?องทางต?าง ๆ เช?น ฐานข6อมูลงานวิจัย สื่อ สารสนเทศ ปราชญ�ชาวบ6าน การสืบค6นข6อมูลผ?านการเรียนรู6ด6วยตนเองในการวิชาปpญหาพิเศษ และอ่ืน ๆ

4.3 Teaching and learning activities enhance life-long learning (6) การสอนโดยเน6นผู6เรียนเป-นสําคัญโดยใช6ปpญหาเป-นโจทย� และให6นักศึกษาแสวงหาความรู6เพ่ือ

พัฒนาตนเอง แก6ไขปpญหา การสืบค6นข6อมูลผ?านการเรียนรู6ด6วยตนเอง และการประยุกต�ใช6องค�ความรู6ท่ีเกิดจากการศึกษาวิจัยไปพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมตามการเปลี่ยนแปลงทางวิชาการอยู?ตลอดเวลา ฝwกให6นักศึกษารู6จักกระบวนการการวางแผนการทดลอง ไปประยุกต�ใช6 ในการแก6ปpญหา และพัฒนาอาชีพ เช?น การสังเกต การต้ังสมมติฐาน การวางแผนการทดลอง การสรุปผล และการนําองค�ความรู6ไปใช6 การแสวงหาความรู6จากช?องทางต?าง ๆ เช?น ฐานข6อมูลงานวิจัย สื่อ สารสนเทศ ปราชญ�ชาวบ6าน และอ่ืน ๆ ภายใต6บริบทของพหุวัฒนธรรม ตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

หลักฐานแสดงผลการดําเนินงาน รหัสหลักฐาน ช่ือหลักฐาน

4.1-1 เล?มหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (เกษตรศาสตร�) ฉบับปรับปรุงปF 2554 4.1-2 คู?มือนักศึกษาวิทยาศาสตรบัณฑิต คณะเกษตรศาสตร� ปF 2558 4.1-3 เว็บไซต�ของคณะเกษตรศาสตร� 4.1-4 โบชัวร� 4.1-5 บันทึกข6อความขออนุญาตจัดประชาสัมพันธ� 4.1-6 โครงการแนะแนว 4.1-7 ภาพการประชาสัมพันธ�หลักสูตรในท่ีประชุม 4.2-1 มคอ 3 , มคอ 4 และโครงการกิจกรรมด6านพหุวัฒนธรรม 4.2-2 โครงการศึกษาดูงาน ภาพกิจกรรมการออกฝwกปฏิบัติงานของนักศึกษา โครงงานของ

นักศึกษา โครงหารายได6ระหว?างเรียนของนักศึกษา 4.2-3 ภาพการประกอบอาชีพอิสระของศิษย�เก?า 4.2-4 โครงการฝwกงานของนักศึกษา รายชื่อศิษย�เก?าท่ีทํางานในหน?วยงานของราชการและ

เอกชน ชุมชน

Page 45: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

43

รหัสหลักฐาน ช่ือหลักฐาน 4.2-5 โครงการบริการวิชาการด6านการประกอบอาชีพด6านการเกษตรแก?ศิษย�เก?า ภาพ

กิจกรรมด6านการประกอบอาชีพของศิษย�เก?า และศิษย�ปpจจุบัน 4.2-6 โครงการปpญหาพิเศษของนักศึกษา โครงการหารายได6ระหว?างเรียนของนักศึกษา

โครงการสโมสรนักศึกษา 4.3-1 ภาพกิจกรรมการประกอบอาชีพของศิษย�เก?าหลังจบการศึกษา ภาพกิจกรรมการบริการ

วิชาชีพแก?ชุมชน ภาพกิจกรรมการทํางานร?วมกันของศิษย�เก?า และศิษย�ปpจจุบัน ผลการประเมินตนเอง AUN-4 วิธีการเรียนการสอน (Teaching and Learning Approach)

AUN-QA Criterion 4 – Checklist Level 1 2 3 4 5 6 7

4.1 The educational philosophy is well articulated and communicated to all stakeholders (1)

4.2 Teaching and learning activities are constructively aligned to the achievement of the expected learning outcomes (2,3,4,5)

4.3 Teaching and learning activities enhance life-long learning (6)

ความคิดเห็นโดยรวม (Overall opinion) 3

Page 46: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

44

AUN - QA criterion 5 การประเมินผูOเรียน (Student Assessment)

Sub Criterion 5 1. Assessment covers:

a. New student admission b. Continuous assessment during the course of study c. Final/exit test before graduation

2. In fostering constructive alignment, a variety of assessment methods should be adopted and be congruent with the expected learning outcomes. They should measure the achievement of all the expected learning outcomes of the programmed and its courses.

3. A range of assessment methods is used in a planned manner to serve diagnostic, formative, and summative purposes.

4. The student assessments including timelines, methods, regulations, weight distribution, rubrics and grading should be explicit and communicated to all concerned.

5. Standards applied in assessment schemes are explicit and consistent across the programme.

6. Procedures and methods are applied to ensure that student assessment is valid, reliable and fairly administered.

7. The reliability and validity of assessment methods should be documented and regularly evaluated and new assessment methods are developed and tested.

8. Students have ready access to reasonable appeal procedures.

ผลการดําเนินงาน

5.1 The student assessment is constructively aligned to the achievement of the expected learning outcomes (1,2)

การประเมินผู6เรียนหลังรับเข6าเป-นนักศึกษา หลักสูตรมีการรายงานผลการคัดเลือกนักศึกษาเข6าศึกษาต?อให6คณะกรรมการบริหารหลักสูตรได6รับทราบผลการสอบคัดเลือกเข6าศึกษาต?อ โดยในปFการศึกษา 2558 มีนักศึกษาใหม?ท้ังสิ้น 80 คน ผลการประเมินศักยภาพทางด6านวิชาการก?อนท่ีจะเข6าศึกษาพบว?า นักศึกษามีความรู6ด6านวิชาภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และคณิตศาสตร�ตํ่า คณะกรรมการบริหารวิชาการและคณะกรรมการหลักสูตร จึงได6ให6มีการปรับพ้ืนฐานในรายวิชาดังกล?าวก?อนท่ีจะเข6าสู?กระบวนการจัดการเรียนการสอน

Page 47: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

45

หลักสูตรได6กําหนดผลการเรียนรู6ท่ีคาดหวังของหลักสูตรตามท่ีกําหนดใน มคอ. 2 และได6จัดการประเมินผู6เรียนให6สอดคล6องกับผลการเรียนรู6ท่ีคาดหวังไว6 โดยกําหนดให6ทุกรายวิชาต6องมีการประเมินและติดตามความก6าวหน6าระหว?างการศึกษาของนักศึกษาตามผลการเรียนรู6 ท่ีกําหนดไว6 ด6วยวิธีการท่ีหลากหลายเช?น การสอบย?อย การสอบกลางภาค การสอบปลายภาค การทํารายงาน การนําเสนอ การฝwกปฏิบัติและการทําปpญหาพิเศษ ซ่ึงจะประกาศคะแนนให6นักศึกษาได6รับทราบเป-นระยะเพ่ือให6เกิดการพัฒนาการเรียนรู6ในแต?ละช?วงเวลา ท้ังนี้การออกแบบทดสอบเพ่ือประเมินความรู6ของนักศึกษาจะออกแบบให6สอดคล6องกับผลสัมฤทธิ์ของผลการเรียนรู6 ท่ีคาดหวัง ซ่ึงนํามาจาก มคอ. 3, 4 ของแต?ละรายวิชา ตลอดจนติดตามผลการเรียนรู6จากรายงานผลการศึกษาของนักศึกษาแต?ละคน ตามท่ีปรากฎใน มคอ. 5,6ของแต?ละรายวิชาและหลักสูตรมีการจัดสอบประเมินความรู6ก?อนสําเร็จการศึกษาให6นักศึกษาทุกคน โดยนักศึกษาท่ีจะสําเร็จการศึกษาต6องมีผลการสอบไม?น6อยกว?าร6อยละ 50 5.2 The student assessments including timelines, methods, regulations, weight

distribution, rubrics and grading are explicit and communicated to students (4,5) หลักสูตรมีการประเมินนักศึกษาในด6านต?างๆท้ังช?วงเวลา วิธีการ ข6อบังคับ มีสัดส?วนการประเมิน เกณฑ� และเกรด ซ่ึงมีความชัดเจนและแจ6งให6นักศึกษาทราบล?วงหน6า มีการประเมินท่ีมีมาตรฐาน มีความชัดเจน และเชื่อมโยงกันท้ังหลักสูตร ต?อเนื่องสอดคล6องในทุกรายวิชาตลอดการเรียนของนักศึกษาท้ังสี่ชั้นปF เพ่ือพัฒนาและเสริมสร6างการเรียนรู6ตามท่ีกําหนดไว6ในหัวข6อการพัฒนาการเรียนรู6แต?ละด6านของหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเกษตรศาสตร� โดยมีการประเมินผลการเรียนท้ังแบบอิงเกณฑ�หรืออิงกลุ?มหรือการสังเกตหรืการสัมภาษณ�นักศึกษา ดังเช?น ในรายวิชาปpญหาพิเศษทางพืชศาสตร� ซ่ึงใช6การให6คะแนนแบบ Rubric score โดยผู6จัดการรายวิชาจะเป-นผู6รับผิดชอบกําหนดเกณฑ�การประเมินผลตามท่ีได6มีการพิจารณาร?วมกันของคณาจารย�กลุ?มวิชาพืชศาสตร� อีกท้ังยังมีหน6าท่ีควบคุมการดําเนินการในแต?ละข้ันตอนตามหลักเกณฑ�ท่ีกําหนดระยะเวลาผ?านทางอาจารย�ท่ีปรึกษาปpญหาพิเศษซ่ึงจะมีการให6คะแนนในแต?ละข้ันตอนย?อยของการทําปpญหาพิเศษในแต?ละหัวข6อ เช?น การต้ังชื่อเรื่อง การหาเอกสารข6อมูลประกอบการทดลอง การทดลองตามสมมุติฐานและข้ันตอนท่ีได6มีการจัดเตรียมไว6การเรียบเรียงเอกสาร การตรงต?อเวลา ฯลฯ และเม่ือต6องนําเสนอผลงานจะเป-นการประเมินโดยคณาจารย�ของกลุ?มวิชาพืชศาสตร�ซ่ึงมีสิทธิให6คะแนนโดยอิสระตามความรู6และความเชี่ยวชาญของแต?ละท?าน ตามประเด็นการให6คะแนนในแต?ละด6าน ซ่ึงเป-นหลักเกณฑ�การให6คะแนนท่ีผู6จัดการรายวิชาได6ชี้แจงให6คณะกรรมการสอบและนักศึกษาได6รับทราบล?วงหน6า โดยเม่ือนักศึกษานําเสนอแล6วจะเป-นการตอบข6อซักถามจากคณาจารย�และเพ่ือนร?วมชั้นเรียนเพ่ือประเมินความรู6ความเข6าใจโดยแท6จริงในเนื้อหางานทดลอง และต6องทําเอกสารรายงานให6สําเร็จเรียบร6อยตรงตามแบบแผนท่ีหลักสูตรกําหนด ซ่ึงจะใช6เป-นตัวชี้วัดความรับผิดชอบในช?วงเวลาท่ีจํากัด ก?อนท่ีผู6รับผิดชอบรายวิชาจะนําคะแนนการประเมินท้ังหมดตลอดภาคการศึกษามาให6คะแนนรวมผลการเรียนรู6ของนักศึกษาแต?ละคน

Page 48: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

46

5.3 Methods including assessment rubrics and marking schemes are used to ensure validity, reliability and fairness of student assessment (6,7)

หลักสูตรได6กําหนดให6ผู6จัดการรายวิชาต?างๆ ส?งรายละเอียดการสอน หรือ มคอ. 3,4 และส?งข6อสอบท่ีจะใช6ประเมินผลการศึกษาให6กรรมการบริหารหลักสูตรพิจารณาความสอดคล6องกับบทเรียนและเนื้อหาการสอนท่ีระบุไว6ใน มคอ. 3,4 โดยจัดทํารายงานการประชุมท่ีลงรายละเอียดการตรวจสอบทุกรายวิชา ซ่ึงอาจส?งให6ผู6จัดการรายวิชาแก6ไขหากพิจารณาแล6วพบว?ายังไม?สอดคล6องกับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาท่ีนักศึกษาจําเป-นจะต6องได6รับการประเมินหลังจากศึกษาครบแล6วเพ่ือให6การประเมินผลการเรียนของนักศึกษามีความเท่ียงตรง มีความน?าเชื่อถือและเป-นธรรมต?อนักศึกษา ท้ังนี้เม่ือผู6จัดการรายวิชาเข6าห6องเรียนในคาบแรกเพ่ือชี้แจงคําอธิบายรายวิชาและหลักเกณฑ�การให6คะแนนและการสอบ นักศึกษาและผู6จัดการรายวิชาสามารถพิจารณาเพ่ือหาข6อตกลงร?วมกันท่ีเหมาะสมในการปรับเปลี่ยนหลักเกณฑ�ต?างๆ ท่ีใช6สําหรับการประเมินผลการศึกษาได6และเม่ือผู6จัดการรายวิชาส?งข6อสอบให6ฝxายวิชาการจัดเก็บพร6อมเฉลยแล6ว จะทําให6นักศึกษาสามารถขอตรวจสอบผลการเรียนและกระดาษคําตอบของตนเองเม่ือเทียบกับเฉลย และจะสามารถนําข6อสอบวิชาเดียวกันไปเปรียบเทียบพัฒนาการได6ในภาคการศึกษาต?อๆไป 5.4 Feedback of student assessment is timely and helps to improve learning (3)

หลักสูตรมีการมีประเมินผลท่ีหลากหลาย ตามวัตถุประสงค�ของแต?ละรายวิชา ท้ังการประเมินผลวินิจฉัย การประเมินผลระหว?างการเรียนรู6 และการประเมินผลเม่ือเสร็จสิ้นการเรียนรู6 โดยในแต?ละรายวิชาของหลักสูตรจะมีการวางแผนการประเมินตลอดจนมีหลักเกณฑ�การให6คะแนนท่ีชัดเจนตามท่ีระบุไว6ใน มคอ.3, 4 ดังเช?น ในรายวิชาปpญหาพิเศษทางพืชศาสตร� ซ่ึงมีวัตถุประสงค�ของรายวิชาเพ่ือให6นักศึกษาได6ศึกษาค6นคว6าปpญหาการเกษตร ทดลอง วิเคราะห�ผลการทดลอง สรุป และสามารถเรียบเรียงเป-นรายงาน ตลอดจนมีความสามารถท่ีจะนําเสนอผลงาน ภายใต6การควบคุมของอาจารย�ท่ีปรึกษาโดยมีผู6จัดการรายวิชาจะเป-นผู6ประเมินผลและควบคุมการดําเนินการในแต?ละข้ันตอนตามท่ีกําหนดระยะเวลาผ?านทางอาจารย�ท่ีปรึกษาปpญหาพิเศษ ในการประเมินผลรายวิชาปpญหาพิเศษทางพืชศาสตร�จะทําเป-นระยะในข้ันตอนต?าง เช?น ข้ันตอนการเสนอชื่อหัวข6อปpญหาพิเศษท่ีจะต6องสอดคล6องกับเนื้อหาและการทดลองท่ีจะดําเนินการ ข้ันตอนการเสนอโครงร?างปpญหาพิเศษต?อคณะกรรมการ ซ่ึงหากประเมินไม?ผ?านหรือต6องแก6ไขอย?างไรแล6ว นักศึกษาจะต6องนํากลับไปพิจารณาดําเนินการปรับปรุงแก6ไขโดยคําแนะนําอาจารย�ท่ีปรึกษาหรือผู6เก่ียวข6องก?อนจะนํามาเสนอคณะกรรมการใหม?อีกครั้งจนผ?านการประเมินในข้ันตอนนั้นก?อนจึงจะสามารถดําเนินการในข้ันตอนต?อไปได6 และเม่ือต6องนําเสนอผลงานจะเป-นการประเมินโดยคณาจารย�ของกลุ?มวิชาพืชศาสตร�ซ่ึงมีสิทธิให6คะแนนโดยอิสระตามประเด็นการให6คะแนนในแต?ละด6าน ซ่ึงหากการประเมินการนําเสนอผลงานปรากฏว?าไม?ผ?านหรือต6องแก6ไข นักศึกษาจะต6องปรับปรุงแก6ไขหรือหาข6อมูลความรู6เพ่ิมเติมและขอสอบใหม?จนกว?าจะผ?านจึงจะสามารถจัดทํารูปเล?มเอกสารท่ีสมบูรณ�ได6 ท้ังนี้หลักสูตรกําหนดให6ทุกรายวิชาจะต6องมีการเฉลยข6อสอบเพ่ือให6นักศึกษาได6รู6คําตอบท่ีถูกต6องหรือในบางรายวิชาท่ีมีผลการสอบออกมาแล6วพบว?า นักศึกษามีคะแนนเฉลี่ยตํ่ากว?าเกณฑ�ท้ังรายบุคคลหรือราย

Page 49: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

47

กลุ?ม จะมีการสอนเสริมทําความเข6าใจในเนื้อหาและให6มีการสอบแก6ไขคะแนน เพ่ือความเข6าใจท่ีถูกต6องในสาขาวิชาชีพท่ีจะใช6ศึกษาในรายวิชาข้ันสูงต?อไป 5.5 Students have ready access to appeal procedure (8) หลักสูตรได6ให6โอกาสนักศึกษาเข6าถึงกระบวนการมีความสงสัยข6องใจในผลการเรียนสามารถยื่นคําร6องขอตรวจสอบคะแนนหรืออุทธรณ�ผลการเรียนได6ท่ีฝxายวิชาการของคณะเพ่ือให6คณะกรรมการบริหารหลักสูตรพิจารณาตรวจสอบผลการเรียนหรือกระดาษคําตอบของนักศึกษาเปรียบเทียบกับเฉลยท่ีผู6จัดการรายวิชาได6ส?งไว6ท่ีฝxายวิชาการ ในช?วงเวลาดังนี้ 1. เม่ือผู6จัดการรายวิชาได6แจ6งคะแนนสอบย?อยหรือคะแนนสอบกลางภาคแล6ว

2. เม่ือคณะกรรมการบริหารวิชาการได6ประชุมพิจารณาผลการเรียนในแต?ละรายวิชาของหลักสูตรและส?งผลการเรียนให6คณะและประกาศผลการเรียนแล6ว

หลักฐานแสดงผลการดําเนินงาน รหัสหลักฐาน ช่ือหลักฐาน

5.1-1 รายงานผลการคัดเลือกนักศึกษาเข6าศึกษาต?อให6คณะกรรมการบริหารหลักสูตร 5.1-2 มคอ. 2, 3, 4 5,6 5.1-3 รายงานการประชุม คณะกรรมการบริหารวิชาการและคณะกรรมการหลักสูตร 5.2-1 คู?มือปpญหาพิเศษ

5.2-2 แบบประเมินนักศึกษาในด6านต?างๆ ในรายวิชาปpญหาพิเศษ 5.3-1 มคอ. 3,4 5.3-2 รายงานการประชุมคณะกรรมการหลักสูตร

5.3-3 รายงานการประชุมคณะกกรมการบริหารวิชาการ 5.4-1 มคอ.3, 4 รายวิชาปpญหาพิเศษ 5.4-2 คู?มือปpญหาพิเศษ 5.5-1 แบบคําร6องทุกข�ของนักศึกษา 5.5-2 รายงานคณะกรรมการบริหารวิชาการ

Page 50: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

48

ผลการประเมินตนเอง AUN-5 การประเมินผูOเรียน (Student Assessment)

AUN-QA Criterion 5 – Checklist Level 1 2 3 4 5 6 7

5.1 The student assessment is constructively aligned to the achievement of the expected learning outcomes (1,2)

5.2 The student assessments including timelines, methods,regulations, weight distribution, rubrics and grading are explicit and communicated to students (4,5)

5.3 Methods including assessment rubrics and marking schemes are used to ensure validity, reliability and fairness of student assessment (6,7)

5.4 Feedback of student assessment is timely and helps to improve learning (3)

5.5 Students have ready access to appeal procedure (8) � ความคิดเห็นโดยรวม (Overall opinion) 3

Page 51: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

49

AUN - QA criterion 6 คุณภาพบุคลากรสายวิชาการ (Academic Staff Quality)

Sub Criterion 6 1. Both short-term and long-term planning of academic staff establishment or needs

(including succession, promotion, re-deployment, termination, and retirement plans) are carried out to ensure that the quality and quantity of academic staff fulfil the needs for education, research and service.

2. Staff-to-student ratio and workload are measured and monitored to improve the quality of education, research and service.

3. Competences of academic staff are identified and evaluated. A competent academic staff will be able to:

• design and deliver a coherent teaching and learning curriculum;

• apply a range of teaching and learning methods and select most appropriate assessment methods to achieve the expected learning outcomes;

• develop and use a variety of instructional media;

• monitor and evaluate their own teaching performance and evaluate courses they deliver;

• reflect upon their own teaching practices; and

• conduct research and provide services to benefit stakeholders 4. Recruitment and promotion of academic staff are based on merit system, which

includes teaching, research and service. 5. Roles and relationship of academic staff members are well defined and understood. 6. Duties allocated to academic staff are appropriate to qualifications, experience, and

aptitude. 7. All academic staff members are accountable to the university and its stakeholders,

taking into account their academic freedom and professional ethics. 8. Training and development needs for academic staff are systematically identified, and

appropriate training and development activities are implemented to fulfil the identified needs.

9. Performance management including rewards and recognition is implemented to motivate and support education, research and service.

10. The types and quantity of research activities by academic staff are established, monitored and benchmarked for improvement.

Page 52: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

50

ขOอมูลพ้ืนฐานของการดําเนินงาน ตารางขOอมูลอาจารย ประจําหลักสูตร

ประเภท ชาย หญิง รวม จํานวนอาจารย ท่ีมีวุฒิปริญญาเอก

หรือคุณสมบัติเทียบเทJาปริญญาเอก จํานวน (ราย)

1. ศาสตราจารย� - - - -

2. รองศาสตราจารย� - - - -

3. ผู6ช?วยศาสตราจารย� 2 - 2 -

4. อาจารย� - 3 3 2

5. อาจารย�ชาวต?างชาติ - - - -

6. อาจารย�พิเศษ - - - -

รวม 2 3 5 2

หมายเหตุ : 1. คุณสมบัติเทียบเท?าปริญญาเอก เช?น แพทย�ท่ีได6รับวุฒิบัตร

2. อาจารย�ผู6มีความรู6ความสามารถพิเศษ และอาจารย�จ6างบางส?วนเวลา ให6นําไปนับรวม ในประเภทท่ี 1 – 4

ตารางขOอมูลแสดงอัตราการคงอยูJของอาจารย ผูOรับผิดชอบหลักสูตร

ปFการศึกษา

จํานวนอาจารย�ท้ังหมดต6นปFการศึกษา

จํานวนอาจารย�ลาออก/เกษียณใน

ระหว?างปFการศึกษา

จํานวนอาจารย�เข6าใหม?ระหว?าง

ปFการศึกษา

จํานวนอาจารย�ท้ังหมดปลายปF

การศึกษา

หมายเหตุ

2556 6 คน 1 คน 1 คน 6 คน อาจารย�กนก เชาวภาษี ลาศึกษาต?อ อาจารย�อัจฉรา นิยมเดชาเข6ามาแทน

2557 6 คน 1 คน 1 คน 6 คน อาจารย�นิรันดร หนักแดงลาศึกษาต?อ ดร.ซารีนา สือแม เข6ามาแทน

2558 5 คน - - 5 คน อาจารย�ทัศนีย� รัดไว6 ย6าย ไม?มีใครแทน เพราะตรงตามเกณฑ� TQF แล6ว

Page 53: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

51

ตารางการคํานวณคJา FTEs ของบุคลากรประจําสายสอนและวิจัยท่ีสอนเต็มเวลา และปฏิบัติงานในปB การศึกษา 2558

ประจําสายสอนและวิจยั ท่ีสอนเต็มเวลา

และปฏิบัติงานในปFการศึกษา 2558

ภาคเรยีนท่ี 1/58 ภาคเรยีนท่ี 1/58 หมายเหต ุจํานวน

ช่ัวโมงสอน

การคํานวณ

ค?า FTEs

ค?า FTEs

จํานวน

ช่ัวโมงสอน

การคํานวณ

ค?า FTEs

ค?า FTEs

กลุ?มวิชาพืชศาสตร� 1. นายทวี บุญภิรมย� 2.5 2.5/35 0.07 2.5 2.5/35 0.07 คณบด ี

2. นางสายทอง แก6วฉาย 12.5 12.5/35 0.36 20.6 20.6/35 0.59 รองคณบด ี3. นางมนทนา รุจิระศักดิ ์ 9.0 9.0/35 0.26 6.9 6.9/35 0.20 หน.สนง. 4. นายเจษฎา แก6วฉาย 8.5 8.5/35 0.24 14.5 14.5/35 0.41 5. นางสาวนุร�ซานีซา เจะดาโอะ 12.0 12.0/35 0.34 16.0 16.0/35 0.46 6. นางสาวศิราณี วงศ�กระจ?าง 16.0 16.0/35 0.46 20.0 20.0/35 0.57 7. นางสาวชินีกาญจน� อ6องหว?าง 12.0 12.0/35 0.34 13.0 13.0/35 0.37 8. นายนุลอัฟฎา สาและ 21.0 21.0/35 0.60 15.0 15.0/35 0.43

รวม 93.5 2.67 108.5 3.10 เฉลี่ยภาระงานสอน/สัปดาห�/คน 11.7 13.56

กลุ?มวิชาสัตวศาสตร� 1. นายปริญญา คามา 6.5 6.5/35 0.19 4.5 4.5/35 0.13 2. นายจักรพันธ� ชาสมบัต ิ 20.5 20.5/35 0.59 9.0 9.0/35 0.26 รองคณบด ี3. นางสาวซารีนา สือแม 12.0 12.0/35 0.34 12.0 12.0/35 0.34 รองคณบด ี4. นางกนกวรรณ สุขขจรวงษ� 6.5 6.5/35 0.19 5.0 5.0/35 0.14 5. นางสาวอัจฉรา นิยมเดชา 17.0 17.0/35 0.49 10.0 10.0/35 0.29 6. นายวัฒนา เต็มด ี 14.0 14.0/35 0.40 15.0 15.0/35 0.43 รวม 76.5 2.19 55.5 1.59

เฉลี่ยภาระงานสอน/สัปดาห�/คน 12.75 9.25 รวมค?า FTEs ของบุคลากรสายสอนและวิจัยปFการศึกษา 2558 เท?ากับ (2.67+31.+2.19+1.59) = 9.55

ตารางการคํานวณคJา FTEs ของ นักศึกษาในปBการศึกษา 2558

กลุ?มนักศึกษา ภาคเรยีนท่ี 1/58 ภาคเรยีนท่ี 2/58 จํานวน

นศ. คาบเรียน /สัปดาห�

*ค?า FTEs /คน

**ค?า FTEs รวม

จํานวน นศ.

คาบเรียน /สัปดาห�

ค?า FTEs/คน

ค?า FTEs รวม

ปF 1 79 29 0.83 65.46 68 33 0.94 64.11

พืชศาสตร� ปF 2 34 28 0.80 27.20 31 26 0.74 23.03

Page 54: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

52

ปF 3 15 25 0.71 10.71 15 39 1.11 16.71

ปF 4 23 21 0.60 13.80 22 28 0.80 17.60

สัตวศาสตร�ปF 2 23 28 0.80 18.40 22 31 0.89 19.49

ปF 3 26 30 0.86 22.29 25 32 0.91 22.86

ปF 4 9 26 0.74 6.69 8 17 0.49 3.89

รวม 209 164.54 191 167.69

รวมคJา FTEs ของนักศึกษาปBการศึกษา 2558 เทJากับ (164.54+167.69) = 332.23 * ค?า FTEs/คน คํานวณจาก (คาบเรียน/สัปดาห�)/35

** ค?า FTEs รวม คํานวณจาก FTEs/คน x จํานวนนักศึกษา

ตารางขOอมูลสัดสJวนนักศึกษาตJออาจารย ประจําหลักสูตร

ปBการศึกษา FTE รวมของนักศึกษา FTE รวมของอาจารย

และนักวิจัย

สัดสJวนนักศึกษาตJอ

อาจารย

2558 332.23 9.55 34.79

ตารางข�อมูลผลงานของอาจารย�และนักวิจัย คณะเกษตรศาสตร ปB 2556-2558 หลักสูตร วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเกษตรศาสตร หลักสูตรปรับปรุง 2554

ท่ี ชื่อบทความวิจัย เจOาของบทความ เดือน -ปBท่ี

พิมพ ชื่อวารสารท่ีติมพ ฐานขOอมูล

1 ผลของการใช6ปุ�ยอินทรีย�จากทะลายเปล?าปาล�มนํ้ามัน เพ่ือการเจริญเติบโตของกล6าปาล�มนํ้ามัน

ศิราณ ี วงศ�กระจ?าง มค-มีค 58 วารสาร มนร.ฉบับ 1 ปF

2558 TCI Q1

2 ผลของการเสรมิกากเน้ือในเมล็ดปาล�มนํ้ามันในอาหารไก?เน้ือต?อสมรรถภาพการผลิตของไก?เน้ือ

อัจฉรา นิยมเดชา เมย-มิย

58 วารสาร มนร. ปFท่ี 7 ฉบับ 2.

101-112. TCI Q1

3 ผลของการเติมกากนํ้าตาลต?อคุณภาพและการย?อยได6ของข6าวฟxางหวานหมัก

อ นิรันดร หนักแดง เมย-มิย

58 วารสาร มนร.ฉบับ 2 ปF

2558 TCI Q1

4

ผลของการเสรมิเยื่อในลาํต6นสาคูในอาหารท่ีมีผลต?อสมรรถภาพการผลิตของไก?พ้ืนเมืองไทยระยะเล็ก

เปลื้อง บุญแก6ว พ.ค-ส.ค

58 วารสาร มนร. ปFท่ี 7 ฉบับ 2

.113-118 TCI Q1

Page 55: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

53

ท่ี ชื่อบทความวิจัย เจOาของบทความ เดือน -ปBท่ี

พิมพ ชื่อวารสารท่ีติมพ ฐานขOอมูล

5 ผลของการเสรมิกากเน้ือในเมล็ดปาล�มนํ้ามันในอาหารไก?เน้ือ ต?อคุณภาพซากของไก?เน้ือ

อัจฉรา นิยมเดชา ก.ย-ธ.ค

58 วารสาร มนร. ปFท่ี 7 ฉบับ 3

หน6า 107-114 TCI Q1

6

ผลของการเสรมิขมิ้นชันผง (Curcuma longa Linn.) ในอาหารต?อคุณภาพซาก และการตอบสนองของภูมิคุ6มกันของไก?เน้ือ.

อัจฉรา นิยมเดชา และมงคล คงเสน

3-6 กพ. 58

ประชุมวิชาการระดับชาต ิครั้งท่ี 53

มหาวิทยาลยัเกษตรศาสตร�. หน6า 131

รายงานสืบเน่ืองจากการ

ประชุมวิชาการ

ระดับชาต ิ

7

Effect of Fresh Semen Dilution Rates of Dang Cock (Thai Native Chicken) on Percentage of Fertile Egg in Commercial Layers.

M. Khongsen, A. Niyomdecha and

P. Boongaew.

23-25 Feb 2015

KHON KAEN AGR.J. 43 SUPPL.2. 212-215.

TCI Q1

8

Effect of Frequency of Semen Collection in Dang Cocks and Betong Cocks (Thai Native Chicken).

M. Khongsen, A. Niyomdecha, P. Boongaew, S.

Trimanee and V. Komsong. 2015.

23-25 Feb 2015

KHON KAEN AGR.J. 43 SUPPL.2. 216-219.

TCI Q1

9

ผลของการเสรมิเยื่อในลาํต6นสาคูในอาหารท่ีมีผลต?อสมรรถภาพการผลิตของไก?พ้ืนเมืองในช?วงเจริญเติบโต

เปลื้อง บุญแก6ว อัจฉรา นิยมเดชา และมงคง คงเสน

พ.ค-ส.ค 58

วารสารสตัวศาสตร�แห?งประเทศไทย

รายงานสืบเน่ืองการ

ประชุมวิชการระดับชาต ิ

10 ผลของการเสรมิใบมันสาํปะหลังในอาหารต?อสมรรถภาพการผลติของไก?เน้ือ

อัจฉรา นิยมเดชา เปลื้อง บุญแก6ว

และมงคง คงเสน

พ.ค-ส.ค 58

วารสารสตัวศาสตร�แห?งประเทศไทย

รายงานสืบเน่ืองการ

ประชุมวิชการระดับชาต ิ

11

Vitrification of Thai native cattle oocytles: effects of ethylene glycol concentrations exposure time, linoleic acid albumin and cholesterol-loaded methyl-B-cyclodextrin

Jakkhaphan 2015 CryoLetters 36(3), 165-

173. ISI

Page 56: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

54

ท่ี ชื่อบทความวิจัย เจOาของบทความ เดือน -ปBท่ี

พิมพ ชื่อวารสารท่ีติมพ ฐานขOอมูล

12

Pretreatment of in vitro matured bovine oocytes with docetaxel before vitrification: Effects on cytoskeleton integrity and developmental ability after warning

Jakkhaphan 17-Jul-15 CryoLetters ISI

13

ผลของการเสรมิกากชาเขียวในอาหารต?อสมรรถภาพการผลิต คุณภาพซาก และการลดอนุมูลอิสระในเน้ืออกของไก?เน้ือ.

อัจฉรา นิยมเดชา เปลื้อง บุญแก6ว และ

มงคล คงเสน. 5 ส.ค 58

รายงานสืบเน่ืองจากการประชุมวิชาการระดับชาต ิครั้งท่ี 4 เรื่อง “การวิจัยและนวัตกรรมเพ่ือพัฒนาท6องถ่ินสู?ประชาคมอาเซียน” วันท่ี 5 สิงหาคม 2558. หน6า 72-79

รายงานสืบเน่ืองจากการประชุมวิชาการระดับชาต ิ

14

การเสริมสมุนไพรฟvาทะลายโจร (Andrographis paniculata (Burm. F.) Nees) ในอาหารต?อสมรรถภาพการผลิตของไก?กระทงและคุณภาพซาก.

เปลื้อง บุญแก6ว อัจฉรา นิยมเดชา และมงคล คงเสน.

5 ส.ค 58

รายงานสืบเน่ืองจากการประชุมวิชาการระดับชาต ิ

ครั้งท่ี 4 เรื่อง “การวิจัยและนวัตกรรมเพ่ือพัฒนาท6องถ่ินสู?ประชาคมอาเซียน” วันท่ี 5 สิงหาคม 2558. หน6า 87-

95

รายงานสืบเน่ืองจากการ

ประชุมวิชาการ

ระดับชาต ิ

15 ผลของเวลาในการผสมเทียมด6วยนํ้าเช้ือสดต?ออัตราการผสมตดิในไก?เบตง

มงคล คงเสน สุนีย� ตรีมณ ีอัจฉรา นิยมเดชา และเปลื้อง บุญแก6ว.

5 ส.ค 58

รายงานสืบเน่ืองจากการประชุมวิชาการระดับชาต ิ

ครั้งท่ี 4 เรื่อง “การวิจัยและนวัตกรรมเพ่ือพัฒนาท6องถ่ินสู?ประชาคมอาเซียน” วันท่ี 5 สิงหาคม 2558. หน6า

103-107

รายงานสืบเน่ืองจากการ

ประชุมวิชาการ

ระดับชาต ิ

16 ผลของอัตราการเจือจางนํ้าเช้ือต?อการเคลื่อนท่ีรายตัวของตัวอสจิุไก?เบตง

มงคล คงเสน อัจฉรา นิยมเดชา เปลื้อง บุญแก6ว สุนีย� ตรีมณี และแทน รังเสาร�.

5 ส.ค 58

รายงานสืบเน่ืองจากการประชุมวิชาการระดับชาต ิ

ครั้งท่ี 4 เรื่อง “การวิจัยและนวัตกรรมเพ่ือพัฒนาท6องถ่ินสู?ประชาคมอาเซียน” วันท่ี 5 สิงหาคม 2558. หน6า

108-112

รายงานสืบเน่ืองจากการ

ประชุมวิชาการ

ระดับชาต ิ

Page 57: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

55

ท่ี ชื่อบทความวิจัย เจOาของบทความ เดือน -ปBท่ี

พิมพ ชื่อวารสารท่ีติมพ ฐานขOอมูล

17 การศึกษาปริมาณของไตรโคเดอร�มารูปแบบผงในการควบคุมโรครากขาวของยางพารา

สายทอง แก6วฉาย และปpทมา มัยดิง

5 ส.ค 58

รายงานสืบเน่ืองจากการประชุมวิชาการระดับชาต ิ

ครั้งท่ี 4 เรื่อง “การวิจัยและนวัตกรรมเพ่ือพัฒนาท6องถ่ินสู?ประชาคมอาเซียน” วันท่ี 5 สิงหาคม 2558. หน6า 80-

86

รายงานสืบเน่ืองจากการ

ประชุมวิชาการ

ระดับชาต ิ

18 ผลของการใช6ปุ�ยต?อการเจริญเติบโตและผลผลิตของดาวเรืองพันธุ�อเมริกัน

บัญชา รัตนีทู และศิราณี วงศ�กระจ?าง

5 ส.ค 58

รายงานสืบเน่ืองจากการประชุมวิชาการระดับชาต ิ

ครั้งท่ี 4 เรื่อง “การวิจัยและนวัตกรรมเพ่ือพัฒนาท6องถ่ินสู?ประชาคมอาเซียน” วันท่ี 5 สิงหาคม 2558. หน6า

120-124

รายงานสืบเน่ืองจากการ

ประชุมวิชาการ

ระดับชาต ิ

19 ผลของระยะปลูกต?อการเจริญเติบโตและผลผลิตของข6าวหอมกระดังงา

ทวี บุญภิรมย� ก.ย-ธ.ค

58 วารสาร มนร. ปFท่ี 7 ฉบับ 3

หน6า 115-120 TCI Q1

20

2558. ผลของการเสริมขมิ้นชันผง (Curcuma longa Linn.) ในอาหารต?อสมรรถภาพการผลิต และการลดอนุมูลอิสระในเน้ืออกของไก?เน้ือ.

อัจฉรา นิยมเดชา มงคล คงเสน และเปลื้อง บุญแก6ว.

วันท่ี 29-30 ต.ค 2558

การประชุมวิชาการระดับชาต ิราชภัฏสุราษฎร�ธานี ครั้งท่ี 11 "บูรณาการ

งานวิจัยสู?มหาวิทยาลัยรับใช6สังคม" หน6า 200-207

รายงานสืบเน่ืองจากการ

ประชุมวิชาการ

ระดับชาต ิ

ผลงานวิชาการ ตารางสรุปข�อมูลผลงานของอาจารย�และนักวิจัยในหลักสูตร

ปF

ผลงานเผยแพร? ผลงาน

รวม

(เรื่อง)

จํานวน

อาจารย�รวม

เรียนต?อ

(คน)

จํานวนผลงาน

ต?ออาจารย�และ

นักวิจัย

(เรื่อง/คน)

ภายในสถาบัน ระดับชาต ิ ระดับภูมิภาค ระดับ

นานาชาติ

2558 - 18 - 2 20 20 1.0

2557 - 16 - 1 17 19 0.9

2556 - 20 - 1 21 17 1.24

Page 58: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

56

ตารางสรุปข�อมูลผลงานของอาจารย�และนักวิจัยในหลักสูตร

ปF

ผลงานเผยแพร? ผลงาน

รวม

(เรื่อง)

จํานวน

อาจารย�

รวมเรียน

ต?อ (คน)

จํานวนผลงาน

ต?ออาจารย�

และนักวิจัย

(เรื่อง/คน)

ภายใน

สถาบัน ระดับชาติ

ระดับ

ภูมิภาค

ระดับ

นานาชาติ

2558 - 18 - 2 20 20 1.0

2557 - 16 - 1 17 19 0.9

2556 - 20 - 1 21 17 1.24

ตารางขOอมูลการพัฒนาทางวิชาชีพของอาจารย ผูOรับผิดชอบหลักสูตร

ลําดับท่ี

อาจารย ผูOรับผิดชอบหลักสูตร

รายละเอียดการพัฒนาทางวิชาชีพ การอบรม/สัมมนา/

ประชุมทางวิชาการ/ดูงานฯลฯ

หนJวยงานท่ีจัด ว/ด/ป การใชOประโยชน /

การไดOรางวัลหรือการยอมรับ

1. ผู6ช?วยศาสตราจารย�ทวี บุญภิรมย�

- เข6าร?วมประชุมและหารือเรื่องการจัดการประชุมวิชาการประจําปF 2558

มหาวิทยาลยัราชภฏัยะลา

จังหวัดยะลา

28 พฤศจิกายน 2557

บูรณาการในการเรยีนการ

สอน - เข6าร?วมประชุมสภาคณบดี สาขาเกษตรแห?งประเทศไทย

มหาวิทยาลยัเกษตรศาสตร�

บางเขน กรุงเทพฯ

22 - 23 ธันวาคม 2557

บูรณาการในการเรยีนการสอน

- เข6าร?วมประชุมรบัทราบทะเบียนแนวทางการและข้ันตอนการดําเนินงานสนองพระราชดําริในกิจกรรม

มหาวิทยาลยัสงขลานครินทร�

จังหวัดสงขลา

5 มกราคม 2558 บูรณาการในการเรยีนการสอน

- เข6าร?วมประชุมความหลากหลายทางชีวภาพ

โรงแรมมารวยการ�เด6น กรุงเทพฯ

๖ มกราคม ๒๕๕๘

บูรณาการในการเรยีนการสอน

- เข6าร?วมถวายพระพรพระบาทสมเด็จพระปรมินทร�มหา

ณ โรงพยาบาลศิรริาช กรุงเทพฯ

8 - 10 มกราคม 2558

บูรณาการในการเรยีนการ

Page 59: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

57

ลําดับท่ี

อาจารย ผูOรับผิดชอบหลักสูตร

รายละเอียดการพัฒนาทางวิชาชีพ การอบรม/สัมมนา/

ประชุมทางวิชาการ/ดูงานฯลฯ

หนJวยงานท่ีจัด ว/ด/ป การใชOประโยชน /

การไดOรางวัลหรือการยอมรับ

ภูมิพลอดลุเดชมหาราช สอน

- เข6าร?วมประชุมสภาคณบดีสาขาแห?งประเทศไทย ครั้งท่ี2/2558

ณ หอประชุมใหญ?ศูนย�ฝwกอบรมคลังกoาซ

เขาบ?อยา จังหวัดชลบุร ี

28 - 30 พฤษภาคม 2558

บูรณาการในการเรยีนการสอน

- จัดทําโครงการพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนของคณะเกษตรศาสตร�

มหาวิทยาลยัเทคโนโลยี -

ราชมงคลศรีวิชัย จังหวัด

นครศรีธรรมราช

26 – 28 กรกฎาคม 2558

บูรณาการในการเรยีนการสอน

- เข6าร?วมโครงการจัดทําข้ันตอนการปฏิบัติงานขอสายสนับสนุนการศึกษา เละโครงการเพ่ิมทักษะวิชาชีพชองบุคลากรสายสนับสนุน

ณ จังหวัดสรุาษฎร�ธานี

จังหวัดนครศรีธรรมราช และ

จังหวัดสงขลา

26 – 28 กรกฎาคม 2558

บูรณาการในการเรยีนการสอน

- เข6าร?วมวิพากษ�หลักสตูรวิทยาศาสตร�บัณฑิต (วทบ) สาขา –เกษตรศาสตร�

มหาวิทยาลยัสงขลานครินทร�

จังหวัดสงขลา

23 พฤศจิกายน 2558

บูรณาการในการเรยีนการสอน

- เข6าร?วมโครงการพัฒนาบุคลากรสายสอนและวิจยั “ด6านเทคนิคการจัดการเรยีนการสอนและการวัดผลประเมินผล”

คณะศิลปศาสตร� มหาวิทยาลยั-

นราธิวาสราชนครินทร�

21 – 23 กรกฎาคม 2559

บูรณาการในการเรยีนการสอน

2 อาจารย�อัจฉรา นิยมเดชา

- เข6าร?วมระดมสมอง การเก็บรักษาสายพันธ�ไก?พ้ืนเมืองเพ่ืออนุรักษ�และ ใช6ประโยชน�ทางเศรษฐกิจ

โรงแรมกามาเด6นส� กรุงเทพฯ

๒๘ มกราคม ๒๕๕๘

บูรณาการในการเรยีนการสอน

- เข6าร?มประชุมทางวิชาการและนําเสนอผลงาน เรื่อง“ผลของการเสรมิขมิ้นชันผง”(Curcuma longa Linn.)

มหาวิทยาลยัเกษตรศาสตร�

วิทยาลัยเขตบางเขน

๓๐ มกราคม – ๖ กุมภาพันธ� ๒๕๕๘

บูรณาการในการเรยีนการสอน

- เข6าร?วมการประชุมวิชาการระดับชาติ ราชภัฎสุราษฎ�ธานี

มหาวิทยาลยัราชภฏัสุราษธานี

29 – 30 ตุลาคม 2558

บูรณาการในการเรยีนการ

Page 60: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

58

ลําดับท่ี

อาจารย ผูOรับผิดชอบหลักสูตร

รายละเอียดการพัฒนาทางวิชาชีพ การอบรม/สัมมนา/

ประชุมทางวิชาการ/ดูงานฯลฯ

หนJวยงานท่ีจัด ว/ด/ป การใชOประโยชน /

การไดOรางวัลหรือการยอมรับ

ครั้งท่ี 1 สอน - วิพากษ�หลักสูตรวิทยาศสตร� บัณฑิต (วทบ.) สาขาเกษตรศาสตร�

มหาวิทยาลยัสงขลานครินทร�

วิทยาเขตหาดใหญ?

23 พฤศจิกายน 2558

บูรณาการในการเรยีนการสอน

- เข6าร?วมโครงการส?งเสริมองค�ความรู6เพ่ือพัฒนาจังหวัดชายแดนใต6 กิจกรรมการแข?งขันทักษะทางวิชาการและการนําเสนอผลงานวิจัยของ 3 สถาบัน

คณะวิทยาศาสตร�และเทคโนโลยี วิทยาเขต

ปpตตานี จังหวัดปpตตานี

11 – 12 มีนาคม 2559

บูรณาการในการเรยีนการสอน

- เข6าร?วมโครงการเพ่ิมทักษะทางวิชาชีพของบุคลากรและกลไกลการขับเคลื่อนพัฒนาคณะเกษตรศาสตร�

ณ อุทยานแห?งชาติตะรุเตา จังหวัดสตลู

9 – 11 มกราคม 2559

บูรณาการในการเรยีนการสอน

- เข6าร?วมโครงการส?งเสรมิองค�ความรู6เพ่ือการพัฒนาจังหวัดชายแดนใต6

ณ คณะวิทยาศาสตร�และเทคโนโลยี วิทยาเขตปpตตานี จังหวัด

ปpตตานี

11 -12 มีนาคม 2559

บูรณาการในการเรยีนการสอน

- เข6าร?วมอบรมรับใบอนุญาตใช6สัตว�

ณ อาคารสารนิเทศ 50 ปF

มหาวิทยาลัยเกษตรศษสตร�บางเขน

กรุงเทพฯ

5 - 6กรกฎาคม 2559

บูรณาการในการเรยีนการสอน

3. อาจารย� ดร.สายทอง แก6วฉาย

- เข6าร?วมประชุมและหารือเรื่องการจัดประชุมวิชาการ ประจําปF 2558 ระหว?าง 3 สถาบัน

มหาวิทยาลยัราชภฏัยะลา

จังหวัดยะลา

28 พฤศจิกายน2557

บูรณาการในการเรยีนการสอน

- เข6าร?วมรับฟpงความคิดเห็นในการจัดการทํามาตรฐาน คุณวุฒิ (มคอ.1)

มหาวิทยาลยัสงขลานครินทร�

จังหวัดสงขลา

23 ธันวาคม2557 บูรณาการในการเรยีนการสอน

- เข6าร?วมประชุมความหลากหลายทางชีวภาพ

ณ โรงแรมมารวยการ�เด6น

5-6 มกราคม 255๘

บูรณาการในการเรยีนการสอน

Page 61: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

59

ลําดับท่ี

อาจารย ผูOรับผิดชอบหลักสูตร

รายละเอียดการพัฒนาทางวิชาชีพ การอบรม/สัมมนา/

ประชุมทางวิชาการ/ดูงานฯลฯ

หนJวยงานท่ีจัด ว/ด/ป การใชOประโยชน /

การไดOรางวัลหรือการยอมรับ

- เข6าร?วมเป-นประธานการสอบวิทยานิพนธ�นักศึกษาปริญญาโท

มหาวิทยาลยัสงขลานครินทร�

3 มีนาคม 2558 บูรณาการในการเรยีนการสอน

- เข6าร?วมอบรม TQF and Development of Professional Standards Framework

ณ โรงแรมโกเมนโดมอนด�พลาซ?า

19 - 23 พฤษภาคม 2558

บูรณาการในการเรยีนการสอน

- จัดทําโครงการพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนของคณะเกษตรศาสตร�

มหาวิทยาลยัเทคโนโลยี -

ราชมงคลศรีวิชัย จังหวัด

นครศรีธรรมราช

26 – 28 กรกฎาคม 2558

บูรณาการในการเรยีนการสอน

- รายงานความก6าวหน6ารวมถึงปpญหาและอุปสรรค โครงการวิจัย เรื่อง ชนิดและความหลากหลายของเช้ือราในดินพรุสิรินธรและคุณสมบัติของการเป-นเช้ือราปฏิปpกษ�กําจัดโรคพืช

ณ สํานักงาน กปร. กรุงเทพฯ

4 – 6 สิงหาคม2558

บูรณาการในการเรยีนการสอน

- เข6าร?วมประชุมสภาคณบดีสาขาการเกษตรแห?งประเทศไทย ครั้งท่ี4/2558

มหาวิทยาลยัสงขลานครินทร�

10 – 11 สิงหาคม 2558

บูรณาการในการเรยีนการสอน

- เข6าร?วมประชุมเครือข?าย C-โครงการอนุรักษ�พันธุกรรมพืชอันเน่ืองมาจากพระราชดําร ิ(C- อพ.สธ)

ณ ห6องประชุมสํานักงานองค�การ

บริหารส?วนตําบลรําแดงจังหวัดสงขลา

13 – 14 กันยายน2558

บูรณาการในการเรยีนการสอน

- วิพากษ�หลักสูตรวิทยาศาสตร�บัณฑิต (วทบ.) สาขาเกษตรศาสตร�

มหาวิทยาลยัสงขลานครินทร�

วิทยาเขตหาดใหญ?

23 พฤศจิกายน 2558

บูรณาการในการเรยีนการสอน

- นําเสนอผลงานวิจัยในงานประชุมวิชาการนานาชาต ิ

ณ ประเทศเวียดนาม 25 – 29 พฤศจิกายน

2558

บูรณาการในการเรยีนการสอน

- เข6าร?วมเป-นกรรมการผู6ทรงคุณวุฒิสอบวิทยานิพนธ� ของนักศึกษาระดับปริญญาเอก

ณ คณะทรัพยากรธรรมชาต ิวิทยาเขตหาดใหญ?

4 ธันวาคม 2558 บูรณาการในการเรยีนการสอน

Page 62: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

60

ลําดับท่ี

อาจารย ผูOรับผิดชอบหลักสูตร

รายละเอียดการพัฒนาทางวิชาชีพ การอบรม/สัมมนา/

ประชุมทางวิชาการ/ดูงานฯลฯ

หนJวยงานท่ีจัด ว/ด/ป การใชOประโยชน /

การไดOรางวัลหรือการยอมรับ

จังหวัดสงขลา

- ประชุมกรรมการสภาวิชาการ ณ ห6องประชุมดวงวดี สังโขบล คณะ

พยาบาลศาสตร� มหาวิทยาลยัสงขลานครินทร� จังหวัดสงขลา

8 ธันวาคม 2558

บูรณาการในการเรยีนการสอน

- เข6าร?วมโครงการเพ่ิมทักษะทางวิชาชีพของบุคลากรและกลไกลการขับเคลื่อนพัฒนา คณะเกษตรศาสตร�

ณ อุทยานแห?งชาติตะรุเตา จังหวัดสตลู

9 – 11 มกราคม 2559

บูรณาการในการเรยีนการสอน

- อบรมหลักสูตรการเพาะเห็ดครบวงจรและอบรมหลักสูตรการลูกพืชไม?ใช6ดิน (Hydroponics) ให6แก?นักศึกษา

ณ ฝwกอาชีพดอนบอสโก จังหวัดจังหวัด

สงขลา

21, 28 กุมภาพันธ� 2559

บูรณาการในการเรยีนการสอน

- เข6าร?วมประชุมกรรมการเพ่ือการพัฒนาการอุดมศึกษาภาคใต6ตอนล?าง

ณ ห6องประชุมมหาวิทยาลยัทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง จังหวัดพัทลุง

7 มีนาคม 2559 บูรณาการในการเรยีนการสอน

- เข6าร?วมโครงการส?งเสรมิองค�ความรู6เพ่ือการพัฒนาจังหวัดชายแดนใต6

ณ คณะวิทยาศาสตร�แลเทคโนโลยี วิทยาเขตปpตตานี จังหวัดปpตตานี

11 -12 มีนาคม 2559

บูรณาการในการเรยีนการสอน

- เข6าร?วมโครงการฝwกอบรมผู6ประเมินระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสตูรตามเกณฑ� AUN QA

ณ ห6องกมลทิพย� โรงแรมเดอะสุโกศล

กทม.

18-19 มีนาคม 2559

บูรณาการในการเรยีนการสอน

- เข6าร?วมโครงการส?งเสริมองค�ความรู6เพ่ือพัฒนาจังหวัดชายแดนใต6 กิจกรรมการแข?งขันทักษะทาง

สถาบัน คณะวิทยาศาสตร�และ

เทคโนโลยี วิทยาเขตปpตตานี จังหวัด

11 – 12 มีนาคม 2559

บูรณาการในการเรยีนการสอน

Page 63: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

61

ลําดับท่ี

อาจารย ผูOรับผิดชอบหลักสูตร

รายละเอียดการพัฒนาทางวิชาชีพ การอบรม/สัมมนา/

ประชุมทางวิชาการ/ดูงานฯลฯ

หนJวยงานท่ีจัด ว/ด/ป การใชOประโยชน /

การไดOรางวัลหรือการยอมรับ

วิชาการและการนําเสนอผลงานวิจัยของ 3

ปpตตานี

-เข6าร?วมเฝvาทูลละอองพระบาทสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามราชกุมาร ี

ณ ศูนย�ประชุมเอนกประสงค�-กาญจนาภเิบก

มหาวิทยาลยัขอนแก?น จังหวัดขอนแก?น

22 – 25 มีนาคม 2559

บูรณาการในการเรยีนการสอน

- เข6าร?วมเป-นประธานกรรมการสอบวิทยานิพนธ�ของนักศึกษาระดับปริญญาโท

ณ คณะทรัพยากรธรรมชาติ วิทยาเขตหาดใหญ?

จังหวัดสงขลา

12 – 13 พฤษภาคม

2559

บูรณาการในการเรยีนการสอน

- เข6าร?วมโครงการเครือข?ายสถาบันการศึกษาสืบสานพระราชดําริ รุ?นท่ี 3

ณ สํานักงานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ แขวง-บางยี่ยัน เขตบางพระกรุงเทพฯ

27 – 29 มิถุนายน 2559

บูรณาการในการเรยีนการสอน

- เข6าร?วมอบรมประชุมสัมมนา เรื่องการจัดทําหลักสูตรตามเกณฑ�มาตราฐานหลักสูตร

ณ โรงแรมลีการ�เดนส� พลาซ?า

จังหวัดสงขลา

5 กรกฎาคม 2559

บูรณาการในการเรยีนการสอน

- เข6าร?วมโครงการพัฒนาบุคลากรสายสอนและวิจยั “ด6านเทคนิคการจัดการเรยีนการสอนและการวัดผลประเมินผล”

คณะศิลปศาสตร� มหาวิทยาลยั-

นราธิวาสราชนครินทร�

21 – 23 กรกฎาคม 2559

บูรณาการในการเรยีนการสอน

4. ผู6ช?วยศาสตราจารย�เจษฎา แก6วฉาย

- เข6าร?วมประชุมและหารือ เรื่องการจัดประชุมวิชาการประจําปF 2558

มหาวิทยาลยัราชภฏัยะลา

28 พฤศจิกายน 2557

บูรณาการในการเรยีนการสอน

- เข6าร?วมประชุมรบัฟpงความคิดเห็นในการจัดทํามาตรฐาน คุณวุฒิ (มคอ.1)

มหาวิทยาลยัสงขลานครินทร�

23 ธันวาคม 2557

บูรณาการในการเรยีนการสอน

Page 64: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

62

ลําดับท่ี

อาจารย ผูOรับผิดชอบหลักสูตร

รายละเอียดการพัฒนาทางวิชาชีพ การอบรม/สัมมนา/

ประชุมทางวิชาการ/ดูงานฯลฯ

หนJวยงานท่ีจัด ว/ด/ป การใชOประโยชน /

การไดOรางวัลหรือการยอมรับ

- จัดทําโครงการพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนของคณะเกษตรศาสตร�

มหาวิทยาลยัเทคโนโลยี -

ราชมงคลศรีวิชัย จังหวัด

นครศรีธรรมราช

26 - 28 กรกฎาคม 2558

บูรณาการในการเรยีนการสอน

- เข6าร?วมโครงการ “เครือข?ายสถาบันการศึกษาสืบสานพระราชดําร”ิ รุ?นท่ี 2

ณ สํานักงาน กปร. กรุงเทพฯ

3 – 7 สิงหาคม 2558

บูรณาการในการเรยีนการสอน

- วิพากษ�หลักสูตรวิทยาศาสตร� บัณฑิต (วทบ.) สาขาเกษตรศาสตร�

มหาวิทยาลยัสงขลานครินทร�

วิทยาเขตหาดใหญ?

23 พฤศจิกายน 2558

บูรณาการในการเรยีนการสอน

- นําเสนอผลงานวัยในงานประชุมวิชาการนานาชาต ิ

ณ ประเทศเวียดนาม 25 – 29 พฤศจิกายน

2558

บูรณาการในการเรยีนการสอน

- เข6าร?วมโครงการส?งเสริมองค�ความรู6เพ่ือพัฒนาจังหวัดชายแดนใต6 กิจกรรมการแข?งขันทักษะทางวิชาการและการนําเสนอผลงานวิจัยของ 3 สถาบัน

คณะวิทยาศาสตร�และเทคโนโลยี วิทยาเขต

ปpตตานี จังหวัดปpตตานี

11 – 12 มีนาคม 2559

บูรณาการในการเรยีนการสอน

- เข6าร?วมโครงการเพ่ิมทักษะทางวิชาชีพของบุคลากรและกลไกล การขับเคลื่อนพัฒนาคณะเกษตรศาสตร�

ณ อุทยานแห?งชาติตะรุเตา จังหวัดสตลู

9 – 11 มกราคม 2559

บูรณาการในการเรยีนการสอน

- เข6าร?วมโครงการส?งเสรมิองค�ความรู6เพ่ือการพัฒนาจังหวัดชายแดนใต6

ณ คณะวิทยาศาสตร�และเทคโนโลยี วิทยาเขตปpตตานี จังหวัด

ปpตตานี

11 -12 มีนาคม 2559

บูรณาการในการเรยีนการสอน

- เข6าร?วมโครงการเพ่ิมศักยภาพสคีุริน ระยะท่ี5

ณ ห6องประชุมอําเภอสุคีริน

จังหวัดนราธิวาส

25 มีนาคม 2559 บูรณาการในการเรยีนการสอน

Page 65: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

63

ลําดับท่ี

อาจารย ผูOรับผิดชอบหลักสูตร

รายละเอียดการพัฒนาทางวิชาชีพ การอบรม/สัมมนา/

ประชุมทางวิชาการ/ดูงานฯลฯ

หนJวยงานท่ีจัด ว/ด/ป การใชOประโยชน /

การไดOรางวัลหรือการยอมรับ

- เข6าร?วมนิเทศนักศึกษาประสบการณ�วิชาชีพ

ณ ศูนย�บํารุงพันธุ�สตัว�ปxาตองและบริษัท Land and Hevb จังหวัดเชียงใหม?

11 – 17 กรกฎาคม 2559

บูรณาการในการเรยีนการสอน

- เข6าร?วมโครงการพัฒนาบุคลากรสายสอนและวิจยั “ด6านเทคนิคการจัดการเรยีนการสอนและการวัดผลประเมินผล”

คณะศิลปศาสตร� มหาวิทยาลยั-

นราธิวาสราชนครินทร�

21 – 23

กรกฎาคม 2559

บูรณาการในการเรยีนการสอน

5. อาจารย� ดร.ซารีนา สือแม

- เข6าร?วมประชุมเพ่ือหาข6อตกลงและข6อเสนอแนะในการปรับปรุงแก6ไขร?าง (มคอ.1)

มหาวิทยาลยัเกษตรศาสตร�

วิทยาลัยเขตบางเขน

๒๗ พฤษจิกายน 2557

บูรณาการในการเรยีนการสอน

- ศึกษาดูงานวิจัยด6านการใช6สัตว�ทดลอง

มหาวิทยาลยัเกษตรศาสตร�

วิทยาลัยเขตบางเขน

๖ – ๘ มกราคม 2558

บูรณาการในการเรยีนการสอน

- เข6าร?วมอบรมเรื่องการสุ?มตัวอย?างในการทดลอง

มหาวิทยาลยัเกษตรศาสตร�

บางเขน

23 มีนาคม - 3 เมษายน 2558

บูรณาการในการเรยีนการสอน

- เข6าร?วมประชุมหารือการจัดประชุมวิชาการสัตวศาสตร�แห?งชาติ ครั้งท่ี 4 และการจัดประชุมภาคีสัตวบาลสัตวศาสตร�ครั้งท่ี 7

มหาวิทยาลยัสงขลานครินทร�

วิทยาลัยเขตบางเขน

23 พฤษภาคม2558

บูรณาการในการเรยีนการสอน

- จัดทําโครงการพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนของคณะเกษตรศาสตร�

มหาวิทยาลยัเทคโนโลยี -

ราชมงคลศรีวิชัย จังหวัดนครศรีธรรม

ราข

26 - 28 กรกฎาคม 2558

บูรณาการในการเรยีนการสอน

- ศึกษาเรื่องการใช6วัตถุดิบเพ่ืออาหารสตัว�

มหาวิทยาลยัเกษตรศาสตร�

วิทยาลัยเขตบางเขน

23 ตุลาคม 2558 บูรณาการในการเรยีนการสอน

- วิพากษ�หลักสตูรวิทยาศาสตร� มหาวิทยาลยัสงขลาน 23 พฤศจิกายน บูรณาการใน

Page 66: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

64

ลําดับท่ี

อาจารย ผูOรับผิดชอบหลักสูตร

รายละเอียดการพัฒนาทางวิชาชีพ การอบรม/สัมมนา/

ประชุมทางวิชาการ/ดูงานฯลฯ

หนJวยงานท่ีจัด ว/ด/ป การใชOประโยชน /

การไดOรางวัลหรือการยอมรับ

บัณฑิต (วทบ.) สาขาเกษตรศาตร� ครินทร� วิทยาเขตหาดใหญ?

2558 การเรยีนการสอน

- เข6าร?วมใช6วัตถุดิบเพ่ืออาหารสัตว�

ณ มหาวิทยาลยัเกษตรศา

สตร� กทม.

5 – 6 ตุลาคม 2558

บูรณาการในการเรยีนการสอน

- เข6าร?วมประชุมกรรมการสภาวิชาการ

ณ ห6องประชุมดวงวดี สังโขบล คณะ

พยาบาล มหาวิทยาลยัสงขลาน

ครินทร� จังหวัดสงขลา

8 ธันวาคม 2558 บูรณาการในการเรยีนการสอน

- เข6าร?วมประชุมเพ่ือให6ข6อคิดเห็นและปรับปรุงแก6ไข ร?างตัวอย?าง มคอ.2 – มคอ.7

โรงแรมมิราเคิล แกรนด� คอนเวนช่ัน

กรุงเทพฯ

14 ธันวาคม 2558

บูรณาการในการเรยีนการสอน

- ศึกษาดูงานเพ่ือเพ่ิมประสบการณ�นอกห6องเรียน

ณ ศูนย�วิจัยและพัฒนาสัตว�เค้ียวเอ้ืองขนาดเล็ก ต.หอยโข?ง

จ.สงขลา

10 กุมภาพันธ� 2559

บูรณาการในการเรยีนการสอน

- เข6าร?วมโครงการส?งเสริมองค�ความรู6เพ่ือพัฒนาจังหวัดชายแดนใต6 กิจกรรมการแข?งขันทักษะทางวิชาการและการนําเสนอผลงานวิจัยของ 3 สถาบัน - เข6าร?วมโครงการส?งเสรมิองค�ความรู6เพ่ือการพัฒนาจังหวัดชายแดนใต6

คณะวิทยาศาสตร�และเทคโนโลยี วิทยาเขตปpตตานี จังหวัดปpตตานี

ณ คณะวิทยาศาสตร�และเทคโนโลยี วิทยาเขตปpตตานี จังหวัด

ปpตตานี

11 – 12 มีนาคม 2559

11 -12 มีนาคม

2559

บูรณาการในการเรยีนการสอน

- เดินทางไปนิเทศนักศึกษาฝwกงาน ณ ศูนย�วิจัยพัฒนาอาหารสตัว�เค้ียวเอ้ืองขนาดเล็กและศูนย�

บํารุงสัตว�ยะลาจังหวัด

29 มิถุนายน2 2559

บูรณาการในการเรยีนการสอน

Page 67: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

65

ลําดับท่ี

อาจารย ผูOรับผิดชอบหลักสูตร

รายละเอียดการพัฒนาทางวิชาชีพ การอบรม/สัมมนา/

ประชุมทางวิชาการ/ดูงานฯลฯ

หนJวยงานท่ีจัด ว/ด/ป การใชOประโยชน /

การไดOรางวัลหรือการยอมรับ

ยะลา - เข6าร?วมนิเทศนักศึกษาฝwกประสบการณ�วิชาชีพ

ณ ศูนย�หนังสือจุฬาลงกรณ�

มหาวิทยาลยัเกษตรศาสตร� กรุงเทพฯ

12 – 17 กรกฎาคม2559

บูรณาการในการเรยีนการสอน

- เข6าร?วมประชุมการใช6วัตถุดิบเพ่ืออาหารสตัว�

มหาวิทยาลยัเกษตรศาสตร� กรุงเทพฯ

5 – 6 ตุลาคม 2559

บูรณาการในการเรยีนการสอน

- เข6าร?วมโครงการพัฒนาบุคลากรสายสอนและวิจยั “ด6านเทคนิคการจัดการเรยีนการสอนและการวัดผลประเมินผล”

คณะศิลปศาสตร� มหาวิทยาลยั-

นราธิวาสราชนครินทร�

21 – 23 กรกฎาคม 2559

บูรณาการในการเรยีนการสอน

ผลการดําเนินงาน

6.1 Academic staff planning (considering succession, promotion, re-deployment, termination, and retirement) is carried out to fulfil the needs for education, research and service (1) คณะเกษตรศาสตร�จัดทําแผนบริหารและพัฒนาบุคลากรสายสอนและวิจัย พ.ศ. 2558-2562 (6.1-1) ซ่ึงประกอบด6วยแผนการเข6าสู?ตําแหน?งทางวิชาการในระดับท่ีสูงข้ึน โดยระบุจํานวนของผู6ดํารงตําแหน?งผู6ช?วยศาสตราจารย� รองศาสตราจารย� ท่ีเป-นเปvาหมายในแต?ละปF และมีการผลักดันให6เป-นไปตามเปvาหมายโดยการจัดอบรมบุคลากรสายวิชาการให6มีความรู6ด6านการขอตําแน?งทางวิชาการ ผ?านโครงการพัฒนาบุคลากรสายสอนและวิจัยท่ีมหาวิทยาลัยจัดข้ึน มีการต้ังงบประมาณสนับสนุนค?าใช6จ?ายสําหรับการบริหารจัดการในกระบวนการพิจารณากําหนดตําแหน?งทางวิชาการของคณะกรรมการผู6ทรงคุณวุฒิ นอกจากนี้ยังมีแผนการเพ่ิมสัดส?วนคุณวุฒิระดับปริญญาเอกให6มากข้ึนโดยจัดทําแผนการศึกษาต?อของบุคลากรสายวิชาการ และแผนการรับบุคลากรสายวิชาการท่ีเป-นบุคคลท่ัวไปเพ่ิมข้ึน และสนับสนุนทุนการศึกษาจากแหล?งทุนต?างๆ (6.1-2) ท่ีแสดงให6เห็นถึงอาจารย�ท่ีคงอยู? วิเคราะห�ร?วมกับแผนบริหารและพัฒนาบุคลากร และแสดงให6เห็นถึงจํานวนอาจารย�ท่ีต6องสรรหาให6ได6ในแต?ละปF โดยในปFการศึกษา 2558 มีบุคลากรท่ีมีคุณวุฒิปริญญาเอกเพ่ิมข้ึน 1 ราย และคาดว?าจะเพ่ิมข้ึนปFละ 1-2 รายในปFถัดๆ ไป ท้ังนี้มหาวิทยาลัยได6มีการยกย?องชมเชยผู6ท่ีสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกด6วยการมอบโล?เชิดชูเกียรติให6ทุกปF ส?วนคณะเกษตรศาสตร�ได6ยกย?องเชิดชูโดยการจัดงานเลี้ยงแสดงความยินดีทุกราย

Page 68: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

66

6.2 Staff-to-student ratio and workload are measured and monitored to improve the quality of education, research and service (2) ในปFการศึกษา 2558 คณะกรรมการประจําหลักสูตรได6การวัดสัดส?วนของผู6สอนต?อนักศึกษา โดยใช6ค?าสัดส?วนของ FTEs ซ่ึงกําหนดให6ชั่วโมงทํางานของบุคลากรประจําสายสอนและวิจัยท่ีสอนเต็มเวลา มีค?าชั่วโมงทํางานด6านการสอนและวิจัยเท?ากับ 35 ชั่วโมง/สัปดาห� ดังนั้น ค?า FTEs จํานวน 1 หน?วย มีค?าเท?ากับ 35 ชั่วโมง/สัปดาห� ส?วนค?า FTEs ของนักศึกษากําหนดให6ค?า FTEs จํานวน 1 หน?วย มีค?าเท?ากับการมาเรียนเป-นเวลา 35 ชั่วโมง/สัปดาห� ซ่ึงพบว?า - ค?า FTEs ของบุคลากรประจําสายสอนและวิจัยมีค?าเท?ากับ 9.55

- ค?า FTEs ของนักศึกษามีค?าเท?ากับ 332.23

ดังนั้น ค?าสัดส?วนของนักศึกษาต?ออาจารย� (332.23/9.55) เท?ากับ 34.79 ซ่ึงสูงกว?าค?ามาตรฐานท่ี

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษากําหนดไว6 (= 20.00) ท้ังนี้เนื่องมาจากค?า FTEs ของบุคลากร

ประจําสายสอนและวิจัยมีค?าน6อย เพราะในการคํานวณดังกล?าวนําเฉพาะชั่วโมงภาระงานด6านการสอน

เพียงอย?างเดียวมาคํานวณเป-นค?า FETs ไม?ได6นําภาระงานด6านอ่ืนๆ (เช?น งานวิจัย งานบริการวิชาการ และ

งานบริหารจัดการ) มารวมเป-นค?าชั่วโมงการทํางานด6วย เนื่องจากมหาวิทยาลัยยังไม?ได6กําหนดค?าชั่วโมง

การทํางานของงานต?างๆ เหล?านั้น

ในส?วนของภาระงานของผู6สอน จากข6อมูลภาระงานสอนของบุคลากรสายวิชาการ พบว?าผู6สอน

กลุ?มวิชาพืชศาสตร�มีจํานวน (8 คน) มากกว?าผู6สอนกลุ?มวิชาสัตวศาสตร� (6 คน) จึงได6ปรับภาระงานสอน

ของผู6สอนให6ใกล6เคียงกัน 2 วิธี คือ

วิธีท่ี 1 ตามหลักสูตรรายวิชาในหมวดวิชาเฉพาะ กลุ?มวิชาแกน 27 หน?วยกิต (9 รายวิชา) ซ่ึง

นักศึกษาท้ังกลุ?มวิชาพืชศาสตร� และกลุ?มวิชาสัตวศาสตร�ต6องเรียนนั้น ให6ผู6สอนท่ีอยู?ในกลุ?มวิชาพืชศาสตร�

เป-นผู6รับผิดชอบรายวิชา จํานวน 7 วิชา (ได6แก? หลักการผลิตพืช หลักเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฏีใหม?

การส?งเสริมการเกษตรและสหกรณ�การเกษตร ปฐพีวิทยาเบ้ืองต6น ทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศทาง

การเกษตร สถิติสําหรับการวิจัยทางการเกษตร และการจัดการธุรกิจเกษตร) ท้ังนี้ เพ่ือให6ภาระงานสอน

ของผู6สอนท่ีอยู?ในกลุ?มวิชาสัตวศาสตร�มีภาระงานสอน (12.75คาบ/สัปดาห�) ใกล6เคียงกับผู6สอนท่ีอยู?ในกลุ?ม

วิชาพืชศาสตร� (11.70 คาบ/สัปดาห�)

วิธีท่ี 2 เปuดรายวิชาท่ีเป-นวิชาชีพเลือกของกลุ?มวิชาพืชศาสตร� จํานวนหลายวิชา เพ่ือให6ภาระงาน

ของผู6สอนกลุ?มวิชาพืชศาสตร�สูงข้ึน ใกล6เคียงกับภาระงานของผู6สอนกลุ?มวิชาสัตวศาสตร�

ในด6านการกํากับติดตามเพ่ือพัฒนาคุณภาพด6านการเรียนการสอน คณะกรรมการประจําหลักสูตร

มีการกํากับติดตาม ดังนี้

Page 69: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

67

- การนิเทศการสอน โดยการแต?งต้ังคณะกรรมการนิเทศการสอน ไปสังเกตการณ�สอน

ขณะท่ีผู6สอนกําลังสอน และให6คะแนนการประเมินด6านต?างๆตามแบบฟอร�มท่ีกําหนด และสรุปแจ6งผลการ

ประเมินแก?ผู6สอน เพ่ือให6ผู6สอนปรับปรุงในส?วนท่ีเป-นจุดอ?อน ต?อไป

- การพิจารณารายงานผลการดําเนินการของรายวิชา (มคอ.5 และ มคอ.7) ในส?วนของ

(1) ผลการประเมินรายวิชาโดยนักศึกษา (2) ความก6าวหน6าของการปรับปรุงการเรียนการสอนตามท่ีผู6สอน

เสนอในรายงานของรายวิชาครั้งท่ีผ?านมา และ (3) ข6อเสนอแผนการปรับปรุงสําหรับปFการศึกษาต?อไป โดย

นํามาพิจารณาในท่ีประชุมคณะกรรมการบริหารวิชาการ (6.2-1) และหาแนวทางพัฒนาให6ดียิ่งข้ึนต?อไป

- การส?งบุคลากรสายวิชาการเข6ารับการอบรมด6านเทคนิคการจัดการเรียนการสอนและ

การวัดประเมินผลทุกคน

ในส?วนของการกํากับติดตามเพ่ือพัฒนาคุณภาพด6านวิจัย และคุณภาพด6านการบริการวิชาการ ใน

ปFงบประมาณท่ีผ?านมา คณะเกษตรศาสตร�ได6รับงบประมาณในการพัฒนาห6องปฏิบัติการทางด6านพืชศาสตร�

2 ห6อง และทางด6านสัตวศาสตร� 2 ห6อง เพ่ือให6บุคลากรสายวิชาการได6ทําวิจัยเชิงลึกได6มากข้ึน นอกจากนี้

ยังใช6งบประมาณในการพัฒนางานฟาร�มเพ่ือรองรับการนําผลงานวิจัยไปบริการวิชาการ และให6เป-นแหล?ง

เรียนรู6สําหรับผู6เข6าศึกษาดูงาน ซ่ึงในปFการศึกษา 2558 มีผู6มาศึกษาดูงาน มากกว?า 10 กลุ?ม

6.3 Recruitment and selection criteria including ethics and academic freedom for appointment, deployment and promotion are determined and communicated (4,5,6,7)

อาจารย�ประจําหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเกษตรศาสตร� ได6ร?วมการกําหนดระบบและกลไกในการรับสมัครอาจารย�ใหม? และแต?งต้ังอาจารย�ประจําหลักสูตร โดยพิจารณาตามคุณวุฒิการศึกษาและความชํานาญของแต?ละคน นอกจากนั้นต6องมีประสบการณ�ตามเกณฑ�มาตรฐานท่ี สกอ. กําหนด โดยมีระบบและกลไกในการดําเนินงาน ดังนี้

1. จัดทําแผนอัตรากําลังบุคลากรสายสอน 2. จัดทํากรอบอัตรากําลังบุคลากรสายสอนและวิจัยเสนอมหาวิทยาลัย 3. กระบวนการคัดเลือก 4. ประชุมเปลี่ยนแปลงอาจารย�ประจําหลักสูตร 5. พิจารณาเห็นชอบเปลี่ยนแปลงอาจารย�ประจําหลักสูตร

6. รายงานการเปลี่ยนแปลงต?อสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาโดยผ?านสภาวิชาการ และสภามหาวิทยาลัย

Page 70: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

68

6.4 Competences of academic staff are identified and evaluated (3) มีการระบุและประเมินผลสมรรถนะของบุคลากรสายวิชาการ

คณะเกษตรศาสตร�ประเมินผลการปฏิบัติงานบุคลากรสายวิชาการตามคู?มือประเมินผลการ

ปฏิบัติงานบุคลากรสายวิชาการ (6.4.1) ท่ีมหาวิทยาลัยกําหนด ซ่ึงคู?มือดังกล?าวผ?านการวิพากษ� และ

ทดลองใช6แล6ว ทําให6เชื่อม่ันได6ว?าสามารถประเมินสมรรถนะของบุคลากรสายวิชาการได6เป-นอย?างดี

6.5 Training and developmental needs of academic staff are identified and activities are implemented to fulfil them (8) มีการระบุความต6องการอบรมเพ่ือพัฒนาบุคลากรสายวิชาการ และจัดกิจกรรมอบรมและพัฒนาตามความต6องการนั้น คณะเกษตรศาสตร�ได6สํารวจความต6องการในการพัฒนาตนเองในด6านใด และบรรจุความต6องการนั้นไว6ในส?วนของแผนความต6องการ ฝwกอบรม/สัมมนา/ศึกษาดูงาน ของบุคลากรสายสอนและวิจัย ท่ีอยู?ในแผนบริหารและพัฒนาบุคลากรสายสอนและวิจัย คณะเกษตรศาสตร� มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร� พ.ศ. 2558-2562 ท้ังนี้ในปFการศึกษา 2558 คณะเกษตรศาสตร�ได6จัดงบประมาณเพ่ือการนี้ให6บุคลากรรายละ 6,500 บาท

6.6 Performance management including rewards and recognition is implemented to motivate and support education, research and service (9) การบริหารผลการปฏิบัติงาน เช?น ให6รางวัล ยกย?อง ให6เกียรติเพ่ือสร6างแรงจูงใจ และสนับสนุนการเรียน การสอน การวิจัย และการบริการวิชาการ

คณะเกษตรศาสตร�มีการให6เกียรติผู6ท่ีมีผลงานดีเด?นทางด6านการเรียนการสอน การวิจัย และการ

บริการวิชาการโดยการประกาศในท่ีประชุมคณะกรรมการประจําคณะ ท่ีประชุมอาจารย�และบุคลากร และ

ติดประกาศท่ีบอร�ดประชาสัมพันธ�ของคณะเพ่ือให6กําลังใจ และสร6างแรงจูงใจแก?บุคลากรให6พัฒนาตนเอง

ต?อไป

6.7 The types and quantity of research activities by academic staff are established, monitored and benchmarked for improvement (10) มีการสร6าง กํากับ และการเทียบเคียงเพ่ือการพัฒนาเก่ียวกับประเภท และปริมาณของกิจกรรมด6านการวิจัยของบุคลากรสายวิชาการ

คณะเกษตรศาสตร�มีการนําข6อมูลจํานวนผลงานวิจัยของบุคลากรสายวิชาการมาเทียบเคียงกับปFท่ี

ผ?านมา เพ่ือให6เห็นถึงความก6าวหน6าทางด6านผลงานวิจัยท่ีเพ่ิมข้ึนเป-นลําดับ

บุคลากรสายวิชาการของคณะเกษตรศาสตร� มีจุดแข็ง จุดอ?อน โอกาส และอุปสรรค ต?อการผลิตบัณฑิตในหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเกษตรศาสตร� หลายประการ ดังนี้

Page 71: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

69

จุดแข็ง:

1. มีความรู6ความสามารถ และมีประสบการณ�ด6านการปฏิบัติงานฟาร�ม

2. มีศักยภาพสูงในการทําวิจัย มีการตีพิมพ�และเผยแพร?ผลงานวิจัยจํานวนมาก มีผลงานวิจัยท่ี

สามารถนําไปใช6งานได6จริงหลายด6าน

3. มีศักยภาพสูงในการบริการวิชาการสู?ชุมชนและสังคม

4. มีความมุ?งม่ันท่ีจะพัฒนาองค�ความรู6ทางวิชาการเพ่ือการจัดการศึกษา การวิจัย การบริการ

วิชาการเพ่ือท6องถ่ิน

5. ผู6บริหารให6การสนับสนุนการดําเนินงานจัดทําแผนการบริหารทรัพยากรบุคคลเพ่ือนําไปสู?การ

พัฒนากําลังคนให6มีความเข6มแข็ง

จุดอJอน 1. จํานวนไม?สมดุลกับกลุ?มสาขาวิชาต?อการจัดการเรียนการสอน

2. บุคลากรสายวิชาการท่ีมีคุณวุฒิปริญญาเอกยังมีไม?เพียงพอ 3. บุคลากรสายวิชาการท่ีดํารงตําแหน?งทางวิชาการยังมีจํานวนน6อย 4. บุคลากรสายวิชาการขาดการพัฒนาตนเองทางด6านวิชาการท่ีเก่ียวข6องกับวิชาชีพอย?างต?อเนื่อง ทําให6เกิดช?องว?างขององค�ความรู6 5. บุคลากรสายวิชาการยังไม?มีผลงานท่ีได6รับการจดสิทธิบัตร

โอกาส 1. มหาวิทยาลัยมีนโยบายและให6ความสําคัญกับการพัฒนาบุคลากรของทุกส?วนงาน 2. หน?วยงานภายนอกระดับประเทศและระดับนานาชาติมีเครือข?ายการทํางานท่ีเชื่อมโยงกับมหาวิทยาลัยฯ และคณะเกษตรศาสตร� เป-นอย?างดีท้ังในด6านการเรียน การสอน การวิจัย และการบริการวิชาการ 3. มียุทธศาสตร�ตามแผนกลยุทธ�มหาวิทยาลัยฯ เก่ียวกับการพัฒนาระบบการบริหารมหาวิทยาลัย

ตามหลักการบริหารจัดการท่ีดีเพ่ือให6ก6าวทันต?อการเปลี่ยนแปลง ซ่ึงใช6เป-นแนวทางในการพัฒนา

ระบบการบริหารทรัพยากรบุคคลและการจัดทําแผนการบริหารทรัพยากรบุคคล

4. มหาวิทยาลัยมีระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสายวิชาการ

อุปสรรค

1. ทรัพยากรทางการบริหาร เช?น งบประมาณ ไม?เพียงพอทําให6ไม?สามารถสนับสนุนการบริหาร

ทรัพยากรบุคคลให6เป-นไปตามท่ีกําหนดไว6

Page 72: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

70

2. การเปลี่ยนแปลงทางด6านเทคโนโลยีสารสนเทศเป-นไปอย?างรวดเร็ว และงบประมาณสําหรับ

การพัฒนาบุคลากรด6านวิชาชีพของหน?วยงานได6รับจัดสรรไม?เพียงพอ ทําให6ไม?สามารถสนับสนุน

ให6บุคลากรได6พัฒนาองค�ความรู6ใหม?ๆ ได6อย?างเต็มท่ีเนื่องจากค?าใช6จ?ายต?อหลักสูตรต?อคนสูงมาก

3. ระบบและกลไกด6านการประกันคุณภาพการศึกษามีการปรับเปลี่ยนเกณฑ�

หลักฐานแสดงผลการดําเนินงาน

รหัสหลักฐาน ช่ือหลักฐาน

6.1-1 แผนบริหารและพัฒนาบุคลากรสายสอนและวิจัย คณะเกษตรศาสตร� มหาวิทยาลัย

นราธิวาสราชนครินทร� พ.ศ. 2558-2562

6.1-2 เอกสารประกอบการประชุมคณะกรรมการบริหารทุนพัฒนาอาจารย� ครั้งท่ี 1/2559

6.2-1 ประชุมคณะกรรมการบริหารวิชาการคณะเกษตรศาสตร� ครั้งท่ี 2/2558

6.4-1 คู?มือประเมินผลการปฏิบัติงานบุคลากรสายวิชาการ

ผลการประเมินตนเอง AUN - 6 คุณภาพบุคลากรสายวิชาการ (Academic Staff Quality)

AUN-QA Criterion 6 – Checklist Level

1 2 3 4 5 6 7

6.1 Academic staff planning (considering

succession, promotion, re-deployment,

termination, and retirement) is carried out to

fulfill the needs for education, research and

service (1)

6.2 Staff-to-student ratio and workload are

measured and monitored to improve the

quality of education, research and service (2)

6.3 Recruitment and selection criteria

including ethics and academic freedom for

appointment, deployment and promotion are

determined and communicated (4,5,6,7)

Page 73: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

71

AUN-QA Criterion 6 – Checklist Level

1 2 3 4 5 6 7

6.4 Competences of academic staff are

identified and evaluated (3)

6.5 Training and developmental needs of

academic staff are identified and activities are

implemented to fulfill them (8)

6.6 Performance management including

rewards and recognition is implemented

to motivate and support education,

research and service (9)

6.7 The types and quantity of research

activities by academic staff are

established, monitored and benchmarked

for improvement (10)

Page 74: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

72

AUN - QA criterion 7 คุณภาพบุคลากรสายสนับสนุน (Support Staff Quality)

Sub Criterion 7 1. Both short-term and long-term planning of support staff establishment or needs

of the library, laboratory, IT facility and student services are carried out to ensure that the quality and quantity of support staff fulfil the needs for education, research and service.

2. Recruitment and selection criteria for appointment, deployment and promotion of support staff are determined and communicated. Roles of support staff are well defined and duties are allocated based on merits, qualifications and experiences.

3. Competences of support staff are identified and evaluated to ensure that their competencies remain relevant and the services provided by them satisfy the stakeholders' needs.

4. Training and development needs for support staff are systematically identified, and appropriate training and development activities are implemented to fulfil the identified needs.

5. Performance management including rewards and recognition is implemented to motivate and support education, research and service.

ขOอมูลการดOานพัฒนาทางวิชาชีพของพนักงานตําแหนJงสนับสนุนวิชาการ

ตารางขOอมูลการพัฒนาทางวิชาชีพของพนักงานตําแหนJงสนับสนุนวิชาการ ลําดับที ่ ชื่อ-สกุล ตําแหนJง เรื่อง หนJวยงานที่จัด ว/ด/ป การใชO

ประโยชน /การไดOรางวัลและการยอมรับ

1.

นางสาวอังคณา

ราชสุวรรณ

เจ6าหน6าท่ีพัสดุ

- เข6าร?วมโครงการพัฒนาทักษะบุคลากรด6านการให6บริการท่ีดีและเขียนหนังสือราชการ

สํานักงานอธกิารบดี มหาวิทยาลัยนราธวิาสราช

นครินทร�

๒๖ สิงหาคม๒๕๕๗

บรูณาการในงานประจํา

- เข6าร?วมประชุมโครงการส?งเสริมสุขภาพ ปvองกันโรค และเผยแพร?ความรู6ด6านประกันสังคม ประจําปF ๒๕๕๘

สํานักงานอธกิารบดี มหาวิทยาลัยนราธวิาสราช –

นครินทร�

๖ พฤษภาคม ๒๕๕๘

- จัดทําโครงการพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนของคณะเกษตรศาสตร�

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี - ราชมงคลศรีวิชัย

จังหวัดนครศรีธรรมราช

26 - 28 กรกฎาคม

2558 - เข6าร?วมโครงการเพิ่มทักษะทางวิชาชีพของบุคลากรและกลไกลการขับเคล่ือนพัฒนา

ณ อุทยานแห?งชาติตะรุเตา จังหวัดสตูล

9 – 11 มกราคม 2559

Page 75: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

73

ลําดับที ่ ชื่อ-สกุล ตําแหนJง เรื่อง หนJวยงานที่จัด ว/ด/ป การใชOประโยชน /การไดOรางวัลและการยอมรับ

คณะเกษตรศาสตร�

- เข6าร?วมโครงการส?งเสริมองค�ความรู6เพื่อการพัฒนาจังหวัดชายแดนใต6

ณ คณะวิทยาศาสตร�และเทคโนโลยี

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร� วิทยาเขตปpตตานี จังหวัด

ปpตตานี

11 -12 มีนาคม 2559

2 นางสาวอธิตา จันทราช

- เข6าร?วมโครงการพัฒนาทักษะบุคลากรด6านการให6บริการท่ีดีและเขียนหนังสือราชการ

สํานักงานอธกิารบดี มหาวิทยาลัยนราธวิาสราช –

นครินทร�

๒๖ สิงหาคม ๒๕๕๗

บรูณาการในงานประจํา

- เข6าร?วมประชุมโครงการส?งเสริมสุขภาพ ปvองกันโรค และเผยแพร?ความรู6ด6านประกันสังคม ประจําปF ๒๕๕๘

สํานักงานอธกิารบดี มหาวิทยาลัยนราธวิาสราช –

นครินทร�

๖ พฤษภาคม ๒๕๕๘

- จัดทําโครงการพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนของคณะเกษตรศาสตร�

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี - ราชมงคลศรีวิชัย

จังหวัดนครศรีธรรมราช

26 - 28 กรกฎาคม

2558

- เข6าร?วมโครงการ ค?ายนิด6าพัฒนาผู6นําสู?อาเซียน คร้ังท่ี 2

ณ สถายันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร�

กทม

17 – 22 มิถุนายน 2558

- เข6าร?วมโครงการเพิ่มทักษะทางวิชาชีพของบุคลากรและกลไกลการขับเคล่ือนพัฒนาคณะเกษตรศาสตร�

ณ อุทยานแห?งชาติตะรุเตา จังหวัดสตูล

9 – 11 มกราคม 2559

- เข6าร?วมโครงการส?งเสริมองค�ความรู6เพื่อการพัฒนาจังหวัดชายแดนใต6

ณ คณะวิทยาศาสตร�และเทคโนโลยี

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร� วิทยาเขตปpตตานี จังหวัด

ปpตตานี

11 -12 มีนาคม 2559

3.

นางสาว ธีรกานต� ผิวแก6ว

เจOาหนOาที่งานทะเบียนและวัดผล

- เข6าร?วมโครงการพัฒนาทักษะบุคลากรด6านการให6บริการท่ีดีและเขียนหนังสือราชการ

สํานักงานอธกิารบดี มหาวิทยาลัยนราธวิาสราช –

นครินทร�

๒๖ สิงหาคม ๒๕๕๗

บรูณาการในงานประจํา

Page 76: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

74

ลําดับที ่ ชื่อ-สกุล ตําแหนJง เรื่อง หนJวยงานที่จัด ว/ด/ป การใชOประโยชน /การไดOรางวัลและการยอมรับ

- เข6าร?วมประชุมโครงการส?งเสริมสุขภาพ ปvองกันโรค และเผยแพร?ความรู6ด6านประกันสังคม ประจําปF ๒๕๕๘

สํานักงานอธกิารบดี มหาวิทยาลัยนราธวิาสราช –

นครินทร�

๖ พฤษภาคม ๒๕๕๘

- เข6าร?วมประชุมการจัดทําต6นทุนต?อหน?วยผลผลิต

สํานักงานอธกิารบดี มหาวิทยาลัยนราธวิาสราช –

นครินทร�

11 กันยายน 2558

- จัดทําโครงการพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนของคณะเกษตรศาสตร�

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี - ราชมงคลศรีวิชัย

จังหวัดนครศรีธรรมราช

26 - 28 กรกฎาคม

2558

- เพื่อเดินทางไปวพิากษ�หลักสูตรวิทยาศาสตร� (วทบ.) สาขาเกษตรศาสตร�

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร� วิทยาเขตหาดใหญ?

23 พฤศจิกายน

2558 - เข6าร?วมโครงการเพิ่มทักษะทางวิชาชีพของบุคลากรและกลไกลการขับเคล่ือนพัฒนาคณะเกษตรศาสตร�

ณ อุทยานแห?งชาติตะรุเตา

จังหวัดสตูล

9 – 11 มกราคม 2559

- เข6าร?วมโครงการส?งเสริมองค�ความรู6เพื่อการพัฒนาจังหวัดชายแดนใต6

ณ คณะวิทยาศาสตร�และเทคโนโลยี

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร� วิทยาเขตปpตตานี จังหวัด

ปpตตานี

11 -12 มีนาคม 2559

4.

นางสาวประกายวรรณ วิเชียรรตัน�

เจ6าหน6าท่ีงานสารบรรณ

- เข6าร?วมประชุมโครงการส?งเสริมสุขภาพ ปvองกันโรค และเผยแพร?ความรู6ด6านประกันสังคม ประจําปF ๒๕๕๘

สํานักงานอธกิารบดี มหาวิทยาลัยนราธวิาสราช – นครินทร�

๖ พฤษภาคม ๒๕๕๘

บูรณาการในงานประจํา

- จัดทําโครงการพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนของคณะเกษตรศาสตร�

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี - ราชมงคลศรีวิชัย จังหวัดนครศรีธรรมราช

26 - 28 กรกฎาคม 2558

- เข6าร?วมโครงการประเมินสู?ตําแหน?งท่ีสูงขึ้น ของสานสนับสนุนอบรมเชิงปฏิบัติการในการเขียนผลงานวิชาการ

ห6องประชุม ดร.จงรัก พลาศัย สํานักงานอธกิารบดี มหาวิทยาลัยนราธวิาสราช - นคริทร�

13 – 15 กันยายน 2558

- เข6าร?วมโครงการเพิ่มทักษะทางวิชาชีพของบุคลากรและกลไกลการขับเคล่ือนพัฒนาคณะเกษตรศาสตร�

ณ อุทยานแห?งชาติตะรุเตา จังหวัดสตูล

9 – 11 มกราคม 2559

- เข6าร?วมโครงการส?งเสริมองค�ความรู6เพื่อการพัฒนาจังหวัด

ณ คณะวิทยาศาสตร�และเทคโนโลยี

11 -12 มีนาคม 2559

Page 77: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

75

ลําดับที ่ ชื่อ-สกุล ตําแหนJง เรื่อง หนJวยงานที่จัด ว/ด/ป การใชOประโยชน /การไดOรางวัลและการยอมรับ

ชายแดนใต6

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร� วิทยาเขตปpตตานี จังหวัดปpตตานี

5.

นางสาวอรุณี ศรีชัย

เจ6าหน6าท่ีการเงิน

- เข6าร?วมประชุมโครงการส?งเสริมสุขภาพ ปvองกันโรค และเผยแพร?ความรู6ด6านประกันสังคม ประจําปF ๒๕๕๘

สํานักงานอธกิารบดี มหาวิทยาลัยนราธวิาสราช – นครินทร�

๖ พฤษภาคม ๒๕๕๘

บูรณาการในงานประจํา

- เข6าร?วมประชุมการจัดทําต6นทุนต?อหน?วยผลผลิต

สํานักงานอธกิารบดี มหาวิทยาลัยนราธวิาสราชนครินทร�

11 กันยายน 2558

- จัดทําโครงการพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนของคณะเกษตรศาสตร�

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี - ราชมงคลศรีวิชัย จังหวัดนครศรีธรรมราช

26 - 28 กรกฎาคม 2558

- เข6าร?วมโครงการประเมินสู?ตําแหน?งท่ีสูงขึ้น ของสานสนับสนุนอบรมเชิงปฏิบัติการในการเขียนผลงานวิชาการ

ห6องประชุม ดร.จงรัก พลาศัย สํานักงานอธกิารบดีมหาวิทยา- ลัยนราธวิาสราชนคริทร�

13 – 15 กันยายน 2558

6.

นางสาวจินตนา

คงสุวรรณ

เจ6าหน6าท่ีงานบุคล

- เข6าร?วมประชุมโครงการส?งเสริมสุขภาพ ปvองกันโรค และเผยแพร?ความรู6ด6านประกันสังคม ประจําปF ๒๕๕๘

สํานักงานอธกิารบดี มหาวิทยาลัยนราธวิาสราช – นครินทร�

๖ พฤษภาคม ๒๕๕๘

บูรณาการในงานประจํา

- จัดทําโครงการพัฒนา

บุคลากรสายสนับสนุนของคณะเกษตรศาสตร�

26 - 28 กรกฎาคม 2558

- เข6าร?วมโครงการเพิ่มทักษะทางวิชาชีพของบุคลากรและกลไกลการขับเคล่ือนพัฒนาคณะเกษตรศาสตร�

9 – 11 มกราคม 2559

7.

นางสาว ดวงฤทัย ชายสวัสด์ิ

เจ6าหน6าท่ีงานสารสนเทศ

- เข6าร?วมประชุมโครงการส?งเสริมสุขภาพ ปvองกันโรค และเผยแพร?ความรู6ด6านประกันสังคม ประจําปF ๒๕๕๘

๖ พฤษภาคม ๒๕๕๘

บูรณาการในงานประจํา

- จัดทําโครงการพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนของคณะเกษตรศาสตร�

26 - 28 กรกฎาคม 2558

- เข6ารวมโครงการประเมินเข6าสู?ตําแหน?งท่ีสูงขึ้น ของสายสนับสนุนอบรมเชิงปฏิบัติการ

ห6องประชุม ดร.จงรัก พลาศัย สํานักงานอธกิารบดีมหาวิทยา- ลัยนราธวิาสราชนคริทร�

13 – 15 กันยายน 2558

Page 78: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

76

ลําดับที ่ ชื่อ-สกุล ตําแหนJง เรื่อง หนJวยงานที่จัด ว/ด/ป การใชOประโยชน /การไดOรางวัลและการยอมรับ

ในการเขียนผลเชิงวิชาการ

- เข6าร?วมโครงการเพิ่มทักษะทางวิชาชีพของบุคลากรและกลไกลการขับเคล่ือนพัฒนาคณะเกษตรศาสตร�

ณ อุทยานแห?งชาติตะรุเตา จังหวัดสตูล

9 – 11 มกราคม 2559

8. นายชนะ เพ็ชรพันธ�

เจ6าหน6าท่ีงานฟาร�ม

- ศึกษาดูงานและเข6ารับการอบรมไม6ดอกเมืองหนาว

ศูนย�ไม6ดอกเมืองหนาว บ6านไร?ตามโครงการพระราชดําริ จังหวัดเชียงใหม?

16 - 22 ธันวาคม 2558

บรูณาการในงานประจํา

ผลการดําเนินงาน 7.1 Support staff planning (at the library, laboratory, IT facility and student services)

is carried out to fulfil the needs for education, research and service (1) คณะเกษตรศาสตร�มีการวางแผนและดําเนินการตามแผนบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลสาย

สนับสนุน หรือความต6องการจําเป-นท้ังระยะสั้นและระยะยาวของห6องสมุด ห6องปฏิบัติการ ทรัพยากรด6านสารสนเทศ และด6านการจัดบริการแก?นิสิต เพ่ือให6ม่ันใจว?าบุคลากรสายสนับสนุนมีท้ังคุณภาพและปริมาณท่ีเพียงพอต?อความต6องการด6านการเรียนการสอน การวิจัย และการบริการวิชาการ โดยงานบุคลากรประจําคณะฯ ได6ดําเนินการจัดทําแผนบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลสายสนับสนุนประจําปFงบประมาณ 2558 – 2562 (7.1-1) ท่ีระบุให6เห็นว?ามีการดําเนินการตามความต6องการจําเป-นท้ังระยะสั้นและระยะยาวของห6องสมุด ห6องปฏิบัติการ ทรัพยากรด6านสารสนเทศ และด6านการจัดบริการแก?นิสิตนักศึกษา จนม่ันใจว?าบุคลากรสายสนับสนุนมีท้ังคุณภาพและปริมาณท่ีเพียงพอต?อความต6องการด6านการเรียนการสอน การวิจัย และการบริการวิชาการ (7.1-2)

7.2 Recruitment and selection criteria for appointment, deployment and promotion are determined and communicated (2) คณะเกษตรศาสตร�มีการกําหนดเกณฑ�ในการสรรหาและคัดเลือกในการแต?งต้ังเพ่ือดํารงตําแหน?ง(7.2-1-1 ; 7.2-1-2) การย6ายตําแหน?งและการเลื่อนตําแหน?งของบุคลากรสายสนับสนุน (7.2-2-1;7.2-2-2) และประกาศเผยแพร?ให6ทราบโดยท่ัวกัน (7.2-3-1) โดยใช6หลักเกณฑ�ของมหาวิทยาลัยในการดําเนินการ

7.3 Competences of support staff are identified and evaluated (3) คณะเกษตรศาสตร�มีการระบุและประเมินผลสมรรถนะของบุคลากรสายสนับสนุน (7.3-1-1 ,7.3-

1-2 ;7.3-1-3) ตามหลักเกณฑ�ของมหาวิทยาลัย เพ่ือสร6างความม่ันใจว?าสมรรถนะและการให6บริการ สร6างความพึงพอใจแก?ความต6องการของผู6มีส?วนได6ส?วนเสีย (7.3-2-1)

Page 79: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

77

7.4 Training and developmental needs of support staff are identified and activities are implemented to fulfil them (4)

คณะเกษตรศาสตร�มีการสํารวจความต6องการในการอบรมและพัฒนาของบุคลากรสายสนับสนุนอย?างเป-นระบบ และจัดกิจกรรมอบรมและพัฒนาตามความต6องการ (7.4-1;7.4-2)

7.5 Performance management including rewards and recognition is implemented to

motivate and support education, research and service (5)

คณะเกษตรศาสตร�มีการให6การสนับสนุน ให6รางวัล ยกย?องให6เกียรติ เพ่ือสร6างแรงจูงใจ และ

สนับสนุนการเรียนการสอน การวิจัย และการบริการให6แก?บุคลากรสายสนับสนุน (7.5-1)

หลักฐานแสดงผลการดําเนินงาน รหัสหลักฐาน ช่ือหลักฐาน

7.1-1 แผนบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลสายสนับสนุนประจําปFงบประมาณ 2558 – 2562 7.1-2 รายช่ือบุคลากรสายสนับสนุนประจําคณะเกษตรศาสตร�

7.2-1-1 ข6อบังคับมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร� ว?าด6วยการบรรจุบุคคลเข6ารับราชการเป-นข6าราชการพลเรือนและพนักงานในสถาบันอุดมศึกษา โดยวิธีการสอบแข?งขันหรือการคัดเลือก พ.ศ. 2551

7.2-1-2 ข6อบังคับฯ พนักงานในสถาบันอุดมศึกษา (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2557

7.2-2-1 ข6อบังคับฯ การเปลี่ยนตําแหน?ง เปลี่ยนระดับตําแหน?ง และการตัดโอนตําแหน?งพนักงานในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ.2555

7.2-2-2 ข6อบังคับฯ การกําหนดระดับตําแหน?งและการแต?งตั้งพนักงานในสถาบันอุดมศึกษาให6ดํารงตําแหน?งสูงข้ึน พ.ศ.2555

7.2-3-1 ประกาศผลการสอบแข?งขันเพ่ือบรรจุเข6าเป-นพนักงานในสถาบันอุดมศึกษาสายสนับสนุน ตําแหน?งเจ6าหน6าท่ีสารสนเทศ สังกัดคณะเกษตรศาสตร� ประจําปF 2558

7.3-1-1 ประกาศมหาวิทยาลัยฯ เรื่องหลักเกณฑ�การประเมินผลการปฏิบัติราชการของพนักงานในสถาบันอุดมศึกษา

7.3-1-2 แบบและหลักเกณฑ�การประเมินผลการปฏิบัติราชการสําหรับ พนักงานในสถาบันอุดมศึกษา ประเภทวิชาชีพเฉพาะ เช่ียวชาญเฉพาะ และท่ัวไป

7.3-1-3 ประกาศมหาวิทยาลัยฯ เรื่องหลักเกณฑ�การประเมินผลการปฏิบัติราชการของลูกจ6างช่ัวคราว 7.3-2 แบบประเมินความพึงพอใจต?อสมรรถนะและการให6บริการของบุคลากรสายสนับสนุน 7.4-1 แผนบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลสายสนับสนุนประจําปFงบประมาณ 2558 – 2562 7.4-2 ตารางสรุปการเข6าอบรม/การพัฒนาตนเองของบุคลากรสายสนับสนุน 7.5-1 ตารางข6อมูลการพัฒนาทางวิชาชีพของบุคลากรสายสนับสนุน

Page 80: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

78

ผลการประเมินตนเอง AUN-7 คุณภาพบุคลากรสายสนับสนุน (Support Staff Quality)

AUN-QA Criterion 6 – Checklist Level

1 2 3 4 5 6 7

7.1 Support staff planning (at the library, laboratory, IT facility and student services) is carried out to fulfil the needs for education, research and service (1)

7.2 Recruitment and selection criteria for appointment, deployment and promotion are determined and communicated (2)

7.3 Competences of support staff are identified and evaluated (3)

7.4 Training and developmental needs of support staff are identified and activities are implemented to fulfil them (4)

7.5 Performance management including rewards and recognition is implemented to motivate and support education, research and service (5)

ความคิดเห็นโดยรวม (Overall opinion) 3

Page 81: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

79

AUN - QA criterion 8 คุณภาพและการสนับสนุนผูOเรยีน (Student Quality and Support)

Sub Criterion 8 1. The student intake policy and the admission criteria to the programmed are

clearly defined, communicated, published, and up-to-date. 2. The methods and criteria for the selection of students are determined and

evaluated. 3. There is an adequate monitoring system for student progress, academic

performance, and workload. Student progress, academic performance and workload are systematically recorded and monitored, feedback to students and corrective actions are made where necessary.

4. Academic advice, co-curricular activities, student competition, and other student support services are available to improve learning and employability.

5. In establishing a learning environment to support the achievement of quality student learning, the institution should provide a physical, social and psychological environment that is conducive for education and research as well as personal well-being.

ขOอมูลพ้ืนฐานของนักศึกษา ปBการศึกษาท่ีรับเขOา 2554-2557

ปFการศึกษาท่ีรับเข6า(ตั้งแต?ปFการศึกษาท่ีเริม่ใช6

หลักสตูร)

จํานวนนักศึกษาคงอยู? (จํานวนจรงิ)ในแต?ละปFการศึกษา ปF 2554 ปF 2555 ปF 2556 ปF 2557 ปF 2558

ปF 2554 46 34 32 27 6 ปF 2555 68 35 34 32 ปF 2556 66 60 43 ปF 2557 92 62 ปF 2558 81

ปtจจัยท่ีมีผลกระทบตJอจํานวนนักศึกษา

1. นักศึกษาคณะเกษตรศาสตร� มีความรู6ด6านวิทยาศาสตร�น6อย

2. ผลการเรียนไม?ถึงเกณฑ�ตามท่ีมหาวิทยาลัยกําหนด

Page 82: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

80

อัตราการคงอยูJและการสําเร็จการศึกษาของนักศึกษา นับถึงส้ินปBการศึกษา 2557 ปBการศึกษาท่ี

รับเขOา ขOอมูล 2554 2555 2556 2557

2554

จํานวนนักศึกษาท่ีรับเข6า 46 จํานวนผู6สําเร็จการศึกษา 21 จํานวนนักศึกษาท่ีคงอยู? 46 34 32 6 จํานวนนักศึกษาท่ีหายไป - 12 2 5

2555

จํานวนนักศึกษาท่ีรับเข6า 68 จํานวนผู6สําเร็จการศึกษา จํานวนนักศึกษาท่ีคงอยู? 68 35 32 จํานวนนักศึกษาท่ีหายไป - 33 3

2556

จํานวนนักศึกษาท่ีรับเข6า 66 จํานวนผู6สําเร็จการศึกษา จํานวนนักศึกษาท่ีคงอยู? 60 43 จํานวนนักศึกษาท่ีหายไป 6 17

2557

จํานวนนักศึกษาท่ีรับเข6า 92 จํานวนผู6สําเร็จการศึกษา จํานวนนักศึกษาท่ีคงอยู? 62 จํานวนนักศึกษาท่ีหายไป 30

ตารางแผนการเรียนของนักศึกษา

กลุJมพืชศาสตร

ช้ันปBท่ี 1 ภาคการศึกษาตOน

หมวดการศึกษาท่ัวไป

11-014-xxx วิชาเลือกกลุJมวิชาสังคมศาสตร และมนุษยศาสตร 3(2-2-5)

11-034-101 การใชOภาษาไทย 3(2-2-5)

10-024-105 คอมพิวเตอร ในชีวิตประจําวัน 3(2-2-5)

11-014-xxx กลุJมวิชาพลศึกษา 1(0-2-1)

หมวดวิชาชีพเฉพาะ

10-064-209 หลักชีววิทยา 3(3-0-6)

10-064-210 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา 1(0-3-0)

Page 83: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

81

06-144-201 หลักการผลิตพืช* 3(3-0-6)

06-144-206 หลักการผลิตสัตว ** 1(0-3-0)

06-254-280 ฝsกการปฏิบัติงานดOานพืช 1 * 3(3-0-6)

06-264-280 ฝsกการปฏิบัติงานดOานสัตว 1** 1(0-3-0)

รวม 18

หมายเหต ุ: นักศึกษาชั้นปBท่ี 1 แบJงเปkน 2 กลุJม แตJละกลุJมลงวชิาท่ีมีเคร่ืองหมาย * หรือ ** ซึ่งมี สองวิชา ตOองลงคูJกัน

ช้ันปBท่ี 1 ภาคการศึกษาปลาย

หมวดการศึกษาท่ัวไป

10-034-103 คณิตศาสตร ในชีวิตประจําวัน 3(2-2-5)

11-014-118 สังคมวิทยาจังหวัดชายแดนภาคใตO 3(3-0-6)

11-034-102 ภาษาอังกฤษในชีวิตประจําวัน 3(2-2-5)

หมวดวิชาชีพเฉพาะ

10-054-201 เคมีพ้ืนฐาน 3(3-0-6)

10-054-202 ปฏิบัติการเคมีพ้ืนฐาน 1(0-3-0)

06-144-202 หลักเศษฐกิจพอเพียง 3(2-3-4)

06-144-201 หลักการผลิตพืช* 3(3-0-6)

06-144-206 หลักการผลิตสัตว ** 1(0-3-0)

06-254-280 ฝsกการปฏิบัติงานดOานพืช 1 * 3(3-0-6)

06-264-280 ฝsกการปฏิบัติงานดOานสัตว 1** 1(0-3-0)

รวม 20

หมายเหต ุ: นักศึกษาชั้นปBท่ี 1 แบJงเปkน 2 กลุJม แตJละกลุJมลงวชิาท่ีมีเคร่ืองหมาย * หรือ ** ซึ่งมี สองวิชา ตOองลงคูJกัน

ช้ันปBท่ี 2 ภาคการศึกษาตOน

หมวดการศึกษาท่ัวไป

11-014-112 ทักษะการคิด 3(2-2-5)

10-064-119 วิทยาศาสตร กับโลกสีเขียว 3(3-0-6)

11-034-xxx กลุJมวิชาเลือกภาษา 3(2-2-5)

หมวดวิชาชีพเฉพาะ

10-074-201 ชีวเคมีพ้ืนฐาน 3(3-0-6)

Page 84: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

82

10-074-202 ปฏิบัติการชีวเคมีพ้ืนฐาน 1(0-3-0)

06-144-209 งานชJางและเครื่องทุJมแรงเพ่ือการเกษตร 3(2-3-4)

06-254-204 อุตุนิยมวิทยาและชลประทานเพ่ือการเกษตร 3(2-3-4)

06-254-201 สรีรวิทยาของพืช 3(2-3-4)

รวม 22

ช้ันปBท่ี 2 ภาคการศึกษาปลาย หมวดการศึกษาท่ัวไป

11-034-104 การใชOภาษามลายูในชีวิตประจําวัน 3(2-2-5) หมวดวิชาชีพเฉพาะ

10-044-201 ฟpสิกส พ้ืนฐาน 3(3-0-6) 10-044-202 ปฏิบัติการฟpสิกส พ้ืนฐาน 1(0-3-0) 06-144-208 การจัดการธุรกิจเกษตร 3(3-0-6) 06-144-204 ปฐพีวิทยาเบ้ืองตOน 3(2-3-4) 06-254-205 ขยายพันธุ พืช 3(2-3-4) 06-254-202 กีฏวิทยาเบ้ืองตOน 3(2-3-4) 06-254-281 ฝsกการปฏิบัติงานดOานพืช 2 2(0-6-0)

รวม 21 ช้ันปBท่ี 3 ภาคการศึกษาตOน

หมวดวิชาชีพเฉพาะ

10-104-201 จุลชีววิทยา 3(3-0-6)

10-104-202 ปฏิบัติการจุลชีววิทยา 1(0-3-0)

06-254-210 ความอุดมสมบูรณ ของดิน 3(2-3-4)

06-144-205 การจัดการเกษตรและแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรตามหลักอิสลาม 3(2-3-4)

06-354-262 เตรียมสหกิจศึกษาทางพืชศาสตร * 1(0-3-3)

06-254-211 ระบบการปลูกพืช 3(2-3-4)

06-254-206 พืชไรJเศรษฐกิจ 3(2-3-4)

06-354-xxx วิชาชีพเลือก** 3(x-y-z)

รวม 19-20

หมายเหต ุ: *นักศึกษาที่เลือกลงทะเบยีนในรายวชิาสหกิจศึกษา ต�องลงทะเบียนรายวิชาการเตรียมสหกิจก(อน **เป)นรายวิชาที่นักศกึษาสามารถเลือกลงได�ทัง้สองภาคการศึกษา

Page 85: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

83

ช้ันปBท่ี 3 ภาคการศึกษาปลาย

หมวดวิชาชีพเฉพาะ

10-064-206 พันธุศาสตร 3(3-0-6)

10-064-207 ปฏิบัติการพันธุศาสตร 1(0-3-0)

06-144-207 สถิติและแผนการทดลองทางการเกษตร 3(3-0-6)

06-254-208 หลักการปรับปรุงพันธุ พืช 3(2-3-4)

06-254-260 สัมมนาทางพืชศาสตร 1(1-0-2)

06-254-203 โรคพืชเบ้ืองตOน 3(2-3-4)

06-254-207 พืชสวนเศรษฐกิจ 3(2-3-4)

หมวดวิชาเลือกเสรี

xx-xxx-xxx วิชาเลือกเสรี 1 3(x-y-z)

รวม 19-20

ช้ันปBท่ี 4 ภาคการศึกษาตOน (สําหรับนักศึกษาท่ีเลือกสหกิจศึกษา)

หมวดการศึกษาท่ัวไป

06-144-203 การสJงเสริมการเกษตรและสหกรณ การเกษตร 3(3-0-6)

06-254-209 วัชพืชและการจัดการ 3(2-3-4)

06-254-282 ฝsกปฏิบัติงานดOานพืช 3 3(0-9-0)

06-254-260 สัมมนาทางพืชศาสตร 1(1-0-2)

06-004-201 กิจกรรมเสริมหลักสูตร 1(0-3-3)

06-354-xxx วิชาชีพเลือก 2 3(x-y-z)

หมวดวิชาเลือกเสรี

xx-xxx-xxx วิชาเลือกเสรี 2 3(x-y-z)

รวม 16-17

หมายเหต ุ: นักศึกษาท่ีเลือกลงทะเบียนรายวิชาสหกิจศึกษาจะมีหนJวยกิตรวม จํานวน 143 หนJวยกิต

Page 86: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

84

ช้ันปBท่ี 4 ภาคการศึกษาปลาย (สําหรับนักศึกษาท่ีเลือกสหกิจศึกษา)

หมวดวิชาชีพเฉพาะ

06-354-263 สหกิจศึกษาทางพืชศาสตร 6(0-18-0)

รวม 6

ช้ันปBท่ี 4 ภาคการศึกษาตOน (สําหรับนักศึกษาท่ีเลือกฝsกงานปกติ)

หมวดการศึกษาท่ัวไป

06-144-203 การสJงเสริมการเกษตรและสหกรณ การเกษตร 3(3-0-6)

06-254-209 วัชพืชและการจัดการ 3(2-3-4)

06-254-282 ฝsกปฏิบัติงานดOานพืช 3 3(0-9-0)

06-254-260 สัมมนาทางพืชศาสตร 1(1-0-2)

06-004-201 กิจกรรมเสริมหลักสูตร 1(0-3-3)

06-354-xxx วิชาชีพเลือก 2 3(x-y-z)

หมวดวิชาเลือกเสรี

xx-xxx-xxx วิชาเลือกเสรี 2 3(x-y-z)

รวม 17

ช้ันปBท่ี 4 ภาคการศึกษาปลาย (สําหรับนักศึกษาท่ีเลือกฝsกงานปกติ)

หมวดวิชาชีพเฉพาะ

06-354-xxx วิชาชีพเลือก 3 3(x-y-z)

06-354-xxx วิชาชีพเลือก 4 3(x-y-z)

รวม 6

ตารางแผนการเรียนของนักศึกษา กลุJมสัตวศาสตร

ช้ันปBท่ี 1 ภาคการศึกษาตOน

หมวดการศึกษาท่ัวไป

11-014-xxx วิชาเลือกกลุJมวิชาสังคมศาสตร และมนุษยศาสตร 3(2-2-5)

11-034-101 การใชOภาษาไทย 3(2-2-5)

10-024-105 คอมพิวเตอร ในชีวิตประจําวัน 3(2-2-5)

Page 87: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

85

11-014-xxx กลุJมวิชาพลศึกษา 1(0-2-1)

หมวดวิชาชีพเฉพาะ

10-064-209 หลักชีววิทยา 3(3-0-6)

10-064-210 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา 1(0-3-0)

06-144-201 หลักการผลิตพืช* 3(3-0-6)

06-144-206 หลักการผลิตสัตว ** 1(0-3-0)

06-254-280 ฝsกการปฏิบัติงานดOานพืช 1 * 3(3-0-6)

06-264-280 ฝsกการปฏิบัติงานดOานสัตว 1** 1(0-3-0)

รวม 18

หมายเหต ุ: นักศึกษาชั้นปBท่ี 1 แบJงเปkน 2 กลุJม แตJละกลุJมลงวชิาท่ีมีเคร่ืองหมาย * หรือ ** ซึ่งมี สองวิชา ตOองลงคูJกัน

ช้ันปBท่ี 1 ภาคการศึกษาปลาย

หมวดการศึกษาท่ัวไป

10-034-103 คณิตศาสตร ในชีวิตประจําวัน 3(2-2-5)

11-014-118 สังคมวิทยาจังหวัดชายแดนภาคใตO 3(3-0-6)

11-034-102 ภาษาอังกฤษในชีวิตประจําวัน 3(2-2-5)

หมวดวิชาชีพเฉพาะ

10-054-201 เคมีพ้ืนฐาน 3(3-0-6)

10-054-202 ปฏิบัติการเคมีพ้ืนฐาน 1(0-3-0)

06-144-202 หลักเศษฐกิจพอเพียง 3(2-3-4)

06-144-201 หลักการผลิตพืช* 3(3-0-6)

06-144-206 หลักการผลิตสัตว ** 1(0-3-0)

06-254-280 ฝsกการปฏิบัติงานดOานพืช 1 * 3(3-0-6)

06-264-280 ฝsกการปฏิบัติงานดOานสัตว 1** 1(0-3-0)

รวม 20

หมายเหต ุ: นักศึกษาชั้นปBท่ี 1 แบJงเปkน 2 กลุJม แตJละกลุJมลงวชิาท่ีมีเคร่ืองหมาย * หรือ ** ซึ่งมี สองวิชา ตOองลงคูJกัน

Page 88: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

86

ช้ันปBท่ี 2 ภาคการศึกษาตOน

หมวดการศึกษาท่ัวไป

11-014-112 ทักษะการคิด 3(2-2-5)

10-064-119 วิทยาศาสตร กับโลกสีเขียว 3(3-0-6)

11-034-xxx กลุJมวิชาเลือกภาษา 3(2-2-5)

หมวดวิชาชีพเฉพาะ

10-074-201 ชีวเคมีพ้ืนฐาน 3(3-0-6)

10-074-202 ปฏิบัติการชีวเคมีพ้ืนฐาน 1(0-3-0)

06-144-209 งานชJางและเครื่องทุJมแรงเพ่ือการเกษตร 3(2-3-4)

06-264-203 กายวิภาคและสรีรวิทยาของสัตว เล้ียง 3(2-3-4)

รวม 19

ช้ันปBท่ี 2 ภาคการศึกษาปลาย

หมวดการศึกษาท่ัวไป

11-034-104 การใชOภาษามลายูในชีวิตประจําวัน 3(2-2-5)

หมวดวิชาชีพเฉพาะ

10-044-201 ฟpสิกส พ้ืนฐาน 3(3-0-6)

10-044-202 ปฏิบัติการฟpสิกส พ้ืนฐาน 1(0-3-0)

06-144-208 การจัดการธุรกิจเกษตร 3(3-0-6)

06-144-204 ปฐพีวิทยาเบ้ืองตOน 3(2-3-4)

06-264-201 โภชนศาสตร สัตว 3(2-3-4)

06-264-208 การผลิตสัตว เคี้ยวเอ้ืองขนาดเล็ก 3(2-3-4)

06-264-281 ฝsกการปฏิบัติงานดOานสัตว 2 2(0-6-0)

รวม 21

ช้ันปBท่ี 3 ภาคการศึกษาตOน

หมวดวิชาชีพเฉพาะ

10-104-201 จุลชีววิทยา 3(3-0-6)

Page 89: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

87

10-104-202 ปฏิบัติการจุลชีววิทยา 1(0-3-0)

06-354-220 การอารักขาพืช 3(2-3-4)

06-144-205 การจัดการเกษตรและแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรตามหลักอิสลาม 3(2-3-4)

06-354-262 เตรียมสหกิจศึกษาทางพืชศาสตร * 1(0-3-3)

06-264-209 การผลิตโคเนื้อ 3(2-3-4)

06-264-205 สุขศาสตร สัตว 3(2-3-4)

06-354-xxx วิชาชีพเลือก 1** 3(x-y-z)

รวม 19-20

หมายเหต ุ: *นักศึกษาท่ีเลือกลงทะเบียนในรายวชิาสหกิจศึกษา ตOองลงทะเบียนรายวิชาการเตรียมสหกิจกJอน

**เปkนรายวิชาท่ีนักศกึษาสามารถเลือกลงไดOท้ังสองภาคการศึกษา

ช้ันปBท่ี 3 ภาคการศึกษาปลาย

หมวดวิชาชีพเฉพาะ

10-064-206 พันธุศาสตร 3(3-0-6)

10-064-207 ปฏิบัติการพันธุศาสตร 1(0-3-0)

06-144-207 สถิติและแผนการทดลองทางการเกษตร 3(3-0-6)

06-264-210 การผลิตโคนม 3(2-3-4)

06-264-260 สัมมนาทางสัตว ศาสตร 1(1-0-2)

06-264-207 การผลิตสัตว ปBก 3(2-3-4)

06-264-202 อาหารและการประกอบสูตรอาหาร 3(2-3-4)

06-264-206 หลักการปรับปรุงพันธุ สัตว 3(3-0-6)

หมวดวิชาเลือกเสรี

xx-xxx-xxx วิชาเลือกเสรี 1 3(x-y-z)

รวม 20

Page 90: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

88

ช้ันปBท่ี 4 ภาคการศึกษาตOน (สําหรับนักศึกษาท่ีเลือกสหกิจศึกษา)

หมวดการศึกษาท่ัวไป

06-144-203 การสJงเสริมการเกษตรและสหกรณ การเกษตร 3(3-0-6)

06-264-260 เทคโนโลยีการสืบพันธุ 3(2-3-4)

06-254-282 ฝsกปฏิบัติงานดOานสัตว 3 3(0-9-0)

06-254-260 สัมมนาทางสัตวศาสตร 1(1-0-2)

06-004-201 กิจกรรมเสริมหลักสูตร 1(0-3-3)

06-354-xxx วิชาชีพเลือก 2 3(x-y-z)

หมวดวิชาเลือกเสรี

xx-xxx-xxx วิชาเลือกเสรี 2 3(x-y-z)

รวม 16-17

หมายเหต ุ: นักศึกษาท่ีเลือกลงทะเบียนรายวิชาสหกิจศึกษาจะมีหนJวยกิตรวม จํานวน 143 หนJวยกิต

ช้ันปBท่ี 4 ภาคการศึกษาปลาย (สําหรับนักศึกษาท่ีเลือกสหกิจศึกษา)

หมวดวิชาชีพเฉพาะ

06-354-263 สหกิจศึกษาทางพืชศาสตร 6(0-18-0)

รวม 6

ช้ันปBท่ี 4 ภาคการศึกษาตOน (สําหรับนักศึกษาท่ีเลือกฝsกงานปกติ)

หมวดการศึกษาท่ัวไป

06-144-203 การสJงเสริมการเกษตรและสหกรณ การเกษตร 3(3-0-6)

06-264-260 เทคโนโลยีการสืบพันธุ 3(2-3-4)

06-254-282 ฝsกปฏิบัติงานดOานพืช 3 3(0-9-0)

06-004-201 กิจกรรมเสริมหลักสูตร 1(0-3-3)

06-354-xxx วิชาชีพเลือก 2 3(x-y-z)

หมวดวิชาเลือกเสรี

xx-xxx-xxx วิชาเลือกเสรี 2 3(x-y-z)

รวม 16

Page 91: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

89

ช้ันปBท่ี 4 ภาคการศึกษาปลาย (สําหรับนักศึกษาท่ีเลือกฝsกงานปกติ)

หมวดวิชาชีพเฉพาะ

06-354-xxx วิชาชีพเลือก 3 3(x-y-z)

06-354-xxx วิชาชีพเลือก 4 3(x-y-z)

รวม 6

ผลการดําเนินงาน

8.1 The student intake policy and admission criteria are defined, communicated, published, and up-to-date (1)

มหาวิทยาลัยและคณะเกษตรศาสตร� มีนโยบายให6โอกาส ขยายโอกาส และเน6นนักเรียนในพ้ืนท่ีสามจังหวัดชายแดนภาคใต6เป-นหลัก ท้ังท่ีจบสายสามัญ สายอาชีพ และการเทียบโอนต?างๆ ระดับ มัธยมศึกษาชั้นปFท่ี 6 หรือเทียบเท?า

ในการนี้หลักสูตรได6มีการประชาสัมพันธ�การรับนักศึกษาใหม?โดยการออกแนะแนวในโรงเรียนต?างๆ ของพ้ืนท่ีบริการ ร?วมกับงานประชาสัมพันธ�และงานแนะแนวของมหาวิทยาลัยในกิจกรรมแนะแนวหลักสูตร มีการประชาสัมพันธ�หลักสูตร โครงสร6างหลักสูตรตลอดจนคุณสมบัติของผู6มีสิทธิในการสมัคร ผ?านแผ?นพับ Facebook ของคณะฯ และมหาวิทยาลัย ตัวแทนศิษย�เก?า ศิษย�ปpจจุบัน website ของคณะ (http://agri.pnu.ac.th/) และมหาวิทยาลัย (www.pnu.ac.th) สถานีวิทยุกระจายเสียงของมหาวิทยาลัย และสถานีวิทยุกระจายเสียง 912 กรป.กลาง โดยมีการปรับข6อมูลการรับสมัครอย?างต?อเนื่องและเป-นปpจจุบัน

8.2 The methods and criteria for the selection of students are determined and evaluated (2)

คณะเกษตรศาสตร�มีระบบและกลไกในการรับนักศึกษา โดยในปFการศึกษา 2559 อาจารย�ประจําหลักสูตรได6ประชุมพิจารณาจํานวนนักศึกษาท่ีจะรับเข6า ประจําปFการศึกษา 2559 โดยหารือเก่ียวกับเปvาหมายท่ีกําหนดเปรียบเทียบกับจํานวนนักศึกษาท่ีมารายงานตัวจริงในปFการศึกษา 2558 เพ่ือปรับแผนการรับนักศึกษาในปFการศึกษาใหม? คุณสมบัติของนักศึกษาท่ีจะรับเข6ามา เนื่องจากการรับนักศึกษาใหม?ของคณะเกษตรศาสตร�ท่ีผ?านมา เป-นการเปuดโอกาสทางการศึกษาให6กับนักเรียนในพ้ืนท่ี จึงกําหนดคุณสมบัติของผู6สมัครได6ค?อนข6างยาก จํานวนอาจารย�ประจําคณะท่ีมีความรู6 ความสามารถ ตรงตามสาขาวิชาท่ีเปuดสอน เปvาหมายนักศึกษาใหม?ท่ีจะรับ โดยมีความเห็นภายหลังจากพิจารณาจํานวนอาจารย�ประจํา จํานวนนักศึกษาท่ีมาสมัครในปFท่ีผ?านมา สื่อสนับสนุนการเรียนการสอนแล6ว มีมติให6รับนักศึกษาใหม? ประจําปFการศึกษา 2559 จํานวน 100 คน โดยรับมาจากระบบโดยมีเกณฑ�ในการรับนักศึกษา 3 แบบ

- การรับตรงพ้ืนท่ีบริการ จํานวน 44 คน โดยนักศึกษาต6องมีการสอบผ?านข6อเขียนโดยใช6ข6อสอบกลางโดยมีเกณฑ�ผ?านร6อยละ 60 โดยข6อสอบกลางมีเนื้อหาท่ีครอบคลุมความรู6ท่ัวไปในระดับ

Page 92: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

90

มัธยมศึกษาตอนปลาย และนักศึกษาต6องมีการสอบสัมภาษณ�โดยมีเกณฑ�ผ?านร6อยละ 40 ในด6านความรู6ทางการเกษตร ความรู6รอบตัว บุคลิกภาพ และเชาว�ปpญญา

- การให6โควตาโรงเรียนในพ้ืนท่ีบริการ จํานวน 46 คน มีผลการเรียนดี โดยมีเกรดเฉลี่ยสะสม 5 เทอม ไม?ตํ่ากว?า 2.50 มีความประพฤติท่ีเป-นแบบอย?างท่ีดีต?อการอยู?ร?วมกันในสังคม คัดเลือกโดยการสอบสัมภาษณ�

- การสอบผ?านระบบกลาง หรือ Admission จํานวน 10 คน จากระบบการรับนักศึกษาของคณะเกษตรศาสตร� พบว?าจํานวนนักศึกษาท่ีรับจริงตํ่ากว?าท่ีต้ังไว6 โดยในระบบการรับตรงพ้ืนท่ีบริการ มีจํานวนรับจริง 48 คน การให6โควตาโรงเรียนในพ้ืนท่ีบริการ จํานวนรับจริง 8 คน การสอบผ?านระบบกลาง หรือ Admission จํานวนรับจริง 1 คน โดยปpญหาท่ีพบคือ จํานวนนักศึกษาท่ีสนใจการเรียนด6านการเกษตรลดน6อยลงเนื่องจากมีทัศนคติด6าน

ลบต?อการเรียนเกษตร และอาชีพทางด6านการเกษตร นอกจากนี้พบว?าเยาวชนในพ้ืนท่ีได6รับโอกาสให6ไปศึกษายังนอกพ้ืนท่ี หรือบริเวณใกล6เคียงในสถาบันอ่ืนๆ

จากการประเมินวิธีการในการสอบคัดเลือก พบว?า หลักสูตรสามารถคัดเลือกนักศึกษาท่ีมีคุณสมบัติตรงตามความต6องการของคณะฯ ได6 ท้ังการสอบข6อเขียนและการสอบสัมภาษณ� แต?กลับพบว?านักศึกษาท่ีเข6ารับการสอบคัดเลือกมีผลการเรียนค?อนข6างตํ่า ในบ6างครั้งไม?ผ?านเกณฑ�ท่ีกําหนดไว6 คณะฯจึงเปuดโอกาสให6นักเรียนเข6ามาเรียนเพ่ือปรับคุณสมบัติให6สามารถเรียนต?อได6 8.3 There is an adequate monitoring system for student progress, academic performance,

and workload (3)

หลักสูตรได6กําหนดผลการเรียนรู6ของหลักสูตรของผู6เรียนท่ีจบการศึกษาของหลักสูตรตามผลการเรียนรู6ท่ีคาดหวังของหลักสูตร โดยการจัดการเรียนการสอนจะมุ?งสู?เปvาหมายท่ีกําหนดไว6ข6างต6น โดยจะมีการประเมินความก6าวหน6าทางวิชาการอย?างเป-นลําดับข้ัน ต้ังแต?พ้ืนฐานของวิชาชีพ จนถึงความเป-นวิชาชีพของผู6สําเร็จการศึกษาซ่ึงครอบคลุมผลสําเร็จตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห?งชาติทุกด6าน วัตถุประสงค�ของหลักสูตรและผลการเรียนรู6ท่ีคาดหวังของหลักสูตร โดยได6กําหนดระบบการกํากับติดตามนักศึกษา ในด6านความก6าวหน6าในการเรียน ศักยภาพทางวิชาการ และภาระการเรียนของผู6เรียน เพ่ือให6บรรลุผลการเรียนรู6ท่ีคาดหวังท่ีตั้งไว6 ดังนี้

นักศึกษาชั้นปFท่ี 1 เน6นรายวิชาวิทยาศาสตร�พ้ืนฐานท่ีมีความสําคัญต?อการเรียนรู6ในระดับท่ีสูงข้ึน โดยกําหนดให6ลงทะเบียนเรียนเฉพาะรายวิชาศึกษาท่ัวไป ไม?เกิน 38 หน?วยกิจต?อปFการศึกษา

นักศึกษาชั้นปFท่ี 2 เน6นรายวิชาวิทยาศาสตร�พ้ืนฐานท่ีเก่ียวข6องกับวิชาชีพ และมีการพัฒนาทักษะด6านวิชาชีพ โดยกําหนดให6มีการลงทะเบียนไม?เกิน 43 หน?วยกิจต?อปFการศึกษา และกําหนดให6มีการออกไปฝwกปฏิบัติงานภายนอกสถานศึกษา โดยมีเวลาในการฝwกไม?น6อยกว?า 360 ชั่วโมง

นักศึกษาชั้นปFท่ี 3 เน6นรายวิชาชีพบังคับท้ังภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ เพ่ือให6รู6และเข6าใจในวิชาชีพและสามารถนําไปปฏิบัติได6อย?างมีประสิทธิภาพ โดยกําหนดให6มีการลงทะเบียนไม?เกิน 40 หน?วยกิจต?อปFการศึกษา และกําหนดให6มีการออกไปฝwกปฏิบัติงานภายนอกสถานศึกษาเป-นเวลา 480 ชั่วโมง

Page 93: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

91

นักศึกษาชั้นปFท่ี 4 เน6นรายวิชาชีพเลือก เพ่ือส?งเสริมให6นักศึกษาเลือกเรียนตามความสนใจสําหรับการประกอบอาชีพในอนาคต โดยกําหนดให6มีการลงทะเบียนไม?เกิน 23 หน?วยกิจต?อปFการศึกษา และทางหลักสูตรได6เน6นการประยุกต�การใช6ความรู6และทักษะของนักศึกษาจากวิชาท่ีได6เรียนรู6ตลอดชั้นปFท่ี 1-๓ มาประยุกต�ใช6ในการเรียน การปฏิบัติ การแก6ปpญหา ในวิชาชีพได6อย?างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

เม่ือนักศึกษาศึกษาครบตามหลักสูตรกําหนด นักศึกษาทุกคนต6องทําการสอบประมวลความรู6โดยหลักสูตร ซ่ึงผลการสอบประมวลความรู6ของนักศึกษาต6องมีคะแนนไม?ตํ่ากว?า ร6อยละ 50 จึงจะสามารถจบการศึกษาได6 ในกรณีท่ีนักศึกษาสอบไม?ผ?านต6องทําการสอบประมวลความรู6ใหม?ให6ได6คะแนนตามเกณฑ�ท่ีกําหนด

โดยในทุกชั้นปFนักศึกษา ทางหลักสูตรจะแต?งต้ังอาจารย�ท่ีปรึกษาให6แก?นักศึกษา โดยอาจารย�ท่ีปรึกษาทําหน6าท่ีกํากับติดตามความก6าวหน6าของผู6เรียน เม่ือสิ้นปFการศึกษา นอกจากอาจารย�ท่ีปรึกษาแล6วยังกําหนดให6อาจารย�ประจําวิชารายงานการประเมินผลการเรียนในแต?ละรายวิชา เม่ือสิ้นภาคการศึกษาให6กับฝxายวิชาการ และฝxายวิชาการนําผลการเรียน และรายงานการให6คําปรึกษาจากอาจารย�ท่ีปรึกษาของนักศึกษาเข6าสู?การพิจารณาความก6าวหน6าในการเรียนและศักยภาพของผู6 เรียนในการประชุมของคณะกรรมการบริหารวิชาการ เพ่ือสรุปและหาแนวทางในการช?วยเหลือนักศึกษาท่ีมีผลการเรียนตํ่ากว?าเกณฑ�ท่ีหลักสูตรกําหนด 8.4 Academic advice, co-curricular activities, student competition, and other student

support services are available to improve learning and employability (4)

หลักสูตรได6ร?วมกับฝxายพัฒนานักศึกษา คณะเกษตรศาสตร� ได6แต?งต้ังอาจารย�ท่ีปรึกษาประจําสาขาวิชา เพ่ือทําหน6าท่ีแนะแนวเรื่องการเรียน เรื่องส?วนตัว และเรื่องอ่ืนๆ โดยมีช?องทางให6คําปรึกษาดังนี้ 1) นักศึกษาสามารถพบอาจารย�ท่ีปรึกษาโดยตรงได6ท่ีห6องพักอาจารย� 2) ปรึกษา Social network เช?น Line Application, Facebook, E-mail 3) โทรศัพท� นอกจากนั้นยังได6แจกคู?มืออาจารย�ท่ีปรึกษาคณะเกษตรศาสตร�แก?ผู6ท่ีจะมาเป-นอาจารย�ท่ีปรึกษา คณะ ฯ ได6มีการกําหนดบทบาทหน6าท่ีของอาจารย�ท่ีปรึกษานักศึกษาในหลักสูตร ดังนี้ - ให6คําปรึกษาด6านวิชาการแก?นักศึกษาท่ีรับผิดชอบ

- ให6คําปรึกษาดูแลด6านการเรียนอย?างใกล6ชิด โดยเฉพาะนักศึกษามีปpญหาด6านการเรียน - เปuดโอกาสหรือสามารถให6นักศึกษาเข6าพบเพ่ือขอคําปรึกษาได6อย?างสะดวกและเหมาะสม - มีการติดตามผลการเรียนของนักศึกษาท่ีมีปpญหาด6านการเรียนและให6ความช?วยเหลือ สร6าง ความเข6าใจ และช?วยแก6ปpญหาด6านการเรียน - ให6ข6อแนะนําอ่ืน ๆ ท่ีเหมาะสม

อาจารย�ท่ีปรึกษาจะมีตารางเวลาให6คําปรึกษาแก?นักศึกษาเป-นประจําทุกสัปดาห� เพ่ือให6คําปรึกษาด6านการเรียนและคําปรึกษาด6านต?าง ๆ

Page 94: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

92

หลักสูตรมีการจัดบริการข6อมูลข?าวสารท่ีเป-นประโยชน�ต?อนักศึกษา เช?น ข6อมูลเรื่องทุนอุดหนุนการศึกษา ข6อมูลการจัดกิจกรรมนักศึกษา โดยจัดไว6ท่ีบอร�ดประชาสัมพันธ�และเผยแพร?ผ?านทางเว็บไซต�ของคณะฯ และหลักสูตรมีการจัดกิจกรรมในการส?งเสริมการเรียน การประกอบอาชีพ และกิจกรรมท่ีส?งเสริมการแข?งขันเชิงสร6างสรรค�ในวิชาชีพท่ีเป-นประโยชน�ต?อนักศึกษา โดยมีกิจกรรมในด6านต?างๆ ดังนี้

- โครงการปฐมนิเทศนักศึกษาใหม? เพ่ือให6นักศึกษาพบอาจารย�ท่ีปรึกษาเป-นครั้งแรก และมีการแนะนําหลักสูตรของคณะเกษตรศาสตร� การปรับตัวในการใช6ชีวิตจากการเป-นนักเรียนมาเป-นนักศึกษา

- โครงการปpจฉิมนิเทศ เป-นการเชิญวิทยากรภายนอกในสายอาชีพต?างๆ มาแนะนําอาชีพหลังการจบการศึกษา เพ่ือเพ่ิมช?องทางในการประกอบอาชีพ

- โครงการแข?งขันทักษะทางวิชาชีพทางการเกษตรของ 3 มหาวิทยาลัย อันประกอบด6วย คณะวิทยาศาสตร�เทคโนโลยีและการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา คณะวิทยาศาสตร�และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร� วิทยาเขตปpตตานี และคณะเกษตรศาสตร� มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร� โดยมีกิจกรรมในการแข?งขันคือ 1) ทักษะในการเข6าด6ามจอมและการข้ึนแปลง 2) ทักษะการจัดตู6ปลา 3) ทักษะการล6มโค 4) ทักษะชําแหละซากไก? 5) ทักษะการจัดสวนถาด 6) ทักษะการพูดในท่ีชุมชน 7) แผนธุรกิจ 8) การตอบปpญหาทางด6านการเกษตร 9) ทักษะการทําก6อนเชื้อเห็ด 10) การแสดงศิลปวัฒนธรรม 11) การนําเสนอภาคโปสเตอร� 12) ทักษะการขยายพันธุ�พืช

- โครงการวันสถาปนามหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร� โดยการนําเสนอผลงานของ

นักศึกษาท่ีได6เรียนรู6ตลอดปFการศึกษามาจัดแสดง

- โครงการแข?งขันนวัตกรรม ในงาน NRIC ประจําปF 2557 ณ ประเทศมาเลเซีย

นอกจากนี้หลักสูตรมีการให6บริการวิชาการทางด6านหนังสือ สื่อสิ่งพิมพ� และฐานข6อมูลงานวิจัย

บริการแก?นักศึกษาเพ่ือให6นักศึกษาได6ใช6ประโยชน�ในการศึกษาค6นคว6า และทางคณะได6จัดโครงการพา

นักศึกษาไปทัศนศึกษาดูงานเพ่ือเป-นการเปuดโลกทัศน�ทางด6านการเกษตร เช?น งานเกษตรภาคใต6 และศูนย�

พิกุลทองฯ ทางคณะฯได6จัดให6นักศึกษามีส?วนร?วมบริการวิชาการแก?ประชาชนหรือผู6สนใจ นอกจากนี้ทาง

คณะฯได6ส?งนักศึกษาเข6าร?วมโครงการส?งเสริมทักษะทางภาษาอังกฤษ ณ Universiti Sains Malaysia

ประเทศมาเลเซีย และหลักสูตรได6มีการส?งนักศึกษาในชั้นปFท่ี 2 ไปฝwกงานยังหน?วยงานของภาคเอกชน และ

ภาครัฐในช?วงการปuดภาคเรียนฤดูร6อน เพ่ือเป-นการพัฒนาศักยภาพและความรู6ของนักศึกษา และเป-นการ

เรียนรู6งานในสายงานตามอาชีพท่ีนักศึกษามีความสนใจ

Page 95: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

93

8.5 The physical, social and psychological environment that is conducive for education

and research as well as personal well-being (5)

หลักสูตร ได6จัดทําแผนการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษาท่ีส?งเสริมผลการเรียนรู6ตามกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห?งชาติทุกด6าน ประกอบด6วย ด6านคุณธรรม จริยธรรม ด6านความรู6 ด6านทักษะทางปpญญา ด6านทักษะความสัมพันธ�ระหว?างบุคคลและความรับผิดชอบ ด6านทักษะการวิเคราะห�เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช6เทคโนโลยีสารสนเทศ ภายใต6การเรียนรู6ในศตวรรษท่ี 21 เพ่ือพัฒนานักศึกษาในการใช6ชีวิตโดยทางคณะเกษตรศาสตร�ได6จัดทางด6านกายภาพ เช?น ให6มีห6องปฏิบัติการทางด6านพืชศาสตร� สัตวศาสตร� นอกจากนี้คณะเกษตรยังมีพ้ืนท่ีในการฝwกปฏิบัติงานจริงในแปลงฝwกท้ังด6านพืชศาสตร�และด6านสัตวศาสตร� เพ่ือเป-นแหล?งเรียนรู6ในด6านวิชาชีพของนักศึกษาเอ้ือต?อการเรียนรู6และต?อการวิจัยของนักศึกษาและอาจารย� ท้ังนี้ในพ้ืนท่ีฟาร�มคณะเกษตรศาสตร� ได6จัดพ้ืนท่ีสําหรับเป-นบ6านพักนักศึกษาบางส?วนเพ่ือเป-นสวัสดิการแก?นักศึกษาท่ีมาดําเนินกิจกรรมภายในฟาร�มคณะเกษตรศาสตร� ท้ังนี้ในบริเวณฟาร�มคณะเกษตรยังมีพ้ืนท่ีในการออกกําลังกายจากลานกิจกรรม และการฝwกข่ีม6า ทางด6านสังคมโดยจัดให6มีการทํางานเป-นกลุ?มในวิชาเรียน และกิจกรรม เช?น การเข6าร?วมแข?งขัน

ทักษะทางวิชาชีพทางการเกษตรของ 3 มหาวิทยาลัย การจัดกิจกรรมการปลูกข6าวเก่ียวข6าว

ทางด6านจิตใจ การจัดพ้ืนท่ีของการประกอบกิจทางศาสนา เช?น ห6องละหมาด หรือโครงการเพาะ

กล6าจําปFสิรินธรในการช?วยเหลือดูแลระหว?างรุ?นพ่ีรุ?นน6อง

หลักฐานแสดงผลการดําเนินงาน รหัสหลักฐาน ช่ือหลักฐาน

8.1-1 แผ?นผับประชาสัมพันธ�หลักสูตร 8.1-2 ประชาสัมพันธ�หลักสูตรบน website คณะ 8.1-3 ระเบียบการรับสมัครนักศึกษาใหม? 8.2-1 ผลการสอบข6อเขียนและสอบสัมภาษณ�นักศึกษาใหม? 8.2-2 รายงานผลการรับนักศึกษาใหม? 8.2-3 มคอ. 2 8.3-1 แผนการเรียน 8.3-2 คู?มือนักศึกษา 8.4-1 มคอ. 3-4 8.4-2 ระบบและกลไกการกํากับติดตามนักศึกษา/ผู6เรียนตลอดหลักสูตร ของคณะเกษตรศาสตร� 8.4-3 คําสั่งคณะเกษตรศาสตร� มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร�เรื่อง แต?งต้ังอาจารย�ท่ีปรึกษา

ประจําปFการศึกษา 2558 8.4-5 คู?มืออาจารย�ท่ีปรึกษา ฝxายพัฒนานักศึกษา คณะเกษตรศาสตร� มหาวิทยาลัยนราธิวาสราช

นครินทร�

Page 96: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

94

รหัสหลักฐาน ช่ือหลักฐาน 8.4-6 ตารางพบอาจารย�ท่ีปรึกษา 8.4-7 ภาพการประชาสัมพันธ�การจัดบริการข6อมูลข?าวสารท่ีเป-นประโยชน�ต?อนักศึกษา และ

https://www.facebook.com/groups/302441223217144/ 8.5-1 โครงการฝxายพัฒนานักศึกษาประจําปFการศึกษา 2558 8.5-2 แผนการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษาประจําปFการศึกษา 2558 8.5-3 โครงการปฐมนิเทศนักศึกษาใหม? 8.5-4 โครงการ 3 สถาบัน 8.5-5 โครงการปpจฉิมนิเทศ 5.5-6 โครงการวันสถาปนามหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร� 8.5-7 website ของคณะ (agri.pnu.ac.th) 8.5-8 website ของมหาวิทยาลัย (www.pnu.ac.th) 8.5-9 โครงการแข?งขันนวัตกรรม ในงาน NRIC ประจําปF ณ ประเทศมาเลเซีย

ผลการประเมินตนเอง AUN-8 คุณภาพและการสนับสนุนผูOเรียน (Student Quality and Support)

AUN-QA Criterion 1 – Checklist Level

1 2 3 4 5 6 7

8.1 The student intake policy and the admission criteria to the programme are clearly defined, communicated, published, and up-to-date (1) มีการกําหนดนโยบายและเกณฑ�การรับเข6าสู?หลักสูตรอย?างชัดเจน

ประชาสัมพนัธ�เผยแพร?อย?างทั่วถึงและเป-นปpจจุบนั 8.2 The methods and criteria for the selection of students are

determined and evaluated (2) มีการระบุวิธีการและเกณฑ�ในการคัดเลือกผู6เรียน และมีการ ประเมินผลวิธีการและเกณฑ�

8.3 There is an adequate monitoring system for student progress, academic performance, and workload (3)

มีระบบกํากับ ติดตามความก6าวหน6าในการเรียน ศักยภาพทาง วิชาการ ภาระการเรียนของผู6เรียนอย?างเพียงพอ

8.4 Academic advice, co-curricular activities, student competition, and other student support services are available to improve learning and employability (4)

มีการให6คําปรึกษาวิชาการ กิจกรรมเสริมหลักสูตร กิจกรรมการ ประกวดแข?งขันของผู6เรียน และการบริการอ่ืนๆ เพื่อพัฒนาการ

Page 97: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

95

AUN-QA Criterion 1 – Checklist Level

1 2 3 4 5 6 7

เรียนรู6และทักษะการประกอบอาชีพ 8.5 The physical, social and psychological environment that is

conducive for education and research as well as personal well-being (5)

ควรจัดบรรยากาศการเรียนรู6ทั้งด6านกายภาพ สังคม และจติใจ ที่เอ้ือ ต?อการเรียนการสอน การวิจัย รวมทั้งสุขภาวะของผู6เรียน

ความคิดเห็นโดยรวม (Overall opinion) 3

Page 98: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

96

AUN - QA criterion 9 ส่ิงสนับสนุนการเรียนรูOทางกายภาพ (Facilities and Infrastructure)

Sub Criterion 9 1. The physical resources to deliver the curriculum, including equipment, materials

and information technology are sufficient. 2. Equipment is up-to-date, readily available and effectively deployed. 3. Learning resources are selected, filtered, and synchronised with the objectives of

the study programme. 4. A digital library is set up in keeping with progress in information and

communication technology. 5. Information technology systems are set up to meet the needs of staff and

students. 6. The institution provides a highly accessible computer and network infrastructure

that enables the campus community to fully exploit information technology for teaching, research, services and administration.

7. Environmental, health and safety standards and access for people with special needs are defined and implemented.

ผลการดําเนินงาน

9.1 The teaching and learning facilities and equipment (lecture halls, classrooms, project rooms, etc.) are adequate and updated to support education and research (1)

หลักสูตรได6จัด อุปกรณ�และสิ่งสนับสนุนการเรียนรู6อย?างเพียงพอและทันสมัยท่ีสนับสนุนการเรียนการสอน และการวิจัย (ห6องเรียน ห6องเรียนรวม ห6องปฏิบัติการโครงการ ในปFการศึกษา 2557 คณะเกษตรศาสตร�ได6มีการสํารวจสิ่งสนับสนุนการเรียนรู6ท่ีมีอยู? เช?น ห6องเรียน ห6องปฏิบัติการ ท่ีพักของนักศึกษา ฯลฯ และด6านวัสดุอุปกรณ� เทคโนโลยี และสิ่งอํานวยความสะดวกหรือทรัพยากรท่ีเอ้ือต?อการเรียนรู6 เช?น อุปกรณ�การเรียนการสอน ห6องสมุด หนังสือ ตํารา แหล?งเรียนรู6 สื่ออิเล็คทรอนิกส� ฯลฯ ดังนี้ สิ่งสนับสนุนการเรียนรู6

1. ห6อง study room จะเป-นห6องท่ีมีหนังสือและตําราเก่ียวกับการเกษตรเพ่ือให6นักศึกษาได6ค6นคว6าเอกสารท่ีเก่ียวข6อง

2. ห6องเรียน จํานวนท้ังหมด 5 ห6อง (LA404, LA402, LA403, LA404, LA405, LA406, LA410, LA505)

3. เครื่องคอมพิวเตอร�สําหรับบริการนักศึกษา 4. เครื่องถ?ายเอกสาร 1 เครื่อง 5. เครื่องปริ้นท�กลาง 1 เครื่อง

Page 99: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

97

6. ชุดเครื่องเสียง 7. เครื่องฉายโปรเจคเตอร�เคลื่อนท่ี จํานวน 5 ชุดๆ 8. เครื่องฉายโปรเจคเตอร�ติดห6องเรียน จํานวน 5 ชุดๆ 9. ระบบเน็ตเวอร�คไร6สาย (Wireless) 2 จุด

9.2 The library and its resources are adequate and updated to support education and

research (3,4) หลักสูตรได6จัดให6มีห6องสมุดประจําคณะ และได6จัดสรรงบประมาณในการจัดซ้ือหนังสือท่ีเก่ียวข6อง

กับวิทยาศาสตร�การเกษตร ท่ีครอบคลุมทุกรายวิชาในหลักสูตร และจัดให6มีเจ6าหน6าท่ีประจํา เพ่ือให6บริการ

แก?นักศึกษาท่ีมีความประสงค�จะยืมหนังสือ หรือการค6นคว6าหรืออ?านหนังสือภายในห6องสมุด นอกจากนี้

หลักสูตรยังสนับสนุนให6นักศึกษาได6ใช6บริการ หนังสือท่ีศูนย�วิทยาบริการ ซ่ึงเป-นห6องสมุดประจํา

มหาวิทยาลัย ท่ีมีหนังสือท่ีเก่ียวข6องกับวิทยาศาสตร�การเกษตร ท้ังภาคภาษาไทย และภาษาอังกฤษ ให6

นักศึกษาได6ค6นคว6าศึกษา

9.3 The laboratories and equipment are adequate and updated to support education and

research (1,2) หลักสูตรได6จัดให6มีห6องปฏิบัติการด6านพืชศาสตร�ประกอบไปด6วย

1. ห6องปฏิบัติการโรคพืช 2. ห6องปฏิบัติการเทคโนโลยีชวีภาพด6านพืช 3. ห6องปฏิบัติการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื้อ 4. ห6องปฏิบัติการปฐพีวิทยา 5. ห6องปฏิบัติการกีฏวิทยา

ห6องปฏิบัติการด6านสัตวศาสตร�ประกอบไปด6วย 1. ห6องปฏิบัติการ โภชนะศาสตร�สัตว� 2. ห6องปฏิบัติการสรีรวิทยาและการปรับปรุงพันธุ�สัตว� 3. ห6องปฏิบัติการแปรรูปผลิตภัณฑ�จากสัตว� 4. ห6องปฏิบัติการเทคโนโลยีชีวภาพด6านพืช

โดยได6รับการจัดสรรงบประมาณในการจัดซ้ือครุภัณฑ�ประจําห6องปฏิบัติการต?างๆ ต?อเนื่องต้ังแต?ปF 2557-2559 ซ่ึงเป-นครุภัณฑ�ท่ีมีความทันสมัยท่ีสามารถรองรับการเรียนการสอนและการวิจัยของนักศึกษาได6อย?างมีประสิทธิภาพ

Page 100: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

98

9.4 The IT facilities including e-learning infrastructure are adequate and updated to support education and research (1,5,6)

หลักสูตรจัดให6มีมีสิ่งสนับสนุนด6านเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยการให6บริการเครื่องคอมพิวเตอร�

สําหรับบริการนักศึกษา เครื่องถ?ายเอกสาร 1 เครื่อง เครื่องปรินท�กลาง 1 เครื่อง เครื่องฉายโปรเจคเตอร�

เคลื่อนท่ี และประจําห6องเรียน มีการติดต้ังระบบเน็ตเวอร�คไร6สาย (Wireless) ท่ีนักศึกษาสามารถเข6าถึงได6

เพ่ือให6ประโยชน�ในการศึกษา และค6นคว6าเพ่ิมเติมได6 นอกจากนี้ มหาวิทยาลัย โดยศูนย�วิทยบริการยังให6

บริการฐานข6อมูลด6านการวิจัย ท่ีนักศึกษาสามารถเข6าไปสืบค6นได6โดยไม?เสียค?าใช6จ?ายใดท้ังสิ้น

9.5 The standards for environment, health and safety; and access for people with special needs are defined and implemented (7)

หลักสูตรได6มีการระบุและใช6มาตรฐานด6านสิ่งแวดล6อมท่ีเอ้ือต?อการจัดการเรียนการสอน เช?น จัดให6มีแปลงทดลองงานด6านการเกษตรศาสตร� ห6องปฏิบัติการท่ีทันสมัยพร6อมด6วยเครื่องมือท่ีสามารถสนับสนุนการเรียนรู6ของนักศึกษาได6ได6มีประสิทธิภาพ นอกจากนี้หลักสูตรยังจัดสถานท่ีให6นักศึกษาอ?านหนังสือ ประชุม และทํางานกลุ?ม ท่ีตอบสนองต?อความต6องการของนักศึกษา ในด6านสุขภาพ หลักสูตรให6จัดให6มีห6องพยาบาลเม่ือนักศึกษามีการเจ็บปxวยสามารถเข6ารับการปฐมพยาบาลได6เบ้ืองต6น และจัดให6มีลานกีฬาเพ่ือสุขภาพ เพ่ือให6นักศึกษาได6ออกกําลังกาย ส?วนมาตรฐานด6านความปลอดภัย หลักสูตรให6ใช6อาคารสถานท่ี ท่ีติดต้ังกล6องวงจรปuดเพ่ือปvองกันอันตรายต?อตัวนักศึกษา นอกจากนี้ในห6องปฏิบัติการยังจัดให6มีระบบ safety ในกรณีท่ีเกิดเหตุการณ�รั่วไหลของสารเคมี หรือไฟไหม6 หลักสูตรมีกระบวนการแนะนําในเรื่องการปvองกันอุบัติเหตุและ ข6อปฏิบัติในการดูแลความปลอดภัยของตัวเองในขณะการปฏิบัติงาน และนอกจากนี้หากนักศึกษามีความต6องการการบริการอ่ืนเพ่ิมเติมสามารถร6องขอมายังหลักสูตรได6 เช?น ห6องติวหนังสือ ห6องทํางานส?วนตัว หรือการใช6บริการนอกเหนือเวลาราชการ เป-นต6น หลักฐานแสดงผลการดําเนินงาน

รหัสหลักฐาน ช่ือหลักฐาน 9.1-1 รูปอุปกรณ�และสิ่งสนับสนุนการเรียนรู6 9.2-1 รูปห6องสมุดประจําคณะ 9.2-2 รายการหนังสือประจําห6องสมุด 9.3-1 ภาพถ?ายห6องปฏิบัติการด6านพืชศาสตร�และสัตวศาสตร� 9.3-2 รายการครุภัณฑ�ประจําห6องปฏิบัติการ 9.4-1 ภายถ?ายจุดบริการเครื่องคอมพิวเตอร� เครื่องถ?ายเอกสาร 1 เครื่อง เครื่องปรินท�กลาง

เครื่องฉายโปรเจคเตอร�เคลื่อนท่ี และประจําห6องเรียน สําหรับบริการนักศึกษา

9.4-2 ภาพถ?ายจุดติดต้ังระบบเน็ตเวอร�คไร6สาย (Wireless) สําหรบันักศึกษา

9.4-3 ฐานข6อมูลด6านการวิจัย ของศูนย�วิทยาบริการ 9.5-1 ภาพถ?ายการจัดมาตรฐานด6านสิ่งแวดล6อมแปลงทดลองงานด6านการเกษตรศาสตร�

Page 101: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

99

ห6องปฏิบัติการ

9.5-2 ภาพถ?ายการจัดสภาพแวดล6อมห6องอ?านหนังสือ ประชุม และทํางานกลุ?ม

9.5-3 ภาพถ?ายห6องปฐมพยาบาลเม่ือนักศึกษามีการเจ็บปxวย

9.5-4 คู?มือแนะนําการใช6ห6องปฏิบัติการกรณีท่ีเกิดเหตุการณ�รั่วไหลของสารเคมี หรือไฟไหม6

ผลการประเมินตนเอง AUN-9 ส่ิงสนับสนุนการเรียนรูOทางกายภาพ (Facilities and Infrastructure)

AUN-QA Criterion 1 – Checklist Level 1 2 3 4 5 6 7

9.1 The teaching and learning facilities and equipment (lecture halls, classrooms, project rooms, etc.) are adequate and updated to support education and research (1)

9.2 The library and its resources are adequate and updated to support education and research (3,4)

9.3 The laboratories and equipment are adequate and updated to support education and research (1,2)

9.4 The IT facilities including e-learning infrastructure

are adequate and updated to support education

and research (1,5,6)

9.5 The standards for environment, health and safety; and access for people with special needs are defined and implemented (7)

ความคิดเห็นโดยรวม (Overall opinion) 3

Page 102: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

100

AUN - QA criterion 10 การสJงเสริมคุณภาพการศึกษา (Quality Enhancement)

Sub Criterion 10 1. The curriculum is developed with inputs and feedback from academic staff,

students, alumni and stakeholders from industry, government and professional organisations.

2. The curriculum design and development process is established and it is periodically reviewed and evaluated. Enhancements are made to improve its efficiency and effectiveness.

3. The teaching and learning processes and student assessment are continuously reviewed and evaluated to ensure their relevance and alignment to the expected learning outcomes.

4. Research output is used to enhance teaching and learning. 5. Quality of support services and facilities (at the library, laboratory, IT facility and

student services) is subject to evaluation and enhancement.

6. Feedback mechanisms to gather inputs and feedback from staff, students, alumni and employers are systematic and subjected to evaluation and enhancement.

ผลการดําเนินงาน

10.1 Stakeholders’needs and feedback serve as input to curriculum design and development (1)

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (เกษตรศาสตร�) ได6รับการพัฒนาให6ทันสมัย ทันต?อสถานการณ�ท่ีเปลี่ยนแปลงไป โดยใช6ข6อมูลปvอนเข6าและข6อมูลตอบกลับ จากผู6เรียน อาจารย� ศิษย�เก?า จากผู6ใช6บัณฑิต ท้ังจากแบบสอบถาม และการสัมภาษณ� ผลจากการ วิเคราะห� และสังเคราะห�ข6อมูลข6อมูลตอบกลับ ท่ีได6จากแบบสอบถาม และการสัมภาษณ� ได6ข6อมูลปvอนกลับท่ีมีความสําคัญในการปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรดังนี้

ขOอมูลปlอนกลับจากผูOเรียน 1. ต6องการหนังสือประกอบการเรียนท่ีครอบคลุ?มทุกรายวิชาเรียน 2. ต6องการ Internet และ wifi ในชั้นเรียน 3. ต6องการ การศึกษาดูงานนอกสถานท่ี

Page 103: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

101

ขOอมูลปlอนกลับจากอาจารย 1. ต6องการครุภัณฑ�ประจําห6องปฏิบัติการและวัสดุฝwกท่ีมีความพร6อมและทันสมัย

2. ต6องการการพัฒนาตนเองด6านการสอน วัดผล ประเมินผล 3. ฐานข6อมูลงานวิจัยเพ่ือการค6นคว6าข6อมูล 4. ต6องการลดภารงานด6านสํานักงานเพ่ือมุ?งใช6เวลาในการสอนนักศึกษาได6มากข้ึน

ขOอมูลปlอนกลับจากศิษย เกJา 1. ควรเพ่ิมความรู6ด6านการประกอบธุรกิจ การเป-นผู6ประกอบการ 2. ควรมีการพัฒนาทักษะด6านภาษาอังกฤษและการสื่อสารเพ่ิมมากข้ึน

ขOอมูลปlอนกลับจากจากผูOใชOบัณฑิตและสถานประกอบการ 1. ควรผลิตบัณฑิตให6มีความชํานาญด6านทักษะปฏิบัติเนื่องจากท่ีจําเป-นต?อการปฏิบัติงาน 2. ควรสร6างความเป-นผู6นําให6บัณฑิตก?อนจบการศึกษา 3. ควรเน6นเรื่อความอดทนและความขยัน 4. ควรพัฒนาทักษะด6านการสื่อสาร

ท้ังนี้คณะกรรมการประจําหลักสูตรได6นําข6อมูลนําเข6าไปใช6ในการปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรสมํ่าเสมอและต?อเนื่องทุกปFการศึกษา เพ่ือให6สอดคล6องกับความต6องการของผู6เรียน ผู6สอน และผู6ใช6บัณฑิต

10.2 The curriculum design and development process is established and subjected to

evaluation and enhancement (2)

หลักสูตรมีกระบวนการออกแบบและพัฒนาหลักสูตรตามระเบียบของ สกอ. ในการเปuดหลักสูตร มีการสํารวจและเก็บข6อมูลความต6องการเรียน ความต6องการบัณฑิตจากผู6ใช6บัณฑิต ตลาดแรงงานตลอดจนผู6มีส?วนได6ส?วนเสีย ข6อมูลท่ีได6จะนํามาใช6ในการออกแบบหลักสูตรให6ตรงตามความต6องการของผู6เรียนและผู6ใช6บัณฑิต และมีการตรวจสอบการประเมินผลกระบวนการออกแบบโดยได6เชิญผู6ทรงคุณวุฒิจากมหาวิทยาลัยต?างๆ มาให6ข6อเสนอแนะ และวิภาคหลักสูตร ก?อนท่ีจะเสนอหลักสูตรเพ่ือขออนุมัติหลักสูตรผ?านสภาวิชาการ สภามหาวิทยาลัย และ สกอ. ตามลําดับ โดยอาจารย�ประจําหลักสูตรร?วมกับฝxายวิชาการ จัดทําระบบและกลไกในการออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตร ตามระบบและกลไกท่ีกําหนดในการจัดทําหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเกษตรศาสตร� (หลักสูตรปรับปรุงพ.ศ. 2554) ได6มีส?วนร?วมในการดําเนินการ ตามระบบและกลไกดังนี้

1. สํารวจความคิดเห็นจากนักศึกษาปpจจุบัน ศิษย�เก?า สถานประกอบการท้ังเอกชนและรัฐ และหน?วยงานท่ีเก่ียวกับสายวิชาชีพโดยตรง เพ่ือทราบความคิดเห็นต?อหลักสูตรเพ่ือนําความคิดเห็นท่ีได6ไปออกแบบหลักสูตรต?อไป

2. แต?งต้ังคณะกรรมการร?างและจัดทําหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเกษตรศาสตร� 3. ร?างและจัดทําหลักสูตร และเสนอต?อคณะกรรมการวิพากษ�หลักสูตร เพ่ือพิจารณากลั่นกรองหลักสูตร

ต?อไป โดยเชิญผู6ทรงคุณวุฒิท่ีมีความเชี่ยวชาญด6านสาขาเกษตรศาสตร�

Page 104: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

102

4. คณะกรรมการดําเนินการปรับปรุงร?างหลักสูตรตามข6อเสนอแนะเก่ียวกับร?างหลักสูตร และปรับแก6ตามข6อเสนอของผู6ทรงคุณวุฒิ และจัดทําเล?มหลักสูตรตรมรูปแบบท่ีกําหนด

5. เสนอต?อสภาวิชาการ และสภามหาวิทยาลัย เพ่ือพิจารณาเห็นชอบและเสนอต?อสกอ. ตามข้ันตอนเพ่ืออนุมัติหลักสูตร โดยหลักสูตรนี้ได6รับการอนุมัติจาก สกอ. เป-นท่ีเรียบร6อยแล6ว

6. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเกษตรศาสตร� ได6เปuดดําเนินการหลักสูตร (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2554) ในการการศึกษา 2554 ภายหลังการอนุมัติเป-นท่ีเรียบร6อยแล6ว

นอกจากนี้ คณะกรรมการประจําหลักสูตร มีการพัฒนาหลักสูตรเป-นระยะ ๆ จากข6อมูลปvอนกลับจากบุคลากรทางการศึกษา, นักศึกษา, ศิษย�เก?าและผู6มีส?วนได6เสีย จากภาคเอกชน รัฐบาลและองค�กร โดยมีข6อมูลปvอนกลับ ตามข6อ 10.1 ได6นําข6อมูลปvอนกลับท่ีได6ไปปรับปรุงกระบวนการออกแบบและพัฒนาหลักสูตรโดยการ ปรับปรุงสาระรายวิชา และกิจกรรมเสริมหลักสูตร โดยอาจารย�ประจําหลักสูตรร?วมกับฝxายวิชาการ จัดทําระบบและกลไกในการออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตร และการปรับปรุงหลักสูตรให6ทันสมัยตามความก6าวหน6าของศาสตร�สาขานั้นๆ โดยยึดจากข6อมูลหรือความคิดเห็นของผู6ทรงภายนอกท่ีมีความเชี่ยวชาญในสาขาวิชาชีพเกษตรศาสตร� ผู6ใช6บัณฑิต ท้ังหน?วยงานของรัฐ และเอกชน ศิษย�ปpจจุบัน และศิษย�เก?า โดยได6ข6อคิดเห็นและข6อเสนอแนะว?า ควรให6การเพ่ิมรายวิชาท่ีทันสมัย และปรับบางวิชาให6เหมาะสมกับบริบทของหลักสูตร ซ่ึงคําอธิบายรายวิชาเหมาะสมกับชื่อของรายวิชา และมีเนื้อหาครอบคลุมกับรายวิชา นอกจากอาจารย�ประหลักหลักสูตรมีจัดทําแผนการเรียนของนักศึกษาประจําปFการศึกษา 2558 เพ่ือให6นักศึกษามีลําดับรายวิชาก?อนหลังท่ีเหมาะสม เอ้ือให6นักศึกษามีความรู6พ้ืนฐานเพ่ือให6นักศึกษาสามารถนําความรู6ไปต?อยอดในรายวิชาต?อไป และมีการเปuดสอนรายวิชาเป-นไปตามข6อกําหนดของหลักสูตร เพ่ือให6นักศึกษาสําเร็จได6ทันตามเวลาท่ีกําหนดในหลักสูตร อาจารย�ประจําหลักสูตรได6มีส?วนร?วมในการทบทวนระบบและกลไกการออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตร รวมท้ังระบบข้ันตอนการปรับปรุงหลักสูตรให6ทันสมัย 10.3 The teaching and learning processes and student assessment are continuously

reviewed and evaluated to ensure their relevance and alignment (3) คณะเกษตรศาสตร�มีการจัดทําระบบและกลไกในการกําหนดผู6สอน และการติดตามตรวจสอบการจัดทํา

มคอ. 3 หรือ 4 โดยกรรมการประจําหลักสูตรจะทําการตรวจสอบและวิพากษ� มคอ. 3 หรือ 4 โดยการสุ?ม

มา 25% ของรายวิชาท้ังหมดเพ่ือให6ม่ันใจว?ากระบวนการดังกล?าวมีความเก่ียวเนื่อง และสอดคล6องกับผล

การเรียนรู6ท่ีคาดหวัง หากพบคณะกรรมการประจําหลักสูตรพบว?าไม?มีความเก่ียวเนื่องและสอดคล6องกับผล

การเรียนรู6ท่ีคาดหวัง จะส?งกลับไปยังอาจารย�ผู6สอนเพ่ือทําการปรับปรุง ส?วนในกระบวนการจัดการเรียน

การสอน หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเกษตรศาสตร� ได6ดําเนินการกํากับติดตามให6อาจารย�

ผู6สอนและอาจารย�ประจําหลักสูตรทุกคนจัดทําและส?งแผนการจัดการเรียน มคอ. 3 หรือ 4 ทุกรายวิชา

ก?อนเปuดการศึกษา และอาจารย�ประจําวิชาทําการปรับปรุง แก6ไข ส?งฝxายวิชาการของคณะ และแจ6ง มคอ.

3 ให6กับนักศึกษา นอกจากนั้นคณะเกษตรศาสตร� มีระบบและกลไกในการกํากับกระบวนการเรียนการสอน

Page 105: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

103

โดย ดําเนินการนิเทศการสอนหลังจากท่ีอาจารย�ผู6สอนได6เริ่มดําเนินการสอนตามท่ีได6รับมอบหมาย เพ่ือ

กํากับติดตามให6ดําเนินการสอนตามมคอ. 3 หรือ 4 และกระตุ6นให6เกิดการพัฒนาเทคนิควิธีในการสอน

โดยฝxายวิชาการมีการกําหนดการนิเทศการสอนอาจารย�ในแต?ละรายวิชาทุกภาคการศึกษา เพ่ือกํากับ

ติดตาม และควบคุมคุณภาพการสอนของอาจารย�ให6เป-นไปตาม มคอ.3 มีการนํานักศึกษาศึกษาดูงาน

ภายนอกเพ่ือเพ่ิมทักษะให6นักศึกษา ตลอดจนมีการจัดโครงการเพ่ิมทักษะด6านภาษาอังกฤษ เพ่ือนักศึกษามี

ทักษะด6านภาษาเพ่ิมข้ึน ส?วนนักศึกษาชั้นปFท่ี 1 มีการปฐมนิเทศเพ่ือให6นักศึกษาได6ทราบเก่ียวกับหลักสูตรท่ี

เข6าศึกษา และทําการสอนปรับพ้ืนฐานให6กับนักศึกษาก?อนเปuดภาคการศึกษา นอกจากนี้คณะฯ ได6ส?ง

นักศึกษาไปฝwกงานภายนอกเพ่ือเพ่ิมศักยภาพและประสบการณ�การทํางานของนักศึกษาระหว?างเรียน ส?วน

การจัดการเรียนการสอนท่ีมีการฝwกปฏิบัติในระดับปริญญาตรีรายวิชาในหลักสูตรกลุ?มวิชาชีพบังคับ กลุ?ม

วิชาชีพเลือกมีการกําหนดชั่วโมงปฏิบัติ มีการจัดการเรียนการสอนท้ังภาคทฤษฎีควบคู?กับปฏิบัติเพ่ือให6

นักศึกษาเกิดทักษะในการนําความรู6ไปประกอบอาชีพ นอกจากนั้นทางคณะฯ ยังได6จัดสรรงบประมาณ

สนับสนุนการฝwกปฏิบัติให6กับนักศึกษาท้ังงานฟาร�ม การปรับปรุงห6องปฏิบัติการห6องพืชศาสตร� และสัตว

ศาสตร� นอกจากนี้ คณะฯ ยังมีนโยบายในการส?งเสริมให6นักศึกษาชั้นปFท่ี 2 ประจําปFการศึกษา 2558

ออกไปฝwกปฏิบัติงานภายนอก โดยกําหนดให6ออกฝwกในหน?วยงานของรัฐ และเอกชนภายในจังหวัด

นราธิวาส และจังหวัดใกล6เคียง เพ่ือให6นักศึกษามีประสบการณ�ก?อนท่ีจะออกไปปฏิบัติงานจริง เป-นฝwกงาน

เบ้ืองต6น ก?อนท่ีจะออกไปฝwกงานจริงในรายวิชาการฝwกงาน 3 ซ่ึงทางคณะเกษตรศาสตร� ได6มีการกําหนด

สถานท่ีฝwกงานของนักศึกษาชั้นปFท่ี 3 นอกเขตจังหวัดนราธิวาส ปpตตานี และยะลา เพ่ือเป-นการเพ่ิม

ประสบการณ�ท่ีนอกเหนือท่ีนักศึกษาได6รับจากสถานท่ีศึกษาและบ6านเกิด เพ่ือให6นักศึกษาได6รู6จักปรับตัวใน

การอยู?ร?วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรม ร?วมท้ังมีการบูรณาการพันธกิจต?างๆ กับการเรียนการสอนในระดับ

ปริญญาตรีอาจารย�ประจําหลักสูตร คณะเกษตรศาสตร� มีการกําหนดรายวิชาบางรายวิชาให6มีการ บูรณา

การกับงานวิจัย บริการวิชาการ และทํานุบํารุง ศิลปวัฒนธรรม ในการประชุมคณะเกษตรศาสตร� โดย

กําหนดให6รายวิชาด6านวิชาชีพให6มีการบูรณาการการเรียนการสอนกับงานวิจัย ทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม

และการบริการวิชาการ

การประเมินผูOเรียน อาจารย�ประจําหลักสูตรร?วมกับฝxายวิชาการจัดทําระบบและกลไกประเมินผลการเรียนตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห?งชาติ จากนั้นอาจารย�ประจําหลักสูตรมีการประชุมสรุปผลการดําเนินการ มคอ. 5 และ มคอ. 6 ของรายวิชาท่ีประเมินการสอนท้ังสองภาคการศึกษาประจําปFการศึกษา 2557 โดยมีการประชุมผลการประเมินผลการเรียนรู6ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิในแต?ละด6านคือ

Page 106: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

104

1. การเรียนรู6ด6าน คุณธรรม จริยธรรม รูปแบบการประเมินเน6นการประเมินความตรงต?อเวลาของนักศึกษาในการเข6าเรียน และการเข6าร?วมกิจกรรมทางสังคม

2. การเรียนรู6ด6านความรู6 รูปแบบการประเมินจากการเข6าร?วมกิจกรรม การส?งงานท่ีได6รับมอบหมาย นอกจากนั้นประเมินจากการสอบภาคบรรยายและปฏิบัติหลังสิ้นสุดการเรียนการสอน

3. การเรียนรู6ด6านทักษะทางปpญญา รูปแบบการประเมินเน6นการประเมินจากการนําเสนอและการแสดงออกในชั้นเรียนรวมท้ังการตอบข6อสอบ

4. การเรียนรู6ด6านทักษะความสัมพันธ�ระหว?างบุคคลและความรับผิดชอบ รูปแบบการประเมินเน6นการประเมินโดยการสังเกตพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในชั้นเรียน และการทํากิจกรรมกลุ?ม

5. การเรียนรู6ด6านทักษะการวิเคราะห�เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช6เทคโนโลยี โดยรูปแบบการประเมินท่ีเน6น ความสามารถในการอธิบาย การทําแบบฝwกหัด การวิเคราะห�ข6อมูลทางสถิติ การเขียน การอ?าน และการใช6เทคโนโลยีสารสนเทศในการนําเสนอของนักศึกษา

6. อาจารย�ท่ีรับผิดชอบรายวิชาเป-นผู6ดําเนินการกิจกรรมท่ีกําหนดให6ผู6เรียนเป-นสําคัญ เพ่ือพัฒนาผลการเรียนรู6ในแต?ละด6านตามความเหมาะสม

7. อาจารย�ประจําหลักสูตรได6ร?วมประชุมวิพากษ�วิธีการประเมินผลตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาท้ัง 5 ด6านและกิจกรรมต?างๆ ท่ีนําไปสู?การพัฒนาผลการเรียนรู6ดังกล?าว รวมท้ังการกําหนดแบบฟอร�มการประเมินในแต?ละด6านในท่ีประชุมร?วมระหว?างอาจารย�ประจําหลักสูตรและอาจารย�ผู6สอน

8. อาจารย�ประจําหลักสูตรได6ประชุมและกําหนดให6ทุกรายวิชาประเมินผลตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห?งชาติ ท้ัง 5 ด6าน

9. งานหลักสูตรและการสอน ได6กํากับติดตามให6คณาจารย�ส?งเกรดหรือผลการประเมินการเรียนรู6 ท่ีสอดคล6องกับมคอ. 3 หรือ 4 เพ่ือประเมินความสอดคล6องของข6อสอบกับผลการเรียนรู6ตามกรอบมาตรฐานคุณภาพของหลักสูตร หลังจากนั้นอาจารย�ประจําหลักสูตรตรวจสอบการส?งเกรดและความสอดคล6องของคะแนนในใบเกรดกับ มคอ. 3 เพ่ือเสนอต?อฝxายวิชาการ พิจารณาขออนุมัติผลการเรียนตามข้ันตอน

10. จากนั้นอาจารย�ประจําหลักสูตรนําผลสรุป มคอ. 5 และ มคอ. 6 ไปสรุปแนวทางในการพัฒนาตามการดําเนินการในมคอ. 7 และรายงานผลการดําเนินงานของหลักสูตรต?อคณะกรรมการประจําคณะฯ เพ่ือพิจารณา และให6ข6อเสนอแนะ

11. อาจารย�ประจําหลักสูตรนําข6อเสนอแนะมาประเมินกระบวนการดําเนินงานของหลักสูตร ในปFการศึกษาถัดไป

การตรวจสอบประเมินผลการเรียนรูOของนักศึกษา อาจารย�ประจําหลักสูตรร?วมกับฝxายวิชาการจัดทํา

ระบบและกลไกตรวจสอบการประเมินเรียนรู6ของนักศึกษา จากนั้นอาจารย�ประจําหลักสูตร ได6ประเมิน

คุณภาพของข6อสอบท้ังกลางภาคและปลายภาค ของแต?ละรายวิชาท่ีมีการเรียนการในปFการศึกษา 2558

โดยพิจารณาในการวัดและประเมินผล ว?าเป-นไปตามมาตรฐาน TQF หรือไม? หากไม?เป-นไปตามเกณฑ� จะ

Page 107: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

105

ทําการส?งข6อสอบกลับไปยังอาจารย�ประจําวิชาให6ทําการปรับปรุงข6อสอบ ก?อนท่ีจะดําเนินการสอบ

ประเมินผลท้ังกลางภาคและปลายภาค

หลังจากนั้นเม่ือทําการสอบประเมินผลเสร็จ อาจารย�ประจําวิชาส?งเกรดมายังฝxายวิชาการ และเสนอให6คณะกรรมการประจําคณะพิจารณาการให6เกรดในแต?ละรายวิชา ว?ามีความผิดปกติในการวัดผลประเมินผลหรือไม? โดยพิจารณาถึงการกระจายตัวของระดับคะแนน เช?นนักศึกษามีเกรด A , F หรือ I จํานวนมาก ในกรณีท่ีพบความผิดปกติ ฝxายวิชาการจะให6อาจารย�ประจําวิชาทบทวนการให6เกรด และยืนยันการให6เกรดอีกครั้ง หลังจากนั้นทําการสรุปผลการดําเนินการมคอ. 5 และมคอ. 6 ของรายวิชาในปFการศึกษา 2557 และรายงานผลการดําเนินหลักสูตรต?อคณะกรรมการประจําคณะ และนําผลการประเมินมาปรับปรุงกระบวนการดําเนินการของหลักสูตรในการศึกษาถัดไป

การกํากับการประเมินการจัดการเรียนการสอนและประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7อาจารย�ประจําหลักสูตรร?วมกับฝxายวิชาการ จัดทําระบบและกลไกการกํากับการประเมินการจัดการเรียนการสอนและประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7) ซ่ึงฝxายวิชาการ คณะเกษตรศาสตร� ได6กําหนดปฏิทินวิชาการ ในการจัดทํา มคอ. 3 –มคอ. 7 และแจ6งให6อาจารย�ประจําหลักสูตรทราบและนําส?งตามระยะเวลาท่ีกําหนด หลังจากนั้น มีการประชุมอาจารย�ประจําหลักสูตร ได6มีการพิจารณาระบบและกลไกของการประเมินผลการเรียนของนักศึกษาท่ีคณะได6จัดทําข้ึนมา เพ่ือไปปรับปรุงกระบวนการในปFการศึกษาถัดไป

10.4 Research output is used to enhance teaching and learning (4)

หลักสูตรมีกระบวนการนําผลงานวิจัยมาใช6เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการเรียนการสอนโดยการบูรณาการ

การเรียนการสอนโครงการวิจัยกับการเรียนการสอน ในปFการศึกษา2558 มีผลงานวิจัยท่ีนํามาใช6ในการ

จัดการเรียนการสอนคือ โครงการวิจัยการหาแหล?งทดแทนพืชอาหารสัตว�ในแพะ การผลผลิตข6าวหอม

กระดังงาพันธุ�แท6 และเลี้ยงไก?เนื้อจากผลพลอยได6จากโรงงงานอุตสาหกรรม ผลกระบวนการนําผลงานวิจัย

มาใช6 พบว?านักศึกษามีความรู6ความเข6าใจเพ่ิมข้ึนจากการได6ศึกษาจากการปฏิบัติจริง มีกระบวนการนํา

ผลงานวิจัยมาใช6ปรับปรุงโดยการสอดแทรกองค�ความรู6ท่ีได6จากการศึกษาวิจัย การฝwกให6นักศึกษาคิดโจทย�

วิจัยในชั้นเรียนและทดลองแก6ไขปpญหาหรือพิสูจน�สมมุติฐานโดยใช6 ความรู6ท่ีได6จากวิชาเรียน และเพ่ิม

ทักษะของการคิด วิเคราะห� และสังเคราะห�จากผลการทดลองท่ีได6รับ

10.5 Quality of support services and facilities (at the library, laboratory, IT facility and

student services) is subjected to evaluation and enhancement (5) หลักสูตร มีระบบและกลไกในการจัดหาสิ่งสนับสนุนการเรียนรู6 โดยอาจารย�ประจําหลักสูตรได6มี

การสํารวจความต6องการในสิ่งสนับสนุนการเรียนรู6ของนักศึกษาและอาจารย� จัดทํารายงาน และนําเสนอท่ี

ประชุมอาจารย�ประจําหลักสูตร และเสนอโครงการเพ่ือการจัดสรรงบประมาณ โดยในปFการศึกษา 2558 ได6

มีการจัดทําโครงการพัฒนาระบบสารสนเทศและฐานข6อมูลให6ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ โครงการจัดหา

Page 108: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

106

และพัฒนาสื่อและสิ่งสนับสนุนการเรียนรู6ให6ทันสมัยและพอเพียงกับผู6เรียน โครงการจัดซ้ือครุภัณฑ�

การศึกษาเพ่ือรองรับการเรียนการสอนทางพืชศาสตร�และสัตวศาสตร� ดังปรากฏในแผนปฏิบัติราชาการ

ประจําปF 2558

ในปFการศึกษา 2558 คณะเกษตรศาสตร�ได6มีการสํารวจและประเมินคุณภาพของสิ่งสนับสนุนและ

สิ่งอํานวยความสะดวก สิ่งสนับสนุนการเรียนรู6ท่ีมีอยู? เช?น ห6องเรียน ห6องปฏิบัติการ ท่ีพักของนักศึกษา

ฯลฯ และด6านวัสดุอุปกรณ� เทคโนโลยี และสิ่งอํานวยความสะดวกหรือทรัพยากรท่ีเอ้ือต?อการเรียนรู6 เช?น

อุปกรณ�การเรียนการสอน ห6องสมุด หนังสือ ตารา แหล?งเรียนรู6 สื่ออิเล็คทรอนิกส� ฯลฯ มี ผลการประเมินมี

ดังนี้

1. สิ่งอํานวยความสะดวกในการสอน (ห6องเรียนและอุปกรณ�ในห6องเรียน) พบว?ามีความเพียงพอ โดยหลักสตรู ได6จัดเตรียมห6องเรียนสําหรับนักศึกษาเอาไว6อย?างเพียงพอและมีความสมบูรณ�พร6อม

อาทิเช?น ท่ีนั่งเรียนท่ีมีความเหมาะสมสะดวกสบาย โปรเจกเตอร�ท่ีสามารถมองเห็น โดยมีห6องเรียน จํานวนท้ังหมด 5 ห6อง (LA404, LA402, LA403, LA404, LA405, LA406, LA410, LA505) 2. ห6องสมุด พบว?ามีความเพียงพอและทันสมัย

โดยหลักสูตรได6จัดห6อง study room ท่ีมีหนังสือและตําราเก่ียวกับการเกษตรท่ีทันสมัยเพ่ือให6นักศึกษาได6ค6นคว6าเอกสารท่ีเก่ียวข6อง นักศึกษาท่ีเข6ามาเรียนในหลักสูตรสามารถใช6ทรัพยากรในห6องสมุดกลางท่ีศูนย�วิทยาบริการ และห6องสมุดคณะ โดยนักศึกษาสามารถติดต?อยืมตําราหรือหนังสือท่ีตัวเองสนใจจากเจ6าหน6าท่ีได6ทุกวัน

3. ห6องปฏิบัติการ หลักสูตรมีห6องปฏิบัติการท่ีทันสมัย มีการจัดเตรียมเครื่องมือท่ีทันสมัยพร6อมใช6งานเพ่ือรองรับการทําวิจัยข้ันสูงท่ีนักศึกษาสนใจ เอาไว6มากมาย อาทิเช?น 1. ห6องปฏิบัติการเทคโนโลยีชีวภาพด6านพืชศาสตร� 2. ห6องปฏิบัติการโรคพืช 3. ห6องปฏิบัติการสรีรวิทยาพืช 4. ห6องปฏิบัติการโภชนะศาสตร�สัตว� 5. ห6องปฏิบัติการกายวิภาคและสรีรวิทยา และการปรับปรุงพันธุ�สัตว� 6. ห6องปฏิบัติการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร

4. สิ่งอํานวยความสะดวกด6านคอมพิวเตอร� หลักสูตรมีสิ่งอํานวยความสะดวกด6านคอมพิวเตอร�เพียงพอและทันสมัย โดยหลักสูตร

จัดเตรียมห6องคอมพิวเตอร�ความเร็วสูงไว6เพ่ือรองรับนักศึกษาโดยการใช6บริการร?วมกับศูนย�วิทยบริการ ซ่ึงสามารถติดต?อเจ6าหน6าท่ีเพ่ือขอเข6าใช6ได6ทันที

Page 109: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

107

นอกจากนี้ ในปFการศึกษา 2558 คณะกรรมการประจําหลักสูตรได6มีการทบทวนประเมินกระบวนการจัดหาสิ่งสนับสนุนการเรียนรู6 และได6มีการปรับปรุงกระบวนการให6มีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน พบว?านักศึกษามีความต6องการให6คณะฯจัดหาหนังสือเก่ียวกับด6านการเกษตรเพ่ิมข้ึน และพัฒนาห6องปฏิบัติการท้ังด6านพืชศาสตร� และสัตวศาสตร� คณะฯได6รับการจัดสรรงบประมาณในการปรับปรุงห6องปฏิบัติการเพ่ือให6เกิดความพร6อมมากท่ีสุดในกระบวนการจัดการเรียนการสอน และการพัฒนาบัณฑิตให6ได6คุณภาพตามท่ีกําหนดไว6ใน ELO ของหลักสูตร

10.6 The stakeholder’s feedback mechanisms are systematic and subjected to

evaluation and enhancement (6)

หลักสูตรการได6พัฒนาระบบการรับข6อมูลปvอนกลับจากผู6มีส?วนได6ส?วนเสียของหลักสูตร (ผู6เรียน อาจารย� บุคลากรสายสนับสนุน ศิษย�เก?า ผู6ใช6บัณฑิต) ซ่ึงเป-นกลไกสําคัญท่ีจะทําให6หลักสูตรได6รับรู6ผลการดําเนินการในด6านต?างๆ เพ่ือนํามาใช6ปรับปรุงพัฒนา พึงมีระบบการรับข6อมูลประเมินการดําเนินการของ หลักสูตรในด6านต?างๆ อย?างสมํ่าเสมอ และนําข6อมูลปvอนกลับมาปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรอย?างเป-นรูปธรรม โดยหลักสูตรมีการระบบปvอนกลับเพ่ือปรับปรุงคุณภาพของหลักสูตรดังนี้

• ระบบข6อมูลปvอนกลับจากผู6เรียน จากแบบสอบถาม และการสัมภาษณ�

• ระบบข6อมูลปvอนกลับจากอาจารย� และบุคลากร จาก มคอ. แบบสอบถาม และการสัมภาษณ�

• ระบบข6อมูลปvอนกลับจากศิษย�เก?า จากแบบสอบถาม และการสัมภาษณ�

• ระบบข6อมูลปvอนกลับจากผู6ใช6บัณฑิต จากแบบสอบถาม และการสัมภาษณ� ผลการประเมินระบบการรับข6อมูลปvอนกลับ พบว?าเป-นระบบท่ีมีประสิทธิภาพ ได6ข6อมูลปvอนกลับ

ตามความเป-นจริงและครอบคลุมผู6มีส?วนได6ส?วนเสียในการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตร

หลักฐานแสดงผลการดําเนินงาน รหัสหลักฐาน ช่ือหลักฐาน

10.1-1 รายงาน ข6อมูลปvอนเข6าและข6อมูลตอบกลับ จากผู6เรียน อาจารย� ศิษย�เก?า จากผู6ใช6บัณฑิต ท้ังแบบสอบถาม และการสัมภาษณ�

10.1-2 รายงานการปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรข6อมูลปvอนเข6าและข6อมูลตอบกลับ 10.2-1 ระบบและกลไก 10.2-2 รายการประชุมอาจารย�ประจําหลักสูตร 4 2557 วาระการประเมินกระบวนของระบบ

และกลไก 10.2-3 ค?าสั่งคณะเกษตรศาสตร� เรื่องคณะกรรมการประจําหลักสูตร 10.3-1 ระบบและกลไกการรับและแต?งต้ังอาจารย�ประจําหลักสูตรและการติดตามมคอ 3 หรือ

4 10.3-2 คํ่าสั่งคณะเกษตรศาสตร� เรื่องคณะกรรมการประจําหลักสูตร

Page 110: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

108

10.3-3 รายการประชุมอาจารย�ประจําหลักสูตร 4 2558 วาระการประเมินกระบวนของระบบและกลไก

10.3-4 ระบบกลไกการประเมินผลการเรียนรู6ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห?งชาติ

10.3-5 คํ่าสั่งคณะเกษตรศาสตร� เรื่องคณะกรรมการประจําหลักสูตร 10.4-1 รายงานผลการประเมินคุณภาพของสิ่งสนับสนุนและสิ่งอํานวยความสะดวก (ห6องสมุด

ห6องปฏิบัติการ สิ่งอํานวยความสะดวกด6านเทคโนโลยีสารสนเทศ และการบริการนักศึกษาด6านต?างๆ

10.5-1 รายการประชุมอาจารย�ประจําหลักสูตร 4 2557 วาระการประเมินกระบวนของระบบและกลไก

10.5-2 ระบบการส?งเสริมและสนับสนุนการเรียนรู6 มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร� 10.5-3 คําสั่งอาจารย�ประจําหลักสูตร และหน6าท่ี 10.5-4 โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศและฐานข6อมูลให6ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ ดังปรากฏ

ในแผนปฏิบัติราชาการประจําปF 2558 10.5-5 โครงการจัดหาและพัฒนาสื่อและสิ่งสนับสนุนการเรียนรู6ให6ทันสมัยและพอเพียงกับ

ผู6เรียน 10.5-6 โครงการปรับปรุงห6องปฏิบัติการเพ่ือรองรับการเรียนการสอนทางพืชศาสตร�และสัตว

ศาสตร� 10.5-7 แผนปฏิบัติราชการประจําปFงบประมาณ 2558 10.5-8 รายงานการสํารวจความต6องการสิ่งสนับสนุนการเรียนรู6ของอาจารย�และนักศึกษา 10.5-9 รายงานการประเมินความพึงพอใจต?อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู6ของอาจารย�และนักศึกษา 10.5-10 รูปภาพสิ่งสนับสนุนกาเรียนรู6 10.6-1 รายงานข6อมูลปvอนกลับจากผู6มีส?วนได6ส?วนเสียของหลักสูตร

ผลการประเมินตนเอง AUN-10 การสJงเสริมคุณภาพการศึกษา (Quality Enhancement)

AUN-QA Criterion 1 – Checklist Level 1 2 3 4 5 6 7

10.1 Stakeholders’needs and feedback serve as input to curriculum design and development (1)

10.2 The curriculum design and development process is established and subjected to evaluation and enhancement (2)

Page 111: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

109

AUN-QA Criterion 1 – Checklist Level 1 2 3 4 5 6 7

10.3 The teaching and learning processes and student assessment are continuously reviewed and evaluated to ensure their relevance and alignment (3)

10.4 Research output is used to enhance teaching and

learning (4)

10.5 Quality of support services and facilities (at the library, laboratory, IT facility and student services) is subjected to evaluation and enhancement (5)

10.6 The stakeholder’s feedback mechanisms are systematic and subjected to evaluation and enhancement (6)

ความคิดเห็นโดยรวม (Overall opinion)

Page 112: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

110

AUN - QA criterion 11 ผลผลิต (Output)

Sub Criterion 11 1. The quality of the graduates (such as pass rates, dropout rates, average time to

graduate, employability, etc.) is established, monitored and benchmarked; and the programme should achieve the expected learning outcomes and satisfy the needs of the stakeholders.

2. Research activities carried out by students are established, monitored and benchmarked; and they should meet the needs of the stakeholders.

3. Satisfaction levels of staff, students, alumni, employers, etc. are established, monitored and benchmarked; and that they are satisfied with the quality of the programme and its graduates.

ผลการดําเนินงาน 11.1 The pass rates and dropout rates are established, monitored and benchmarked for improvement (1) หลักสูตรมีระบบในการควบคุม ติดตามตรวจสอบการลงทะเบียน โดยก?อนเปuดภาคการศึกษา งานหลักสูตรกําหนดช?วงระยเวลาการลงทะเบียนตามรายวิชาท่ีกําหนดตามแนวการศึกษา เม่ือนักศึกษาลงทะเบียนแล6วเสร็จตามระยะเวลาท่ีกําหนด งานทะเบียนและวัดผลจะเข6าไปตรวจสอบการลงทะเบียนในระบบ CMHE เพ่ือรายงานผลจํานวนนักศึกษาท่ีลงทะเบียนในแต?ละรายวิชาไปฝxายวิชาการ เพ่ือจัดทําคําสั่งแต?งต้ังอาจารย�ผู6สอนในแต?ละรายวิชา และหลักสูตรได6มีการเก็บรวบรวมข6อมูลนักศึกษาท่ีสอบผ?านในละปFการศึกษาจากงานทะเบียนและวัดผลเพ่ือนําข6อมูลท่ีได6มาเปรียบเทียบกับจํานวนนักศึกษาแรกเข6าเพ่ือหาจํานวนท่ีนักศึกษาท่ีตกออกระหว?างปFการศึกษาจากนั้น หลักสูตรจะรายงานข6อมูลดังกล?าวให6กับคณบดีรับทราบผ?านรองคณบดีฝxายวิชาการเพ่ือนําเข6าสู?คณะกรรมการบริหารวิชาการและคณะกรรมการประจําคณะเพ่ือพิจารณาหาแนวทางในการกํากับติดตามทุกภาคการศึกษา โดยมีการจัดเก็บข6อมูลพ้ืนฐานและเอกสารหลักฐานอัตราการสําเร็จการศึกษา ย6อนหลัง 3 ปF, สถิติการรับนักศึกษาในแต?ละปFการศึกษา, จํานวนนักศึกษาในแต?ละปFการศึกษา และอัตราการสอบผ?าน การลาออกกลางคัน และการสําเร็จการศึกษาทุกชั้นปF จากการเก็บรวบรวมข6อมูลพบว?า อัตราการสอบผ?านของนักศึกษาต้ังแต?ปFการศึกษา 2556-2558 มีอัตราการสอบผ?านอยู?ท่ี ร6อยละ 90 และเพ่ิมข้ึนร6อยละ 5 ต?อปFการศึกษา และมีอัตราการตกออกร6อยละ 10 และอัตราการตกออกลดลงร6อยละ 1 ต?อปF จากการกํากับติดตามพบว?านักศึกษาท่ีตกออกมีผลการเรียนตํ่า ท้ังนี้หลักสูตรได6แต?งต้ังคณะกรรมการจัดสอนเสริมเพ่ือลดการตกออกในแต?ละปFให6กับนักศึกษาท่ีมีผลการเรียนตํ่า

Page 113: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

111

11.2 The average time to graduate is established, monitored and benchmarked for

improvement (1)

หลักสูตรได6มีการเก็บข6อมูลนักศึกษาท่ีสําเร็จการศึกษาตามระยะเวลาการศึกษาท่ีหลักสูตรกําหนด โดย

งานทะเบียนนักศึกษา ต้ังแต?ปFการศึกษา 2556-2558 โดยต้ังเปvาหมายให6นักศึกษาท่ีเข6าศึกษาสามารถจบ

การศึกษาตามระยะเวลาท่ีกําหนดไม?น6อยกว?าร6อยละ 95 จากข6อมูลพบว?า นักศึกษาท่ีจบการศึกษาตาม

ระยะเวลาท่ีกําหนดเท?ากับร6อยละ 98 และนักศึกษาท่ีจบการศึกษาตามระยะเวลาท่ีกําหนดมีอัตราเพ่ิมข้ึน

ร6อยละ 5 ต?อปFการศึกษา และนักศึกษาจบการศึกษาช6ากว?าท่ีหลักสูตรกําหนดร6อยละ 2 และมีอัตราการจบ

การศึกษาช6ากว?าท่ีหลักสูตรลดลงร6อยละ 1 ต?อปF ซ่ึงนักศึกษาท่ีไม?จบตามเกณฑ�พบว?านักศึกษาไม?ผ?านใน

หมวดรายวิชาศึกษาท่ัวไปและวิชาปpญหาพิเศษ ซ่ึงได6รายงานข6อมูลดังกล?าวให6กับคณะกรรมการวิชาการ

และคณะกรรมการประจําคณะได6รับทราบข6อมูลพร6อมท้ังสาเหตุของการจบการศึกษาช6ากว?าระยะเวลาท่ี

หลักสูตรกําหนดทุกภาคการศึกษา โดยหลักสูตรได6เพ่ิมมาตรการในการสอนเสริมในรายวิชาท่ีไม?ผ?านใน

หมวดวิชาศึกษาท่ัวไปและเพ่ิมมาตรการในการติดตามวิชาปpญหาพิเศษทางด6านพืชศาสตร�และสัตวศาสตร�

เช?น อาจารย�ประจําวิชาได6มีการกําหนดให6นักศึกษาชั้นปFท่ี 4 ทุกคนท่ีจะลงทะเบียนวิชาปpญหาพิเศษในภาค

การศึกษาท่ี 2 นักศึกษาต6องเรียนรู6กระบวนการเขียนโครงร?างและรูปเล?ม การค6นหาเอกสาร และสอบโครง

ร?างปpญหาพิเศษให6ผ?านในภาคการศึกษาท่ี 1 จึงจะสามารถลงทะเบียนวิชาปpญหาพิเศษในภาคการศึกษาท่ี

2 ได6 และอาจารย�ท่ีปรึกษาปpญหาพิเศษ อาจารย�ประจําวิชา จะกํากับติดตามช?วงระยะเวลาในการทําปpญหา

พิเศษของนักศึกษาให6สามารถทําปpญหาพิเศษได6อย?างมีประสิทธิภาพเพ่ิมข้ึน รวมถึงการจัดหาเอกสารข6อมูล

ท่ีทันสมัยให6กับนักศึกษาในการสืบค6นเพ่ือใช6ประกอบการทําปpญหาพิเศษ

11.3 Employability of graduates is established, monitored and benchmarked for improvement (1)

หลักสูตรได6มีการเก็บข6อมูลการได6งานทําของนักศึกษา โดยใช6แบบสอมถาม จําแนกเป-น 1)จํานวนบัณฑิตท้ังหมด (นับต้ังแต?วันท่ีสภามหาวิทยาลัยอนุมัติให6สําเร็จการศึกษาในปFการศึกษานั้น) 2) จํานวนบัณฑิตท่ีมีงานทําพร6อมเงินเดือนเริ่มต6นหรือรายได6ประจําจากการเป-นผู6ประกอบการ 3) ข6อมูลบัณฑิตท่ีศึกษาต?อระดับบัณฑิตศึกษา โดยงานทะเบียนและวัดผลเป-นผู6จัดเก็บรวบรวมข6อมูล ต้ังแต?ปFการศึกษา 2556-2558 โดยหลักสูตรได6กําหนดเปvาหมายให6นักศึกษาท่ีจบการศึกษาจากคณะเกษตรศาสตร�ได6งานทําไม?น6อยกว?าร6อยละ 95 และรายได6ของนักศึกษาไม?ตํ่ากว?า 12,490 บาทต?อเดือนเม่ือเปรียบเทียบกับอัตราเงินเดือนท่ีสํานักงานคณะกรรมการข6าราชการพลเรือนรับรองเม่ือปF พ.ศ. 2557 ท่ีกําหนดคุณวุฒิปริญญาตรีรับเงินเดือนข้ันตํ่า 12,490 บาทต?อเดือน ซ่ึงนําข6อมูลของบัณฑิตท่ีได6งานทําหรือมีกิจการของตนเองท่ีมีรายได6ประจํามาเทียบกับจํานวนบัณฑิตท่ีสําเร็จการศึกษาในปFการศึกษานั้น เพ่ือคํานวณเป-นร6อยละของผู6มีงานทํา เพ่ือทําการวิเคราะห�และปรับปรุงหลักสูตรต?อไปหรือชี้แจงให6นักศึกษาเห็นความสําคัญของการกรอกข6อมูลการได6งานทําให6ถูกต6อง เนื่องจากส?งผลต?อคุณภาพของหลักสูตร เชิญสถานประกอบการมาจัด

Page 114: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

112

งาน Job Fair เพ่ือให6นักศึกษามีช?องทางในการสมัครงาน จัดฝwกอบรมการเขียน Resume ให6ถูกต6องและโดดเด?น เพ่ือใช6สมัครงาน หรือ จัดฝwกอบรมทักษะท่ีจําเป-นในการทํางาน และฝwกอบรมบุคลิกภาพเพ่ือการสัมภาษณ�งาน จากข6อมูลพบว?า บัณฑิตได6งานทําตรงตามวุฒิ เฉลี่ยร6อยละ 80 และบัณฑิตท่ีได6งานทําไม?ตรงตามวุฒิ ร6อยละ 20 โดยในปFการศึกษา 2558 บัณฑิตได6งานทําตรงตามวุฒิคิดเป-น80 ซ่ึงสูงกว?าร6อยละของบัณฑิตท่ีได6งานทําในปFการศึกษ 2556 ท่ีร6อยละ 70 และรายได6ของนักศึกษาตํ่ากว?า 12,490 บาทต?อเดือน เนื่องจากนักศึกษาต6องการประกอบอาชีพส?วนตัว โดยข6อมูลดังกล?าวจะต6องรายงานให6กับคณะกรรมการวิชาการและคณะกรรมการประจําคณะได6รับทราบข6อมูลพร6อมท้ังสาเหตุของการได6งานทําไม?ตรงตามวุฒิการศึกษา

หมายเหตุ: จํานวนบัณฑิตท่ีมีงานทํา หมายถึง ผู6ท่ีสําเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรีท่ีได6งานทําหรือมีกิจการของตนเองท่ีมีรายได6ประจําภายในระยะเวลา 1 ปF นับจากวันท่ีสําเร็จการศึกษาโดยไม?นับรวมผู6ท่ีศึกษาต?อในระดับบัณฑิตศึกษา การนับการมีงานทํา สามารถนับกรณีการทํางานสุจริตทุกประเภทท่ีสามารถสร6างรายได6เข6ามาประจําเพ่ือเลี้ยงชีพตนเองได6 11.4 The types and quantity of research activities by students are established, monitored

and benchmarked for improvement (2)

หลักสูตรมีการส?งเสริมการผลิตและเผยแพร?ผลงานวิชาการของนักศึกษา เพ่ือสร6างโอกาสการเรียนรู6ท่ีส?งเสริมพัฒนาศักยภาพของนักศึกษา เพ่ือให6บรรลุผลการเรียนรู6ม่ีคาดหวังไว6 โดยมีกิจกรรม ดังนี้ 1) การนําเสนอผลงานของนักศึกษาระหว?างสามสถาบันประกอบด6วย มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร� มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร� วิทยาเขตปpตตานี 2) การแข?งขันด6านนวัตกรรม Novel Research & Innovation Competition ณ มหาวิทยาลัยวิทยาศาสตร�แห?งมาเลเซีย (Universiti Sains Malaysia) เมืองปFนัง ประเทศมาเลเซีย โดยกําหนดว?าต6องมีการนําเสนอปFละไม?ตํ่ากว?า 1 เรื่อง 3)นักศึกษาส?งผลงานเข6าร?วมโครงการส?งเสริมการวิจัยของนักศึกษา south phus ของ ศูนย�อํานวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต6 (ศอ.บต.) ปFละไม?ตํ่ากว?า 1 เรื่อง และกําหนดให6นักศึกษาท่ีจะจบการศึกษาต6องทําปpญหาพิเศษท่ีเก่ียวข6องกับวิชาชีพของตนเอง และส?งผลงานท่ีเด?นนําเสนอในงานสถาปนามหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร� หรือเข6าร?วมการแข?งขันด6านนวัตกรรม Novel Research & Innovation Competition ณ มหาวิทยาลัยวิทยาศาสตร�แห?งมาเลเซีย (Universiti Sains Malaysia) เมืองปFนัง ประเทศมาเลเซีย พบว?า ปFการศึกษา 2557-2559 หลักสูตรส?งนักศึกษาเข6าร?วมแข?งขัน ปF 1 เรื่อง โดย

- ปF 2556 ได6รับรางวัล เหรียญเงิน 1 เหรียญ - ปF 2557 ได6รับรางวัล เหรียญทองแดง 1 เหรียญ เรื่อง Development of fish snack (kepala

kerpok iikan)

Page 115: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

113

- ปF 2558 นักศึกษากําลังเข6าร?วมการแข?งขัน โดยฝxายวิชาการเป-นผู6จัดเก็บข6อมูล มีการรายงานข6อมูลดังกล?าวให6กับคณะกรรมการวิชาการและ

คณะกรรมการประจําคณะได6รับทราบข6อมูลเป-นประจําทุกปF 11.5 The satisfaction levels of stakeholders are established, monitored and benchmarked for improvement (3)

หลักสูตรมีการรวบรวมข6อมูลปvอนกลับจากผู6มีส?วนได6ส?วนเสีย (ผู6เรียน อาจารย� ศิษย�เก?า บุคลากร

สายสนับสนุน และผู6ใช6บัณฑิต) โดยใช6แบบสอบถาม การสัมภาษณ� ควบคู?กับการศึกษาแบบเจาะจงเฉพาะ

กลุ?ม ในประเด็นต?างๆ เพ่ือวัดระดับความพึงพอใจของผู6มีส?วนได6ส?วนเสียและคุณภาพของผู6สําเร็จการศึกษา

เพ่ือนําผลการวิเคราะห�ความพึงพอใจมาใช6ในการปรับปรุงพัฒนาหลักสูตร พัฒนาการจัดการเรียนการสอน

ให6มีคุณภาพ เพ่ือให6คุณภาพบัณฑิตเป-นไปตามคุณลักษณะท่ีพึงประสงค�ตามท่ีหลักสูตรกําหนดไว6ใน มคอ.

2 เป-นไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห?งชาติท่ีสามารถสะท6อนความต6องการของผู6ใช6

บัณฑิตและผู6มีส?วนได6ส?วนเสีย คณะมีระบบการพัฒนาหลักสูตรและระบบการจัดการศึกษา และมีระบบ

กลไกในการประเมินผลคุณลักษณะของบัณฑิตท่ีกําหนดข้ึนเพ่ือใช6ผลสะท6อนคุณภาพบัณฑิตในการ

พัฒนาการจัดการการศึกษาท่ีตอบสนองต?อความต6องการของผู6มีส?วนได6ส?วนเสียอย?างแท6จริง

หลักฐานแสดงผลการดําเนินงาน

รหัสหลักฐาน ช่ือหลักฐาน 11.1-1 สถิติการรับนักศึกษาในแต?ละปFการศึกษา 11.2-1 จํานวนนักศึกษาในแต?ละปFการศึกษา 11.3-1 ตารางแสดงอัตราการสอบผ?าน การลาออกกลางคัน และการสําเร็จการศึกษาทุกชั้นปF

ของหลักสูตร 11.3-2 ตารางแสดงผลงานของผู6เรียน 11.4-1 ผลงานของผู6เรียนและผู6สําเร็จการศึกษา 11.5-1 สถิติการได6งานของบัณฑิต ระดับเงินเดือน 11.5-3 แบบสอบถามความพึงพอใจของนักศึกษาท่ีมีต?อคุณภาพหลักสูตรและผลการวิเคราะห�

ความพึงพอใจ

Page 116: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

114

ผลการประเมินตนเอง AUN-11 ผลผลิต (Output)

AUN-QA Criterion 1 – Checklist Level 1 2 3 4 5 6 7

11.1 The pass rates and dropout rates are established, monitored and benchmarked for improvement (1)

11.2 The average time to graduate is established, monitored and benchmarked for improvement (1)

11.3 Employability of graduates is established, monitored and benchmarked for improvement (1)

11.4 The types and quantity of research activities by

students are established, monitored and

benchmarked for improvement (2)

11.5 The satisfaction levels of stakeholders are established, monitored and benchmarked for improvement (3)

ความคิดเห็นโดยรวม (Overall opinion) 3

Page 117: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

115

สJวนท่ีส่ี : การวิเคราะห หลักสูตร

4.1 จุดแข็งหรือข6อควรภาคภูมิใจของหลักสูตร

1. เป-นหลักสูตรท่ีสอดคล6องกับอาชีพหลักของประชาชนส?วนใหญ?ในพ้ืนท่ี 2. ผู6มีส?วนได6ส?วนเสียมีส?วนร?วมในการจัดทําหลักสูตร 3. บัณฑิตเม่ือจบการศึกษาออกไปแล6วสามารถประกอบอาชีพได6ท้ังอาชีพส?วนตัว และนักวิชาการเกษตรในหน?วยงานของภาครัฐ และเอกชน

4.2 จุดอ?อนหรือข6อควรพัฒนา/ปรับปรุงของหลักสูตร - ทัศนคติของผู6ปกครอง และเยาวชนปpจจุบัน ไม?ให6ความสําคัญกับอาชีพเกษตรมากนัก 4.3 การให6คะแนนการประเมินตนเองในแต?ละเกณฑ�ของหลักสูตร ตารางท่ี 4.3-1 ผลการประเมินตนเองตามตัวบJงช้ี

องค ประกอบท่ี ผลการประเมินตนเอง หมายเหตุ องค�ประกอบท่ี 1 การกํากับมาตรฐานหลักสูตร ผ?าน การกํากับมาตรฐานหลักสูตรตาม

เกณฑ�ท่ี สกอ. กําหนด AUN - QA criterion 1 ผลการเรียนรูOท่ีคาดหวัง (Expected Learning Outcomes)

3

AUN - QA criterion 2 ขOอกําหนดของหลักสูตร (Program Specification)

3

AUN - QA criterion 3 โครงสรOางและเนื้อหาของหลักสูตร (Programmed Structure and Content)

3

AUN - QA criterion 4 วิธีการเรียนการสอน (Teaching and Learning Approach)

3

AUN - QA criterion 5 การประเมินผูOเรียน (Student Assessment)

3

AUN - QA criterion 6 คุณภาพบุคลากรสายวิชาการ (Academic Staff Quality)

3

AUN - QA criterion 7 คุณภาพบุคลากรสายสนับสนุน (Support Staff Quality)

3

AUN - QA criterion 8 คุณภาพและการสนับสนุนผูOเรียน (Student Quality and Support)

3

AUN - QA criterion 9 ส่ิงสนับสนุนการเรียนรูOทางกายภาพ (Facilities and Infrastructure)

3

AUN - QA criterion 10 การสJงเสริมคุณภาพการศึกษา (Quality Enhancement)

3

Page 118: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

116

AUN - QA criterion 11 ผลผลิต (Output) 3 ผลการประเมินตนเองโดยภาพรวม 3 ตารางท่ี 4.3-2 ผลการประเมินตนเองตามเกณฑ AUN แตJลJะขOอ AUN-QA Detail AUN-QA Rating

1 2 3 4 5 6 7 1 Expected Learning Outcomes

1.1 The expected learning outcomes have been clearly formulated and aligned with the vision and mission of the university [1,2]

1.2 The expected learning outcomes cover both subject specific and generic (i.e. transferable) learning outcomes [3]

1.3 The expected learning outcomes clearly reflect the requirements of the stakeholders [4]

Overall opinion AUN-1 � 2 Programme Specification

2.1 The information in the programme specification is comprehensive and up-to-date [1, 2]

2.2 The information in the course specification is comprehensive and up-to-date [1, 2]

2.3 The programme and course specifications are communicated and made available to the stakeholders [1, 2]

Overall opinion AUN-2 �

3 Programme Structure and Content 3.1 The curriculum is designed based on constructive

alignment with the expected learning outcomes [1] �

3.2 The contribution made by each course to achieve the expected learning outcomes is clear [2] �

Page 119: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

117

AUN-QA Detail AUN-QA Rating 1 2 3 4 5 6 7

3.3 The curriculum is logically structured, sequenced, integrated and up-to-date [3, 4, 5, 6] �

Overall opinion AUN-3 � 4 Teaching and Learning Approach

4.1 The educational philosophy is well articulated and communicated to all stakeholders [1] �

4.2

Teaching and learning activities are constructively aligned to the achievement of the expected learning outcomes [2, 3, 4, 5] �

4.3 Teaching and learning activities enhance life-long learning [6] �

Overall opinion AUN-4 � 5 Student Assessment

5.1 The student assessment is constructively aligned to the achievement of the expected learning outcomes [1, 2] �

5.2 The student assessments including timelines, methods, regulations, weight distribution, rubrics and grading are explicit and communicated to students [4, 5] �

5.3 Methods including assessment rubrics and marking schemes are used to ensure validity, reliability and fairness of student assessment [6, 7] �

5.4 Feedback of student assessment is timely and helps to improve learning [3] �

5.5 Students have ready access to appeal procedure [8] �

Overall opinion AUN-5 � 6 Academic Staff Quality

6.1 Academic staff planning (considering succession, �

Page 120: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

118

AUN-QA Detail AUN-QA Rating 1 2 3 4 5 6 7

promotion, re-deployment, termination, and retirement) is carried out to fulfil the needs for education, research and service [1]

6.2 Staff-to-student ratio and workload are measured and monitored to improve the quality of education,research and service [2] �

6.3 Recruitment and selection criteria including ethics and academic freedom for appointment, deployment and promotion are determined and communicated [4, 5, 6, 7] �

6.4 Competences of academic staff are identified and evaluated [3]

6.5 Training and developmental needs of academic staff are identified and activities are implemented to fulfil them [8] �

6.6 Performance management including rewards and recognition is implemented to motivate and support education, research and service [9] �

6.7 The types and quantity of research activities by academic staff are established, monitored and benchmarked for improvement [10] �

Overall opinion AUN-6 � 7 Support Staff Quality

7.1 Support staff planning (at the library, laboratory, IT facility and student services) is carried out to fulfil the needs for education, research and service [1] �

7.2 Recruitment and selection criteria for appointment, deployment and promotion are determined and communicated [2] �

Page 121: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

119

AUN-QA Detail AUN-QA Rating 1 2 3 4 5 6 7

7.3 Competences of support staff are identified and evaluated [3] �

7.4 Training and developmental needs of support staff are identified and activities are implemented to fulfil them [4] �

7.5 Performance management including rewards and recognition is implemented to motivate and support education, research and service [5] �

Overall opinion AUN-7 � 8 Student Quality and Support

8.1 The student intake policy and admission criteria are defined, communicated, published, and up-to date [1] �

8.2 The methods and criteria for the selection of students are determined and evaluated [2]

� 8.3 There is an adequate monitoring system for

student progress, academic performance, and workload [3] �

8.4 Academic advice, co-curricular activities, student competition, and other student support services are available to improve learning and employability [4] �

8.5 The physical, social and psychological environment is conducive for education and research as well as personal well-being [5 �

Overall opinion AUN-8 � 9 Facilities and Infrastructure

9.1 The teaching and learning facilities and equipment (lecture halls, classrooms, project rooms, etc.) are adequate and updated to support �

Page 122: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

120

AUN-QA Detail AUN-QA Rating 1 2 3 4 5 6 7

education and research [1] 9.2 The library and its resources are adequate and

updated to support education and research [3, 4] � 9.3 The laboratories and equipment are adequate

and updated to support education and research [1, 2] �

9.4 The IT facilities including e-learning infrastructure are adequate and updated to support education and research [1, 5, 6] �

9.5 The standards for environment, health and safety; and access for people with special needs are defined and implemented [7] �

Overall opinion AUN-9 � 10 Quality Enhancement

10.1 Stakeholders’ needs and feedback serve as input to curriculum design and development [1] �

10.2 The curriculum design and development process is established and subjected to evaluation and enhancement [2] �

10.3 The teaching and learning processes and student assessment are continuously reviewed and evaluated to ensure their relevance and alignment [3] �

10.4 Research output is used to enhance teaching and learning [4]

10.5 Quality of support services and facilities (at the library, laboratory, IT facility and student services) is subjected to evaluation and enhancement [5]

10.6 The stakeholder’s feedback mechanisms are systematic and subjected to evaluation and enhancement [6] �

Page 123: SAR AUNQA ㄶ㔳ㄶ㐵ㄶ㘱ㄶㄱ㘵㈱㘷ㄱ㘲㔱㘴㌀‱㘴㜱㘶㐱㘲㜱 …agri.pnu.ac.th/files/SAR_AUNQA_____2558-Final-.pdf · (เกษตรศาสตร˚) หลักสูตรปรับปรุง

121

AUN-QA Detail AUN-QA Rating 1 2 3 4 5 6 7

Overall opinion AUN-10 � 11 Output

11.1 The pass rates and dropout rates are established, monitored and benchmarked for improvement [1] �

11.2 The average time to graduate is established, monitored and benchmarked for improvement [1] �

11.3 Employability of graduates is established, monitored and benchmarked for improvement [1] �

11.4 The types and quantity of research activities by students are established, monitored and benchmarked for improvement [2] �

11.5 The satisfaction levels of stakeholders are established, monitored and benchmarked for improvement [3] �

Overall opinion AUN-11 �

Overall verdict �

4.4 แนวทางท่ีคาดว?าจะดําเนินการเพ่ือการแก6ไข/ปรับปรุงจากผลการประเมินตนเอง 1. ควรเพ่ิมในเรื่องสิ่งสนับสนุนการเรียนรู6

2. การปลูกฝpงทัศนคติการศึกษาต?อด6านเกษตรศาสตร� 3. ควรมีการส?งเสริมให6บัณฑิตท่ีจบการศึกษามีบทบาทในการพัฒนาชุมชนของตนเอง