Top Banner
1 Physiology of Lactation 117 736 Preview milking Preview milk systhesis Machanical Milking รูปที10.2ลักษณะเซลลสรางน้ํานมและภาพตัดขวางของเตานมกับหัวนมโค
23

Physiology of Lactation 117 736 - Khon Kaen … › virote › pdf › Lactation › Note-Lac1...1 Physiology of Lactation 117 736 Preview milking Preview milk systhesis Machanical

Jun 10, 2020

Download

Documents

dariahiddleston
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: Physiology of Lactation 117 736 - Khon Kaen … › virote › pdf › Lactation › Note-Lac1...1 Physiology of Lactation 117 736 Preview milking Preview milk systhesis Machanical

1

Physiology of Lactation 117 736 Preview milking

Preview milk systhesis Machanical Milking

รูปท่ี10.2ลักษณะเซลลสรางน้ํานมและภาพตัดขวางของเตานมกับหัวนมโค

Page 2: Physiology of Lactation 117 736 - Khon Kaen … › virote › pdf › Lactation › Note-Lac1...1 Physiology of Lactation 117 736 Preview milking Preview milk systhesis Machanical

2

รูปที่10.3 แสดงระบบเลือดของโค

Page 3: Physiology of Lactation 117 736 - Khon Kaen … › virote › pdf › Lactation › Note-Lac1...1 Physiology of Lactation 117 736 Preview milking Preview milk systhesis Machanical

3

รูปที่10.4 แสดงระบบประสาทและระบบน้ําเหลืองโค

Page 4: Physiology of Lactation 117 736 - Khon Kaen … › virote › pdf › Lactation › Note-Lac1...1 Physiology of Lactation 117 736 Preview milking Preview milk systhesis Machanical

4

3. การหลัง่น้ํานม (secretion) “milk let down” -กระแสความรูสึก สงผานไปที่ hypothalamus เพื่อสั่งงานใหPosterior pituitary glandหล่ังฮอรโมน“Oxytocin” -Oxytocin สงผานกระแสเลือด ถึงเตานม -บริเวณถงุนม alveolar cell (ลักษณะคลายๆ ลูกโปรง) มีcell สังเคราะหน้ํานม secretory cell เรียงตัวเปนแถวเดี่ยว -ดานผิวนอกถุงนมมีกลามเนื้อ “myoepithelial cell” รวมทั้งเสนเลือดแดงและดํา -Oxytocin กระตุนให myoepithelial ทํางาน เกิดการบีบตัวทําใหถุงนมแฟบตัว -น้ํานมจากถุงนม หล่ังเขาในระบบทอสงน้ํานม -ผานมาที่แองน้ํานม (cistern) และหลั่งออกสูภายนอกผานหัวนม

-Oxytocin จะออกฤทธิ์ไดดีภายใน 8 นาที -โคนมเกิดstress ระบบประสาท จะสั่งใหตอมหมวกไต (Adrenal medulla) หล่ังฮอรโมน Epinephrine มาออกฤทธิ์ทําให myoepithelium cell หยุดการทํางาน -แมโคเกิดการอั้นน้ํานม

Page 5: Physiology of Lactation 117 736 - Khon Kaen … › virote › pdf › Lactation › Note-Lac1...1 Physiology of Lactation 117 736 Preview milking Preview milk systhesis Machanical

5

6.1 เคร่ืองรีดน้ํานม (Machine milking) เคร่ืองรีดน้ํานมประกอบดวย Teat cups Claw Milk and air tube (line) Receiver jar / Bucket Pulsator Regulator/ Vacuum gauge Interceptor Vacuum pump

Page 6: Physiology of Lactation 117 736 - Khon Kaen … › virote › pdf › Lactation › Note-Lac1...1 Physiology of Lactation 117 736 Preview milking Preview milk systhesis Machanical

6

ความดันสุญญากาศ หัวรีด ติดกับเตานมโคที่ความดันสูญญากาศ -45-(-50) kPa (kilo pascals)

จังหวะรีดนม เมื่อความดันในยางรีดกับ stainless cup เปนสภาพสุญญากาศ (vacuum) ยางรีดจะชิดเขาหา stainless cup ทําใหรูหัวนมเปด น้ํานมจะไหลมาทีส่ายยางรีด

จังหวะพักรีด/ จังหวะนวด จังหวะที่ความดันในยางรีดกับ stainless cup เปนสภาพมีอากาศ ยางรีดจะถูกดันมาชิดกับหัวนม รูของหัวนมจะปด จังหวะสภาพมีอากาศ หรือจังหวะนวดหัวนม (recovery milking phase) จะใชเวลานานกวาจังหวะรีดนม (milking phase) การเพิ่มเวลาของ vacuum เพื่อเรงใหน้ํานมไหลมากและนาน จะทําใหการรีดน้ํานมเร็วขึ้นจริง แตจะมีผลเสียทําใหหัวนมเปนอันตรายไดงาย

ชุดควบคุมจังหวะ (pulsator) อัตราสวนการรีด(Vac:Air) = 50 : 50 หรือต้ังแต 40 : 60 ถึง 50 : 20 ในจังหวะมาตรฐานน้ํานมจะไหลออกมา 1-2 kg/นาที สูงสุด 3-5 kg/นาที

รอบของ pulsator ทั่วไปใชรอบ 50-60 รอบ/นาที ต้ังจังหวะ pulsator ชา รูนมจะปดกอนจังหวะ Vacuum phase หมด ต้ังจังหวะ pulsator เร็ว ทําใหสภาพมีอากาศ (Air phase)ไมสมบูรณ ทําใหการปดของรูนมและระยะพักของหัวนมสั้น

Page 7: Physiology of Lactation 117 736 - Khon Kaen … › virote › pdf › Lactation › Note-Lac1...1 Physiology of Lactation 117 736 Preview milking Preview milk systhesis Machanical

7

ตารางที่10.3 เปรียบเทียบ จังหวะของpulsationกับ อัตราสวนของการไหลสูงสดุของน้ํานม

ร10.13 ต10.3

รูปท่ี 10.11 แสดงการทํางานตามจังหวะการรีดนมของเครื่องรดี

Page 8: Physiology of Lactation 117 736 - Khon Kaen … › virote › pdf › Lactation › Note-Lac1...1 Physiology of Lactation 117 736 Preview milking Preview milk systhesis Machanical

8

6.3 ความถีใ่นการรีด ตารางที่ 10.4 แสดงผลของชวงหางการรีดน้ํานมตอผลผลิตน้ํานม

Page 9: Physiology of Lactation 117 736 - Khon Kaen … › virote › pdf › Lactation › Note-Lac1...1 Physiology of Lactation 117 736 Preview milking Preview milk systhesis Machanical

9

7. โรงรีดนม (Milking Parlour)

รูปที่10.12 ชุดรีดน้ํานมแบบกางปลา(Herringbone) แบบชุดรีดที่มีทั้งหมด 5 แบบ คือ 1. แบบยืนรีดในซอง (STANCHION BARN) 2. แบบซองรีดเปดขาง (SIDE OPENING PARLORS) 3. แบบแถวรีดกางปลา (HERRINGBONE PARLORS) 4. แบบแถวรีดเหลี่ยม (POLYGON PARLORS) 5. แบบรีดหมุนวงกลม (ROTARY PARLORS)

Page 10: Physiology of Lactation 117 736 - Khon Kaen … › virote › pdf › Lactation › Note-Lac1...1 Physiology of Lactation 117 736 Preview milking Preview milk systhesis Machanical

10

ขนาดกิจการ 1. โครีดนม 5-50 ตัว ควรพิจารณาแบบยืนรีดในซอง ซึ่งมีทั้งแบบรีดใสถังและแบบรีดระบบทอสงนม 2.โครีดนม 50-100 ตัว ควรพิจารณาแบบยืนรีดในซอง แถวรีดกางปลา แถวรีดเปดขาง 3. โครีดนม 100-200 ตัว หรือมากกวา ควรพิจารณาควบคูกบัคาแรงงาน และประสิทธิภาพการใชแรงงาน มีแบบแถวรีดกางปลา แถวรีดเหลี่ยม แบบรีดหมุนวงกลม ตารางที่7.1 เปรียบเทียบประสิทธิภาพโรงรีดน้ํานม .............................................................................................................................. แบบเครื่องรีด จํานวนคนรีด จํานวนชดุรีด จํานวนโครดี/ชม.

.............................................................................................................................. แบบยืนรีดในซอง (ใชถังรีดนม) 1 2 15-20 แบบยืนรีดในซอง (ใชทอสงนม) 1 3 20-25 แบบแถวรีดกางปลาคู 4 ชดุรีด 1 4 35-40 แบบแถวรีดกางปลาคู 8 ชุดรีด 2 8 70-80 แบบซองรีดเปดขางคู 4 ชุดรีด 2 8 52-64 แบบแถวรีดหลายเหลี่ยม 2 24 130-140 แบบรีดวงกลม 12 ชุดรีด 2 13 50-55

............................................................................................................................................................

Page 11: Physiology of Lactation 117 736 - Khon Kaen … › virote › pdf › Lactation › Note-Lac1...1 Physiology of Lactation 117 736 Preview milking Preview milk systhesis Machanical

11

รูปที่8.3 แสดงแบบชุดรีดน้ํานม

Page 12: Physiology of Lactation 117 736 - Khon Kaen … › virote › pdf › Lactation › Note-Lac1...1 Physiology of Lactation 117 736 Preview milking Preview milk systhesis Machanical

12

13.การสังเคราะหองคประกอบน้ํานม สารตั้งตนในเลือดและในน้ํานม synthesis blood alveolar cell ---------------------------------> Lumen (secretory cell) osmotic pressure secretion oxytocin Luminar----------------------------------> duct--------------> gland----------> teat myoepithelium cell contraction การสังเคราะหแลค็โตส (Lactose synthesis) ขั้นการเปลี่ยน glucose เปน galactose

UTP หรือuridine TP + glucose-1-P------------- UDP-glucose + PP UDP-glucose pyrophorylase

UDP-glucose + ATP----------------------------- UDP-galactose UDP-galactose-4-epimerase 2. ขั้นการรวม galactose กับ glucose ครั้งใหม UDP-galactose + glucose---------------------- Lactose + UDP Lactose synthase

Page 13: Physiology of Lactation 117 736 - Khon Kaen … › virote › pdf › Lactation › Note-Lac1...1 Physiology of Lactation 117 736 Preview milking Preview milk systhesis Machanical

13

Page 14: Physiology of Lactation 117 736 - Khon Kaen … › virote › pdf › Lactation › Note-Lac1...1 Physiology of Lactation 117 736 Preview milking Preview milk systhesis Machanical

14

รูปท่ี10.13 แสดงองคประกอบของเซลลสรางน้ํานม

ตารางที่10.7 เปรียบเทียบองคประกอบในเลือดและในน้ํานม

Page 15: Physiology of Lactation 117 736 - Khon Kaen … › virote › pdf › Lactation › Note-Lac1...1 Physiology of Lactation 117 736 Preview milking Preview milk systhesis Machanical

15

ตารางที่10.8 เปรียบเทียบองคประกอบน้ํานมในสัตวชนดิตางๆ

Page 16: Physiology of Lactation 117 736 - Khon Kaen … › virote › pdf › Lactation › Note-Lac1...1 Physiology of Lactation 117 736 Preview milking Preview milk systhesis Machanical

16

การสังเคราะหโปรตีนในน้ํานม Synthesis ขั้นตอนทั่วไปแบงเปน 1. ขั้นTranscription UTP+ ATP + CTP + UTP ---------------------------- mRNA DNA 2. ขั้น Translation amino acyl aynthetase amino acid + ATP ------------------------> AMP-amino acid+PP AMP-amino acid + tRNA-----------------------> amino acid-tRNA + AMP Ribosomes amino acid-tRNA -------------------------> milk protein mRNA, rRNA * ชนิดของ Enzyme และ tRNA จะเปนตัวกําหนดชนิดของโปรตีนนม Secretion milk protein---------> Micelles-----------> ปลอยเขา lumen ใน alveolus การสังเคราะหไขมันนม ไขมันน้ํานมมีคุณสมบัติ 1. มี short-chain fatty acid (c4-c14) มากกวา Long-chain fatty acid (c16-c20) กวาครึ่งหนึ่ง จึงทําให ไขมันนมมีความหอม ที่เรียกวา “หอมมันเนย” 2. เกิดจากการรวมตัวกันของ fatty acid กับ glycerol ทําใหเปน triglyceride.

Page 17: Physiology of Lactation 117 736 - Khon Kaen … › virote › pdf › Lactation › Note-Lac1...1 Physiology of Lactation 117 736 Preview milking Preview milk systhesis Machanical

17

Synthesis

Secretion mix-triglyceride---------------> fat globules---------------> alveolus

Page 18: Physiology of Lactation 117 736 - Khon Kaen … › virote › pdf › Lactation › Note-Lac1...1 Physiology of Lactation 117 736 Preview milking Preview milk systhesis Machanical

18

การเคลื่อนที่ของแรธาตุ ไวตามิน น้ําและไอออนตาง ๆ 1. การเคลื่อนผานรอยตอระหวางเซลล (Paracellular pathway) 2. การเคลื่อนผานเซลลโดยตรง (trancellular pathway) 1. การเคลื่อนผานรอยตอระหวางเซลล (Paracellular pathway, leaky junction pathway) มีสารไอออนขนาดเล็ก โดยผานชองระหวางcell ที่เรียกวาtight junction สวนสารขนาดใหญจะไปไมได -แตในภาวะผิดปกติเชนโคคลอดลูกใหม ผนังเซลลจะยอมให Ig ตาง ๆ ผาน -ปวยเปนโรคเตานมอักเสบ รางกายยอมใหเม็ดเลือดขาว เคลื่อนผานระหวางเซลล -และความเขมขนของโซเดียมกับคลอไรดในน้ํานมจะมากขึ้น ขณะที่โปตัสเซียมจะลดลง เพราะโปตัสเซี่ยมกับแล็คโตส จะเคลื่อนยอนกลับไปในเลือด 2. การเคลือ่นผานเซลลโดยตรง (transcellular pathway) สารตาง ๆจากเลือดผานเขาในเซลล โดยอาศัยความแตกตางของความเขมขนไอออนระหวางcell (active transport) และpassive transport เขาสู alveolus - สวนปลายผนังเซลล secretory ที่ติดกับ alveolus (apical membrane) จะยอมให

สารไอออนเคลื่อนเขาออกไดอยางอิสระจากกระบวนการ osmotic pressure - จึงทําใหมีสมดุลความเขมขนของไอออนในเซลล กับในน้ํานม (alveolus) - แตความเขมขนของโซเดียมกับโปตัสเซียมในน้ํานมจะมีความสัมพันธกับความ

เขมขนของแล็คโตสในน้ํานม

Page 19: Physiology of Lactation 117 736 - Khon Kaen … › virote › pdf › Lactation › Note-Lac1...1 Physiology of Lactation 117 736 Preview milking Preview milk systhesis Machanical

19

- ทั้งนี้เพราะการเคลื่อนที่ของไอออนกับการสรางlactoseจะจํากัดปริมาณน้ําที่จะเขาสูgolgi และsecretory vesicles

รูปท่ี10.14 แสดงPathway การเคล่ือนท่ีผานเซลลสรางน้าํนมของไอออนตางๆ

Page 20: Physiology of Lactation 117 736 - Khon Kaen … › virote › pdf › Lactation › Note-Lac1...1 Physiology of Lactation 117 736 Preview milking Preview milk systhesis Machanical

20

องคประกอบของน้ํานมโค (milk composition) น้ํานมโคมีเปอรเซ็นตการยอยไดสูงถึง 98% โดยมีเนื้อนมทั้งหมด (Total solid) 12.4% โปรตีน (Protein) 3.4% ไขมัน (Fat) 3.7% และน้ําตาลแล็คโตส (Lactose) 5% อีก 87.8% เปนน้ํา - ความเขมขนของนมน้ําเหลือง (colostrum) จะมมีากกวานมปกติ - โดยมีเนื้อนมรวมเขมขน 2 เทา โปรตีนเขมขน 5 เทา ไขมันเขมขน 2 เทา และน้ําตาล

แล็คโตสเขมขนครึ่งเทา - ภายใน 2-3 วันหลังคลอดความเขมขนจะลดลงและกลายเปนน้ํานมปกติภายใน 5-7 วัน

หลังคลอด - ในตลอดชวงการใหน้ํานม ความเขมขนของโปรตีนกับไขมันจะมีแนวโนมเพิ่มขึ้นอีก - ในขณะที่ Lactose จะลดลง - สําหรับเนื้อนมรวมจะมากในชวงตนการใหนมและลดลงต่ําสุดในสัปดาหที่ 6-8 หลัง

คลอด - หลังจากนั้นเนื้อนมรวมจะคงที่ไปจนถึงระยะปลายการใหนม (เดือนที่ 8 ของการใหนม)

เนื้อนมรวมจึงเพิ่มสูงขึ้นอีกครั้งหนึง่ - ในทางตรงขามโคที่ไมตั้งทอง เนื้อนมรวมจากระยะเดือนที่ 8 ไปจะมีแนวโนมลดลง

เรื่อยๆ ระดับของโปรตีนและแล็คโตสในน้ํานมทีร่ีดไดในแตละวันจะคอนขางสม่ําเสมอ

Page 21: Physiology of Lactation 117 736 - Khon Kaen … › virote › pdf › Lactation › Note-Lac1...1 Physiology of Lactation 117 736 Preview milking Preview milk systhesis Machanical

21

ตารางที่10.8 แสดงองคประกอบของน้ํานมโคชนิดตางๆ

Page 22: Physiology of Lactation 117 736 - Khon Kaen … › virote › pdf › Lactation › Note-Lac1...1 Physiology of Lactation 117 736 Preview milking Preview milk systhesis Machanical

22

ตารางที่ 10.9 องคประกอบน้ํานมของโคนม5พันธุ

ตารางที่ 10.10 ผลผลิตและโปรตีน ไขมันนมของโคนม5พันธุ

Page 23: Physiology of Lactation 117 736 - Khon Kaen … › virote › pdf › Lactation › Note-Lac1...1 Physiology of Lactation 117 736 Preview milking Preview milk systhesis Machanical

23

รูปท่ี 10.15 การเปล่ียนแปลงของน้ํานมในโคหลังคลอด ตามแตละคร้ังท่ีรีดนม