Top Banner
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ สารสนเทศทางการแพทย์ (Part 2) นพ.นวนรรน ธีระอัมพรพันธุคณะแพทยศาสตร์ รพ.รามาธิบดี 16 เมษายน 2558 http://www.slideshare.net/nawanan
56

Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2

Jul 16, 2015

Download

Health & Medicine

Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ

สารสนเทศทางการแพทย์ (Part 2)นพ.นวนรรน ธีระอัมพรพันธุ์คณะแพทยศาสตร์ รพ.รามาธิบดี

16 เมษายน 2558

http://www.slideshare.net/nawanan

Page 2: Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2

สรุป (Part 1)

• Information System

– ความหมาย

– ประโยชน์

– องค์ประกอบ

• Data-Information-Knowledge-Wisdom

• สาขาวิชา Biomedical & Health Informatics

Page 3: Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2

สรุป (Part 1)

• Health Information Technology (Health IT)

– ความสําคัญ

– Errors ใน Healthcare

– คุณภาพ (Quality) ของการรักษาพยาบาล

Page 4: Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2

การบ้านจากครั้งที่แล้ว

• ลองยกตัวอย่างว่า จะเอา Health IT มาใช้

ในโรงพยาบาล หรือในทางสุขภาพ เพื่อ

คุณภาพของการรักษาพยาบาลที่ดีขึ้นได้

อย่างไรบ้าง?

Page 5: Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2

ทําไมต้องมี Health IT

• Healthcare มีความซับซ้อนสูง (และขาดประสิทธิภาพ ต้นทุนสูง ขาดความ

คล่องตัว)

• Health care is information-rich

• คุณภาพการรักษา ขึ้นอยู่กับคุณภาพและการเข้าถึงข้อมูลสุขภาพของผู้ป่วย

• ความรู้ทางการแพทย์มีปริมาณมากเกินอัจฉริยะจะท่องจําได้หมด และแพทย์มี

เวลาเพียงช่วงสั้นๆ ในการดูแลผู้ป่วยแต่ละคน

• “To err is human”

Page 6: Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2

Image Source: (Left) http://docwhisperer.wordpress.com/2007/05/31/sleepy-heads/ (Right) http://graphics8.nytimes.com/images/2008/12/05/health/chen_600.jpg

To Err is Human 1: Attention

Page 7: Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2

Image Source: Suthan Srisangkaew, Department of Pathology, Facutly of Medicine Ramathibodi Hospital, Mahidol University

To Err is Human 2: Memory

Page 8: Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2

To Err is Human 3: Cognition

• Cognitive Errors - Example: Decoy Pricing

The Economist Purchase Options

• Economist.com subscription $59• Print subscription $125• Print & web subscription $125

Ariely (2008)

16084

The Economist Purchase Options

• Economist.com subscription $59• Print & web subscription $125

6832

# of People

# of People

Page 9: Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2

คุณภาพการรักษาพยาบาล

• ความปลอดภัย (Safety)

• ความทันเวลา/ทันท่วงที (Timeliness)

• ประสิทธิผล (Effectiveness): มุ่งผลลัพธ์ (outcomes) ที่ดี

• ประสิทธิภาพ (Efficiency): คุณภาพดี แต่ต้นทุนต่ํา (คุ้มค่า)

• ความเป็นธรรม (Equity)

• การยึดผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง (Patient-centeredness)

(IOM, 2001)

Page 10: Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2

ความเป็นธรรม (Equity) vs.

ความเท่าเทียม/ความเสมอภาค (Equality)

http://imgur.com/gallery/0yN8vQh

Page 11: Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2

Part 2

• ประโยชน์ของ Health IT ต่อคุณภาพ (Quality) ของการรักษาพยาบาล

• ตัวอย่าง Health IT ที่สําคัญ (โดยเฉพาะในโรงพยาบาล)

Page 12: Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2

ระบบสารสนเทศที่ใช้ในโรงพยาบาล

จําแนกตามลักษณะงาน

• ระบบงานบริการผู้ป่วย (Front Office)

• ระบบงานบริหารจัดการ ที่ไม่เกี่ยวกบังานบริการ (Back Office)

Page 13: Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2

Front Office

• ระบบงานบริการผู้ป่วย (Front Office)

– ระบบเวชระเบยีนอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Medical Records

หรือ Electronic Health Records)

– ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล (Hospital Information System)

หรือระบบสารสนเทศทางคลินิก (Clinical Information System)

– ระบบงานย่อยๆ ของหน่วยบริการภายในโรงพยาบาล

Page 14: Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2

Back Office

• ระบบงานบริหารจัดการ ที่ไม่เกี่ยวกับงานบริการ (Back Office)

– ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information Systems

หรือ MIS)

– ระบบบริหารจัดการทรัพยากรองค์กร (Enterprise Resource Planning

หรือ ERP)

– ระบบสารสนเทศการวิจัยและการศึกษา

– เว็บไซต์ และอินทราเน็ตภายในองค์กร

– ระบบงานสารบรรณ (การเวียนเอกสาร)

Page 15: Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2

ระบบสารสนเทศในโรงพยาบาล

จําแนกตามหน่วยงานที่ใช้ใช้ทั่วทั้งองค์กร หรือหลายหน่วยงาน (Enterprise-wide Systems)

• MPI, ADT

• EHRs/EMRs/HIS/CIS

• CPOE & CDSS

• PACS

• Nursing applications

• MIS, ERP

Page 16: Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2

ระบบสารสนเทศในโรงพยาบาล

จําแนกตามหน่วยงานที่ใช้ใช้เฉพาะบางหน่วยงาน (Departmental Systems)

• ระบบงานห้องยา (Pharmacy applications)

• LIS, RIS

• ระบบเฉพาะทาง (Specialized applications) เช่น ระบบงาน ER,

OR, LR, Anesthesia, Critical Care, Blood Bank

Page 17: Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2

Master Patient Index (MPI)

• ระบบทะเบียนผู้ป่วย

• Functions

– การลงทะเบียน (Registration) และระบุตัวตน (identification)

ของผู้ป่วย โดยใช้เลขประจําตัวผู้ป่วย (HN)

– การบันทึกและแก้ไขข้อมูลส่วนตัวของผู้ป่วย (patient

demographics)

– ระบบอื่นๆ ในโรงพยาบาลมักใช้ข้อมูลจากระบบนี้เพื่อระบุตัวตน

หรือสอบถามข้อมูลเกีย่วกับตัวผู้ป่วย

Page 18: Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2

Admission-Discharge-Transfer (ADT)

• ระบบงานรับผู้ป่วยใน จําหน่าย และย้าย/ส่งต่อผู้ป่วย

• Functions

– สนับสนุน Admission, Discharge และ Transfer ผู้ป่วย

(เรียกกระบวนการ ADT ว่า “patient management”)

– ให้ข้อมูลเกี่ยวกับสถานะของผู้ป่วยวา่ admit อยู่หรือไม่ รวมทั้งหอ

ผู้ป่วยที่ admit

– ให้ข้อมูลที่ใช้ในการคํานวณอัตราครองเตียง (bed occupancy)

– เชื่อมโยงกับระบบการเงิน และการส่งข้อมูลเพื่อเบิกจ่ายค่า

รักษาพยาบาล

Page 19: Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2

Bed Management (from ADT System)

Page 20: Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2

ระบบตรวจสอบสิทธิค่ารักษาพยาบาล

(Insurance Eligibility System)

• Functions

– ตรวจสอบว่าผู้ป่วยมสีิทธิคา่รักษาพยาบาลอะไรบ้าง เช่น สิทธิ

ประกันสุขภาพ (30 บาท), สิทธิประกันสังคม, สิทธิข้าราชการ

เป็นต้น หรือไม่มีสิทธิใดๆ (เงินสด)

– ตรวจสอบว่าสิทธิค่ารักษาพยาบาลของผู้ป่วย ครอบคลุมการ

บริการที่ผู้ป่วยจะได้รับหรือไม่ (coverage) เพื่อคํานวณคา่ใช้จ่าย

– อาจต้องเชื่อมโยงกับระบบตรวจสอบสิทธิค่ารักษาพยาบาลของ

หน่วยงานต่างๆ เช่น สํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

สํานักงานประกันสังคม กรมบัญชีกลาง

Page 21: Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2

ระบบนัดหมายผู้ป่วย

(Appointment Scheduling)

• Functions

– บันทึกข้อมูลการนัดหมายของผู้ป่วย

– กําหนดจํานวนผู้ป่วยที่สามารถนัดได้ต่อแพทย์หรือต่อหน่วยตรวจ

– สนับสนุนการเลื่อนนัดหรือยกเลิกนัด

– แสดงรายชื่อผู้ป่วยที่นัดหมายในวันหนึ่งๆ ของแต่ละหน่วยตรวจได้

– สามารถปรับจํานวนผู้ป่วยที่สามารถนัดได้ หรือกําหนดวันหยุดที่

ห้ามนัดได้

Page 22: Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2

ระบบงานพยาบาล (Nursing Applications)

Functions (บางส่วน)

• บันทึก nursing assessments, interventions และ nursing

outcomes

• ช่วยสนับสนุนการลง charting และ vital sign recording

• อาจใช้มาตรฐานข้อมูลทาง nursing informatics

• ช่วยในการบันทึกแผนการรักษา (care-planning)

• สนับสนุนการสื่อสารภายในทีมและระหว่างเวร เช่น ระบบ e-Kardex

• บันทึกเหตุการณ์ความเสี่ยง (incidents) ต่างๆ

Page 23: Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2

ระบบงานห้องยา (Pharmacy Applications)

Functions

• สนับสนุนกระบวนการทํางาน (workflow) ตั้งแต่การสั่งยา

(medication orders/prescription) ไปจนถึงการจ่ายยา

(dispensing) และการคิดราคายา

• ลดความผิดพลาดทางยา (medication errors) และช่วยส่งเสริม

ความปลอดภัยทางยา (medication safety)

• ช่วยสนับสนุนการบริหารจัดการคลังยา (drug inventory

management)

Page 24: Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2

Laboratory Information System (LIS)

Functions

• รับข้อมูลและประมวลผล Lab orders ที่มีการสั่งมา

• การ match tube และ specimen กับผู้ป่วย ในระบบ

• กระบวนการภายในห้อง Lab

– การประมวลผล Order (Order processing)

– การลงทะเบียนรับ specimen (Specimen registration & processing)

– การตรวจสอบผลและรายงานผล Lab (Lab results validation &

reporting)

– การเก็บ Specimen ไว้ในคลัง (Specimen inventory)

Page 25: Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2

ระบบภาพทางการแพทย์ (Imaging Applications):

ระบบแสดงภาพ (PACS)

Picture Archiving and Communication System (PACS)

• รับภาพ x-ray จากเครื่อง x-ray modalities ต่างๆ และบันทึกเข้าสู่ระบบ

• การแสดงภาพ x-ray ให้บุคลากรทางการแพทย์อ่าน

• ส่วนใหญ่ใช้กับภาพ x-ray เป็นหลัก แต่อาจใช้ในสาขาเฉพาะทางอื่นๆ ได้ เช่น

โรคหัวใจ ส่องกล้อง พยาธิวิทยา และจักษุวิทยา เป็นต้น

• ข้อดี: ประหยัดพื้นที่เก็บฟิล์ม x-ray, ค่าพิมพ์ฟิล์ม ป้องกันการทําฟิล์ม x-ray

สูญหาย สามารถดูภาพพร้อมกันหลายคนได้ ดูภาพจากทางไกล (เช่น ที่บ้าน)

ได้ รวมทั้งคุณสมบัติในการคํานวณและประมวลผลภาพด้วยคอมพิวเตอร์

(image processing & manipulation)

Page 26: Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2

ระบบภาพทางการแพทย์ (Imaging Applications):

ระบบสารสนเทศทางรังสีวิทยา

Radiology Information System (RIS) หรือ Workflow

Management

• สนับสนุนกระบวนการทํางาน (workflow) ภายในหน่วยงานรังสี

วิทยา (radiology department) ตั้งแต่การลงทะเบียนผู้ป่วย

(patient registration) การนัดหมายเอกซเรย์ (appointments &

scheduling) การส่งปรึกษา (consultations) การพิมพ์รายงานการ

อ่านภาพเอกซเรย์ (imaging reports) เป็นต้น

Page 27: Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2

ระบบงานการเงิน (Billing System)

• Functions

– คํานวณค่าบริการสําหรับการให้บริการที่ผู้ป่วยได้รับ

– คํานวณค่าใช้จ่ายที่ต้องเรียกเก็บตามสิทธิค่ารักษาพยาบาลของผู้ป่วย

(insurance eligibility) และความครอบคลุมการบริการต่างๆ (coverage)

– บันทึกจํานวนเงินที่ผู้ป่วยชําระและยอดคงเหลือ เพื่อการติดตามทวง

ค่าใช้จ่ายในอนาคต

– ส่งข้อมูลยอดเงินที่ได้รับไปยังระบบบัญชีหรือระบบ Back Office เพื่อ

บันทึกรายได้ของโรงพยาบาล และเพื่อการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลที่

เหลืออยู่จากกองทุนต่างๆ (reimbursement claims to government

agencies)

Page 28: Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2

Enterprise Resource Planning

• ระบบบริหารทรัพยากรขององค์กร

• Some Functions

– การคลัง (Finance)

• บัญชี (Accounting)

• งบประมาณ (Budgeting)

• การวิเคราะห์ต้นทุน (Cost control and management)

Page 29: Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2

Enterprise Resource Planning

• Some Functions (ต่อ)

– การพัสดุ (Materials Management)

• การจัดซื้อจัดจ้าง (Procurement)

• การบริหารคลังพัสดุ (Inventory management)

– การบริหารทรัพยากรบุคคล (Human Resources)

• การคัดเลือกและบรรจุ (Recruitment) การประเมิน (evaluation) การเลื่อนขั้น

(promotion) และการลงโทษทางวินัย (disciplinary actions) บุคลากร

• การอบรมและพัฒนาศกัยภาพบุคลากร (Human resource development

and training)

• การจ่ายเงินเดือนและคา่ตอบแทน (Payroll) และสิทธิประโยชน์ของบุคลากร

Page 30: Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2

ระบบระเบียนสุขภาพอิเล็กทรอนิกส์

(Electronic Health Records)

หรือ เวชระเบียนอิเล็กทรอนิกส์

(Electronic Medical Records)

Page 31: Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2

เวชระเบียนผู้ป่วย (Medical Records)

Page 32: Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2

เวชระเบียนคืออะไร?

• เอกสารที่บันทึกข้อมูลประวัติการเจ็บปว่ยของผู้ป่วย การตรวจร่างกาย

และการให้การรักษาของสถานพยาบาล

• เวชระเบยีน (Medical Records) vs.

ระเบียนสุขภาพ (Health Records)

– มีความหมายเหมือนหรือคล้ายกนัมาก

– Health Records ครอบคลุมข้อมูลสุขภาพที่ไม่ใช่การแพทย์ด้วย

Page 33: Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2

Class Discussion #1

• ทําไมเราจึงต้องมเีวชระเบียนผู้ป่วย?

• กล่าวคือ ทําไมเราจึงต้องมีการบันทึกประวัติผู้ป่วยและการให้

การรักษาของบุคลากรทางการแพทย์?

Page 34: Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2

การใช้ประโยชน์จากเวชระเบียน

• เพื่อความต่อเนื่องในการดูแลรักษา (Continuity of Care)

– บันทึกข้อมูลสําคัญสําหรับการดูแลรักษาในอนาคต

– สําคัญมากสําหรับผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (chronic diseases) เช่น เบาหวาน

ความดันโลหิตสูง หรือกรณีนัดตรวจติดตามผล (follow-up) เช่น หลัง

ผ่าตัด

• เพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วย

– ป้องกันอันตรายที่ผู้ป่วยอาจได้รับเพราะไม่ทราบประวัติผู้ป่วย

– เช่น ประวัติแพ้ยา (drug allergies), list of current medications,

problem list

Page 35: Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2

• เพื่อการสื่อสารระหว่างบุคลากรทางการแพทย์ด้วยกัน

– ส่งต่อผู้ป่วยไปยังแพทย์เฉพาะทางหรือบุคลากรทางการแพทย์คนอื่น

– การส่งปรึกษา (Consultation) ระหว่างแพทย์

– การสื่อสารระหว่างแพทย์กับพยาบาล เภสัชกร นักกายภาพบําบัด เป็นต้น

– ส่งต่อผู้ป่วยจากโรงพยาบาลหนึ่งไปโรงพยาบาลอีกแห่งหนึ่ง

• เพื่อประโยชน์ทางกฎหมาย (Medico-legal purposes)

– เป็นหลักฐานในศาล กรณีมีการฟ้องร้อง

– บันทึกสิ่งที่ได้ทําหรือให้การรักษากับผูป้่วย เหตุผลในสิ่งทีท่าํ ทําโดยใคร เมื่อใด

– ให้ข้อมูลเพื่อตอบคําถามว่า การดูแลรักษา ได้มาตรฐานวิชาชีพหรือไม่

การใช้ประโยชน์จากเวชระเบียน

Page 36: Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2

• เพื่อการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาล (Claims & Reimbursements)

– ได้ให้บริการอะไรให้กับผู้ป่วย

– โรงพยาบาลจะได้รับค่ารักษาพยาบาลจากกองทุนเทา่ใดและอย่างไร

– การตรวจสอบ (Audit) เพื่อพิจารณาความเหมาะสมในการขอเบิกจ่ายคา่

รักษาพยาบาล

• เพื่อการใช้ประโยชน์ของผู้ป่วยเอง

– เพื่อการเบิกค่ารักษาพยาบาลจากบริษทัประกันของผู้ป่วย

– เพื่อการเรียนรู้ของตนเอง หรือการดูแลตนเอง

• เพื่อการวิจัย

– เพื่อค้นหาความรู้ใหม่จากประวัติการรักษาผู้ป่วย ผ่านการทําวิจัย

การใช้ประโยชน์จากเวชระเบียน

Page 37: Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2

เวชระเบียน “อิเล็กทรอนิกส์”

“Electronic” Medical Records

• Electronic documentation of health care provided to patients, as

recorded by providers

• Ideally longitudinal (e.g., life-long) records

• Electronic Medical Records = Electronic Health Records

• อาจรวมทั้งเวชระเบียนสแกน (Scanned Medical Records) และข้อมูลที่ป้อนเข้าสู่

คอมพิวเตอร์โดยตรง (Fully-Electronic or Structured EHRs)

Page 38: Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2

Example of a Longitudinal Record

Page 39: Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2

Computerized Physician Order Entry (CPOE)

Functions

• แพทย์สั่ง medication/lab/diagnostic/imaging orders ผ่านคอมพิวเตอร์

• พยาบาลและเภสัชกร ตรวจสอบความเหมาะสมของ orders และรับไปดําเนินการ

• มักถือเป็นส่วนหนึ่งของระบบ EHRs หรือ HIS

ประโยชน์

• ไม่มีลายมือแพทย์ใน Order!!!

• สามารถกําหนดให้ป้อนข้อมูลให้ครบถ้วนได้ (เช่น dose, unit, route, frequency ในการสั่งยา) ลด

โอกาสผิดพลาด

• ไม่มีกระบวนการคัดลอก order (transcription) ลดโอกาสผิดพลาด

• สามารถนําระบบช่วยสนับสนุนการตัดสินใจทางคลินิก (CDSS) มาช่วยได้ (เช่น ตรวจสอบการแพ้ยา หรือ

drug interactions)

• ช่วยให้กระบวนการจากการสั่ง order ไปจนถึงสิ้นสุดกระบวนการ รวดเร็ว มีการประสานงานร่วมกัน

Page 40: Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2

Computerized Physician Order Entry (CPOE)

Page 41: Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2

กระบวนการทางยา (Stages of Medication Process)

Ordering Transcription Dispensing Administration

CPOE Automatic Medication Dispensing

Electronic Medication

Administration Records (e-MAR)

BarcodedMedication

Administration

BarcodedMedication Dispensing

Page 42: Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2

Clinical Decision Support Systems (CDSS)

• ระบบสนับสนุนการตัดสินใจทางคลินิก (สนับสนุน Clinical Decision Making)

• CDSS มีหลากหลายรูปแบบ

– Expert systems (ทําหน้าที่เป็นผู้เชี่ยวชาญ ตอบคําถามหรือให้ข้อมูลที่ต้องการ)

– Alerts & reminders (การเตือนให้ทําหรือไม่ทําสิ่งใดสิ่งหนึ่ง)

– ฐานข้อมูลความรู้ต่างๆ เช่น ฐานข้อมูลยา (drug database)

– ระบบง่ายๆ ที่ช่วยสนับสนุนการตัดสินใจ เช่น การ highlight ผล lab ที่ผิดปกติ เป็นต้น

Page 43: Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2

• Alerts & reminders– เตือน user ตามเงื่อนไขที่กําหนด เช่น

• Drug-allergy checks• Drug-drug interaction checks• ควรแนะนํา/ให้การรักษาบางอย่างกับผู้ป่วย เช่น แนะนําเลิกบุหรี่

• Clinical practice guideline integration (เช่น

เตือนให้สั่งการตรวจตาทุก 1 ปีในผู้ป่วยโรคเบาหวาน)

CDS Examples

Page 44: Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2

Example of “Reminders”

Page 45: Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2

• Simple user interface designed to help clinical decision making–Abnormal lab highlights–Graphs/visualizations for lab results

CDS Examples

Page 46: Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2

Abnormal Lab Highlights

Image Source: http://geekdoctor.blogspot.com/2008/04/designing-ideal-electronic-health.html

Page 47: Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2

External Memory

Knowledge Data

Long Term Memory

Knowledge Data

Inference

DECISION

PATIENT

Perception

Attention

WorkingMemory

CLINICIAN

Elson, Faughnan & Connelly (1997)

How CDS Supports Decision Making

Abnormal lab highlights

Page 48: Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2

External Memory

Knowledge Data

Long Term Memory

Knowledge Data

Inference

DECISION

PATIENT

Perception

Attention

WorkingMemory

CLINICIAN

Elson, Faughnan & Connelly (1997)

How CDS Supports Decision Making

Drug-Allergy Checks

Page 49: Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2

External Memory

Knowledge Data

Long Term Memory

Knowledge Data

Inference

DECISION

PATIENT

Perception

Attention

WorkingMemory

CLINICIAN

Elson, Faughnan & Connelly (1997)

How CDS Supports Decision Making

Integration of Evidence-Based Resources (e.g. drug databases,

literature)

Page 50: Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2

External Memory

Knowledge Data

Long Term Memory

Knowledge Data

Inference

DECISION

PATIENT

Perception

Attention

WorkingMemory

CLINICIAN

Elson, Faughnan & Connelly (1997)

How CDS Supports Decision Making

Diagnostic/Treatment Expert Systems

Page 51: Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2

IBM’s Watson

Image Source: socialmediab2b.com

Page 52: Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2

Image Source: englishmoviez.com

Rise of the Machines?

Page 53: Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2

Issues• CDSS as a supplement or replacement of clinicians?

– The demise of the “Greek Oracle” model (Miller & Masarie, 1990)

The “Greek Oracle” Model

The “Fundamental Theorem”

Friedman (2009)

Human Factor Issues of CDS

Wrong Assumption

Correct Assumption

Page 54: Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2

The Bigger Picture:Health Information Exchange (HIE)

Hospital A Hospital B

Clinic C

Government

Lab Patient at Home

Page 55: Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2

• ในโรงพยาบาลมีระบบสารสนเทศหลายระบบ หลายรูปแบบ

• ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล (HIS) มักหมายถึง “Front Office” ที่

เกี่ยวข้องกับการบริการผู้ป่วย ของระบบสารสนเทศต่างๆ ในโรงพยาบาล

• HIS และ EHRs ถูกใช้เพื่อสนับสนุนกระบวนการดูแลรักษาผู้ป่วย สนับสนุน

การตัดสินใจทางคลินิก เพิ่มคุณภาพการรักษา และลดค่าใช้จ่าย

• HIS และ EHRs เป็นเพียงส่วนหนึ่งของระบบสารสนเทศที่ใช้ในระบบ

สุขภาพในภาพรวม (ทั้งในและนอกโรงพยาบาล)

สรุป

Page 56: Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2

Questions?