Top Banner
คูมือการใชงานโปรแกรม Macromedia Director MX 2004 และการประยุกตสรางสรรคผลงานมัลติมีเดีย
26

Macromedia Director

Dec 25, 2014

Download

Education

สร้างสรรค์สื่อมัลติมีเดียด้วย Macromedia Director
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: Macromedia Director

คูมือการใชงานโปรแกรม Macromedia Director MX 2004 และการประยุกตสรางสรรคผลงานมัลติมีเดีย

Page 2: Macromedia Director

คํานํา

การพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอรชวยสอน หรือสื่อมัลติมีเดีย โปรแกรม Macromedia Director นับเปนเครื่องมือสําคัญเครื่องมือหนึ่งที่ชวยสรางสรรคไดเปนอยางดี ดวยความสามารถเฉพาะดานตลอดทั้งความสามารถดานโปรแกรมมิ่งดวยภาษา Lingo ทําใหสามารถพัฒนาระบบโตตอบกับผูเรียนไดอยางอิสระ ทั้งนี้ผูเขียนไดศึกษาและจัดทําเอกสารประกอบดวยเนื้อหา ดังนี้

1. ความรูเกี่ยวกับ Macromedia Director

2. การใชงานโปรแกรมเริ่มตน

3. การทํางานกับ Cast Window , Cast Member ลักษณะตางๆ

4. การสรางสรรคงานกราฟกดวย Bitmap/Vector Paint

5. การทํางานกับขอความ

6. การสรางภาพเคลื่อนไหวแบบ Frame by Frame

7. การสรางภาพเคลื่อนไหวแบบ Motion Tween

8. การทํางานเกี่ยวกับเสียง

9. การทํางานเกี่ยวกับสื่อวีดิทัศนดิจิทัล

10. การสรางระบบโตตอบกับผูใชดวย Lingo Script

11. ตัวอยางการประยุกตสรางสรรคผลงานดวย Macromedia Director

ผูเขียนไดนําเสนอคูมือฉบับนี้ในลักษณะภาพประกอบเนื้อหา และวิธีปฏิบัติจริง เพื่อใหเปนเอกสารคูมือที่พรอมใชงาน และสื่อสารไดงาย อยางไรก็ตามหากมีขอผิดพลาดประการใด ผูเขียนขออภัยมา ณ ที่นี้

บุญเลิศ อรุณพิบูลย 12/1/2550

Page 3: Macromedia Director

สารบัญ เริ่มตนกับ Macromedia Director MX 2004 .................................................................................................................1

การเขาสูโปรแกรม......................................................................................................................................................1 Start Page ..............................................................................................................................................................1 การปดโปรแกรม ........................................................................................................................................................1

หนาตางโปรแกรม...........................................................................................................................................................2 Stage .................................................................................................................................................................3 การเคลื่อนท่ีบน Stage ...........................................................................................................................................3 การปรับมมุมองจอภาพ ...........................................................................................................................................3 การปรับเปลี่ยนขนาดของ Stage...............................................................................................................................3

นําเขาไฟลรูปภาพ ...........................................................................................................................................................4 แบบฝกปฏิบัติ .......................................................................................................................................................7

การวาดรูปดวย Paint ......................................................................................................................................................8 วาดสี่เหลี่ยม ..............................................................................................................................................................8 การลบบางสวนของภาพ ............................................................................................................................................10 การลบรูปท้ังหมด .....................................................................................................................................................10 วาดวงกลม/วงรี ........................................................................................................................................................10 วาดรูปหลายเหลี่ยม ...................................................................................................................................................11 เครื่องมืออื่นๆ ..........................................................................................................................................................11

แบบฝกปฏิบัติ .....................................................................................................................................................11 การปรับแตงรูปวาด .......................................................................................................................................................12

ตัวอยางการใชเครื่องมือปรับแตงวัตถุ .......................................................................................................................12 แบบฝกปฏิบัติ .....................................................................................................................................................13

วาดภาพ Vector ดวย Vector Paint ..............................................................................................................................14 Vector & Bitmap.................................................................................................................................................14

ภาพกราฟกแบบเวอรเตอร (Vector) .......................................................................................................................14 ภาพกราฟกแบบบิตแมป (Bitmap).........................................................................................................................14

การใชงาน Vector Paint .........................................................................................................................................15 ความหมายของจุดสี..............................................................................................................................................16

ทํางานกับขอความ ........................................................................................................................................................19 การสรางขอความดวย Paint Window........................................................................................................................19 การสรางขอความดวย Text Window.........................................................................................................................19

ตัวอักษร 3 มิติ .............................................................................................................................................................20 การฝงฟอนต................................................................................................................................................................22

Page 4: Macromedia Director
Page 5: Macromedia Director

1

เร่ิมตนกับ Macromedia Director MX 2004

Macromedia Director MX โปรแกรมสรางสรรคผลงานมัลติมีเดียระดับมืออาชีพ ดังสโลแกนที่วา Metaphor of a theather production หรือซอฟตแวรที่เปรียบเสมือนการผลิตผลงานระดับภาพยนตร (โรงละคร) ดังนั้นดวยสโลแกนดังกลาว ทําใหโปรแกรมมีความโดดเดนหลากลักษณะทั้งการสรางสื่อมัลติมีเดีย การสรางสื่อในรูปแบบ 3D การสรางสื่อระบบโตตอบ และการประยุกตใชสรางสื่อบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน (CAI)

การเขาสูโปรแกรม การเขาสูโปรแกรม Macromedia Director MX มีลักษณะคลายคลึงกับการเรียกโปรแกรมใน

ระบบปฏิบัติการ Windows ทั่วไปโดยเลือกจาก Start, Program, Macromedia, Macromedia Director MX 2004 ซึ่งโปรแกรมจะแสดงจอภาพการทํางาน ดังนี้

Start Page จากจอภาพขางตนจะปรากฏสวนการทํางานที่เรียกวา Start Page ซึ่งมีตัวเล ือกสําคัญในการสรางงาน

ใหม (Create New) หรือการเปดแฟมเอกสารเดิม (Open a Recent Item)

กรณีที่ Start Page ถูกปดไปสามารถเรียกกลับคืนมาไดดวยคําสั่ง Window, Start Page

การปดโปรแกรม การปดโปรแกรมสามารถทําไดหลายวิธีทั้งการคลิกเมาสที่ปุมปดหนาตาง (Close box) หรือกดปุม

A$ หรือเลือกจากเมนูคําสั่ง File, Exit…

Page 6: Macromedia Director

2

หนาตางโปรแกรม

เปดไฟลตัวอยางของโปรแกรมโดยเลือกเมนูคําสั่ง File, Open… หรือคลิกปุมเครื่องมือ Open จากนั้นเลือกโฟลเดอรตัวอยาง ดังนี้

เลือกไฟลตัวอยาง เชน parent scripts.dir จะปรากฏจอภาพตัวอยางและสวนประกอบตางๆ ที่สําคัญดังนี้

สวนประกอบตางๆ ควบคุมดวยเมนู Window และสามารถเคลื่อนยาย ยอ/ขยายขนาด ตลอดจนปรับเปลี่ยนการแสดงผลไดอิสระ

วิธีลัดในการจัดตําแหนงของสวนประกอบตางๆ บนจอภาพใชคําสั่ง Window, Panel Sets, Default/Director 8

Title Bar Menu Bar Toolbars

Tools Box

Score Window & Sprite

Cast Window & Cast Member

Panels or Inspector

Controler Stage

Page 7: Macromedia Director

3

Stage

Stage เปรียบเสมือนเวทีที่จะใหตัวละครหรือนักแสดง (วัตถุของ Director) มาแสดงหรือนําเสนอ ดังนั้นการจัดวางวัตถุตางๆ จะตองจัดวางบน Stage ทั้งนี้ Stage แบงเปน Onstage canvas และ Offstage canvas

การจัดวางวัตถุ สามารถจัดวางไดทั้งบน Onstage canvas และ Offstage canvas แตวัตถุที่ปรากฏใน

Onstage canvas เทานั้นที่จะปรากฏบนจอภาพเมื่อมีการนําเสนอผลงาน

การเคลื่อนที่บน Stage

การเคลื่อนที่บน Stage จะตองเปลี่ยนเปนเครื่องมือ Hand หรือขณะที่กําลังทํางานโหมดอื่นใหกดปุม S คางไว โหมดการทํางานจะเปน Hand อัตโนมัติ

การปรับมมุมองจอภาพ

การปรับมุมมองจอภาพ ทําไดโดยเลือกเครื่องมือ Magnifying Glass แลวคลิกเมาสเพื่อขยายมุมมอง และการยอมุมมองใหกดปุม A คางไวกอนจึงคลิกเมาส

การปรับเปลี่ยนขนาดของ Stage

ขนาดของ Stage ควรกําหนดใหเหมาะสมกับสภาพการใชโดยสามารถกําหนดไดดวยคําสั่ง Modify, Movie, Properties จะปรากฏ Property Inspector เพื่อใหกําหนดคา Stage Size, Color ที่เหมาะสมกับลักษณะงาน

Offstage canvas

Onstage canvas

Page 8: Macromedia Director

4

นําเขาไฟลรูปภาพ

ฝกปฏิบัติการสรางชิ้นงานใหม โดยนําเขาไฟลรูปภาพและศึกษาการทํางานเกี่ยวกับ Cast Member/Cast Window

1. สรางไฟลใหมโดยเลือกคําสั่ง File, New, Movie หรือคลิกปุม New Movie

2. เปด Cast Window ดวยคําสั่ง Window, Cast

3. สรางกลุม Cast Member โดยคลิกที่ปุม Chooser Cast จากแถบควบคุมของ Cast Window จากนั้น

เลือกคําสั่ง New Cast…

4. ต้ังช่ือกลุม Cast Member แลวเลือกรายการเปน Internal เพื่อบันทึก Cast Member รวมกับไฟล

Director Movie

5. จะปรากฏ Tab ใหมใน Cast Member ดังนี้

6. นําเขารูปภาพมาเก็บไวใน Cast Windows ไดโดยคลิกขวาบนที่วาง แลวเลือกคําสั่ง Import …

คลิกปุมนี้

Page 9: Macromedia Director

5

7. เลือกไดรฟ โฟลเดอร และเลือกไฟลที่ตองการนําเขา (สามารถเลือกไดหลายๆ ไฟล) แลวคลิกปุม Add ตอดวยปุม Import

8. โปรแกรมจะแสดงตัวเลือกการนําเขาภาพ ดังนี้

• Color Depth คาความลึกของสี (ความคมชัดของภาพ) ในบางกรณีภาพจะมีคาความลึกของสีมากกวาความลึกของจอภาพ จึงตองเลือกรูปแบบการนําเขาภาพที่เหมาะสม กรณีที่ยืนยันใชคาความลึกของภาพใหเลือกเปน Image แตถาตองการเลือกใหเหมาะสมกับจอภาพใหเลือกเปน Stage (คานี้จะมีผลตอขนาดไฟลของ Director Movie)

• Trim White Space เลือกเพื่อตัดเสนขอบสีขาวตรงขอบภาพ

• Dither เลือกเพื่อใหสีของภาพมีการกระจาย

• Same Settings for Remaining Images กรณีที่นําเขาภาพหลายๆ ภาพ ถาคลิกเลือกรายการนี้จะทําใหทุกภาพใชคาที่กําหนดเหมือนกัน

Page 10: Macromedia Director

6

9. โปรแกรมจะแสดง Cast Member ใน Cast Window ดังนี้

10. ทํางานกับ Cast Member

• ลบ Cast Member ออกจาก Cast Window ใหกดปุม =

• นํา Cast Member ไปวางบน Stage ใหลากแลวนําไปปลอยบน Stage

• ลบ Cast Member ออกจาก Stage ใหเลือกปุมเครื่องมือ Arrow แลวเลือก Cast Member ที่ตองการลบจากนั้นกดปุม =

11. Cast Member & Property Inspector

Cast Member แตละช้ินสามารถปรับแกไข หรือเปลี่ยนแปลงคุณลักษณะไดจาก Property Inspector ซึ่งเปดไดจากเมนู Window, Property Inspector

Page 11: Macromedia Director

7

12. สวนสําคัญของ Property Inspector ไดแก

• Name (Cast Name) ในบัตรรายการ Member ควรกําหนดชื่อ Cast ใหเปนภาษาอังกฤษ หามเวนวรรค และจําไดงาย เพื่อสะดวกในการนําไปใชอางอิงกรณีที่มีการกํากับดวย Lingo Script

• Compression ในบัตรรายการ Bitmap เปนการเลือกรูปแบบการบีบอัดภาพ ควรเลือกเปน JPEG แลวกําหนดคา Quality ใหเหมาะสม (ประมาณ 60 – 80 กรณีสรางสื่อสําหรับเว็บไซต หรือ 100 สําหรับสื่อที่นําเสนอดวย CD/DVD)

แบบฝกปฏิบติั

ฝกปฏิบัติสราง Cast member group และการควบคุม Cast Window

ฝกปฏิบัติการนําเขาไฟลประเภทตางๆ เขาสู Cast member group

Page 12: Macromedia Director

8

การวาดรปูดวย Paint

นอกจากการนําเขารูปภาพ ยังสามารถสรางภาพดวยฟงกชันวาดของ Paint ไดจากโปรแกรม Director โดยคลิกเลือก Cast Member จาก Cast Window กอนแลวเปดฟงกชัน Paint ดวยคําสั่ง Window, Paint

วาดสี่เหลี่ยม การวาดวัตถุสี่เหลี่ยม ทําไดโดยคลิกเลือกเครื่องมือวาดสี่เหลี่ยม (Rectangular) ทั้งแบบมีสีพ้ืนและไมมีสี

พ้ืน เลือกสีที่ตองการจาก Color Box โดยกดปุมเมาสคางที่ชองสี จะปรากฏ Color Palettes ดังนี้

โดยสีชองบนเรียกวา Forground Color ใหคลิกในชองสีที่ตองการ โดยปกติสีนี้จะแสดงเปนสีเสนขอบ

และสีชองลางเรียกวา Background Color มักจะแสดงเปนสีพ้ืน

Page 13: Macromedia Director

9

เลือกรูปแบบของลวดลายพื้นสี่เหลี่ยมจาก Pattern โดยกดปุมเมาสคางไวแลวเลือกรูปแบบจาก Pattern Settings

สามารถเลือกรูปแบบเพิ่มเติมไดโดยคลิกเลือกรายการ Pattern Settings…

หรือเลือกรายการ Tile Settings…

Page 14: Macromedia Director

10

เลือกการไลเฉดสีจาก Gradient

เลือกความหนาของเสนขอบจาก Other Line Width

การวาดสี่เหลี่ยมเมื่อกําหนดคาสีและคุณสมบัติของสี่เหลี่ยมแลว ใหเลื่อนเมาสไปชี้ที่จุดเริ่มตนที่ตองการ

วาดสี่เหลี่ยม จากนั้นกดปุมเมาสคางไว ลากเมาสในแนวเฉียงใหไดขนาดที่ตองการ

เทคนิคการวาด สามารถกดปุม S คางไวเพื่อวาดเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส

การลบบางสวนของภาพ

การลบบางสวนของภาพ สามารถใชปุมเครื่องมือ Eraser แลวลบเฉพาะตําแหนงที่ตองการ

การลบรูปทั้งหมด

รูปที่วาดหากไมตองการ สามารถดับเบิลคลิกที่ปุมเครื่องมือ Marquee โปรแกรมจะสราง Selection

เลือกรูปทั้งหมดอัตโนมัติ จากนั้นกดปุม = เพื่อลบ หรือใชเทคนิคดับเบิลคลิกที่ปุมเครื่องมือ Eraser

วาดวงกลม/วงรี

การวาดวงกลมหรือวงรี จะใชเครื่องมือ Ellipse ซึ่งมีหลักการเดียวกับการวาดสี่เหลี่ยม และมีเทคนิคคือหากตองการวงกลมที่กลมจริงๆ ใหกดปุม S คางไวขณะลากเมาส

Page 15: Macromedia Director

11

วาดรูปหลายเหลี่ยม การวาดรูปหลายเหลี่ยม จะใชเครื่องมือ Polygon โดยการใชหลักการคลิกทีละจุด และดับเบิลคลิกเมื่อตองการสิ้นสุดการวาด โปรแกรมจะตอเสนใหครบทุกจุดโดยอัตโนมัติ สามารถกดปุม S เพื่อใหไดเสนที่เรียบหรือทุกมุม 45 องศา

เคร่ืองมืออืน่ๆ นอกจากเครื่องมือวาดพื้นฐาน ยังมีปุมเครื่องมืออีกหลายชิ้นที่นาสนใจ ซึ่งมีวิธีการใชงานไมแตกตางกับ

ที่ไดแนะนําไปแลว ดังนี้ไดแก

เครื่องมือวาดสวนโคง (Arc) และเสน (Line)

เครื่องมือพนสี (Air Brush) และแปรงทาสี (Brush)

เครื่องมือวาด (Pencil)

เครื่องมือตรวจคาสี (Eyedropper) และถังสี (Paint Bucket)

เครื่องมือเลื่อนจอภาพ (Hand) และเครื่องมือมุมมองจอภาพ (Magnifying Glass) (กดปุม S คางไวเพื่อเลือกตัวเลือกเพิ่มเติม)

เครื่องมือปรับเปลี่ยนจุดศูนยกลางของวัตถุ (Registration Point) และยางลบ (Eraser)

เครื่องมือสราง Selection ลักษณะตางๆ (Lasso & Marquee)

แบบฝกปฏิบติั

ฝกปฏิบัติวาดรูปและปรับแตงรูปทรง แลวหาเทคนิคการวาดที่ตนเองถนัด

Page 16: Macromedia Director

12

การปรับแตงรูปวาด

รูปที่วาดไวหรือรูปที่นําเขามาไวใน Cast Window สามารถปรับแตงเชน หมุน บิด กลับดานไดดวยเครื่องมือตางๆ ในแถบเครื่องมือ Effect

โดยมีหลักการใชงาน ดังนี้

1. สราง Selection ใหกับวัตถุที่ตองการปรับแตง

2. คลิกปุมเครื่องมือที่ตองการ ดังนี้

การกลับดานของวัตถุ ใชปุมเครื่องมือ Flip

การหมุนวัตถุ ใชปุมเครื่องมือ Rotate

การบิดวัตถุ ใชปุมเครื่องมือ Skew/Wrap/Perspective โดย Skew คือการบิด/เอียงภาพ, Wrap & Perspective คือการปรับเปลี่ยนรูปรางของภาพซึ่ง Wrap มีอิสระในการปรับเปลี่ยนมาก

การควบคุมเกี่ยวกับเสนขอบ ใชเครื่องมือ Smooth/Trace Edges นอกจากนี้ยังสามารถใชเทคนิค Smooth ทําใหภาพมีความนุมนวลดวย

การควบคุมเกี่ยวกับสี ใชชุดเครื่องสือสี

ตัวอยางการใชเครื่องมือปรับแตงวัตถุ 1. นําเขารูปภาพดวยคําสั่ง Import 2. ดับเบิลคลิกที่รูปใน Cast Window เพื่อเขาสูโหมด Paint 3. ดับเบิลคลิกที่ปุมเครื่องมือ Marquee เพื่อสราง Selection รอบวัตถุ 4. เลื่อนเมาสไปที่รูป (ภายในเสน Selection) โปรแกรมจะแสดงขอความเตือนวาการปรับแตงรูปดวย

คําสั่งตอไปน้ี จะเปนการเปลี่ยนแปลงภาพตนฉบับ อาจจะมีผลใหภาพตนฉบับเสียหายได และไมสามารถกูคืนได ใหคลิกปุม Continue เพื่อดําเนินการตอ

Page 17: Macromedia Director

13

5. จากนั้นดับเบิลคลิกที่ปุมเครื่องมือ Marquee เพื่อสราง Selection รอบวัตถุอีกครั้ง 6. ปรากฏ Effect Toolbar สมมติตองการบิดภาพ ก็คลิกปุมเครื่องมือ Skew หรือ Wrap หรือ

Perspective แลวคลิกที่มุมของ Selection เพื่อบิดภาพใหไดรูปทรงที่ตองการ

Filter จาก PhotoShop

การปรับแตงรูปภาพตางๆ ใน Director MX ยังสามารถใช Filter ของ Adobe PhotoShop มาผสมผสานได โดยคัดลอกโฟลเดอร C:\Program Files\Adobe\Adobe Photoshop CS2\Plug-Ins\Filters ของ PhotoShop มาไวในโฟลเดอร C:\Program Files\Macromedia\Director MX 2004\Configuration\Xtras ของ Director MX จากใชเลือกรูปภาพที่ตองการปรับแตง เลือกเมนูคําสั่ง Xtras, Filter Bitmap เลือก Filter ที่ตองการ แลวคลิกปุม Filter

แตละ Filter จะมีคาควบคุมแตกตางกันออกไป ใหปรับแตงคาตามเหมาะสม แลวคลิกปุม OK

หมายเหตุ จะตองปด DirectorMX แลวเปดใหม

แบบฝกปฏิบติั

ฝกปฏิบัติปรับแตงรูปภาพใหไดลักษณะใหมๆ

Page 18: Macromedia Director

14

วาดภาพ Vector ดวย Vector Paint

นอกจากฟงกชัน Paint ซึ่งไดผลการทํางานเปน Bitmap แลวยังสามารถใชฟงกชัน Vector Paint เพื่อสรางสรรคภาพในโหมด Vector ไดดวย

Vector & Bitmap การสรางงานกราฟกดวยคอมพิวเตอร มีหลักการสรางภาพ 2 ลักษณะใหญๆ ไดแก ภาพกราฟกแบบ

เวอรเตอร และบิตแมป

ภาพกราฟกแบบเวอรเตอร (Vector)

เปนภาพที่สรางดวยสวนประกอบของเสนลักษณะตางๆ และคุณสมบัติเกี่ยวกับสีของเสนนั้นๆ ซึ่งสรางจากการคํานวณทางคณิตศาสตร เชน ภาพของคน ก็จะถูกสรางดวยจุดของเสนหลายๆ จุด เปนลักษณะของโครงราง (Outline) และสีของคนก็เกิดจากสีของเสนโครงรางนั้นๆ กับพื้นที่ผิวภายในนั่นเอง เมื่อมีการแกไขภาพ ก็จะเปนการแกไขคุณสมบัติของเสน ทําใหภาพไมสูญเสียความละเอียด เมื่อมีการขยายภาพนั่นเอง

ภาพแบบ Vector ที่หลายๆ ทานคุนเคยก็คือ ภาพ .wmf ซึ่งเปน clipart ของ Microsoft Office นั่นเอง นอกจากนี้คุณจะสามารถพบภาพฟอรแมตนี้ไดกับภาพในโปรแกรม Adobe Illustrator หรือ Macromedia Freehand จะสังเกตไดงายวาภาพลักษณะนี้ จะมีจุดจับ (Handle) ชวยใหการแกไข ยอขยายขนาด หมุนภาพ ทําไดงาย สะดวก และรวดเร็ว

รูปแสดงความคมชัดของภาพ Vector

ภาพกราฟกแบบบิตแมป (Bitmap)

ภาพแบบ Bitmap หรืออาจจะเรียกวาภาพแบบราสเตอร (Raster) เปนภาพที่เกิดจากจุดสีที่เรียกวา pixels ซึ่งประกอบกันเปนรูปรางบนพื้นที่ที่มีลักษณะเปนเสนตาราง (กริด) แตละพิกเซลจะมีคาของตําแหนง และคาสีของตัวเอง ภาพหนึ่งภาพ จะประกอบดวยพิกเซลหลายๆ พิกเซลผสมกัน แตเนื่องจากพิกเซลมีขนาดเล็กมาก จึงเห็นภาพมีความละเอียดสวยงาม ไมเห็นลักษณะของกรอบสี่เหลี่ยม จึงเปนภาพที่เหมาะสมตอการแสดงภาพที่มีเฉด และสีสันจํานวนมาก เชนภาพถาย หรือภาพวาด

Page 19: Macromedia Director

15

ภาพแบบ Bitmap เปนภาพที่ขึ้นอยูกับความละเอียด หรือความคมชัด (Resolution) ซึ่งก็คือ จํานวน

พิกเซลที่แนนอนในการแสดงภาพ ดังนั้นเมื่อมีการขยายภาพ จะเกิดปญหาคือ เห็นเปนกรอบสี่เหลี่ยมเล็กๆ หลายๆ จุด ประกอบกัน เพราะกริดของภาพมีขนาดที่แนนอนนั่นเอง

รูปแสดงจุดสีของภาพ Bitmap

การใชงาน Vector Paint 1. เลือกเมนูคําสั่ง Window, Vector Shapes

Page 20: Macromedia Director

16

2. หลักการวาดและการใชเครื่องมือใชหลักการเดียวกับ Paint แตมีความอิสระในการปรับแตงเพราะภาพ Vector จะมี Node ใหปรับแตงได

รูปแสดงภาพตนฉบับ พรอม Node ลักษณะตางๆ

รูปแสดงภาพที่ปรับแตงดวยเทคนิคการยาย หมุน Node

ความหมายของจุดสี • จุดสีเขียว ตําแหนงเริ่มตน

• จุดสีแดง ตําแหนงสุดทาย

• จุดสีน้ําเงิน ตําแหนงที่ใชประกอบการสรางวัตถุ

• จุดทึบ ตําแหนงที่ไมไดถูกเลือก

• จุดโปรง ตําแหนงที่ถูกเลือก ซึ่งจะปรากฏ Control Handle เปนแขนงออกมา 2 เสน

Vector Properties

การปรับแตงภาพ Vector สามารถทําไดโดยเลือกคาควบคุมจาก Vector Properties

Page 21: Macromedia Director

17

ตัวอยางการวาดภาพดวย Pen Tool

ดวงจันทร

ปลา

นก

Page 22: Macromedia Director

18

ฝามือ/ฝาเทา

ตระกราผลไม

Page 23: Macromedia Director

19

ทํางานกับขอความ

สื่อทุกชนิดยอมหนีไมพนขอมูลพ้ืนฐานที่จําเปนคือ ขอความ ดังนั้นเครื่องสรางขอความจึงตองติดมาพรอมกับโปรแกรม สําหรับ Director มีวิธีการสรางขอความ 2 วิธี ไดแก

• การสรางขอความดวยปุมเครื่องมือ Text Tool ของ Paint Window

• การสรางขอความดวยคําสั่ง Text Window

การสรางขอความดวย Paint Window 1. เปดใชงาน Paint Window

2. เลือกปุมเครื่องมือ Text Tool 3. เลื่อนเมาสนําไปคลิก ณ ตําแหนงที่ตองการพิมพขอความ จะปรากฏกรอบพิมพขอความ ซึ่ง

หลักการพิมพก็ใชหลักการพิมพขอความทั่วไป

4. การปรับเปลี่ยนแบบอักษร (Font) หรือลักษณะขอความทําไดโดยคลิกปุมขวาของเมาสที่กรอบ

ขอความ แลวเลือกคําสั่งที่ตองการ

การสรางขอความดวย Text Window เครื่องมือ Text Tools ของ Paint Window เหมาะสําหรับการสรางขอความที่ไมยาวมากนัก แตถา

ตองการขอความลักษณะพารากราฟ จําเปนตองเลือกใช Text Window โดยเลือกเมนูคําสั่ง Insert, Media Element, Text ซึ่งจะปรากฏจอภาพการทํางานดังนี้

การทํางาน Text Window มีลักษณะเดียวกับการใชงาน Microsoft Word

หมายเหตุ: ฟอนตที่ใชไดกับ Text Window จะเปนฟอนตตระกูล UPC หรือ JS, DS (ฟอนตเกา) เทานั้น

Page 24: Macromedia Director

20

ตัวอักษร 3 มิติ

โปรแกรมมีฟงกชันแปลงตัวอักษรปกติเปนตัวอักษร 3 มิติไดโดยพิมพขอความที่ตองการ (ควรเลือกฟอนตและลักษณะใหหนา/ใหญ)

จากนั้นเลือกรายการ Display ของ Text Properties เปน 3D Mode

ปรับแตงลักษณะตัวอักษรไดจาก 3D Extruder Properties

• Camera pos ตําแหนงที่แสดงรูปแบบ 3 มิติ

• Rotation ทิศทางการหมุนในการแสดงผล

• Face พ้ืนผิวหนาในการแสดงผล

Page 25: Macromedia Director

21

• Smoothness ความนุมนวล

• Tunnel Depth คามิติชวงลึก

• Beval Amount คามุม

• Bevel Edge รูปแบบขอบมุม

• Light ทิศทางแสง

• Directional สีของขอความ

• Ambient สีมิติ

• Background สีพ้ืนหลัง

• Shader Textu… รูปแบบพื้นผิว

• Diffuse สีรอบขอความ

• Specular สีที่ใชในการตกกระทบ

• Reflectivity คาการตกกระทบของสี

Page 26: Macromedia Director

22

การฝงฟอนต

เนื่องจากฟอนตที่ใชไดกับ Text Window เปนฟอนตตระกูล JS, DS ซึ่งไมใชฟอนตมาตรฐานของคอมพิวเตอร หรือบางครั้งผูสรางสรรคผลงานอาจจะเลือกใชฟอนตอื่นๆ ที่ไมมีในเครื่องคอมพิวเตอรปกติ ซึ่งอาจจะเกิดปญหาในการเรียกชมกับคอมพิวเตอรอื่นได จึงควรฝงฟอนตดังกลาวรวมไปกับผลงาน โดยเลือกเมนูคําสั่ง Insert, Media Element, Font… ปรากฏ Font Cast Member ดังนี้

เลือกฟอนตที่ตองการฝงที่รายการ Original Font เลือกลักษณะที่ตองการใช เชน ตัวหนา ตัวเอียงและ

ขนาดที่ตองการในรายการ Bitmap

เลือกรูปแบบการฝงทุกอักขระ (Entire Set) หรือเฉพาะอักขระที่ใชจริง (Partial Set) จากรายการ Characters

หมายเหตุ: การฝงฟอนตรวมกับไฟลผลงาน จะทําใหไฟลผลงานมีขนาดโตขึ้น