Top Banner
การคัดเลือกสถานประกอบการที่เหมาะสม สาหรับนักศึกษาวิศวกรรมอุตสาหการ โดยใช้ วิธีการ Fuzzy AHP
29

Fuzzy AHP · 2016-01-25 · 2 วัตถุประสงค์ของงาน 1. ศึกษาการใช้กระบวนการตัดสินใจเชิงล

May 10, 2019

Download

Documents

ngokhuong
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: Fuzzy AHP · 2016-01-25 · 2 วัตถุประสงค์ของงาน 1. ศึกษาการใช้กระบวนการตัดสินใจเชิงล

การคดัเลือกสถานประกอบการท่ีเหมาะสมส าหรับนกัศึกษาวิศวกรรมอุตสาหการ โดยใช้วิธีการ Fuzzy AHP

Page 2: Fuzzy AHP · 2016-01-25 · 2 วัตถุประสงค์ของงาน 1. ศึกษาการใช้กระบวนการตัดสินใจเชิงล

บทน ำ1 ที่มาและความส าคัญของปัญหา

เนื่องจากในปัจจุบันมีกลุ่มอุตสาหกรรมหลายประเภท โดยจ าแนกอุตสาหกรรมออกเป็นกลุ่มต่างๆ เช่น อุตสาหกรรมยานยนต์ อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ อุสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนเครื่องกล อุสากรรมผลิตกระจกและแก้ว อุสาหากรรมเซรามิค ท าให้นักศึกษาสาขาวิศวกรรมอุตสาหการไม่สามารถตัดสินใจเลือกสถานประกอบการที่เหมาะสมและน าความรู้ที่เรียนมาไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ และเนื่องจากนักศึกษาสาขาวิศวกรรมอุตสาหการที่ส าเร็จการศึกษาเมื่อเข้าไปท างานในโรงงานอุตสาหกรรมมีการน าความรู้ที่เรียนไปประยุกต์ใช้ในการท างานกับสถานประกอบการค่อนข้างน้อย และเนื่องจากประเภทโรงงานอุตสาหกรรมมีลักษณะงานไม่สอดคล้องกับความรู้ความสามารถ ท าให้มีอัตราการเปลี่ยนงานบ่อยๆ ทั้งนี้เพื่อให้นักศึกษาสาขาวิศวกรรมอุตสาหการได้น าความรู้ที่เรียนไปประยุกต์ใช้กับการท างานในสถานประกอบการให้เกิดประโยชน์มากที่สุด ผู้วิจัยจึงมีแนวคิดที่จะน ากระบวนการล าดับชั้นเชิงวิเคราะห์ความคลุมเครือ (Fuzzy AnaluyticHicerarchy Process; FAHP) มาวิจัยเพื่อหาสถานประกอบการที่เหมาะสมกับนักศึกษาสาขาวิศวกรรมอุตสาหการ เพราะกระบวนการล าดับชั้นเชิงวิเคราะห์ความคลุมเครือช่วยหาทางเลือกที่เหมาะสมโดยจัดแจงให้อยู่ในรูปของแผนภูมิตามระดับชั้นแล้วจะวินิจฉัยเปรียบเทียบหาล าดับความส าคัญของแต่ละปัจจัยและท าการสังเคราะห์ตัวเลขของการวินิจฉัยนั้น

จากปัญหาที่กล่าวมาท าให้ผู้วิจัยมีแนวคิดที่จะน า กระบวนการล าดับชั้นเชิงวิเคราะห์ความคลุมเครือ (Fuzzy Analytic Hierarchy Process; FAHP) มาใช้ในการวิเคราะห์หาสถานประกอบการที่เหมาะสมที่สุดโดยพิจารณาจากปัจจัยต่างๆที่ส่งผลต่อการสมัครเลือกสถานประกอบการในโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ โดยจะน าผลลัพธ์ที่ได้มาเป็นต้นแบบในการคัดเลือกหาสถานประกอบการที่เหมาะสมของนักศึกษาสาขาวิศวกรรมอุต-สาหการ ซึ่งจะส่งผลให้นักศึกษาสาขาวิศวกรรมอุตสาหการ มีทางเลือกในการตัดสินใจเข้าสมัครงานในโรงงานอุตสาหกรรม เพื่อลดปัญหาอัตราการเปลี่ยนงานของนักศึกษา นอกจากนี้ยังน าผลลัพธ์ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในพื้นที่อื่นๆได้ แต่อย่างไรก็ผลการศึกษาได้ควรจะต้องมีการศึกษาตรวจสอบความสมเหตุสมผลต่อไป

Page 3: Fuzzy AHP · 2016-01-25 · 2 วัตถุประสงค์ของงาน 1. ศึกษาการใช้กระบวนการตัดสินใจเชิงล

2 วัตถุประสงค์ของงาน

1. ศึกษาการใช้กระบวนการตัดสินใจเชิงล าดับชั้น (AHP) และกระบวนการตัดสินใจเชิงวิเคราะห์แบบฟัซซี่ (FAHP) เพื่อหาสถานประกอบการที่เหมาะสมส าหรับนักศึกษาวิศวกรรมอุตสหการ

2. เป็นต้นแบบในการตัดสินใจคัดเลือกสถานประกอบการที่เหมาะสมของนักศึกษาวิศวกรรมอุตสา-หการของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เขตพื้นที่เชียงราย

3 ขอบเขตของงานวิจัย

1. เก็บข้อมูลจากนักศึกษาสาขาวิศวกรรมอุตสาหการ ปริญญาตรี 4 ปี ชั้นปีที่ 2,3และ4และปริญญาตรีเทียบโอน ชั้นปีที่ 2และ3 ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เขตพื้นที่เชียงราย

2. คัดเลือกสถานประกอบการที่เกี่ยวข้องกับงานวิศวกรรมอุตสาหการมา 5 ประเภท คือ เซรามิค กระจกและแก้ว ผลิตชิ้นส่วนเครื่องจักรกล อุตสาหกรรมยานยนต์ และ อิเล็กทรอนิกส์

บทน ำ

Page 4: Fuzzy AHP · 2016-01-25 · 2 วัตถุประสงค์ของงาน 1. ศึกษาการใช้กระบวนการตัดสินใจเชิงล

4 แนวทางการด าเนินงาน

1. ศึกษาทฤษฎีการใช้กระบวนการตัดสินใจเชิงล าดับชั้น (AHP) และกระบวนการตัดสินใจเชิงวิเคราะห์แบบฟัซซี่ (FAHP) ในการตัดสินใจเลือกสถานประกอบการที่เหมาะสมที่สุด

2. เลือกเกณฑ์ที่จะใช้ในการตัดสินใจ และ สร้างแบบประเมินความส าคัญของเกณฑ์ ให้นักศึกษาสาขาวิศวกรรมอุตสาหการท าแบบประเมินเพื่อหาความส าคัญของเกณฑ์ในแต่ละเกณฑ์

3. สร้างเมตริกซ์และให้คะแนนความสัมพันธ์ เกณฑ์การตัดสินใจผลกระทบที่มีต่อกันและกันระหว่างเกณฑ์การตัดสินใจกับทางเลือก

4. ค านวณค่าเมตริกซ์ ที่ได้จากเกณฑ์การตัดสินใจกับทางเลือก

5. วิเคราะห์และสรุป

6. จัดท ารูปเล่มรายงาน และการน าเสนอโครงการวิศวกรรม

5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

1. สามารถน ากระบวนการล าดับชั้นเชิงวิเคราะห์ (AHP)และกระบวนการตัดสินใจเชิงวิเคราะห์แบบฟัซซี่ (FAHP) ไปประยุกต์ใช้ในการตัดสินใจคัดเลือกสถานประกอบการของนักศึกษาวิศวกรรมอุตสาหการได้

2. ได้ข้อมูลที่เป็นแนวทางประกอบการตัดสินใจในการคัดเลือกสถานประกอบการของนักศึกษาวิศวกรรมอุต-สาหการที่มีประสิทธิภาพ

บทน า

Page 5: Fuzzy AHP · 2016-01-25 · 2 วัตถุประสงค์ของงาน 1. ศึกษาการใช้กระบวนการตัดสินใจเชิงล

กระบวนการที่จะน ามาช่วยในการตัดสินใจมีหลากหลายวิธีแต่วิธีที่ เป็นที่นิยมใช้เพื่อตัดสินใจเลือกจากปัจจัยด้านคุณภาพที่ทางผู้วิจัยจะน ามาประยุกต์ใช้คือกระบวนการตัดสินใจเชิงล าดับชั้น (Analytic Hierarchy Process : AHP) และกระบวนการล าดับชั้นเชิงวิเคราะห์แบบฟัซซี่ (Fuzzy Analytic Hierarchy Process;FAHP)

ทฤษฏีที่เกี่ยวข้องมีดังนี้

1. กระบวนการตัดสินใจเชิงล าดับชั้น(Analytic Hierarchy Process : AHP)

2. ตรรกะแบบคลุมเครือ (Fuzzy logic)

3. กระบวนการล าดับชั้นเชิงวิเคราะห์ความคลุมเครือ (Fuzzy Analytic Hierarchy Process;FAHP)

ทฤษฏีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

Page 6: Fuzzy AHP · 2016-01-25 · 2 วัตถุประสงค์ของงาน 1. ศึกษาการใช้กระบวนการตัดสินใจเชิงล

ปนัดดา เย็นตระกูล (2546) ศึกษาเรื่องการพัฒนาระบบช่วยตัดสินใจเลือกนิคมอุตสาหกรรม โดยการศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบช่วยตัดสินใจในการเลือกนิคมอุตสาหกรรม เพื่อให้นักลงทุนสามารถน าสาระสนเทศที่ได้จากระบบไปช่วยในการตัดสินใจเลือกนิคมอุตสาหกรรมได้อย่างเป็นกระบวนการและช่วยให้นักลงทุนได้นิคมอุตสาหกรรมตามที่ต้องการอีกด้วย ระบบช่วยในการตัดสินใจเลือกนิคนอุตสาหกรรมนี้จะถูกติดตั้งใน Web Site ของการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) และเผยแพร่ผ่านทางอินเตอร์เน็ต การพัฒนาระบบในครั้งนี้จึงน าวิธีการ AHPมาใช้ เพื่อให้มั่นใจถึงความมีเหตุผลและความสม่ าเสมอของผู้ตัดสินใจ การท างานของระบบจะให้ผู้ใช้เลือกปัจจัยหลักที่สนใจและท าการเปรียบเทียบความส าคัญเพื่อค านวณหาน้ าหนักและคะแนน จากนั้นระบบจะท าการประมวลผลและแสดงรายชื่อของนิคมอุตสาหกรรมโดยเรียงตามคะแนนที่ได้ เพื่อให้ผู้ใช้นั้นสามารถน าไปศึกษาและวิเคราะห์ด้านอื่นๆต่อไป ในระบบนี้ได้จัดการกับข้อมูลต่างๆโดยใช้ Database และใช้โปรแกรม Active Sevver Page ส าหรับส่วนที่ติดต่อกับผู้ใช้งาน และใช้โปรแกรม Visual Basic ช่วยในการค านวณผลและการตัดสินใจ

งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

บทคัดย่อ

Page 7: Fuzzy AHP · 2016-01-25 · 2 วัตถุประสงค์ของงาน 1. ศึกษาการใช้กระบวนการตัดสินใจเชิงล

ชญานัน อารมณ์รัตน์ (2547) ศึกษาการวิเคราะห์ระบบคะแนนเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติส าหรับอุตสาหกรรมการผลิต งานวิจัยนี้ได้น าวิธีการ AHP มาใช้ในการทดสอบและท าการทดลองตามล าดับความส าคัญที่ได้จากผู้บริหารว่าตรงกับเกณฑ์ที่ก าหนดไว้ใน เกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติหรือไม่โดยเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาตินั้นได้ยึดเอาพื้นฐานทางด้านเทคนิคและกระบวนการตัดสินใจของรางวัลคุณภาพแห่งชาติสหรัอเมริกามาเป็นต้นแบบ และผู้บริหารในโรงงานแต่ละกลุ่มตัวอย่างมีความเห็นต่อน้ าหนักคามส าคัญของเกณฑ์นั้นแตกต่างกันหรือไม่ โดนการเก็บข้อมูลนั้นใช้เป็นแบบทดสอบในการเก็บข้อมูล ซึ่งมีผู้ร่วมสนใจทั้งหมดจ านวน 32 ท่าน และผลการวิจัยพบว่าผู้บริหารได้ให้ล าดับความส าคัญต่อเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติโดนเน้นไปที่การจัดการและการด าเนินการขององค์กรมากกว่าผลผลิตทางธุรกิจ ซึ่งจะแตกต่างจากเกณฑ์รางวัลคุณภาพที่ให้ความส าคัญกับผลผลิตมากกว่า

งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

บทคัดย่อ

Page 8: Fuzzy AHP · 2016-01-25 · 2 วัตถุประสงค์ของงาน 1. ศึกษาการใช้กระบวนการตัดสินใจเชิงล

อรพินทร์ จีรวัสสกุลและคณะ (2549) ศึกษาเรื่องการประยุกต์ใช้ AHP ในการประเมินผลการด าเนินงานผู้ให้บริการขนส่ง พบว่า การจัดการทางด้านโลจิสติกส์นั้นมีความส าคัญในการท าธุรกิจ กิจกรรมทางด้านขนส่งเป็นหนึ่งในกิจกรรมหลักของโลจิสติกส์ที่สามารถเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าโดยการเคลื่อนย้ายสินค้าไปยังที่ที่ลูกค้าต้องการ ดังนั้นการเพิ่มประสิทธิภาพในการขนส่งจึงเป็นสิ่งส าคัญต่อการด าเนินธุรกิจ ในปัจจุบันองค์กรณ์ต่างๆนิยมใช้บริการทางโลจิสติกส์เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและลดต้นทุนของบริษัทฯลง ดังนั้นการเลือกหรือประเมินผู้ให้บริการทางโลจิสติกส์จึงเป็นสิ่งส าคัญต่อความพึงพอใจของลูกค้า และปัจจัยต่างๆที่สามารถน ามาใช้ประเมินผู้ให้บริการขนส่ง ผลการวิจัยพบว่า บริษัทฯกรณีศึกษาสามารถทราบถึงผลการปฏิบัติงานของผู้ให้บริการขนส่งแต่ละบริษัทฯซึ่งจะแตกต่างจากการประเมินผลที่มีอยู่ ณ ปัจจุบันรวมทั้งสามารถจัดล าดับผลการด าเนินงานของผู้ให้บริการได้ดียิ่งขึ้น

งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

บทคัดย่อ

Page 9: Fuzzy AHP · 2016-01-25 · 2 วัตถุประสงค์ของงาน 1. ศึกษาการใช้กระบวนการตัดสินใจเชิงล

สุเมศวร จันทะ (2549) ศึกษาการประยุกต์ใช้กระบวนการ AHP และ Goal Programming เพื่อพยากรณ์การสั่งซื้อวัสดุอุปกรณ์ในงานอุตสาหกรรมและเลือกผู้จัดหาสินค้าที่เหมาะสมโดยเสนอวิธีการพยากรณ์ที่ใช้เทคนิคอนุกรมเวลามาช่วยในการพยากรณ์ ความต้องการสินค้าในช่วงเวลาระหว่างปี จากการใช้โปรแกรม Goal Programming เมื่อท าการประมวลผลจากโปรแกรมแล้ว จะได้ผู้จัดหาสินค้าที่ดีที่สุดและสามารถลดค่าใช้จ่ายในการซื้อสินค้าได้ถึง 1,990,000 บาทในปี 2006 ซึ่งจะสามารถลดต้นทุนลงถึง 36 % จากยอดการสั่งซื้อทั้งหมด

งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

บทคัดย่อ

Page 10: Fuzzy AHP · 2016-01-25 · 2 วัตถุประสงค์ของงาน 1. ศึกษาการใช้กระบวนการตัดสินใจเชิงล

เศกสรรค์ ตั้นตะกูล (2550) ศึกษาการประยุกต์ใช้เทคนิค AHP ในการประเมินทางเลือกส าหรับการขนส่งผลิตภัณฑ์เหล็ก การวิจัยนี้เป็นการน ากระบวนการ AHP มาประยุกต์ใช้ในการประเมินทางเลือก ส าหรับการขนส่งผลิตภัณฑ์เหล็กด้วยรถบรรทุก ระหว่างการลงทุนเองกับการจัดจ้างบริษัทภายนอก โดยในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑลและภาคตะวันออกเป็นกลุ่มลูกค้าหลักของบริษัทฯ ส าหรับการเก็บข้อมูลนั้นจึงเป็นการเก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามและการสัมภาษท์ โดยแบ่งแบบสอบถามออกเป็น 3 ชุด โดยชุดที่ 1 และ 2 แบ่งเป็น 2 กลุ่มคือกลุ่มลูกค้าและผู้ประกอบการ โดยการวินิจฉัยเปรียบเทียบความส าคัญของปัจจัยทีละคู่ ส าหรับชุดที่ 3 นั้นจะเป็นการหาระดับทางเลือกและความส าคัญที่มีผลแต่ละปัจจัย ผลที่ได้จากการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่มีความส าคัญต่อการขนส่งคือ ความตรงต่อเวลา ความเสียหาย การดูแลรักษาสภาพของสินค้า การติดต่อประสานงานกับลูกค้า ความปลอดภัยและจ านวนรถ ตามล าดับ ส าหรับทางเลือกการขนส่งที่เหมาะสมที่สุดคือการใช้รถของบริษัทโดยลงทุนทรัพย์สินและจ้างคนขับเอง

งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

บทคัดย่อ

Page 11: Fuzzy AHP · 2016-01-25 · 2 วัตถุประสงค์ของงาน 1. ศึกษาการใช้กระบวนการตัดสินใจเชิงล

ปิติ ปิติเพิ่มพูน (2550) ศึกษาการประยุกต์ใช้กระบวนการล าดับชั้นเชิงวิเคราะห์ในการตัดสินใจมีรถขนส่งด้วยตนเอง โดยมีกรณีศึกษาเป็นบริษัทฯผู้ให้บริการทางด้านโลจิสติกส์ จึงได้น าวิธีการ AHP มาใช้ในการตัดสินใจที่มีเหตุผลสามารถใช้ในการตัดสินใจที่เกี่ยวข้องกับ ปัจจัยทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ นอกจากนี้ยังสามารถวัดความสอดคล้องของการตัดสินใจในแต่ละปัจจัย โดยได้พิจารณาจากปัจจัยต่างๆดังนี้ 1.การตรวจสอบและติดตามการขนส่ง 2. ความพร้อมในการขนส่ง 3.การแข่งขันในตลาดแลการขยายธุรกิจ 4.ความพร้อมของบุคลากร 5.ควบคุมการขนส่ง 6. ต้นทุนการขนส่ง 7. คุณภาพการขนส่ง 8.ภาพลักษณ์ของบริษัทฯ ผลการวิจัยพบว่า ผู้ตัดสินใจได้ให้ความส าคัญกับปัจจัยต่างๆดังนี้ 1.คุณภาพการขนส่ง 2.ความพร้อมของบุคลากร 3.ต้นทุนการขนส่ง 4.ความพร้อมในการขนส่ง 5.ควบคุมการขนส่ง 6.การแข่งขันในตลาดแลการขยายธุรกิจ 7.การตรวจสอบและติดตามการขนส่ง 8.ภาพลักษณ์ของบริษัทฯ ตามล าดับ

งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

บทคัดย่อ

Page 12: Fuzzy AHP · 2016-01-25 · 2 วัตถุประสงค์ของงาน 1. ศึกษาการใช้กระบวนการตัดสินใจเชิงล

เสริมวิทย์ วัชระไชยคุปต์ และคณะ (2553) ศึกษาการตัดสินใจในการเลือกต าเหน่งที่ตั้งโรงไฟฟ้าพลังงานน้ าขนาดเล็ก จากพื้นที่ที่มีศักยภาพในการผลิตกระแสไฟฟ้าในพื้นที่ลุ่มน้ าชี โดยมีหลักเกณฑ์ในการตัดสินใจ โดยให้น้ าหนักความส าคัญต่อเกณฑ์ต่างๆจากพื้นที่ที่มีศักยภาพทั้ง 5 ทางเลือก 1. ฝายชนบท 2. ฝายคุยเชือก 3. ฝายวังยาว 4.เขื่อนล าปาว 5.ฝายธาตุน้อย หลักเกณฑ์ที่ส าค ญในการพิจารณาคือ 1.ด้านการผลิตไฟฟ้า 2.ด้านวิศวกรรม 3.ด้านเศรษฐศาสตร์ 4.สังคมสิ่งแวดล้อมและ 5.การมีส่วนร่วมในชุมชน โดยใช้กระบวนการตัดสินใจเชิงล าดับชั้นหรือAHP มาใช้ในการพิจารณาและการตัดสินใจ ผลจากการวิจัยพบว่าพื้นที่ที่มีศักยภาพในการผลิตไฟฟ้าในพื้นที่ลุ่มนี้ชีที่เหมาะสมที่สุดคือ 1.ฝายวังยาว 2.ฝายคุยเชือก 3.ฝายชนบท 4.ฝายธาตุน้อย และ 5.เขื่อนล าปาว ตามล าดับ

งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

บทคัดย่อ

Page 13: Fuzzy AHP · 2016-01-25 · 2 วัตถุประสงค์ของงาน 1. ศึกษาการใช้กระบวนการตัดสินใจเชิงล

ศุภลักษณ์ ใจสูง (2555) ศึกษาการคัดเลือกผู้ให้บริการโลจิสติกส์ในโรงงานอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิคส์ โดยใช้กระบวนการตัดสินใจแบบวิเคราะห์เชิงล าดับชั้น (AHP) โดยมีกลุ่มผู้ตัดสินใจเป็นผู้บริหารและพนักงานในแผนกโลจิสติกส์ของบริษัทฯรวมทั้งสิน 6 ราย ผลการวิจัยพบว่าเกณฑ์หลักที่มีความส าคัญสูงสุดคือ ต้นทุน รองลงมาคือความน่าเชื่อถือในการส่งมอบ การตอบสนอง ความมั่นคงทางการเงิน และเทคโนโลยีสารสนเทศตามล าดับ

ดร. เทอดธิดา ทิพย์รัตน์ และคณะ (2556) ได้ศึกษาการประเมินกระบวนการประเมินระดับผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงงานนี้จะใช้การตัดสินใจแบบหลายหลักเกณฑ์ (Multiple Criteria Decision Making, MCDM) ส าหรับการวิจัยนี้จะใช้กระบวนการล าดับชั้นเชิงวิเคราะห์ แบบฟัซซี่ (Fuzzy Analytic Hierarchy Process, FAHP) ร่วมกับการประเมินความเสี่ยง (Risk Assess-ment)ผู้ประเมินความเสี่ยงเป็นผู้มีประสบการณ์ด้านการก่อสร้างของมหาวิทยาลัยในโครงการที่ทาการ ศึกษา จ านวน 15 คน ประกอบด้วย ที่ปรึกษาควบคุมงาน ผู้รับเหมาก่อสร้าง ผู้ออกแบบ และเจ้าของ โครงการ เป็นต้นผลการศึกษาพบว่า สาเหตุที่ส าคัญ ของการเปลี่ยนแปลงงานก่อสร้างของโครงการ ก่อสร้าง คือ 1) การเพิ่ม หรือเปลี่ยนแปลง ประโยชน์ใช้สอยการใช้งานพื้นที่ เพื่อให้เหมาะสม และสอดคล้องกับการใช้งานจริง 2) ขาดข้อมูล การเจาะส ารวจดินภายในพื้นที่ เปลี่ยนแปลงข้อ บังคับในการออกแบบงาน และ 3) เปลี่ยนแปลง ระบบสาธารณูปโภคที่จ่ายให้โครงการ เช่น เปลี่ยนแปลงแรงดันไฟฟ้าที่จ่ายให้โครงการ

งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ

Page 14: Fuzzy AHP · 2016-01-25 · 2 วัตถุประสงค์ของงาน 1. ศึกษาการใช้กระบวนการตัดสินใจเชิงล

นางสาวจฑุามาศ อินทร์แก้ว (2556) ผู้วิจัยได้น าเอากระบวนการล าดับชั้นเชิงวิเคราะห์ (Analytic Hierarchy Process : AHP) มาช่วยในการวิเคราะห์ปัญหาการตัดสินใจในการเลือกท าเลที่ตั้งโรงงานหรือการตัด สินใจในด้านต่างพบว่าเกณฑ์ที่ใช้ในการตัดสินใจประกอบด้วย ราคาที่ดิน การขนส่ง ต้นทุนตลาด สังคมและชุมชน และความพร้อมของท าเลที่ตั้ง ส าหรับทางเลือกที่จะผ่านการกลั่นกรองเบื้องต้นถึง ความเหมาะสมที่จะใช้เป็นทางเลือกประกอบด้วย อ าเภอกาญจนดิษฐ์ อ าเภอเกาะสมุย อ าเภอบ้านตาขุน อ าเภอไชยา และอ าเภอพุนพิน และมีการประเมิน โครงการเงิน งบประมาณรายได้และผลตอบแทนของโครงการ ผู้วิจัยได้มีการค านวณงบประมาณการเงิน การลงทุน เป็นเวลา 10 ปี จากผลการวิจัยพบว่า อันดับ 1 คืออ าเภอพุนพิน โดยมีผลตอบแทนจากโครงการท าเลที่ตั้งแห่งใหม่นี้คือ อัตราผลตอบแทน (IRR) เท่ากับ 19.4% และมรีะยะเวลาคืนทุนที่ 7 ปี 11 เดือน

งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

บทคัดย่อ

Page 15: Fuzzy AHP · 2016-01-25 · 2 วัตถุประสงค์ของงาน 1. ศึกษาการใช้กระบวนการตัดสินใจเชิงล

Chandra Sekhar และคณะ (2015) ศึกษาเรื่องการใช้ Delphi-AHP-TOPSIS กรอบที่ใช้ส าหรับการจัดล าดับความส าคัญของตัวชี้วัดทุนทางปัญญา: มุมมองของผู้ประกอบการ SMEs โดยการศึกษาวิจัยครั้งนี้ใช้กระบวนการ Delphi-AHP-TOPSIS น ามาใช้และการศึกษาจะด าเนินการในหน่วยงานการผลิตของผู้ประกอบการ SMEs ที่ตั้งอยู่ในภาคเหนือและภาคกลางของอินเดียโดยวิธีการ Delphi เป็นกระบวนการซ้ าและถูกน ามาใช้เพื่อการวิเคราะห์เทคนิคและการระดมสมองส าหรับปัญหา โอกาสและระดับทรัพย์สินทางปัญญา โดยเรื่องที่สอดคล้องกันคือการพัฒนา วิธีการขั้นตอนการวิเคราะห์ล าดับชั้น (AHP) จะถูกใช้ในการก าหนดน้ าหนักของตัวชี้วัดที่เป็นเกณฑ์และเทคนิค TOPSISใช้ส าหรับการสั่งซื้อของการตั้งค่าโดยความคล้ายคลึงกันเพื่อทางออกที่ดีจึงถูกน ามาใช้เพื่อให้ได้อันดับสุดท้ายของตัวชี้วัดทรัพย์สินทางปัญญา กรอบที่น าเสนอจะต้องรองรับจากกรรมการโดยจะชี้ให้เห็นจุดแข็งและจุดอ่อนของตัวชี้วัดทรัพย์สินทางปัญญา และความสัมพันธ์ระหว่างตัวชี้วัดทรัพย์สินทางปัญญาและยังสามารถเข้าใจได้โดยผู้บริหารของหน่วยการผลิตของผู้ประกอบการ SMEs ด้วยความช่วยเหลือของกรอบการท างานเหล่านี้ กรรมการหน่วย SMEs การผลิตอาจใช้ผลของการวิจัยนี้เป็นฐานที่ดีที่สุดส าหรับการลงทุนของกองทุนเป็นตัวชี้วัด ทรัพย์สินทางปัญญา เนื่องจากโปรแกรมที่หลากหลายของ Delphi-AHP-TOPSIS จึงเป็นเรื่องการวิจัยที่ส าคัญส าหรับนักวิจัยจ านวนมากที่มีข้อเกี่ยวข้องกับงาน SMEs

งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

บทคัดย่อ

Page 16: Fuzzy AHP · 2016-01-25 · 2 วัตถุประสงค์ของงาน 1. ศึกษาการใช้กระบวนการตัดสินใจเชิงล

Kerem Toker และคณะ (2012) ศึกษาการประยุกต์ใช้วิธีการวิเคราะห์ SWOTและ AHP: กรณีศึกษาส าหรับ บริษัทฝ่ายผลิต โดยได้ศึกษาวิธีการวิเคราะห์ SWOT และ การวิเคราะห์ล าดับชั้น (AHP) โดยวิเคราะห์ SWOT เป็นเครื่องมือที่ใช้กันทั่วไปซึ่งจะสามารถตรวจสอบจุดแข็งและจุดอ่อน (ปัจจัยภายใน) ของบริษัทหรืออุตสาหกรรมร่วมกับโอกาสและภัยคุกคาม (ปัจจัยภายนอก) ของสภาพแวดล้อมของตลาด โดยวิธีการวิเคราะห์ SWOT มีโครงร่างพื้นฐานในการที่จะด าเนินการวิเคราะห์สถานการณ์การตัดสินใจ ในการศึกษานี้ขาดความมุ่งมั่นที่มีความส าคัญส าหรับการจัดอันดับและปัจจัยการวิเคราะห์ที่เราเสนอให้เพิ่มการวิเคราะห์ที่มีเกณฑ์การตัดสินใจหลายเทคนิคหรือที่เรียกกันว่ากระบวนการวิเคราะห์ล าดับชั้น(AHP) วิธีการ AHP ประสบความส าเร็จในการเปรียบเทียบจากจ านวนท่ามกลางปัจจัยหรือหลักเกณฑ์ในการจัดล าดับความส าคัญโดยใช้การค านวณค่าเฉพาะ จุดมุ่งหมายของการใช้วิธีการรวมกันคือการปรับปรุงด้านเชิงปริมาณของการวางแผนเชิงกลยุทธ์

งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

บทคัดย่อ

Page 17: Fuzzy AHP · 2016-01-25 · 2 วัตถุประสงค์ของงาน 1. ศึกษาการใช้กระบวนการตัดสินใจเชิงล

Alexander Tunggul Sutanhaji และคณะ (2013) ศึกษาการซื้อที่ดินและแผนปฏิบัติการการตั้งถิ่นฐานใหม่ (LARAP) ของโครงการเขื่อนโดยใช้กระบวนการวิเคราะห์ล าดับชั้น (AHP):กรณีศึกษาใน เขื่อน Mujur ในเกาะลอมบอคโดยการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและการได้มาซึ่งที่ดินตั้งถิ่นฐานใหม่แผนปฏิบัติการ (LARAP) ของโครงการเขื่อนโดยใช้กระบวนการวิเคราะห์ล าดับชั้น (AHP) ในงานวิจัยนี้กระบวนการ AHP ถูกน ามาใช้ในการตัดสินใจเลือกต าแหน่งที่ดีที่สุดส าหรับการตั้งถิ่นฐานใหม่จากสองทางเลือกเช่นเขื่อนพื้นที่โดยรอบและพื้นที่ที่สะดวก (ส่วนใหญ่เพื่อการเพาะเลี้ยง) ระบบวิธีการนี้ครอบคลุมถึงการก าหนดเป้าหมายหลักที่ระบุปัจจัยบางอย่าง (วัตถุประสงค์และเป้าหมายย่อย) การจัดรูปแบบและมีน้ าหนักล าดับชั้นของปัจจัยที่ใช้ในการค านวณและทางเลือกในการตัดสินใจ ความกังวลหลักคือผลประโยชน์ ค่าใช้จ่ายและความเสี่ยง นอกจากนี้แต่ละเป้าหมายยังอยู่บนพื้นฐานทางเศรษฐกิจสังคมวัฒนธรรมและปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม ผลที่ได้แสดงให้เห็นว่าต าแหน่งที่ดีที่สุดส าหรับการตั้งถิ่นฐานใหม่ของเขื่อน พื้นที่โดยรอบจะเป็นที่หมู่บ้าน Mujur (0.12941) ของเขตEast Praya ในขณะที่พื้นที่ที่สะดวกสบายเป็น หมู่บ้าน Kawo (0.11897) ของเขต Pujut

งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

บทคัดย่อ

Page 18: Fuzzy AHP · 2016-01-25 · 2 วัตถุประสงค์ของงาน 1. ศึกษาการใช้กระบวนการตัดสินใจเชิงล

Mohit Tyagi และคณะ (2014) ศึกษาวิธีการไฮบริดที่ใช้ AHP-TOPSIS ส าหรับการวิเคราะห์ผลการด าเนินงานของการจัดการห่วงโซ่อุปทานอิเล็กทรอนิกส์ (e-SCM) เพื่อสนับสนุนในสภาวะการแข่งขันมันเป็นสิ่งจ าเป็นส าหรับองค์กรที่จะใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) ท าหน้าที่ในการจัดการห่วงโซ่อุปทานของพวกเขา (SCM) โดยวัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้คือการเลือกทางเลือกที่ดีที่สุดโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงการจัดการห่วงโซ่อุปทานอิเล็กทรอนิกส์ (E-SCM) ผลการด าเนินงานของอุตสาหกรรมยานยนต์อินเดียที่ตั้งอยู่ในเขตนิวเดลี เพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายล าดับชั้นตามรูปแบบที่ได้รับการพัฒนาผ่านการพิจารณาแปดหลักเกณฑ์และห้าทางเลือก ทางเลือกคือการพิจารณาจากการลงทุนในเทคโนโลยีเว็บตามการลงทุนในเทคโนโลยีการผลิตที่ทันสมัย บทบาทของผู้บริหารระดับสูงบทบาทของผู้ผลิตและการจัดการห่วงโซ่อุปทาน รูปแบบการพัฒนาได้รับการวิเคราะห์เพื่อเลือกทางเลือกที่ดีที่สุดโดยใช้กระบวนการวิเคราะห์ล าดับชั้น (AHP) และเทคนิคส าหรับการตั้งค่าสั่งซื้อโดยความคล้ายคลึงกันเพื่อหาทางออกที่ดี (TOPSIS) การวิเคราะห์แสดงให้เห็นว่าทางเลือกการลงทุนในเทคโนโลยีตามเว็บถือเป็นครั้งแรกในการพิจารณาทางเลือกและมีบทบาทส าคัญในการปรับปรุงประสิทธิภาพการท างานของ E-SCM ขององค์กร ผลการวิจัยครั้งนี้ช่วยให้ผู้บริหารมีการตัดสินใจที่ดีขึ้นในการปรับปรุงประสิทธิภาพการท างานของ E-SCM ขององค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ

งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

บทคัดย่อ

Page 19: Fuzzy AHP · 2016-01-25 · 2 วัตถุประสงค์ของงาน 1. ศึกษาการใช้กระบวนการตัดสินใจเชิงล

Sumit Gupta และคณะ (2015) ศึกษากระบวนการวิเคราะห์ล าดับชั้น (AHP) ส าหรับการประเมินผลการปฏิบัติที่ยั่งยืนการผลิตแผงไฟฟ้าในอินเดีย โดยศึกษาเพื่อให้บริษัทผู้ผลิตมีความกระตือรือร้นจะกลายเป็นผู้ที่สนใจอย่างยั่งยืนในทุกแง่มุมทั้งสามได้แก่ ประหยัด สังคมและสิ่งแวดล้อม มีจ านวนของการปฏิบัติที่มีการผลิต ได้แก่ การออกแบบเพื่อสิ่งแวดล้อม , การออกแบบกระบวนการห่วงโซ่อุปทานสีเขียว การปฏิบัติที่มีแนวโน้มกู้คืนผลิตภัณฑ์และการผลิตที่สะอาดโดยบริษัทต้องการที่จะพัฒนาอย่างยั่งยืนบทความนี้น าเสนอรูปแบบของกระบวนการ AHP ใช้พัฒนาอย่างยั่งยืนในการผลิตที่ใช้การปฏิบัติจริงที่ต่างกันในการผลิต โดยระยะแรกของการศึกษานี้จะใช้วิธีการที่ใช้ในการส ารวจจากสถาบันการศึกษาอุตสาหกรรมจากนั้นพัฒนารูปแบบกระบวนการ AHP จากการศึกษานี้จะถูกระบุว่า บริษัท EP-3 มีสถิติดีมากขึ้นเกี่ยวกับการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยจะชี้ให้บริษัทอื่น ๆเห็นว่าอุตสาหกรรมแผงไฟฟ้าทุกคนควรน ามาใช้ปฏิบัติในการผลิตอย่างยั่งยืนเพื่อให้บรรลุเป้าหมายและยอดขายในอนาคต

งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

บทคัดย่อ

Page 20: Fuzzy AHP · 2016-01-25 · 2 วัตถุประสงค์ของงาน 1. ศึกษาการใช้กระบวนการตัดสินใจเชิงล

แผนผังแสดงขั้นตอนการด าเนินงานวิจัย

วิธีการด าเนินการศึกษาศึกษาทฤษฎีการใช้กระบวนการตัดสินใจเชิงวิเคราะห์แบบฟัซซ่ี (FAHP)

เลือกเกณฑ์ท่ีจะใช้ในการตัดสินใจ

จัดท ารูปเล่มรายงาน และการน าเสนอโครงการวิศวกรรม

วิเคราะห์และสรุปผล

ค านวณค่าเมตริกซ์

สร้างเมตริกซ์และให้คะแนนความสัมพันธ์

Page 21: Fuzzy AHP · 2016-01-25 · 2 วัตถุประสงค์ของงาน 1. ศึกษาการใช้กระบวนการตัดสินใจเชิงล

ระดับความ

เข้มข้นของ

ความส าคัญ

ความหมาย

1

2

3

4

5

6

7

8

9

มีความส าคญัเทา่กนั

มีความส าคญัมากกวา่เล็กน้อย

มีความส าคญัมากกวา่ในระดบัปานกลาง

มีความส าคญัมากกวา่ในระดบัคอ่นข้างมาก

มีความส าคญัมากกวา่ในระดบัมากท่ีสดุ

วิธีการด าเนินการศึกษา1 ศึกษาทฤษฎีการใช้กระบวนการตัดสินใจเชิงวิเคราะห์แบบฟัซซี่ (FAHP) ท าการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลตามทฤษฏีของกระบวนการตัดสินใจวิเคราะห์เชิงล าดับชั้นโดยใช้มาตรา

ส่วนของชุดตัวเลขที่ใช้ในการเปรียบเทียบรายคู่

Page 22: Fuzzy AHP · 2016-01-25 · 2 วัตถุประสงค์ของงาน 1. ศึกษาการใช้กระบวนการตัดสินใจเชิงล

2 เลือกเกณฑ์ที่จะใช้ในการตัดสินใจ

ท าการคัดเลือกสถานประกอบการที่เกี่ยวข้องกับงานอุตสาหกรรมมา 5 ประเภท ได้แก่ 1. อุตสากรรมประเภท เซรามิค 2. อุตสากรรมประเภท กระจกและแก้ว 3. อุตสากรรมประเภท ผลิตชิ้นส่วนเครื่องจักรกล 4. อุตสากรรมประเภท ยานยนต์ และ 5. อุตสากรรมประเภท อิเล็กทรอนิคส์

ท าการสอบถามรุ่นพี่ที่จบการศึกษาออกไปแล้วและได้ท างานในโรงงานอุตสาหกรรม โดยถามถึงปัจจัยในการเลือกสถานประกอบการ เมื่อได้มาแล้วท าการวิเคราะห์หาเกณฑ์ที่มีความส าคัญในการเลือกสถานประกอบการ จากนั้นน าเกณฑ์ที่ได้มาจัดในผังล าดับชั้น

วิธีการด าเนินการศึกษา

Page 23: Fuzzy AHP · 2016-01-25 · 2 วัตถุประสงค์ของงาน 1. ศึกษาการใช้กระบวนการตัดสินใจเชิงล

ผังล าดับชั้น

วิธีการด าเนินการศึกษาสถานประกอบการที่เหมาะสมที่สุดส าหรับ

นักศึกษาสาขาวิศวกรรมอุตสาหการ

A B

A1 A2 A3 A4 B1 B2 B3 B4 B5 B6

เซรามิค กระจกและ

แก้วผลิตชิ้นส่วน

เครื่องจักรกล

ยานยนต์ อิเล็กทรอนิคส์

Page 24: Fuzzy AHP · 2016-01-25 · 2 วัตถุประสงค์ของงาน 1. ศึกษาการใช้กระบวนการตัดสินใจเชิงล

A = สวัสดกิาร A1 = เงนิเดือน

A2 = ต าแหน่งงานที่ต้องการ

A3 = วันหยุดของบริษัท

A4 = โบนัสประจ าปีของบริษัท

B = สถานประกอบการ B1 = สถานประกอบการมีความมัน่คงB2 = เพ่ือนร่วมงานB3 = สิ่งแวดล้อมภายในบริษัทB4 = ความเป็นอิสระในการท างานB5 = สถานท่ีตัง้ของนิคมอตุสาหกรรมB6 = สถานท่ีท างานใกล้บ้าน

วิธีการด าเนินการศึกษาเกณฑ์ในการตัดสินใจเลือกสถานประกอบการ

Page 25: Fuzzy AHP · 2016-01-25 · 2 วัตถุประสงค์ของงาน 1. ศึกษาการใช้กระบวนการตัดสินใจเชิงล

3 สร้างเมตริกซ์และให้คะแนนความสัมพันธ์

3.1 การคัดกรองทางเลือกและเกณฑ์

จากทางเลือกเกณฑ์และปัจจัยในการตัดสินใจเลือกสถานประกอบการที่เหมาะสม เพื่อให้ข้อมูลมีความชัดเจนกะทัดรัด และง่ายต่อการน าไปใช้ในขั้นตอนต่อไป จึงจะได้ท าการคัดกรองด้วยเทคนิคการตัดสินใจพื้นฐาน โดยจะประยุกต์ใช้เทคนิค Conjunctive Method ในการคัดกรองทางเลือกก่อนด าเนินการ สู่ขั้นตอนต่อไป

3.2 การให้ค่าน้ าหนักในแต่ละปัจจัย

ท าการปรึกษาและสอบถามรุ่นพี่ที่จบการศึกษาไปแล้วและเข้าท างานในสถานประกอบการต่างๆเพื่อจัดหมวดหมู่ และเป็นน้ าหนักในการค านวณ และการสอบถามโดยผู้วิจัยเอง ในการเก็บข้อมูลที่มีลักษณะเป็นการให้คะแนน ด้วยประสบการณ์องค์ความรู้ หรือจากความรู้สึก โดยให้ประเมินตั้งแต่ ต่ ามาก ต่ า ปานกลาง สูง และสูงมาก เป็น 5 ระดับ ซึ่งเป็นข้อมูลที่คลุมเครือหรือฟัซซี่ (Fuzzy) เพื่อเป็นข้อมูลในการแปลงสู่ค่าตัวเลข น ามาหาค่าน้ าหนัก และจัดอันดับปัจจัย

วิธีการด าเนินการศึกษา

Page 26: Fuzzy AHP · 2016-01-25 · 2 วัตถุประสงค์ของงาน 1. ศึกษาการใช้กระบวนการตัดสินใจเชิงล

3.3 การให้คะแนนในแต่ละเกณฑ์ของแต่ละทางเลือก

ในการประเมินคะแนนในแต่ละทางเลือก เพื่อให้ค่าระดับความสัมพันธ์หรือมีนัยส าคัญหรือเป็นผลต่อเกณฑ์อย่างไร โดยจะแบ่งระดับการประเมิน 5 ระดับคือ แย่มาก แย่ พอใช้ ดี และดีมาก โดยการปรึกษาและประชุมร่วมกันของกลุ่ม เพื่อจะได้ข้อมูลความสัมพันธ์ของทางเลือกในแต่ละเกณฑ์ แล้วประยุกต์เทคนิคฟัซซี่เพื่อแปลงข้อมูล เป็นค่าตัวเลขในที่สัดส่วนของข้อมูลที่เป็นข้อมูลตัวเลข จะน าข้อมูลที่ได้นักศึกษาสาขาวิศวกรรมอุตสาหการของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เขตพื้นที่เชียงราย เพื่อน ามาเติมในตารางเมตริกซ์ให้มีค่าความสัมพันธ์ของทางเลือกในแต่ละเกณฑ์ครบทุกตัว

วิธีการด าเนินการศึกษา

Page 27: Fuzzy AHP · 2016-01-25 · 2 วัตถุประสงค์ของงาน 1. ศึกษาการใช้กระบวนการตัดสินใจเชิงล

4 ค านวณค่าเมตริกซ์ จากเกณฑ์ที่ได้คัดเลือกมาน ามาเปรียบเทียบและวิเคราะห์ โดยใช้เทคนิคกระบวนการวิเคราะห์เชิง

ล าดับชั้นแบบฟัซซี่หรือ Fazzy AHP น ามาเติมในตารางเมตริกซ์ให้มีค่าความสัมพันธ์ของทางเลือกในแต่ละเกณฑ์ครบทุกตัว เพื่อหาทางเลือกที่เหมาะสมที่สุด แล้วจึงน าทางเลือกที่เหมาะสม เพื่อน าพิจารณาสถานประกอบการที่เหมาะสมส าหรับนักศึกษาสาขาวิศวกรรมอุตสาหการมาเป็นต้นแบบหรือแนวทางในการเลือกสถานประกอบการเข้าไปท างานของนักศึกษา5 วิเคราะห์และสรุปผล

หลังจากการวิเคราะห์หาล าดับความส าคัญตามทฤษฎี AHP และ FAHP แล้ว จะได้ค่า น้ าหนักของแต่ละปัจจัยหลัก และปัจจัยย่อยในแต่ละทฤษฎี น าค่าน้ าหนักที่ได้มาท าการ เปรียบเทียบล าดับความส าคัญ และสรุปผลการวิจัย6 จัดท ารูปเล่มรายงาน

น าปัญหาที่เกิดขึ้น ทฤษฎีการใช้กระบวนการล าดับชั้นเชิงวิเคราะห์ความคลุมเครือ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง วิธีการด าเนินงานและผลลัพธ์ มาจัดท าเป็นรูปเล่มโดยแบ่งออกเป็น 5 บทได้แก่ บทที่ 1 บทน า บทที่ 2 ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง บทที่ 3 วิธีการด าเนินงาน บทที่ 4 ผลการศึกษา และบทที่ 5 สรุปผลการศึกษา •

วิธีการด าเนินการศึกษา

Page 28: Fuzzy AHP · 2016-01-25 · 2 วัตถุประสงค์ของงาน 1. ศึกษาการใช้กระบวนการตัดสินใจเชิงล

ปนัดดา เย็นตระกูล (2546) ศึกษาเร่ืองการพฒันาระบบช่วยตดัสินใจเลือกนิคมอตุสาหกรรม. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบณัฑิต วิทยาศาสตร์มหาบณัฑิต กรุงเทพฯ:จฬุาลงกรณ์มหาวิทยาลยั

อรพินทร์ จีรวสัสกุล และ ธนญัญา วสศุรี (2549) การประยกุต์ใช้ AHP ในการประเมินผลด าเนินงานผู้ ให้บริการขนส่ง. ปริญญานิพนธ์ วิศวกรรมศาสตร์บณัฑิต กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลยัเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบรีุ

ชญานัน อารมณ์รัตน์ (2547) การวิเคราะห์ระบบคะแนนของเกณฑ์รางวลัคุณภาพแห่งชาติส าหรับอุตสาหกรรมการผลิต วิทยานิพนธ์ วิศวกรรมศาสตรมหาบณัฑิต (วศ.ม.) กรุงเทพฯ :จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั

สเุมศวร จนัทะ (2549) การประยกุต์ใช้กระบวนการ AHP และ Goal Programming เพ่ือ พยากรณ์การสัง่ซือ้วสัดอุปุกรณ์ในงานอตุสาหกรรม และการเลือก ผู้จดัหาสนิค้าท่ีเหมาะสม วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบณัฑิต วิศวกรรมศาสตร์บณัฑิต กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลยัเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

เศกสรรค์ ตัน้ตระกลู (2550)การประยกุต์ใช้เทคนิค AHP ในการประเมนิทางเลือกส าหรับการขนส่งผลิตภัณฑ์เหล็ก วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต กรุงเทพฯ :จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั

ปิติ ปิติเพิ่มพนู (2550) กระบวนการล าดบัชัน้เชิงวิเคราะห์ส าหรับการตดัสินใจมีรถขนส่งของตนเอง วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบณัฑิต วิศวกรรมศาสตร์บณัฑิต กรุงเทพฯ:จฬุาลงกรณ์มหาวิทยาลยั

บรรณานุกรม

Page 29: Fuzzy AHP · 2016-01-25 · 2 วัตถุประสงค์ของงาน 1. ศึกษาการใช้กระบวนการตัดสินใจเชิงล

เสริมวิทย์ วัชระไชยคุปต์ และ นางสาวพิราภรณ์ สวัสดิพรพัลลภ (2553) วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ศุภลักษณ์ ใจสูง (2555) วารสารบริหารธุรกิจ ปีที่ 35 ฉบับที่ 134 เมษายน-มิถุนายน 2555

ดร. เทิดธิดา ทิพย์รัตน์ สุจินตน์ จินาพันธุ์ และ อภิวิชญ์ พูลสง (2556) โครงการประชุมวิชาการ ประจ าปี 2556

นางสาวจฑุามาศ อินทร์แก้ว การวิเคราะห์ปัจจัยการเลือกท าเลที่ตั้งสาขา กรณีศึกษา หจก. เอสเอส ค้าไม้ จังหวัดสรุาษฎร์ธานี วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

บรรณานุกรม