Top Banner
บทที3 การจัดการใหอาหารโคนม (Feeding and Management of Dairy cattle) 1. ความตองการอาหารของโค การจัดการใหอาหารโคนมในปจจุบันมีอยู2แนวทางหลัก ซึ่งใชเปนหลักการในการคํานวณหาปริมาณความตองการ อาหารของโค ปริมาณการกิน ปริมาณการจายอาหาร และอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับอาหารคือ หลักการของ NRC (National Research Council)ซึ่งเปนระบบของประเทศสหรัฐอเมริกา และ ARC (Agricultural Research Council)ซึ่งเปนระบบของ ประเทศอังกฤษ ทั้งสองระบบตางคํานวณคาความตองการอาหารของโคไดดีใกลเคียงกัน นอกจากนั้นก็มีมาตราฐานอื่นๆอีกทีใชทางประเทศยุโรปแตในหนังสือเลมนีผูเขียนไดอางอิงระบบ NRCเปนหลัก ดังนั้นจะเห็นไดวาประเทศไทยเราควรอยางยิ่ง ที่จะตองสรางมาตราฐานอาหารโคนมไทย ซึ่งมีความสําคัญตอการพัฒนาพันธุโคนมและการจัดการฟารมเพราะโคนมของ ประเทศไทยยังมีความแตกตางกับตางประเทศอยูมากทั้งรูปรางและผลผลิต 2. ปริมาณสิ่งแหงที่กิน ปริมาณสิ่งแหงที่กิน (Dry matter intake, DMI) Volutary feed intake หมายถึงจํานวนอาหารที่ใหสัตวกินโดยสัตวสามารถเขากินอาหารใดอยางสะดวกและมี อาหารอยูตลอดเวลา ad libitum feeding หมายถึงการใหอาหารสัตวที่มีจํานวนของอาหารใหมากวาที่สัตวตองการอีกอยางนอย 10% และ เปนการใหอาหารรายวัน(อาหารใหมเขา อาหารเกาออก) การแสดงจํานวนอาหารกินในโคจะแสดงในรูปปริมาณสิ่งแหงหรือน้ําหนักแหง (dry matter, DM)ปริมาณสิ่งแหงจะ หมายถึง เนื้อสารของวัตถุดิบอาหารสัตวคิดที่ไมมีความชื้นอยูเลยซึ่งโคไดรับทั้งหมดในแตละวัน ปริมาณสิ่งแหงมีความสําคัญ ตอโค โดยเฉพาะโคที่ใหผลผลิตสูง หรือโคที่อยูในชวงแรกของการใหน้ํานม โคเหลานี้ตองการปริมาณอาหารที่มาก คุณภาพสูง ยอยงาย เพื่อการใหผลผลิตตามลักษณะทางพันธุกรรม ในทางตรงขามถาไดไมเพียงพอกับความตองการ การใหผล ผลิตและน้ําหนักตัวจะลดลง สวนโคที่อยูในระยะกลางและระยะปลายของการใหน้ํานม ก็จะใหอาหารที่มีระดับพลังงาน นอยลง ไมเชนนั้นก็จะทําใหโคอวนเกินไป และมีผลเสียตอการผสมพันธุและตั้งทอง ดังนั้นการดูแลจัดการเรื่องปริมาณสิ่ง แหงที่กินและระดับพลังงานที่ไดรับจึงมีความสําคัญมากปจจัยที่มีผลกระทบตอการกินสิ่งแหง มีปจจัยหลายอยางที่มีผลกระทบตอปริมาณการกินสิ่งแหง ซึ่งทําใหการคํานวณลําบาก แต NRC ไดทําสรุปไวใน ตารางผนวก 1 โดยเทียบกับกิโลกรัมน้ํานมมาตรฐานที4% FCM (fat corrected milk) ถาโคนมกินสิ่งแหงไดไมเพียงพอกับใน ตาราง ระดับพลังงานที่โคจะไดรับจะลดลง และไมเพียงพอตอความตองการ ผลคือโคจะน้ํานมและน้ําหนักลดลง ในทางตรง ขามถาโคกินสิ่งแหงไดมากกวาที่ตารางกําหนดโคมีแนวโนมอวนมาก และใหน้ํานมนอยเชนกัน จํานวนสิ่งแหงที่โคจะกิน ปรากฏในตารางจะลดลงประมาณ 18% ในระหวาง 3 สัปดาหแรกของการใหนม เนื่องจากโคระยะนี้จะมีความอยากอาหาร นอย ประกอบสุขภาพรางกายโคยังไมแข็งแรงจากการคลอดลูกใหม ในระหวางนีโคจะชดเชยการขาดพลังงานจากอาหาร โดยดึงเอาพลังงานจากไขมันที่สะสมไวในรางกายนํามาใชการ ผลิตน้ํานม และในกรณีที่ใหอาหารหมัก (silage) เปนแหลงอาหารหยาบหลัก ใหพิจารณาความชื้นรวมของสูตรอาหาร ถา
57

(Feeding and Management of Dairy cattle)¸šทที่ 3...67 บทท 3 การจดการให อาหารโคนม (Feeding and Management of Dairy cattle) 1. ความต

Jul 27, 2020

Download

Documents

dariahiddleston
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: (Feeding and Management of Dairy cattle)¸šทที่ 3...67 บทท 3 การจดการให อาหารโคนม (Feeding and Management of Dairy cattle) 1. ความต

67

บทที่ 3 การจัดการใหอาหารโคนม (Feeding and Management of Dairy cattle)

1. ความตองการอาหารของโค การจัดการใหอาหารโคนมในปจจุบันมีอยู2แนวทางหลัก ซึ่งใชเปนหลักการในการคํานวณหาปริมาณความตองการอาหารของโค ปริมาณการกิน ปริมาณการจายอาหาร และอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับอาหารคือ หลักการของ NRC (National Research Council)ซึ่งเปนระบบของประเทศสหรัฐอเมริกา และ ARC (Agricultural Research Council)ซึ่งเปนระบบของประเทศอังกฤษ ทั้งสองระบบตางคํานวณคาความตองการอาหารของโคไดดีใกลเคียงกัน นอกจากนั้นก็มีมาตราฐานอื่นๆอีกที่ใชทางประเทศยุโรปแตในหนังสือเลมนี้ ผูเขียนไดอางอิงระบบ NRCเปนหลัก ดังนั้นจะเห็นไดวาประเทศไทยเราควรอยางยิ่งที่จะตองสรางมาตราฐานอาหารโคนมไทย ซึ่งมีความสําคัญตอการพัฒนาพันธุโคนมและการจัดการฟารมเพราะโคนมของประเทศไทยยังมีความแตกตางกับตางประเทศอยูมากทั้งรูปรางและผลผลิต

2. ปริมาณสิ่งแหงท่ีกิน ปริมาณสิ่งแหงที่กิน (Dry matter intake, DMI) Volutary feed intake หมายถึงจํานวนอาหารที่ใหสัตวกินโดยสัตวสามารถเขากินอาหารใดอยางสะดวกและมีอาหารอยูตลอดเวลา ad libitum feeding หมายถึงการใหอาหารสัตวที่มีจํานวนของอาหารใหมากวาที่สัตวตองการอีกอยางนอย 10% และเปนการใหอาหารรายวัน(อาหารใหมเขา อาหารเกาออก)

การแสดงจํานวนอาหารกินในโคจะแสดงในรูปปริมาณสิ่งแหงหรือน้ําหนักแหง (dry matter, DM)ปริมาณสิ่งแหงจะหมายถึง เนื้อสารของวัตถุดิบอาหารสัตวคิดที่ไมมีความชื้นอยูเลยซึ่งโคไดรับทั้งหมดในแตละวัน ปริมาณสิ่งแหงมีความสําคัญตอโค โดยเฉพาะโคที่ใหผลผลิตสูง หรือโคที่อยูในชวงแรกของการใหน้ํานม โคเหลานี้ตองการปริมาณอาหารที่มาก คุณภาพสูง ยอยงาย เพื่อการใหผลผลิตตามลักษณะทางพันธุกรรม ในทางตรงขามถาไดไมเพียงพอกับความตองการ การใหผลผลิตและน้ําหนักตัวจะลดลง สวนโคที่อยูในระยะกลางและระยะปลายของการใหน้ํานม ก็จะใหอาหารที่มีระดับพลังงานนอยลง ไมเชนนั้นก็จะทําใหโคอวนเกินไป และมีผลเสียตอการผสมพันธุและตั้งทอง ดังนั้นการดูแลจัดการเรื่องปริมาณสิ่งแหงที่กินและระดับพลังงานที่ไดรับจึงมีความสําคัญมากปจจัยที่มีผลกระทบตอการกินสิ่งแหง มีปจจัยหลายอยางที่มีผลกระทบตอปริมาณการกินสิ่งแหง ซึ่งทําใหการคํานวณลําบาก แต NRC ไดทําสรุปไวในตารางผนวก 1 โดยเทียบกับกิโลกรัมน้ํานมมาตรฐานที่ 4% FCM (fat corrected milk) ถาโคนมกินสิ่งแหงไดไมเพียงพอกับใน ตาราง ระดับพลังงานที่โคจะไดรับจะลดลง และไมเพียงพอตอความตองการ ผลคือโคจะน้ํานมและน้ําหนักลดลง ในทางตรงขามถาโคกินสิ่งแหงไดมากกวาที่ตารางกําหนดโคมีแนวโนมอวนมาก และใหน้ํานมนอยเชนกัน จํานวนสิ่งแหงที่โคจะกินปรากฏในตารางจะลดลงประมาณ 18% ในระหวาง 3 สัปดาหแรกของการใหนม เนื่องจากโคระยะนี้จะมีความอยากอาหารนอย ประกอบสุขภาพรางกายโคยังไมแข็งแรงจากการคลอดลูกใหม ในระหวางนี้ โคจะชดเชยการขาดพลังงานจากอาหาร โดยดึงเอาพลังงานจากไขมันที่สะสมไวในรางกายนํามาใชการผลิตน้ํานม และในกรณีที่ใหอาหารหมัก (silage) เปนแหลงอาหารหยาบหลัก ใหพิจารณาความชื้นรวมของสูตรอาหาร ถา

Page 2: (Feeding and Management of Dairy cattle)¸šทที่ 3...67 บทท 3 การจดการให อาหารโคนม (Feeding and Management of Dairy cattle) 1. ความต

68

ความชื้นรวมของสูตรอาหารเกิน 50% โคจะกินสิ่งแหงลดลง 0.02% ของน้ําหนักตัวในทุก 1% ความชื้นที่เกิน 50% ขึ้นไป เพื่อแกไขปญหานี้เราตองเพิ่มความเขมขนของระดับพลังงานในสูตรอาหารใหสูงขึ้น โดยทั่วไปมีสูตรการคํานวณปริมาณความตองการสิ่งแหงในโคระยะกลาง-ปลายการใหน้ํานมอยางงาย นอกเหนือจากที่กลาวขางบน คือ DMI (กก./day) = 0.025 BW (กก.) + 0.1 (กก..milk) DMI (600 กก., 20 กก. นม) = [0.025(600)] + [0.1x20] = 17 กก..DMI แสดงวาโคน้ําหนัก 600 กก. ใหน้ํานม 20 กก. ตองการกินสิ่งแหง 17 กก./วัน

3. สูตรอาหาร การทําสูตรอาหาร(Ration)และการผสมอาหารตามสูตร ไมใชเรื่องยาก และก็ไมใชการเอามาผสมคุกกันเทานั้น การทําอาหารใหโคเปนเรื่องของศาสตรและศิลปในตัวเอง การทําสูตรอาหารใหโคจํานวนนอยตัว หรือฝูงโคขนาดกลางเปนการทําไดงายเห็นผลชัดเจน แตการทําอาหารใหโคฝูงใหญจํานวนมาก เปนเรื่องที่ตองพิถีพิถันมาก เพราะการเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กนอย จะมีผลกระทบทั้งตอโค และตนทุนการผลิต รวมถึงตนทุนตอสูตรอาหาร ปจจุบันระบบคอมพิวเตอรไดเขามามีสวนชวยทําใหงานดานคํานวณสูตรอาหารเปนเรื่องงาย ดังนั้น ศาสตรของการทําสูตรอาหารจึงเปนที่เขาใจไดงาย คงเหลือแตศิลปะในการออกสูตรอาหารที่จะตองใชประสบการณของผูเลี้ยงในการปรับปรุงสูตรอาหารใหเหมาะสมกับโคและสภาพการผลิตของฟารมตนเอง การเลี้ยงโคจํานวนนอยตัว ผูเลี้ยงอาจไมตองมาทําสูตรอาหารเอง อาจใชอาหารสําเร็จรูปของบริษัทมาใช แตการเลี้ยงโคนมตั้งแตฝูงขนาดปานกลางขึ้นไป ผูเลี้ยงอาจจําเปนตองหันมาทําความเขาใจเรื่องสูตรอาหาร หากตองการลดตนทุนการผลิตภายในฟารม และเพื่อใหสูตรอาหารมีความเหมาะสม เฉพาะเจาะจงกับโคในฟารม เชน สูตรอาหารสําหรับโครีดนม สูตรอาหารโคพักรีด สูตรอาหารโครุน สูตรอาหารลูกโค เปนตน แตผูเลี้ยงตองเขาใจวา “สูตรอาหารที่ดีที่สุดบนกระดาษ อาจไมใชอาหารที่ดีที่สุดสําหรับโค ถาโคไมกิน” (ดูเรื่องการคํานวณ)

4. การใหอาหารและการจัดการในโครีดนม ความเครียดเพียงเล็กนอยจะมีผลกระทบตอการผลิตน้ํานมไดอยางมาก ในแตละแกลลอนของน้ํานม ตองใชการ หมุนเวียนของเลือดผานเขาไปในเตานมถึง 400-500 แกลลอนของเลือด ดังนั้นถาโคผลิตน้ํานม 10 แกลลอน (40 ลิตร) ตอวัน จะมีการหมุนเวียนของเลือดภายในเตานมถึง 10-20 ตัน/วัน และใน 40 ลิตรน้ํานมจะประกอบดวยไขมัน 1.35 กก. โปรตีนนมกวา 1.4 กก. น้ําตาลแล็คโตสกวา 1.8 กก. และแรธาตุปลีกยอย 0.23 กก. โภชนะที่ออกมาในน้ํานมเหลานี้จะตองไดรับการเพิ่มเติมในสูตรอาหารใหมากกวาที่ออกมา เพราะโภชนะที่โคกินเขาไปตองสูญเสียออกไปไดหลายทาง นอกเหนือที่จะผานมาในนมอยางเดียว สูตรอาหารที่ใหโคกินจึงตองมีความครบถวนตามความตองการของโคและ margin of safety และโภชนะหลักที่ตองดูจัดใหมีพอเพียงคือ พลังงาน โปรตีน เยื่อใย สัดสวนอาหารหยาบ เกลือ แคลเซียม ฟอสฟอรัส และไวตามิน A (หรือ carotene) ถากลุมอาหารขางบนครบถวนในสูตรอาหาร โภชนะรองตัวอื่นๆ ที่ไมไดกลาวมักจะมีเพียงพอตามไปดวย สวนลักษณะทางกายภาพที่ตองพิจารณาควบคูคือ ความนากินของอาหาร ขนาดของอาหาร สัดสวนอาหารหยาบตออาหารขน ปริมาณการกินอาหารของโค ความถี่ในการจายอาหาร ความสม่ําเสมอและความตรงเวลาในการจายอาหาร มีความสําคัญมากในโครีดนม เพราะหมายถึงความสมดุลภายในกระเพาะหมักจะไมเปลี่ยนแปลง ทําใหโคเกิด Stress สุดทาย

Page 3: (Feeding and Management of Dairy cattle)¸šทที่ 3...67 บทท 3 การจดการให อาหารโคนม (Feeding and Management of Dairy cattle) 1. ความต

69

คือปริมาณสิ่งแหงที่โคไดรับหรือกินเขาไปในแตละวัน โคตองกินไดปริมาณสิ่งแหงสูงสุดจากสูตรอาหารที่ดีสุด โคจึงจะใหปริมาณน้ํานมสูงตามศักยภาพ

4.1 หลักการใหอาหารที่ด ี นอกเหนือจากเรื่องของปริมาณสิ่งแหงที่โคกินแลว การใหอาหารที่ดีผูเลี้ยงตองเขาใจ 2 เรื่อง คือ จํานวนและลักษณะของอาหารหยาบกับจํานวนและลักษณะของอาหารขน ถาเขาใจใน 2 ประเด็นเปนอยางดี จะทําใหการจัดจายอาหารถูกตองขึ้น ก) จํานวนและลักษณะของอาหารหยาบ (Forage feed) หลักการที่ตองคํานึงในการจายอาหารหยาบทั้งในรูปสด แหง หรือหมักก็ตามคือ 1. การคํานวณปริมาณการกินอาหารจะตองคํานวณในรูปน้ําหนักแหงของอาหาร (Dry matter) สภาพความชื้น 0% เพราะอาหารโคมีความแตกตางกันในเรื่องความชื้นมากตั้งแตช้ืน 5%-90% ดังนั้นจึงตองเปรียบเทียบในรูปน้ําหนักแหง (DM) 2. ปริมาณอาหารหยาบที่กิน สัดสวนของอาหารหยาบในอาหารสูตรรวม จะตองมีอาหารหยาบขั้นตํ่า 40% ของปริมาณสิ่งแหงที่โคกินเขาไปตอวัน 3. การกินหญาแหง (Hay) ถามีหญาแหงคุณภาพดี (ตัดในระยะกอนออกดอก) โคตองการ 3% ของน้ําหนักตัว (ใหอยางเดียว) 4) หญาหมัก (Silage) อาหารหยาบหมัก (ขึ้นอยูกับความชื้นดวย) ปกติอาหารหยาบหมัก 2.5-4.5 กก. จะเทากับหญาแหง 1 กก. (ถาใชทดแทนกัน) การใหอาหารหมักมีโอกาสที่โคจะกินตํ่ากวาตามตองการ เพราะปริมาณความชื้นในอาหารมีมาก ปกติหญาหมักจะมีความชื้น 70-75% ขาวโพดหมักมีความชื้น 65-70% ในขณะที่หญาแหงจะมีความชื้น 10-15% 5) อัตราสวนของหญาแหงตอเมล็ดธัญพืช (เมล็ดขาวโพด) หญาแหงคุณภาพดี 1.51 กก. จะเทียบเทาพลังงานจากเมล็ดธัญพืช 1 กก. 6) หญาสด (Pasture) โคจะกินหญาสด 45-90 กก./ตัว/วัน (ขึ้นกับน้ําหนักตัวและผลผลิตนม) ในขณะที่หญาสดจะมีความชื้น 70-85% นั่นแสดงวาโคจะไดรับสิ่งแหง 6.8-27 กก./วัน 7) R:C ratio อัตราสวนของอาหารหยาบ (Roughage,R) ตออาหารขน (Concentrate,C) ถาคุณภาพหญาสดหรือแหลงอาหารหยาบมีคุณภาพสูง ปริมาณอาหารขนก็ควรลดนอยลง แตโดยทั่วไปจะมีขอแนะนําอัตราสวน (100%) คือ กลุมโค R : C - โคใหนมชวงแรก (ใหผลผลิตสูง) 40 : 60 - โคใหน้ํานมปานกลาง (ระยะกลางการใหนม) 50 : 50 - โคใหน้ํานมนอย (โคทั่วไป, ระยะปลายการใหนม) 60 : 40 ข) จํานวนและลักษณะของอาหารขน (Concentrate หรือ Grain) การใหอาหารขนอาจมีความแตกตางกันอยูบาง ในบางประเทศที่มีคุณภาพอาหารหยาบดี เขาจะเสริมอาหารเปนเมล็ดธัญพืช (Grain) เชน เมล็ดขาวโพด, wheat ก็เพียงพอ ถือเปนการเสริมแหลงงานใหแกโคนม แตบางประเทศ เชน ในประเทศไทย ซึ่งมีคุณภาพของอาหารหยาบคุณภาพปานกลาง การเสริมเฉพาะเมล็ดธัญพืชอยางเดียวจะไมพอเพียง เราจึงตองยังจําเปนเสริมในรูปอาหารขน (concentrate) ซึ่งประกอบไปดวยแหลงอาหารพลังงานกับแหลงอาหารโปรตีนเปนหลัก จึงจะพอสําหรับโคนม ตาราง 3.1

Page 4: (Feeding and Management of Dairy cattle)¸šทที่ 3...67 บทท 3 การจดการให อาหารโคนม (Feeding and Management of Dairy cattle) 1. ความต

70

1) ปริมาณอาหารขน อาหารขนโดยทั่วไปจะใชไมเกิน 60% ของปริมาณสิ่งแหงที่โคกินทั้งหมดตอวัน หรือในอัตราไมเกิน 2.3% ของน้ําหนักตัว 2) ปริมาณของชนิดของโปรตีน การใหอาหารโปรตีนจะเปนไปตามปริมาณความตองการของโคนม (เชน 19% Crude protein ในโคชวงแรกการใหนม) อาหารโปรตีนควรมีลักษณะมีใหเพียงพอแกจุลินทรียในกระเพาะหมัก สวนที่เหลือควรผานเขาไปยอยในกระเพาะจริงและสวนของลําไส ดังนั้น จึงตองมี rumen degradable protein ตํ่า และมี undegradable protein สูง และจํากัดการใชยูเรียในอาหาร โคในชวงแรกการใหนมและชวงกลางการใหนม ใหยูเรียไมเกิน 9 กรัม/วัน/ตัว ในชวงปลายการใหนมใหยูเรียไมเกิน 18 กรัม/วัน/ตัว 3) ไขมัน การเสริมไขมันในสูตรอาหาร ใหพิจารณาวาโคใหน้ํานมจะกินไขมันได 0.45-0.7 กก./ตัว/วัน หรือใชไขมันในสูตรอาหารขนไมเกิน 6% หรือใชไขมันในสูตรอาหารรวมไมเกิน 3% ไขมันจากแหลงเมล็ดน้ํามัน (เมล็ดฝาย เมล็ดถั่วเหลือง เมล็ดทานตะวัน) เปนแหลงที่ควรนํามาใชในการเพิ่มไขมันในสูตรอาหาร และในทุกครั้งที่เพิ่มไขมัน ควรเพิ่มระดับแคลเซี่ยมเปน 0.9-1% และแม็กนีเซี่ยมเปน 0.3% และ ADF เปน 20% ในอาหารสูตรรวม 4) เกลือ ปริมาณเกลือในอาหารขนควรมีประมาณ 1% หรือในอาหารสูตรรวมมี 0.5% หรือใหโคไดรับเกลือวันละ 60-90 กรัม/ตัว ก็จะไดรับปริมาณของโซเดียมและคลอไรดเพียงพอ 5) แคลเซียมและฟอสฟอรัส Ca และ P ควรมีในอาหารขนในระดับ 1-2% สวนแรธาตุปลีกยอยอื่นอาจเสริมในรูปแรธาตุกอนใหโคกินอิสระ 6) ไวตามิน ที่พิจารณาคือ A, D, E โดยพิจารณาใหตามชวงการใหผลผลิตของโค หรือกรณีที่โคอยูในภาวะความเครียดสูง

4.2 ระบบการใหอาหาร 4.2.1 ระยะการใหผลผลิต (Production phase) การใหอาหารใหสอดคลองกับความตองการโค จะตองพิจารณาระยะการใหผลผลิตของโคดวย เราจึงสามารถคํานวณสูตรอาหาร และจายอาหารไดเพียงพอ ในโครีดนมและพักรีดนม โดยทั่วไปในอาจแบงชวงของการใหผลผลิตออกเปน3 ระยะ(รูปที่3.1)คือชวงแรกของการใหน้ํานม 0-70 วัน(early lactation)หรือชวง 10สัปดาหแรกจะเปนชวงใหน้ํานมสูงสุด ชวงที่สองชวงกลางการใหน้ํานม(mid-lactation)หรือชวง10สัปดาหที่สอง เปนชวงกินอาหารไดสูงสุด และชวงที่สามชวงปลายการใหน้ํานม(mid-late lactation) หรือ140-305วัน โคจะเริ่มใหน้ํานมลดลงตามลําดับไปจนถึงระยะพักรีดน้ํานม ชวงที่สี่ชวงพักการรีดน้ํานมจะใชเวลาประมาณ60วันกอนที่โคจะคลอดลูกและใหน้ํานมในรอบใหม (Ensminger, 1990) แตอยางไรในสภาพการผลิตโคนมในเมืองไทยผูเขียนอยากแนะนําใหมีการแบงระยะการใหผลผลิตออกเปน4 ระยะ(อานเพิ่มเรื่องเทคนิคและขั้นตอนการจัดการโคนมในแตละอายุ ในสวนความตองการอาหารและการใหอาหารสําหรับโคใหนม)เพื่อประโยชนในการจัดการดูแลไดรวดเร็วขึ้นเพราะปจจัยจากสภาพอากาศรอนทําใหโคนมมีการปรับตัวในเรื่องระยะเวลาการใหผลผลิต โดยเพิ่มระยะการรักษาระดับน้ํานมหรือชวง60-100วัน ใหมีการดูแลโคนมเปนการพิเศษ เนื่องจากมีแนวโนมวาโคจะใหน้ํานมถึงจุดสูงสุดเร็วและมีการลดการผลิตน้ํานมเร็วเชนกัน ดังนั้นการดูโคในระยะกลางการใหน้ํานมจึงมีความสําคัญอยางยิ่ง

Page 5: (Feeding and Management of Dairy cattle)¸šทที่ 3...67 บทท 3 การจดการให อาหารโคนม (Feeding and Management of Dairy cattle) 1. ความต

71

รูปที่3. 1 ความสัมพันธของการใหน้ํานม น้ําหนักรางกาย ปริมาณการกินอาหารในระยะตางๆของโคนม ที่มา: Ensminger(1990) 4.2.2 รูปแบบการใหอาหาร 1) การใหอาหารแบบนํา (Challenge feeding/Lead feeding) เปนรูปแบบใหในโคที่อยูในชวงแรกของการใหน้ํานมหรือในโคที่ใหผลผลิตสูง เพื่อเปนการกระตุนใหโคใหน้ํานมมากสุดเมื่อถึงจุดสูงสุดของการใหนม (ณ 70 วันแรก) ทั้งนี้เพราะมีความสัมพันธชัดเจนระหวางจุดสูงสุดของน้ํานมกับผลผลิตนมรวมตลอดชวงการใหน้ํานม คือ ถาขึ้น สูงสุดปริมาณน้ํานมรวมก็จะไดมาก พบวา ในทุกๆ 5 ปอนด (2.27 กก.) ของน้ํานม ณ จุดสูงสุดที่เพิ่มขึ้น จะเปนผลใหนมรวมตลอดชวงการใหนมเพิ่มขึ้น 1,000 ปอนด (453 กก.) การใหอาหารแบบนํา คือ การเพิ่มความถี่ในการใหอาหารตอวันใหมากขึ้น (วันละ 4-6 ครั้ง/วัน) และเพิ่มความเขมขนของโภชนะในสูตรอาหารใหมีความเขมขนมากขึ้น เพื่อเปนการ กระตุนใหโคไดปรับตัวตอการใหน้ํานมที่มาก

Page 6: (Feeding and Management of Dairy cattle)¸šทที่ 3...67 บทท 3 การจดการให อาหารโคนม (Feeding and Management of Dairy cattle) 1. ความต

72

หลังจากจุดสูงสุดของการใหน้ํานมไปแลว ความถี่ในการใหอาหาร และความเขมขนของโภชนะควรเปนไปตามมาตรฐานกําหนด ซึ่งขึ้นอยูกับน้ําหนักตัว, ผลผลิต %ไขมันนม 2) Group Feeding การใหอาหารรายตัวเปนเรื่องยากและเปลืองแรงงานมาก ยกเวนการใชเครื่องคอมพิวเตอรและเครื่องจายอาหารสมัยใหมเขาชวยเหลือในกรณีที่มีโคเปนจํานวนมาก ดังนั้นทางแกปญหาเพื่อไมตองลงทุนเรื่องเครื่องจายอาหารมาก และยังคงมีประสิทธิภาพในการจายคือการจายอาหารแบบกลุม โดยการจัดกลุมโคที่มีผลผลิต และชวงอายุการใหน้ํานมใกลกันมาอยูดวยกัน และจายอาหารเปนกลุมๆ ตามความตองการรวมของกลุม เมื่อผูเลี้ยงจะจัดการจายอาหารแบบกลุม จํานวนกลุมและจํานวนโคตอกลุมเปนเรื่องที่ตองพิจารณาโดยดูจาก 1) ขนาดของฝูง 2) รูปแบบและตนทุนของอาหาร (ถามีหลายสูตร) 3) รูปแบบของโรงเรือน 4) รูปแบบของการจายอาหาร TMR หรือแบบแยกสวน 5) ระบบการรีดนม 6) สภาพเศรษฐกิจและสิ่งแวดลอมฟารม เชน เครื่องจักร, แรงงาน ในฝูงขนาดใหญเชน ขนาดฝูง 250 ตัวรีดนม มักจะแบงกันออกเปน 5 กลุม คือ (1) กลุมโคใหผลผลิตสูง (2) กลุมโคใหผลผลิตปานกลาง (3) กลุมโคใหผลผลิตตํ่า (4) กลุมโคสาวทองแรก (5) กลุมโคปวยเตานมอักเสบ ทั้งนี้ไมรวมกลุมโคที่ไมไดใหผลผลิตน้ํานม คือ กลุมโคพักรีดนม กลุมโครอคลอด กลุมโคทอง กลุมโครุน กลุมลูกโค ซึ่งปกติผูเลี้ยงจะเลี้ยงแยกกลุมกันอยูแลว สําหรับกลุมโครีดนมทั้ง 5 กลุมนั้น หากฝูงโคขนาดใหญและสภาพของโรงเรือนเอื้ออํานวยการแบงกลุมใหมากกวานั้นเปนเรื่องที่ดี จะทําใหการจายอาหาร ไดมีประสิทธิภาพและตรงตามความตองการของโคสวนจํานวนโคตอกลุม เมื่อพิจารณาถึงพฤติกรรมทางสังคมของโคแลวควรมีไมเกิน 100 ตัว/กลุม แตหากเปนไปได ควรอยูในอัตรา 50 ตัว/กลุม จะทําใหการจําแนกโคและการตรวจสอบความผิดปกติของโคทําใหงายขึ้น และเมื่อจัดกลุมแลว พยายามอยายายโคบอย จะทําใหโคตองปรับตัวอยูตลอดเวลา ทําใหมีปญหาน้ําหนักลดต่ํา การใหอาหารในโคกลุมใหผลผลิตสูง ควรจะเปนอาหารที่ดีสุดในฟารม ทั้งในแงคุณภาพและปริมาณ รวมถึงความใหมสด และเวลาที่ใหควรเปนกลุมแรกที่ใหอาหาร ในโคกลุมใหผลผลิตปานกลางและต่ํา จะเปนกลุมที่เราลดระดับเขมขนของโภชนะลง เพื่อประหยัดคาใชจาย และตนทุนในการผลิตน้ํานมตอหนวย อยางไรก็ตามโคในทุกกลุมไมไดหมายความวาเมื่อใหผลผลิตตํ่าแลว จะใหกินอาหารเศษเหลือ เพราะจะมีผลตอการใหผลผลิตในชวงฤดูกาลถัดไป แตอยางไรก็ตามโคที่อยูในกลุมใหผลผลิตตํ่า ใหผูเลี้ยงระมัดระวังโคอวนเพราะโคในกลุมนี้จะกินอาหารและอวนไดงาย เราตองควบคุมน้ําหนักรางกายโค สวนโคในกลุมโคสาวทองแรก เราแยกกลุมออกมาเพราะโคจะมีรูปรางขนาดเล็กกวาโคโตเต็มที่ และถาปลอยใหอยูรวมกับโคโตจะแยงกินอาหารสูโคโตไมได อีกประการโคทองแรกกลุมนี้จะตองกินอาหารเพื่อการใหนม และเพื่อการเจริญเติบโตขึ้นอีก ดังนั้นความเขมขนของโภชนะจะตองไดรับเพิ่มขึ้น 20% ของโคโตไดรับสูตรอาหารตัวอยางสําหรับโคในแตละกลุมดูตามตาราง

4.3 ลําดับการจายอาหารและความถี่ในการจายอาหาร ปกติเมื่อเราแบงกลุมโครีดนมแลว เรามักกําหนดความถี่และลําดับการจายอาหาร เปนในรูปแบบตารางการจายอาหาร ความถี่ในการจายอาหารยิ่งมากเทาใดยิ่งเปนผลดีตอโคมาก โดยเฉพาะในโคที่ใหผลผลิตสูงๆ เพราะจะทําใหสมดุล

Page 7: (Feeding and Management of Dairy cattle)¸šทที่ 3...67 บทท 3 การจดการให อาหารโคนม (Feeding and Management of Dairy cattle) 1. ความต

73

ของกระเพาะหมักไมมี Stress จากอาหารที่กินเขาไปครั้งละมากๆ และชนิดของอาหารที่แตกตางกันมาก ในกรณีที่จายอาหารสูตรรวม TMR ควรแบงจายอยางนอย 4 ครั้ง/วัน (เชา 2, บาย 2) โดยมีชวงหางที่ใกลเคียงกัน เชนในชวงกอน-หลังรีดน้ํานม สวนลําดับในการจายอาหาร จะตองพิจารณาในกรณีที่เราใหอาหารโคแบบแยกสวน อาหารหยาบกับอาหารขนใหคนละครั้ง 1) ถากรณีเราจายอาหารมีความถี่ 4 ครั้ง/วัน นั่นหมายถึงวา เราตองจายอาหารหยาบและอาหารขนอยางละ 4 ครั้ง/วันดวย 2) เราตองคํานวณแบงจายอาหารหยาบกับอาหารขนวาในแตละครั้งจะตองใหโคไดรับปริมาณอยางละเทาใด เชน ใหหญาสด 24 กก./ตัว/วัน แบงจาย 4 ครั้งๆ ละ 6 กก./ตัว สวนอาหารขนใหกิน 12 กก./ตัว/วัน แบงจาย 4 ครั้งๆ ละ 3 กก./ตัว 3) มื้อแรกของวัน (03.00-04.00 น.) ควรเริ่มดวยการจายอาหารหยาบ (หญาสด) กอน เพื่อเปนการกระตุนการทํางานของกระเพาะหมัก หากเริ่มดวยอาหารขนกอน โอกาสที่โคบางตัวจะกินเขาไปมาก และเกิดโรคทองอืดตายก็เปนไปไดมาก และยังเปนการทําใหกระเพาะหมักมี Stress จากภาวะความเปนกรดสูงโดยไมจําเปน ถัดจากจายอาหารหยาบแลว เราจึงจายอาหารขนเปนลําดับตอมา และใหกลับมาจายอาหารหยาบ สลับกับอาหารขนอยางเปนจังหวะ ตามตารางเวลาและความถี่ที่กําหนด

4.4 การจัดการรางอาหาร โครีดนมสวนใหญจะเลี้ยงอยูในสภาพขังภายในโรงเรือน ดังนั้นผูเลี้ยงตองเอาใจใสในเรื่องที่อยูอาศัยของโคตองอยูในที่แหง สวนรางอาหารจะตองมีการทําความสะอาดอยูเสมอ 1) กําหนดเวลาในการทําความสะอาดรางอาหาร ขจัดอาหารเกาที่ติดคางในรางอาหารออก เพราะเปนตนเหตุของอาหารเหม็นหืน และเชื้อราสะสมอยู อาจทําใหโคไดรับอันตรายจากเชื้ออัลฟาท็อกซินไดงาย 2) ความถี่ในการทําความสะอาด ตองถี่ขึ้นในกรณีใหอาหารหมัก 3) ควรมีการขัดหรือจําแนกเศษอาหารที่โคไมแลวออกจากรางอาหาร ไมควรใหเหลือปะปนกับอาหารดีหรืออาหารใหใหมจะทําใหความนากินของอาหารใหมลดลง การลดความเครียดในโครีดนม ภาวะความเครียดอาจเกิดจากหลายสาเหตุ ทั้งปจจัยภายในตัวโคและสภาพสิ่งแวดลอม และการจัดการ การลดความเครียดในโคที่อยูในชวงการใหน้ํานม กระทําไดหลายทาง 1) การลดอุณหภูมิภายในตัวโค อุณหภูมิภายในตัวโคเกิดได 2 ทาง คือ ความรอนจากการกินอาหาร (และกิจกรรมของโค) และความรอนจากการเผาผลาญสารอาหารภายในรางกาย การลดความเครียดนี้ทําโดยการใหพัดลมติดตั้งในโรงเรือนเพื่อเพิ่มการระบายอากาศภายในโรงเรือนรอบๆ ตัวโค ทําใหโคอยูสบายขึ้น และการใหสเปรละอองน้ํา แตการใหละอองน้ํา ควรระวังการใหมากจนเกินไป จะกอใหเกิดภาวะความชื้นสูงเกินไป โคจะเจ็บปวยและติดเชื้อไดงายโดยเฉพาะโรคเตานมอักเสบ และกีบออน 2) ที่นอนโค ความสะอาดของโรงเรือนมีความสําคัญนอยกวา โรงเรือนที่แหงและมีที่นอนแหง การจัดใหโคไดนอนในพื้นดินทรายจะดีที่สุด รองมาก็เปนพวกเศษขี้เลื่อย, ฟาง, พ้ืนดินเหนียวทั่วไป พ้ืนดินทรายจะเย็นสบายและดูดซับความชื้นไดดี ผูเลี้ยงตองทําพื้นโรงเรือนใหอยูในสภาพแหงไดกอนเปนอันดับแรก

Page 8: (Feeding and Management of Dairy cattle)¸šทที่ 3...67 บทท 3 การจดการให อาหารโคนม (Feeding and Management of Dairy cattle) 1. ความต

74

3) ซองนอน โคที่ใหผลผลิตสูง ตองการความอิสระ และลดปญหาภาวะสังคมของโค การจัดการใหโคมีซองนอนเฉพาะตัว จะเปนรูปแบบที่เหมาะสมที่สุด โคจะมีความเครียดจากการแยง/เปลี่ยนที่นอน ลดนอยลง เพราะโคทุกตัวจะมีที่นอนของตนเอง ซองนอนอาจทําเปนซองเหล็กหรือซองไมก็ได การลงทุนสูงในครั้งแรก แตคุมคาในการจัดการ ในกรณีที่ไมสามารถจัดหาซองนอนเดี่ยวได ควรจัดแบงกลุมใหมีขนาดจํานวนโคตอกลุม ใหมีนอยตัว ปญหาการแกงแยงจะลดลง 4) รมเงา โครีดนมที่อยูในโรงเรือนไมไดตองการรมเงาเฉพาะจากหลังคาของโรงเรือนเทานั้น เพราะประเทศไทยอากาศรอนมากในเกือบทุกฤดู การเพิ่มรมเงาโดยตาขายดําใหครอบคลุมพื้นที่โคอยูเปนสิ่งควรกระทํา เพื่อลดปริมาณแสงแดดแตยังคงมีการหมุนเวียนของอากาศไดดี พ้ืนที่รมเงาควรมีอยางนอย 2 เทาของจํานวนโค ณ บริเวณที่พักนอนของโค 5) การหมุนเวียนของอากาศ ควรออกแบบโรงเรือนใหมีลักษณะทรงสูง อากาศถายเทไดสะดวก และสามารถปองกันน้ําฝนสาดเขาไปเปยกในที่นอนโคได 6) ปริมาณอาหารที่จาย โคจะกินอาหารไดมากในชวงหลังรีดนม เราจึงควรเพิ่มสัดสวนทั้งอาหารหยาบและอาหารขนจายใหมากขึ้นกวาปกติ ในชั่วโมงหลังรีดนม โคจะไดกินอาหารอยางสบาย และไมมีความเครียดจากการแยงอาหาร 7) อาหารเหลือ ปริมาณอาหารที่โคกินไดในแตละวัน หมายถึง (อาหารที่เราจายทั้งวัน) - (อาหารเหลือ) ดังนั้น ทุกครั้งที่จายอาหารจะตองมีการสุมตรวจชั่งน้ําหนักทั้งอาหารที่ใหและอาหารเศษเหลือจากโรงเรือน เราจึงควบคุมปริมาณการกินอาหารของโคไดถูกตอง

4.5 การจัดการอาหารหยาบสําหรับโครีดนม เนื่องจากประเทศไทยอยูในเขตรอนช้ืน คุณภาพอาหารหยาบคือแปลงหญา หรือแปลงพืชอาหารสัตว จะมีคุณภาพไมสูงมากนัก แตเรายังมีพ้ืนที่มาก และราคาของพื้นที่ยังอยูในราคาที่ไมแพง ถึงกับจะทําใหตนทุนการทําแปลงพืชอาหารสัตว หรือตนทุนพืชอาหารสัตวแพงมาก ดังนั้นจึงยังปรากฏเห็นการเลี้ยงโครีดนมอยูบนแปลงหญาอยูทั่วไป ตราบใดที่ราคาที่แพง การเลี้ยงจึงจะใชระบบที่เขมขน (กักขังในโรงเรือน) กันมากขึ้น จากเรื่องของอาหารหยาบที่เราทราบมาแลวในบทกอน ทําใหผูเลี้ยงตองเขาใจอยูเสมอวา โคนมเปนสัตวที่เปลี่ยนโปรตีนและคารโบไฮเดรตคุณภาพต่ํา เปนโปรตีนและคารโบไฮเดรตคุณภาพสูงได และโคที่ใหผลผลิตสูงตองการคุณภาพหญาหรือพืชอาหารสัตวที่มีคุณภาพสูงยอยงายและสดใหม ผูเลี้ยงตองคํานวณดูตนทุนการผลิตพืชอาหารสัตวกับตนทุนการเสริมอาหารจากอาหารขน วาอยางใดใหผลคุมคาทางเศรษฐกิจมากกวากันในแงของการปฏิบัติ โคนมตองการอาหารหยาบสดใหม ดังนั้นผูเลี้ยงตองวางแผนการปลูกพืชอาหารสัตวใหมีอาหารหยาบสดอยูตลอดเวลา ตองจัดการวาฤดูกาลใดจะปลูกอะไรอยางไร เชน ผูเลี้ยงอาจเริ่มตนคํานวณดูวาใน 1 ป ปริมาณอาหารหยาบตองการใชเทาไร และจะไดจากแหลงใดบาง สวนใหญคงเริ่มจากในฤดูฝน ผูเลี้ยงตองทราบวามีแปลงหญาอยูเทาใด และจะเปนหญาสดในฤดูฝนเทาใด จะเหลือทําหญาหมักไดเทาใด (หักสูญเสียแลว) และทําหญาแหงอีกเทาใด (ผูเลี้ยงควรทําหญาหมักจะเหมาะกับการเลี้ยงโคใหผลผลิตสูงไดดีกวาการทําหญาแหง เพราะคุณภาพการทําหญาแหงตํ่า) จากฤดูฝนตอฤดูหนาว แปลงอาหารสัตวจะยังคงเขียวอยูสามารถตัดสดใหโคไดกินได แตผูเลี้ยงตองวางแผนปลูกอะไรเสริม หรือตองมีการใหน้ํา (สปริงเกอร) เพื่อใหมีหญาเขียวตลอดเวลา พอถึงปลายฤดูหนาวตอฤดูรอน ผูเลี้ยงสวนใหญมักประสบปญหาขาดแคลนหญาเขียว และปริมาณอาหารหยาบมีไมเพียงพอ (หากวางแผนไมดี) ซึ่งจะทําใหโคทั้งฟารมไดรับผลกระทบ และผลจะตอเนื่องไปถึงฤดูกาลใหนมในปถัดไป

Page 9: (Feeding and Management of Dairy cattle)¸šทที่ 3...67 บทท 3 การจดการให อาหารโคนม (Feeding and Management of Dairy cattle) 1. ความต

75

ตัวอยางของการวางแผน คือ สมมติฟารมมีโคนม 100 ตัว และมีแปลงหญาอยู 100 ไร จะตองวางแผนอาหารสัตวอยางไร 1) โค 100 ตัว ตองการหญาสดวันละ 2.5 ตัน ใน 1 ป จะตองการ 912 ตันสด ดังนั้นโคตองการ 912 ตันสด รวมสูญเสีย 20% = 1,094 ตัน 2) แปลงหญา 100 ไร ผลผลิต 2.0 ตันสด/ไร ปหนึ่งๆ ตัด 4 ครั้ง จะไดผลผลิต 800 ตัน ดังนั้นเราจะขาดหญาสดอยู 1,094 - 800 = 294 ตัน 3) หญาสดที่ขาดอยู 294 ตันสด ถาเราปลูกพืชอาหารสัตวชนิดพันธุที่โตเร็วหรือปลูกขาวโพด ซึ่งจะใหอัตราผลผลิตเฉลี่ย 4 ตัน/ไร เราตองปลูกขาวโพดเพิ่มเติมเปนพื้นที่ 294/4 = 73.5 ไร 4) จากตัวอยาง เราจะมีขอมูลในมือคือ ความตองการอาหารหยาบสด = 294 ตัน หรือเทากับความตองการหญาแหง = 58.8 ตันแหง หรือเทากับตองปลูกพืชสดแหง = 73.5 ไร 5) ในกรณีที่ปลูกพืชสดอาจไมจําเปนตองปลูกเทากับที่คํานวณไว เราอาจปลูกใหเพียงพอกับจํานวนโคที่ใหผลผลิตสูงเทานั้นก็พอ แตโคที่ใหผลผลิตปานกลาง-ตํ่า อาจใชหญาหมัก และหญาแหงเสริมได 6) การกะเวลาในกําหนดปลูกพืชอาหรสัตว ก็มีความจําเปนที่จะตองวางแผนใหสอดคลองกับจังหวะที่ตองตัดมาจายใหโคนมเชนกัน 7) พันธุพืช, การวางแผนตลอดป, จะทําใหมีพืชอาหารสัตวคุณภาพดี อยูตลอดเวลาสําหรับโคใหผลผลิตสูง

4.6 การจัดการอาหารขนสําหรับโคนม หลังจากกําหนดการปลูกและปลูกพืชอาหารสัตวไปแลว ผูเลี้ยงจะตองทราบขอมูลเบื้องตน ถึงคุณคาทางอาหารสัตว ไดแก โปรตีน คารโบไฮเดรต เยื่อใย พลังงาน ของพืชอาหารสัตวที่ปลูก เพื่อที่ผูเลี้ยงจะได ชดเชยสวนที่ขาดโดยการใชอาหารขนเสริม อาหารขนเสริมจะเปนการแกไขปญหาระยะสั้นเพื่อใหโคไดรับโภชนะครบถวนตามตองการ วัตถุดิบที่นํามาใชในสูตรอาหารขน ควรพิจารณาจากการขาดของโภชนะ หลังจากที่ไดรับขอมูลอาหารหยาบของฟารมแลว จะยังขาดโภชนะตัวใดอีก เราจึงเลือกซื้อวัตถุดิบมาผสมในสูตรอาหาร การเลี้ยงโคนมผูเลี้ยงตองใชแหลงอาหารหยาบใหเต็มที่ เปนแหลงอาหารคงที่หลักของฟารม แลวจึงปรับสูตรอาหารขนใหสอดคลอง อยาทําในทิศทางตรงขาม เพราะมีผูเลี้ยงจํานวนมากต้ังตนการเลี้ยงโคนมจากอาหารขนกอน จะมีผลตอสุขภาพโคและตนทุนการผลิตตอนม 1 กก. การจัดการอาหารขนควรมีหลายสูตร จะไดเหมาะสมกับกลุมโคแตละกลุม และปรับเปลี่ยนใหสอดคลองกับฤดูกาลของพืชอาหารสัตว และความสมบูรณของรายกายโค รวมถึงสอดคลองกับราคาของวัตถุดิบที่นํามาใช บอยครั้งที่เราตองหลีกเลี่ยงการใชวัตถุดิบที่ตองแขงขันกับวัตถุดิบที่ใชในสุกร, ไก เชน ขาวโพด, มันสําปะหลัง, กากถั่วเหลือง, ปลาปน เปนตน วัตถุดิบที่นํามาใชในสูตรอาหารขนจะตองปรับเปลี่ยนใหสอดคลองกับฤดูกาลตลอดป เชนเดียวกับการวางแผนพืชอาหารสัตวผูเลี้ยงตองวางแผน และทราบวาวัตถุดิบอาหารขนในแตละฤดูกาลตลอดปมีอะไรออกมาจําหนาย ราคาจะลด จะ

Page 10: (Feeding and Management of Dairy cattle)¸šทที่ 3...67 บทท 3 การจดการให อาหารโคนม (Feeding and Management of Dairy cattle) 1. ความต

76

เพิ่มเมื่อไร วัตถุดิบจะหมดเมื่อไร จะใชอะไรทดแทนไดบาง แหลงซื้อที่ใด ถาเราวางแผนวัตถุดิบอาหารขนดีแลว จะทําใหเรามีวัตถุดิบอาหารสัตวเพียงพอและเหมาะสมกับโคทั้งในระยะสั้นและระยะยาว

4.7 แนวคิดเกี่ยวกับการใหอาหารขน การใชอาหารขน(Concentrate feed)ในปริมาณเทาใด จึงจะทําใหเกิดผลตอบแทนสูงสุด เปนหัวใจในการทําความเขาใจ โภชนะหลักที่มีผลตอราคาของอาหารขนและมีความจําเปนยิ่งสําหรับโคนม คือ พลังงาน จํานวนของอาหารขนตองใหไดเหมาะสมเพียงพอกับระดับของพลังงานที่โคตองการ เมื่อราคาของอาหารขนแพงขึ้น (ปกติจะแพงขึ้นทุกป ยกเวนราคาวัตถุดิบราคาอาจขึ้นลง) จําเปนตองใหโคกินหรือใชพลังงานจากแหลงอาหารหยาบเปนอันดับแรก ปริมาณอาหารขนที่จะใช คิดจากพลังงานรวมที่โคตองการตอตัวตอวัน หักออกดวยพลังงานที่ไดรับจากอาหารหยาบ พลังงานที่ขาดเหลือก็คือ จํานวนของอาหารขนที่ตองใหโคกินเขาไป เพื่อใหไดพลังงานพอเพียง คาพลังงานที่นํามาใชคํานวณอาจอยูในรูป TDN, ME ก็ได แตแนวโนมในปจจุบันและอนาคตจะคิดในรูป NE Lactation ซึ่งจะทําใหคาการคํานวณตรงกับความตองการของโคมากที่สุด โภชนะตัวอื่นที่จะนํามาคํานวณในสูตรอาหารขนก็ใชหลักการคิดเชนเดียวกับการคิดพลังงาน สําหรับโภชนะตัวอื่นที่จําเปนตองมีในอาหารขนคือ โปรตีน แคลเซียม และฟอสฟอรัส สําหรับโปรตีนก็เชนกัน อาจคํานวณในรูป Crude protein ได แตปจจุบันและอนาคต จะนิยมคิดในรูป DIP (Degraded intake protein) กับ UIP (Undegraded intake protein) จากนั้นก็ตรวจสอบสัดสวนของเยื่อใยในอาหารจากคาของ crude fiber (CF) Acid detergent fiber (ADF), และ Neutral detergent fiber (NDF) สวนโภชนะอื่นๆ ก็พิจารณาเพิ่มเติมตามความเหมาะสมของฟารม โดยทั่วไปการคํานวณสูตรอาหารขนจะไมคิดเพียงรายตัว แตมักจะออกสูตรอาหารใหเหมาะกับกลุมโค เชน ถาเราแบงกลุมโคเลี้ยง เราก็จะออกสูตรอาหารใหเหมาะสมกับแตละกลุม ซึ่งจะมีเรื่องของ Lead factor เขามาเกี่ยวของ Lead factor หมายถึงตัวคูณ ซึ่งจะนํามาคูณกับคาเฉลี่ยน้ํานมของฝูงโคหรือกลุมโคที่เรากําลังจะออกสูตรอาหารใหแกกลุมนั้น เพื่อใหสูตรอาหารที่ออกมา มีความครอบคลุมทั้งโคที่ใหน้ํานมมากสุดในฝูง (ในกลุม) ดวย ไมใชออกสูตรอาหารตามคาเฉลี่ยของฝูง ซึ่งจะทําใหโคใหน้ํานมมากไดรับโภชนะไมเพียงพอ สําหรับเรื่องแรธาตุ ถาเราสามารถจัดหาแรธาตุผงมาผสมในสูตรอาหารได จะดีที่สุด เพราะทําใหแนใจไดวาโคทุกตัวไดรับแรธาตุตามเกณฑที่เราคํานวณไว การใหแรธาตุกอนหรือแบบใหกินอิสระนั้นไมมีหลักฐานยืนยันชัดเจนวาโคจะกินและไดรับแรธาตุครบถวนจริง แตเราก็สามารถนํามาใชเปนการเสริมได หลังจากที่เราผสมในอาหารขนแลวสวนหน่ึง

4.8 การจัดการอาหารสูตรรวม TMR (Total Mixed Ration) ตามหลักการแลวการทําอาหาร TMR จะเหมาะสมกับการจัดจายใหแกโคที่ใหผลผลิตสูงเปนอยางมาก TMR เปนการจัดการนําเอาอาหารหยาบคุณภาพดี ผสมกับอาหารขนคุณภาพดีใหเปนเนื้อเดียวกันและจัดจายใหแกโคที่ใหผลผลิตสูง(John, 1977; Mccullough, 1973) แตบางครั้งในกรณีที่ผูเล้ียงมีแหลงอาหารหยาบคุณภาพต่ํา และมีปญหาในกรณีที่นํามาจายแยก จะทําใหโคกินไดนอย การทําผสมแบบ TMR จะชวยแกปญหาเรื่องการกิน ทําใหโคกินทั้งอาหารหยาบคุณภาพต่ํา และอาหารขนในเวลาเดียวกัน อาจชวยแกไขปญหาเฉพาะหนาได แนวคิดเกี่ยวกับอาหารสูตรรวม, TMR ไมใชเรื่อใหม ผูเลี้ยงหลายคนอาจมีประสบการณมาแลว เพราะปกติการคํานวณสูตรอาหาร ผูคํานวณตองใชแนวความคิดของการคิดอาหารสูตรรวมอยูแลว (คิดทั้งอาหารหยาบและอาหารขน) เปนเพียงการจัดจายอาหารที่ตางกัน การจายอาหารแบบใหมคือการนําเอา

Page 11: (Feeding and Management of Dairy cattle)¸šทที่ 3...67 บทท 3 การจดการให อาหารโคนม (Feeding and Management of Dairy cattle) 1. ความต

77

อาหารหยาบมาผสมกับอาหารขน ดวยเครื่องผสม (mixing wagon) เพื่อใหอาหารทุกสวนคลุกเคลาเปนเนื้อเดียวกัน แลวนําจายใหแกโค เราเรียกเปนวิธีการจายอาหารแบบ optimum feeding, optimum ration, complete feed หรือ Total Mixed Ration ปจจุบันนิยมใชคํายอวา “TMR” วิธีการนี้คอนขางจะมีประสิทธิภาพ และมีความสําคัญมีขอไดเปรียบเมื่อใชรวมกับอาหารจากแหลง Silage หรือแหลงอาหารหยาบอื่นที่พรอมจะนํามาผสมกัน อาหารหยาบที่อาจจะไมเหมาะที่จะใชวิธีนี้คือ หญาสดและหญาแหง เพราะทั้งสองชนิดนี้มีขนาดเสนใยยาว โดยเฉพาะหญาแหงจะเบาคลุกเคลากันยาก ยกเวนผูเลี้ยงตองนํามาตัดใหสั้นขนาด 1ซม.-1 นิ้วกอน แลวจึงนํามาผสม TMRเหมาะกับฟารมขนาดใหญที่มีการเลี้ยงแบบสมัยใหม เพราะมีขอไดเปรียบที่เตรียมสดใหม และปรับเปลี่ยนสูตรอาหารไดงาย สามารถจัดจายอาหารเปนรายกลุมไดงาย ที่สําคัญโคที่ใหผลผลิตมาก มีความตองการระดับพลังงานสูง และมีสัดสวนของอาหารหยาบกับอาหารขนถูกตองและสม่ําเสมอ รวมถึงสามารถควบคุมขนาดของอาหารหยาบไดดีเชนเดียวกันกับแนวคิดการใหอาหารขนคือสูตร TMR ตองออกใหสอดคลองกับระยะการใหน้ํานม และปริมาณน้ํานมที่โคใหอยู โดยเฉพาะในโคชวงแรกของการใหนม สวนโคที่อยูในระยะกลางและระยะปลายของการใหนมควรเริ่มจํากัดปริมาณการกินอาหาร TMR เพราะมีโอกาสที่โคจะกินอาหารและอวนไดงายเกินมาตรฐานความสมบูรณของรางกายโค อยางไรก็ตามเราตองหมั่นตรวจสอบการจายอาหารในลักษณะจายนอย/จายมากตอตัวโค ถาจาย TMR นอย ผลคือน้ําหนักตัวลดใหนมนอย แตถาจาย TMR มากไปโคก็จะอวนเกินไป ขอระวังอยางหนึ่งในเรื่องแหลงของอาหารหยาบที่นําใชเปนแหลงของเยื่อใยอาหารใหโค โดยปกติเรามักใชหญาแหง, เปลือกเมล็ดฝาย เปลือกถั่วเหลือง หรือซังขาวโพด เปนแหลงเยื่อใย แตในกรณีของเปลือกถั่วตางๆ ที่ใช อาจทําใหเสริมเยื่อใยไมพอแกโค เนื่องจากเยื่อใยเหลานี้ยอยไดงาย จึงควรหาแหลงเยื่อใยจากหลายแหลงมาใชรวมกัน การผสมอาหาร TMR ใชเองในฝูงโคนมขนาดเล็ก คงไมเหมาะสม และไมคุมคาในการนํามาใช ในขณะที่เครื่องจักรยังมีราคาแพง จนกวาเราจะผลิตเครื่องจักรไดเองในเมืองไทย หรือผูเลี้ยงเห็นความสําคัญของการจายอาหารแบบ TMR เพราะในปจจุบันยังมีการจายอาหารขน 2 แบบ คือจายรวมเปนกลุมกับจายแยกเปนรายตัว (ควบคุมโดยคอมพิวเตอรเปนรายตัว คํานวณอาหารขนตามปริมาณน้ํานมที่ได) หรือบางฟารมเลี้ยงโคนมแบบผูกยืนโรง ก็สามารถจายแยกเปนรายตัวไดวิธีนี้อาจลดตนทุนคาเครื่องจักร (ยกเวนการใชคอมพิวเตอรควบคุม) แตเพิ่มคาแรงงาน และปญหาแรงงาน ขอไดเปรียบของการปรับปริมาณอาหารขนใหแกโคไดกินมากขึ้นหรือนอยลง จะมีประสิทธิภาพหรือไมขึ้นอยูกับความสามารถของผูจัดการฟารม แตการปรับเฉพาะปริมาณของอาหารขนอยางเดียว พบวา มีผลกระทบตอปริมาณน้ํานมเหนือผลกําไรไมมากนัก เมื่อเทียบกับการจายอาหารแบบ TMR (ปญหาของประเทศไทยดูจะอยูที่ยังไมมีผูผลิตเครื่องจักรออกมาจําหนาย) เพราะ TMR เปนการปรับเพิ่ม/ลดอาหารทั้งกลุมของโภชนะ จึงคอนขางจะมีผลกระทบตอปริมาณน้ํานมไดมากกวา แตอยางนอยถึงผูเลี้ยงจะยังคงใชการจายอาหารแบบแยก ก็ขอใหผูเลี้ยงมีความคิดในใจตลอดเวลา “ตองมองภาพรวม ของการจายอาหาร คือคิดแบบ TMR จะจายอาหารแบบ TMR หรือไม ไมใชเรื่องสําคัญ ถาหลักการถูกตอง”

4.9 ความสําคัญของการใหผลผลิตน้ํานมมาก ปจจัยที่บงบอกความสําเร็จของฟารมประการแรกคือ การมีผลกําไรสูงสุดของฟารม ซึ่งจะมีผลสอดคลองกับการมีโคที่ใหผลผลิตมากในฟารม โคที่ใหผลผลิตน้ํานมมากคือโคที่มีศักยภาพของการใหน้ํานม และมีความคงทนของการใหน้ํานม (Potential and Persistency) ถาเราพิจารณาตนทุนการผลิตน้ํานม คาใชจายที่เปนตัวแปรสําคัญคือ คาอาหารสัตวและบํารุงรักษาเครื่องจักร เปนตัวที่ทําใหตนทุนแพงขึ้น ในขณะที่ผลผลิตน้ํานมถาไดมาก ตนทุนจะลดลง และการใชอาหารของโคนมที่ใหนมมากจะมีตนทุนตํ่ากวา สมมติโคน้ําหนัก 600 กก. ใหน้ํานม 10 กก./วัน มีไขมัน 3.5% โคจะตองการ TDN 4.45

Page 12: (Feeding and Management of Dairy cattle)¸šทที่ 3...67 บทท 3 การจดการให อาหารโคนม (Feeding and Management of Dairy cattle) 1. ความต

78

กก. สําหรับใชในการดํารงชีพ และ 2.75 กก. TDN สําหรับการใหผลผลิตน้ํานม หรือรวม TDN = 7.2 กก. ซึ่งจะเทากับ 0.8 กก..TDN/กก. น้ํานม แตถาโคตัวนี้ใหน้ํานมเพิ่มขึ้นเปน 30 กก./ตัว/วัน จะตองการ TDN รวม = 8.25 (4.45 กก. + (2.75 x 30 กก.)) หรือเทียบเทากับ 0.28 กก..TDN/กก. นม ดังนั้น โคใหนม 10 กก. จะใชพลังงานตอหนวยผลิต = 0.8 กก./กก. นม โคใหนม 30 กก. จะใชพลังงานตอหนวยผลิต = 0.28 กก./กก. นม จะเห็นวา การใหอาหารแกโคนม อาหารจะถูกนํามาใชเพื่อการสรางน้ํานมโดยตรง ฟารมที่มีโคใหนมมากจะใชอาหารนอยกวาฟารมที่มีโคใหน้ํานมนอย ผูเลี้ยงจึงควรใหความสนใจในเรื่องการปรับปรุงพันธุโค และการคัดทิ้งโคที่ใหนมนอย เพื่อลดตนทุนการผลิตน้ํานม

4.10 การใหโภชนะที่จําเปนและเพียงพอ ณ จุดต่ําสุดของตนทุน โภชนะที่สําคัญ 2 ชนิด คือพลังงานกับโปรตีน พลังงานเราเสริมใหเพียงพอ สวนโปรตีนเราควรจํากัดระดับที่ใช ถาเราใหอาหารที่มีพลังงานโปรตีนพอแลว การใหในสวนที่มากเกินไป มีผลตอการเพิ่มน้ํานมนอยมาก โดยเฉพาะหากใหโภชนะเกินมากในชวงกลาง และปลายการใหน้ํานมยิ่งมีผลตอบแทนต่ํา และการใหจะมีผลทําใหโคอวนเกิน โคที่อวนหมายถึงโคที่ไดอาหารแลวนําใชสําหรับการดํารงชีพมากเกินไป ทําใหเก็บสะสมในรูปไขมันมาก จะทําใหมีปญหาเรื่องสุขภาพและน้ํานมในชวงการใหนมถัดไป อยางไดกลาวแลว ถาสามารถคํานวณอาหารโดยดูจากคา NEL, CP, UIP, DIP, ADF, NDF แลว จะทําใหไดโภชนะตรงตามความตองการโคและมีคาอาหารต่ําสุด

4.11 ผลกําไรสูงสุด ผลกําไรสูงสุด (Maximum Profits)คือ เปาหมายแรกของการทําฟารมโคนม ที่เกิดจากมีผลผลิตน้ํานมตอตัวโคสูงสุด (ไมใชกิโลกรัมน้ํานม ณ จุดสูงสุด) กับการมีตนทุนคาอาหารโคต่ําสุด การจัดการฟารมที่ดีคือการบริหาร 2 เรื่อง ดังกลาวใหมีความสมดุลและสอดคลองกัน ซึ่งจะสัมพันธกับการใหความเอาใจใส (ติดตาม) กับการแบงสวนการผลิตของฟารมใหชัดเจนและมีเปาหมายที่สามารถประเมินผลไดเปนสวนๆ ไป บันทึกขอมูลฟารมและตัวเลขคาใชจายตางๆ ตองนํามาเปรียบเทียบกันตลอดเวลา ขอจํากัดของเรา คือเมื่อฟารมมีขอมูลตัวเลขแลวยังขาดการเชื่อมตอขอมูล และการวิเคราะหขอมูลจาก นักวิชาการอยางจริงจัง นาจะมีการใชเทคโนโลยีสมัยใหม ในเรื่องคอมพิวเตอร, โทรสาร, โทรศัพท หรือแมแต E-mail ใหมีประโยชนมากขึ้น จะชวยใหงานบริการแกผูเลี้ยงโคนมทําใหสะดวกขึ้น “การวิเคราะหขอมูลฟารมเพื่อการวางแผนปรับปรุงการจัดการ” เปนเรื่องสําคัญ และเปนตัวที่จะทําใหกิจการมั่นคงอยูรอดได รวมถึงการมีเปาหมายและดรรชนีตัววัดในการทํางานฟารมตารางที่ 3.2 สวนตัวอยางการทําผลกําไรสูงสุดจากเรื่องของอาหาร คือ ตัวอยางการใชยูเรียเปนแหลงอาหารโปรตีนทดแทนโปรตีนจากพืชและสัตว การใชยูเรียซึ่งมีโปรตีน 280% ในราคา 5 บาท/กก. เมื่อเทียบกับกากถั่วเหลือง มีโปรตีน 44% ราคา 10 บาท/กก. จะเห็นวาประหยัดตนทุนไปมาก แตการใชยูเรียก็มีขอจํากัดในเรื่องปริมาณการใช และถาใชมากเกินไปจะทําใหน้ํานมลดลง ดังนั้นถาเราบริหารการใชยูเรียกับน้ํานมใหไดสัดสวนก็จะไดกําไรสูงสุด ในเรื่องของแหลงพลังงานก็เชนกัน ถาเราสามารถใหอาหารที่มีแหลงพลังงานเพียงพอสําหรับจุลินทรียในกระเพาะหมัก และพลังงานสวนที่เหลือ ผานไปยอยตรงที่กระเพาะจริงและสวนของลําไส จะทําใหเราใชประโยชนจากมูลคาของพลังงานไดมากสุด แนวคิดเชนนี้ผูคํานวณสูตรอาหารและผูเลี้ยงตองเขาใจหลักการใหลึกซึ้ง

Page 13: (Feeding and Management of Dairy cattle)¸šทที่ 3...67 บทท 3 การจดการให อาหารโคนม (Feeding and Management of Dairy cattle) 1. ความต

79

ตารางที่3. 1 แสดงเปาหมายการจัดการฟารม ที่มา: Church(1991)

4.12 การจัดการโปรแกรมจายอาหารและขั้นตอน อาหารขนและอาหารหยาบ สามารถจัดจายไดทั้งแบบ TMR หรือจายแบบโรยทับกันเปนช้ันๆ หรือจายแบบใหกินแยกกันคนละครั้งก็ดี ถาจุดหมายของการจายอาหารอยูที่การใชอาหารจากแหลงอาหารหยาบสูงสุด (หยาบสด/หรือ Silage) เมื่อเรามีแหลงอาหารหยาบดีสุด มากสุดคือชวงฤดูฝน คุณภาพของหญาสดจะดี และควรจะใชประโยชนจากหญาสดใหมากสุด โดยจัดใหโคไดมีกินเต็มที่ตลอด 24 ช่ัวโมง ลดอาหารขนใหนอยลง ใชอาหารที่ใหม ตัดมาใหกินใหม (หญาสดที่ตัดและทิ้งไวในรถ กอนนํามาใหกินจะมีปญหาการหมักบูด และความรอนในระหวางการรอจัดจาย ควรระวังวาหลังตัดรีบนําใหกินหรือเก็บไวในที่รมปองกันแสงแดด ในโรงเรือนควรมีพ้ืนที่วางสําหรับการเขากินอาหารอยางพอเพียง รวมถึงการมี อางน้ํา, รมเงาที่พอเพียง จะทําใหโคกินอาหารหยาบไดมากสุด ทั้งนี้เพราะอาหารหยาบกอใหเกิดพลังงานความรอนขึ้นมากในขณะการยอยและการเคี้ยวเอื้อง เราจึงตองลด Stress จากสาเหตุความสะดวกของโรงเรือน โดยจัดใหมีความสะดวกสบายมากสุด

Page 14: (Feeding and Management of Dairy cattle)¸šทที่ 3...67 บทท 3 การจดการให อาหารโคนม (Feeding and Management of Dairy cattle) 1. ความต

80

4.13 วิธีการเปลี่ยนแปลงการใหอาหาร การปรับการกินอาหารโค ปกติการเปลี่ยนแปลงสัดสวนของอาหาร อาจเกิดโดยผูเลี้ยงมีเจตนาเปลี่ยนปริมาณการกินอาหารหยาบ (หญา) กับอาหารขน หรือเปนดวยโคนมเลือกกินอาหารอยางใดอยางหนึ่งมากนั้น การกินอาหารหยาบมาก ในทันทีทันใด ไมไดกอใหมีผลเสียมากตอระบบการยอยอาหารและการเผาผลาญสารอาหารของรางกาย นอกจากโคนมจะไดรับสารอาหารต่ํากวาระดับที่เราตองการ (under feed) เทานั้น แตตรงขามหากโคไดรับอาหารขนมากทันที จะทําใหโคปรับตัวไมทันเกิดปญหาในเรื่องระบบการยอยอาหารไดงายมาก จากวัตถุดิบในอาหารขนนั่นเอง หรือในกรณีที่จะเปลี่ยนแหลงโปรตีนในอาหาร จากโปรตีนพืชมาเปนยูเรีย หรือ nonprotein nitrogen เราจะตองคอยๆ เพิ่มปริมาณการใชทั้งในรูปของ %สวนผสมในอาหารขน และปริมาณการกินในแตละวันอยางคอยเปนคอยไป สวนอาหารหยาบการเปลี่ยนจากหญาสดมาเปนหญาแหง หรือ silage จะไมกอใหเกิดปญหามากนัก แตตรงขามถาเปลี่ยนอาหารหยาบจาก silage หรือหญาแหง ไปกินหญาสดลวนทันที มักจะเกิดปญหาทองรวง, ทองอืด หรือแมแตโรค grass tetany ดังนั้นควรใชเวลาในการปรับเปลี่ยน 3-4 วัน ถาจะใหปลอดภัย 1 สัปดาห ถึงจะดีที่สุด เพราะจุลินทรียในกระเพาะหมักมีอัตราการเจริญเติบโต ต้ังแต 24-72 ช่ัวโมง จึงจะเขาสภาพสมดุลในกระเพาะหมัก การปรับสูตรอาหารขน ในกรณีเปลี่ยนชนิดของวัตถุดิบที่ใชอยูปกติ 1 ตัว ไปเปนวัตถุดิบตัวใหมในสูตรอาหาร หรืออาจหลายตัวกวานั้นก็ตาม ปญหาอยางหนึ่งที่พบคือ ความนากินของอาหาร โดยเฉพาะวัตถุดิบอาหารสัตวสวนใหญชนิดที่มีราคาถูกมักจะมีคุณภาพต่ําและความนากินตํ่าดวย การนํามาใชในอัตราสวนที่มากในสูตรอาหาร ก็จะทําใหสูตรอาหารมีความนากินตํ่าไปดวย วัตถุดิบอาหารหลายอยาง ที่ตองใชอยางมีขอจํากัด คือถาใชมากไปจะมีผลในทางตรงขามคือไมไดชวยเพิ่มการสรางน้ํานม ถึงแมวาการเลือกใชวัตถุดิบอาหารขนสูตรที่มีวัตถุดิบนอยชนิด กับสูตรที่มีวัตถุดิบมากชนิดจะใหผลตอสมรรถนะของโค ไมแตกตางกันกันก็ดี แตการใชสูตรอาหารที่มีวัตถุดิบหลายชนิด จะชวยในแงลดตนทุนการผลิตและลดปญหาการเปลี่ยนวัตถุดิบใช ลดปญหาเรื่องความนากินของอาหาร เพราะอัตราสวนของวัตถุดิบแตละตัวที่นํามาใชจะมีสัดสวนใกลเคียงกัน การปรับเปลี่ยนทําไดงายกวา

4.14 การปองกันและตรวจสอบปญหาจากการใหอาหาร ในการใหอาหารโคนม จะตองจัดจายอาหารใหโคกินไดเต็มที่ โดยไมกอใหเกิดปญหาสุขภาพ ถาเกิดมีปญหาดานสุขภาพโค เราจะตองติดตามเฝาระวังและคอยแกไขปญหาอยางทันทวงที การปองกันปญหาดีที่สุดสําหรับโคนม ปญหาจากอาหารอาจเกิดไดจากหลายสาเหตุนับจากการขาดหรือมีมากเกินไปของโภชนะบางตัว, ความนากิน, สารพิษ การสลายตัวของอาหารกอนใหโคกิน บางปญหาก็เปนปญหาที่กอใหเกิดความสูญเสียทางเศรษฐกิจ ทางปองกันคือจะตองมีมาตรการตรวจสอบคุณภาพวัตถุดิบตั้งแตซื้อนําเขามาในฟารม วามีคุณสมบัติตรงตามที่ ตกลงซื้อ-ขายไหม มาตรการเก็บรักษา การผสมและขั้นตอนการผสมอาหาร การเก็บรักษาอาหารที่ผสมแลว ลักษณะและ รูปแบบการนําไปจายใหโค การสูญเสียและสัดสวนที่โคกินได สุขภาพโคทั่วไป ปญหาสุขภาพโค จะตองมีการเก็บขอมูล นําตารางเปรียบสถิติตางๆ ของฟารม หรือไมก็ตองมีโปรแกรมจัดการฟารมโคนม ชวยในการเก็บขอมูลสถิติตางๆ ที่ไดจะบอกใหทราบวามีสถานะการณตางๆ เกิดขึ้น จะชวยใหเราแกไขไดทันทวงที

Page 15: (Feeding and Management of Dairy cattle)¸šทที่ 3...67 บทท 3 การจดการให อาหารโคนม (Feeding and Management of Dairy cattle) 1. ความต

81

4.15 ความสัมพันธของคะแนนความสมบูรณของรางกายกับการใหอาหาร จากที่กลาวมาในตอนตนถึงการคํานวณสูตรอาหารการเลือกวัตถุดิบผสมอาหาร และการจัดจายอาหารนั้น เปนการใหอาหารในสภาพปกติทั่วไป โคนมมีลักษณะความสมบูรณเทากันในกลุม การจายอาหารจึงเปนไปตามปกติ แตบอยครั้งในฟารมที่จะมีโคหลายตัวที่ปรับตัวไมไดในการกินอาหาร หรืออาจมีสาเหตุอื่นรวมทําใหโคสูญเสียน้ําหนัก ผอมลงใหผลผลิตนมต่ํา หรือในทางตรงขามอาจมีโคหลายตัวที่กินอาหารจนเกินความตองการทําใหอวน การแกปญหาในโคเหลานี้ ประการแรกคือจัดกลุมโคใหม จัดโคที่ผอมกวามาตรฐานออกมาอยูกลุมหนึ่ง หรือโคที่อวนเกินมาตรฐานออกมาอยูอีกกลุมหนึ่ง จากนั้นจึงมาพิจารณาระดับคะแนนความสมบูรณของรางกายกับการปรับเพิ่ม/ลดระดับพลังงานในอาหารที่จะใหโค (อานเรื่องการใหคะแนนความสมบูรณของรางกายโค) ซึ่งเราสามารถคํานวณได ทําใหผูเลี้ยงสามารถจัดการเลี้ยงโคไดโดยมีคะแนนรางกายสมบูรณใกลเคียงกันอยูตลอดเวลา

4.16 การเลี้ยงโครีดนมบนแปลงหญา โคที่ไดรับการเลี้ยงดูในระบบแปลงหญานั้น จะพบวาโคนมใชเวลาในการเดินแทะเล็มกินอาหารรวม 8 ชม./วัน และโคนมจะใชเวลาอีก 8 ชม./วัน สําหรับการนอนเคี้ยวเอื้อง จะเห็นวาใน 24 ชม. โคใชเวลาในเรื่องของการกิน 2 ใน 3 ของเวลาทั้งหมด ถาเปนโคที่ใหผลผลิตสูง เราจะตองจัดการใหโคไดรับโภชนะครบถวนในชวงเวลาดังกลาว โดยการจัดใหโคอยูในแปลงหญาคุณภาพดี และเสริมอาหารในสวนที่ขาด ปญหาของการเลี้ยงแบบนี้คือ แปลงหญามีระยะเวลาที่มีคุณคาทางอาหารสูงเพียงชวงสั้นๆ เชน ตอนกอนออกดอกหรือในชวงฤดูฝน และเมื่ออากาศเริ่มรอนก็จะมีปญหาทั้งโคและหญา โดยโคก็จะใชเวลาออกหากินนอยลง สวนหญาก็จะแกเร็วและสูญเสียคุณคาทางอาหาร ดังนั้นผูเลี้ยงโคนมจึงไมนิยมเลี้ยงอยูบนแปลงหญาตลอดเวลา 24 ชม. ดวยเหตุผล 1) เปนการยากในการที่จะรักษาระดับผลผลิตน้ํานมของโคใหคงที่อยูตลอดเวลา 2) การเลี้ยงฝูงใหญ เปนการยากที่จะจัดหาแปลงหญาใหพอเพียงกับจํานวนโค 3) การควบคุมคุณภาพของแปลงหญาใหอยูในความสม่ําเสมอเปนไปไดยาก จะไมสามารถทราบไดวาในแตละวันโคไดรับพลังงานจากแปลงหญาเพียงพอหรือไม 4) จะตองมีแปลงหญาเหลือเฟอหรือมีอัตราการปลอยโคตอแปลงหญาในเกณฑ 1 ตัวตอ 3 ไร (1:3) จะชวยใหโคมีหญาคุณภาพหญาที่ดีกิน แตถาอัตราการปลอยอยูในเกณฑ 1:1 - 1:2 ผูเลี้ยงตองจัดการระบบการเลี้ยงแบบหมุนเวียนอยางรวดเร็ว (Rotational) และตองมีการเสริมอาหารขนมากนอยในแตละฤดูกาล

4.17 การเลี้ยงโครีดนมในระบบกึ่งปลอยแปลงหญา ผูเลี้ยงโคนมในประเทศเขตรอน เชน ประเทศไทย มักนิยมเลี้ยงโคนมแบบกึ่งปลอยบนแปลงหญา วิธีการจัดการแบบนี้ชวยลดปญหาความเครียดจากความรอนใหแกโคไดเปนอยางดี ระบบการจัดการที่ควรใช คือ การปลอยใหโครีดนมอยูบนแปลงหญาในชวงอากาศเย็น เชน ชวงเย็นหลังรีดนม ไปจนถึงชวงเชาเขารีดนม (วิธีการนี้จะชวยลดภาระการจัดการของ ผูเลี้ยงลงไดมากเชนกัน) สวนในชวงกลางวันถึงชวงบายจะเลี้ยงโคภายในโรงเรือนที่มีรมเงาและน้ําสะอาดเพียงพอ หรือ ภายในโรงเรือนอาจมีพัดลมชวย อยางไรก็ตามการเสริมอาหารขน จะตองกระทําทั้งในโรงเรือน และบนแปลงหญาเพื่อใหโคมีชวงหางของการกินอาหารขนที่เหมาะสม ไมควรเรงการกินอาหารขนเสริมในชวงกลางวัน-บาย แลวปลอยโคกินหญาอยางเดียวในชวงเย็น-เชา ในระบบการเลี้ยงแบบนี้ ผูเลี้ยงอาจตองมีการเสริมอาหารหยาบดวยในกรณีที่มีหญาไมเพียงพอ

Page 16: (Feeding and Management of Dairy cattle)¸šทที่ 3...67 บทท 3 การจดการให อาหารโคนม (Feeding and Management of Dairy cattle) 1. ความต

82

4.18 การเลี้ยงโคนมในระบบโรงเรือน การเลี้ยงโคนมในโรงเรือน นอกเหนือจากเรื่องตนทุนการกอสรางสูงแลว ขอไดเปรียบในการจัดการจะมีมาก และ ผูเลี้ยงสามารถควบคุมการจัดการไดงาย ทั้งการจัดการอาหาร การผสมพันธุ สุขภาพโคและการรักษาโคปวย (ดูเรื่องโรงเรือน) โรงเรือนโครีดนมที่นิยมกันมี 2 แบบคือ การเลี้ยงแบบซองเดี่ยว (Free stall) กับการเลี้ยงแบบกลุม การเลี้ยงแบบซองเดี่ยวจะเหมาะกับโคที่ใหผลผลิตน้ํานมสูงๆ เพราะโคจะมีปญหาความเครียดนอยกวา สวนการเลี้ยงแบบกลุมจะเปนการจัดกลุมโคที่มีผลผลิตนมใกลเคียงกัน มาอยูดวยกันภายในกลุมของโรงเรือน และควรจะมีลานดินเปนที่นอนของโค คือสรางหลังคาครอบลานดิน หรือบางแหงอาจเปนลานซีเมนตแตทั้ง 2 แบบ โคจะมีที่นอนกับที่กินอาหารแยกกัน สวนการจายอาหารใหแกโคในกลุมนี้ จะเปนการนําจายทั้งอาหารหยาบ และอาหารขน ใหแกโคตามจํานวนที่ผูเลี้ยงคํานวณไว หรืออาจใชอาหาร TMR ก็ไดตามความเหมาะสม การเลี้ยงโครีดนมในระบบโรงเรือน ควรระวังในเรื่องจํานวนโคตอกลุม (50 ตัวตอกลุมเหมาะสมที่สุด) ขนาดของตัวโค ชวงการใหผลผลิต โรงเรือนตองแหง อากาศถายเทไดสะดวก มีน้ําสะอาดตลอดเวลา

5. การใหอาหารโคพักรีดนม โคที่อยูในชวงพักรีดน้ํานมหรือโคพักรีดน้ํานม(dry cows) มีความตองการ 3 ประการคือ 1) เพื่อใชเวลาซอมแซม

ขจัดเซลลสรางน้ํานมที่หมดอายุไป และสรางเซลลสรางน้ํานมขึ้นมาใหม 2) เพ่ือใชเวลาในการเปลี่ยนอาหาร เปนการเจริญเติบโตของลูกโคในทอง 3) สะสมสารอาหารไวสําหรับชวงการใหผลผลิตน้ํานมถัดไป การใหอาหารโคพักรีดนมถือเปนสวนสําคัญในการจัดการอยางหนึ่ง โดยมีหลักการ 1) ใหโคมีชวงพักรีด 60 วัน (50-65 วัน) 2) รักษาความสมบูรณของคะแนนรางกายโคใหอยูในเกณฑมาตรฐาน 3) การเตรียมโคใหมีคะแนนรางกายสมบูรณตองเตรียมโคมาตั้งแตครึ่งหลังของชวงการใหน้ํานม หรือในชวงระยะปลายของการใหน้ํานม ซึ่งเปนชวงที่โคมีความสามารถในการเปลี่ยนอาหารที่กิน เปนอาหารสะสมในรางกายไดอยางมีประสิทธิภาพ ภายในระยะ 60 วันที่พักรีดนม โคควรมีอัตราการเพิ่มน้ําหนักตัวอยูในเกณฑ 0.8-1.4 กก./ตัว/วัน และมีคะแนนรางกายในชวงกอนคลอด 3-3.5 โคที่พักรีดนมควรไดรับการจายอาหารใหเพียงพอสําหรับความสมบูรณของรางกาย แตตองระวังโคอวนเกินไป (อาจตองมีการจัดกลุมโคที่อวนออก ถาจําเปน) โคที่อวนมากเมื่อคลอดลูกจะมีปญหาการคลอดยาก และปญหาการใหนมรวมถึงปญหาสุขภาพมากกวาโคที่ไมอวน “Fat cow syndrome” คือโรคเฉพาะของโคที่อวนมากเมื่อคลอดลูก ดังนั้นการจัดสูตรอาหารจึงมีความสําคัญ( ตารางที่ 3.2) ระดับของพลังงานและโปรตีนในอาหารควรลดลง ถาเรายังคงใหพลังงานและโปรตีนสูง ระยะพักรีดนม 60 วัน เปนระยะที่นานพอสําหรับจะทําใหโคมีปญหาโรค fat cow syndrome, โรค milk fever โรคคีโตซีส, displaced abomasum, retained placenta, udder edema, mastitis, และ Sudden death ถาเราใหอาหารดีมาตลอดชวงการใหน้ํานม โคจะมีการเพิ่มน้ําหนักในชวงปลายการใหนมไดดี ผูเลี้ยงไมควรขุนโคใหอวนหรือเรงการใหอาหารแกโคในชวงพักรีดนี้ ดังนั้นถาโคมีคะแนนรางกายชวงเริ่มพักรีดนมอยูในเกณฑมาตรฐาน ควรเลี้ยงโคอยูบนแปลงหญาคุณภาพดีอยางเดียวก็ได หรืออาจเสริมอาหารขนบางเล็กนอย การเสริมอาหารขนมักเพียงเพื่อเสริมแรธาตุ ที่มีอยูในสูตรอาหารโคพักรีดใหแกโคเทานั้น แตถาในกรณีโคมีคะแนนรางกายต่ําเมื่อพักรีดนม การเสริมอาหารขนมีความจําเปนเพื่อเสริมใหคะแนนรางกายของโคดีขึ้น หรือเสริมเพื่อใหโคไดรับโภชนะอยางใดอยางหนึ่งใหพอเพียงตามความตองการ จากที่โภชนะชนิดนั้นมีไมเพียงพอในหญาหรือแปลงหญา ผูเลี้ยงอาจเลือกเสริมเฉพาะเปนบางอยาง เชน เสริมเฉพาะอาหารพลังงาน หรือเสริมเฉพาะอาหารแรธาตุก็ได โภชนะอื่นนอกเหนือจากพลังงาน เราควรเสริมใหมีในระดับพอเพียงไมให

Page 17: (Feeding and Management of Dairy cattle)¸šทที่ 3...67 บทท 3 การจดการให อาหารโคนม (Feeding and Management of Dairy cattle) 1. ความต

83

เกิดปญหาเรื่องสุขภาพ “optimum health” ใหคํานึงวาโภชนะที่กินเขาไปสวนใหญจะถูกนําไปเสริมสรางการเจริญเติบโตของลูกโคในทองการเสริมโภชนะหรือในอาหารมีโภชนะบางตัวไมเพียงพอจะมีผลทําใหลูกโคออนแอ

อยางไรก็ตามระดับโภชนะตางๆ ที่ใหแกโคสวนใหญจะต่ํากวาระดับโภชนะที่ใหแกโคในระยะใหน้ํานม ยกเวนในสวนของเยื่อใย ซึ่งจะมีมากกวาโครีดนม และอาหารแรธาตุผสมหรือแรธาตุกอนเสริม ในชวงกอนคลอด 2 สัปดาห มีความเช่ือวาเราควรเพิ่มปริมาณอาหารขนใหโคไดกินกอนคลอด ทั้งนี้เพื่อกระตุนใหจุลินทรียในกระเพาะหมัก และกระตุนกระบวนการเผาผลาญสารอาหารของรางกายใหเร็วขึ้น กอนที่โคจะไดรับอาหารเปนจํานวนมากหลายเทาของระยะพักรีด เมื่อโคเริ่มใหน้ํานมชวงแรก โคพักรีดใกลคลอดมาก ควรจัดใหอยูแยกเดี่ยวหรืออยูในกลุมที่มีนอยตัว ในสถานที่แหง สะอาด และ สิ่งแวดลอมสบาย (ไมจําเปนตองคลอดในโรงเรือนหรือบนพื้นซีเมนต) โปรแกรมการทําวัคซีนหรือการปองกันโรคอื่นๆ ควรจัดการใหเรียบรอยในระยะพักรีดนมนี้ ไมควรไปจัดการในระยะใหน้ํานมของโค 6. การจัดการลูกโค ในกิจการเลี้ยงโคนม การเลี้ยงลูกโค (dairy calf production )ถือไดวาเปนการจัดการที่สําคัญมากมีผลตอปริมาณโคสาวทดแทนฝูง มีหลายฟารมที่จัดการเลี้ยงลูกโคไมดี อัตราการตายสูง ทําใหตองซื้อโคสาวจากที่อื่นเขาทดแทนในฟารม ในทางสถิติ พบวา มีอัตราการตายของลูกโค 20% ที่ตายกอนถึงระยะโตเต็มที่ ในสภาพการจัดการที่ดีอัตราการตายสามารถลดลงเหลือเพียง 3-5% (เฉลี่ย 1% ตอป) ปญหาการตายของลูกโคมีสาเหตุจากไมไดกินน้ํานมเหลืองในปริมาณและเวลากําหนด ปญหาเรื่องอาหาร ปญหาเรื่องโรงเรือน และการจัดการ การรักษาลูกโคปวยในระยะแรกเกิด (ภายใน 1-2 เดือนแรก) จะคลายกับโครีดนม คืออัตราการตอบสนองตอการรักษาต่ํา วิธีที่ดีสุดคือการปองกันลูกโคเจ็บปวย เราตองมีการจัดการโปรแกรมการเลี้ยง แบงระยะของการเลี้ยงลูกโคออกเปนสวนๆ มีแผนการใหน้ํานมเหลือง นมดิบหรือนมเทียม การใหอาหาร การจัดการสิ่งแวดลอม และโรงเรือนลูกโค เพื่อใหลูกโคมีการเจริญที่ดี, แข็งแรง และสุขภาพดี อัตราการตายของลูกโคจะเกิดมากในชวง 2 สัปดาหแรกหลังคลอด ผูเลี้ยงตองลดภาวะความเครียด หรือการใหลูกโคกระทบรอน-หนาว ความชื้นมากเกินไป สิ่งแวดลอมลูกโคอยูควรแหง สะอาด ตารางที่3. 2 แสดงความตองการโภชนะของโคพักรีดน้ํานมชวงแรกและโคใกลคลอด

Page 18: (Feeding and Management of Dairy cattle)¸šทที่ 3...67 บทท 3 การจดการให อาหารโคนม (Feeding and Management of Dairy cattle) 1. ความต

84

ที่มา: Church(1991)

การแบงสวนการจัดการลูกโคแรกเกิด - หยานม การจัดการเลี้ยงลูกโค และการวางแผนปรับปรุงประสิทธิภาพในการเลี้ยง เพื่อเพิ่มอัตราการรอดตาย และเพิ่มความสมบูรณของสุขภาพนั้น จะครอบคลุมในเรื่อง 1). อาหารและการจัดการในระหวางรอคลอด 2.)การจัดการระหวางคลอด 3.) การคลอดยาก 4.) นมและอาหารลูกโค

ลูกโคแรกเกิด 1-24 ชม.

ลูกโค 5 วันแรก ลูกโค 6-30 วัน ลูกโค 1 เดือน - 2 เดือน

ลูกโคหยานม

รูปที่3. 2 การแบงระยะจัดการลูกโค

6.1 การใหอาหารและการจัดการระหวางรอคลอด ลูกโคที่เกิดมาแข็งแรงไดดี ตอเมื่อเราจัดการใหอาหารที่ดีแกแมโค โดยเฉพาะในชวงพักรีดน้ํานม (2 เดือนกอนคลอด) ลูกโคในทองจะเจริญเติบโตเร็วมาก ดังนั้นแมโคควรมีอัตราการเพิ่มน้ําหนักมาก หรือมีคะแนนรางกายในระยะเขาเกณฑมาตรฐานโคนม (3-3.5 คะแนน) แตไมควรเลี้ยงโคใหอวนมากเกินไป (มากกวาคะแนน 4) หรือไมควรเลี้ยงใหโคผอมจนเกิน (นอยกวาคะแนน 3) เพราะจะมีผลยอนมาถึงแมโคและลูกโคในภายหลัง อาหารไวตามินและแรธาตุ มีความสําคัญมากในการพยุงการตั้งทอง ความแข็งแรงของลูกโค โดยเฉพาะไวตามิน A (ใหอาหารจําพวกหญาแหงมากจะขาด) ควรเสริมอาหารพวกเมล็ดขาวโพดบดใหหรือไมก็เสริมไวตามินชนิดฉีดใหโค อาจใหไวตามิน A 2 ครั้ง ครั้งละ 500,000 IU ในระหวางกอนและหลังคลอด

6.2 การจัดการระหวางคลอด การคลอดควรอยูในสถานที่แปลงหญาหรือในที่ที่แหงสะอาด หรือในซองรอคลอดเฉพาะ จัดหาน้ําสะอาด แสงสวาง ในบริเวณอาจมีเครื่องมือชวยยก, ชวยคลอด เตรียมไวตลอดเพื่อชวยกรณีคลอดยาก ควรมีการลวงตรวจทองโค, ถาลูกโคอยูในทาปกติ ก็ควรปลอยใหแมโคคลอดตามธรรมชาติ แตถาลูกโคอยูในทาผิดปกติ ควรเตรียมการชวยคลอดทันที แมโคที่คลอดยากมักเกิดจากปากมดลูกเปดไมกวาง (จะเปนในโคสาวทองแรก) หรือคลอดกอนกําหนด หรือเกิดจากลูกมีขนาดตัวโต โดยเฉพาะลูกโคเพศผูจะมีศีรษะ ไหลโต ทําใหคลอดยาก หรือไมก็คลอดผิดทา ลูกโคอาจอยูในทาตางๆ ทําใหขัดขวางการคลอด สิ่งเหลานี้จะชวยคลอดตองจัดทาคลอดใหลูกโคใหม โดยลางมือและเครื่องมือใหสะอาด ลวงเขาไปทางชองคลอด และจัดทาทางของลูกโคใหม ใหอยูในทาพรอมที่จะคลอด นอกจากนั้นการทาสารหลอลื่น K-Y gels จะชวยใหแมโคคลอดลูกไดงายขึ้น สวนในกรณีที่ลูกโคตัวใหญหรือชองคลอดไมเปด ก็อาจฉีดยาขยายชองคลอด ใหเปดกวางมากขึ้น รวมถึงการใหฮอรโมนชวยคลอด ก็จะอยูในดุลยพินิจของสัตวแพทย

Page 19: (Feeding and Management of Dairy cattle)¸šทที่ 3...67 บทท 3 การจดการให อาหารโคนม (Feeding and Management of Dairy cattle) 1. ความต

85

ทันทีที่ลูกโคคลอดออกมาแลว การดูแลแรกเกิดมีความจําเปนมากในโคนม เราจําเปนตองแยกแมและลูกออกจากกันทันที เพื่อแมโคจะไดสงไปคอกโครีดนมตอไป ในสวนลูกโค เราก็มักแยกไปเลี้ยงในกลุมลูกโค สวนใหญจะเลี้ยงเปนขังเดี่ยว ใหน้ํานมและอาหารและน้ําแยกตางหาก ลูกโคแรกเกิดตองไดรับการเช็ดน้ําเมือกตามใบหนา จมูก ลําตัว ใหแหงสะอาดทันที เพื่อปองกันลูกโคสําลักน้ําเมือกตาย และผลกระทบจากอากาศเย็น เพราะลําตัวเต็มไปดวยเมือก ตองสังเกตวาหนาตา, จมูก ปาก แหงสะอาดจริง การปฏิบัติอยางหนึ่งคือจับขาลูกโคแรกคลอด ยกขาคูหลังขึ้น อันนี้จะทําใหน้ําเมือกจากปาก, จมูกไหลออกมาไดหมด และทําความสะอาดไดงาย ขอดีอีกประการของการทําความสะอาดตัวลูกโค คือเปนการกระตุนใหลูกโคหายใจไดดีขึ้น ในขณะที่เราเช็ดลําตัว เชนเดียวกันลูกโคแรกเกิดเราอาจปลอยใหแมโคไดมีโอกาสเลียทําความสะอาดตัวลูกโคไดในระยะสั้น เพื่อเปนการกระตุนใหลูกหายใจดีขึ้นนั่นเอง เมื่อเราแยกลูกโคออกมาแลว จะตองทําการเช็ด/พน/ทาสะดือลูกโคดวยยาฆาเชื้อ เชน ทิงเจอรไอโอดีน ปจจุบันไมนิยมทําการผูกสายสะดือ แตตองรักษาความสะอาด และพน/ทาทิงเจอรอยางนอยวันละ 2 ครั้ง เชาเย็น แลวปลอยใหลูกโคอยูในที่ที่แหง อากาศถายเทสะดวก สายสะดือลูกโคก็จะแหงโดยเร็ว และหลุดออกไปเอง

6.3 ปญหาคลอดยาก ปญหาของการคลอดยากมักเกิดจากแมหรือลูกออนแอ จึงทําใหแมหรือลูกตายระหวางการคลอด หรือไมก็น้ํานมลดลง อัตราการผสมติดในรอบถัดไปต่ํา ความเสี่ยงที่กอใหเกิดปญหาเหลานี้สามารถลดลงไดโดยคัดเลือกลักษณะพอพันธุ และใหอาหารที่สมดุลแกแมโคในชวงพักรีด การเลือกพอพันธุและแมพันธุ พอพันธุโคนมที่มีลักษณะตัวใหญ หรือมีขอมูลการใหลูกตัวใหญ (ดูจากตารางขอมูลพอพันธุน้ําเชื้อที่ซื้อมา) ก็มกัจะใหลูกที่ตัวใหญมีปญหาในระหวางคลอดมาก โดยเฉพาะถานําพอพันธุแทมาผสมกับโคสาว หรือโคลูกผสม ซึ่งจะยังมีขนาดลําตัวเล็ก ชองเชิงกรานยังขยายตัวไมมาก จะมีปญหามากทีเดียว จึงควรใหพอพันธุที่ใหลูกตัวไมโต หรือมี % Calving easy สูง ในโคสาว และสามารถใชที่พอพันธุที่ใหลูกตัวโตไดในแมโคที่เคยผานการคลอดลูกมาแลว ปญหาการคลอดยากจะลดลง ดังจะเห็นความสัมพันธของอายุแมโคกับอัตราการตายของลูกโค ในตาราง3.3เปนการเปรียบเทียบอายุโคสาวที่ตางๆ กัน จะมีผลตออัตราการตายอยางไร พบวา โคสาวที่ผสมพันธุเร็ว กับโคสาวที่ผสมพันธุชา จะมีอัตราการตายของลูกโคสูงสุด และลูกโคเพศผูจะมีปญหาในการคลอดมากกวาลูกโคเพศเมีย เพราะจะมีขนาดตัวโตกวา ตารางที่3. 3 ความสัมพันธของอายุแมโคกับอัตราการตายของลูกโคแรกคลอด

อายุโค (ป)

จํานวน คลอด

คลอดยาก %

ลูกโคตาย %

ตํ่ากวา 1 1/3 33 27.3 18.2 1 3/4 - 2 1/4 1561 11.9 12.2 2 1/4 - 2 3/4 943 9.3 8.3 2 3/4 - 3 1/4 451 13.3 13.7 มากกวา 3 1/4 21 23.8 38.1

ที่มา: Ferguson(1988)

Page 20: (Feeding and Management of Dairy cattle)¸šทที่ 3...67 บทท 3 การจดการให อาหารโคนม (Feeding and Management of Dairy cattle) 1. ความต

86

6.4 น้ํานมเหลือง น้ํานมเหลือง (Colostrum)ขณะลูกโคแรกเกิดจะไมมีภูมิคุมกันที่ไดรับจากแมโค เพราะภูมิคุมกันในโคจะไมถายทอดผานทางรกมาที่ตัวลูก แตจะถายทอดผานมาทางน้ํานม ที่เราเรียกวา “น้ํานมเหลือง (Colostrum)” ดังนั้นลูกโคแรกเกิดจะไดรับภูมิคุมกันก็ตอเมื่อไดกินน้ํานมเหลืองเทานั้น แตก็คอนขางระบุไดยากวาตองกินขนาดเทาใดจึงจะถึงระดับปองกันหรือมีภูมิเพียงพอเพราะมีปจจัยเกี่ยวของหลายอยาง เพียงแตใหเขาใจกอนวาลูกโคจะไดภูมิคุมกันจากน้ํานมเหลืองเทานั้น อยางไรก็ตามองคประกอบน้ํานมก็มีสวนชวยใหลูกโคไดรับสารอาหารครบตามความตองการ ซึ่งเห็นไดวาน้ํานมจะมีองคประกอบเขมขนมากในระยะเปนน้ํานมเหลือง( ตารางที่3.4และ3.5) ความเขมขนจะลดลงตามระยะการใหน้ํานมของแมโค ตารางที่3. 4 การเปลี่ยนแปลงองคประกอบน้ํานมเหลืองของโคแรกคลอด (g/kg) วันหลังคลอด Total solids Fat Protein Lactose Ash

1 239 67 140 27 11.1 2 153 46 59 43 8.8 3 138 44 41 47 8.1 4 137 44 39 48 8.1

Milk 129 40 31 50 7.4 ที่มา: Holmes and Wilson (1987) ตารางที่3. 5 องคประกอบน้ํานมเหลือง น้ํานมดิบ น้ํานมเทียม(g/kg)

รายการ Total solids Fat Protein Lactose Ash นมดิบ 130 40 35 48 7 น้ํานมเหลือง 145 45 46 46 8 นมผงพรอมมันเนย 960 300 260 350 50 นมผงพรองมันเนย 960 10 380 480 90 ที่มา: Holmes and Wilson (1987) ปจจัยที่มีผลตอการดูดซึมน้ํานมเหลือง ระดับของการดูดซึมน้ํานมเหลือง และระดับของการปองกันไดนั้นมีปจจัยที่เกี่ยวของ 1. เวลาที่ลูกโคไดรับ การดูดซึมภูมิคุมกันจากน้ํานมเหลืองของลูกโค จะลดลงอยางรวดเร็วจากแรกเกิดภายใน 24 ช่ัวโมง(ตาราง3.6) ดังนั้นนมมื้อแรกสําหรับลูกโค ตองใหกินโดยเร็วที่สุด เทาที่จะทําได โดยทั่วไปก็ภายใน 2 ช่ัวโมงหลังเกิด ลูกโคตองไดรับ

Page 21: (Feeding and Management of Dairy cattle)¸šทที่ 3...67 บทท 3 การจดการให อาหารโคนม (Feeding and Management of Dairy cattle) 1. ความต

87

น้ํานมเหลืองอยางนอย 2 ลิตร ภายหลัง 24 ช่ัวโมงไปแลว การดูดซึมจะลดลงมาก และภูมิคุมกันที่ไดในวันหลังๆ ก็จะมีคาเพียงอาหารโปรตีนชนิดหนึ่งเทานั้น ไมใชภูมิคุมกันสําหรับลูกโคอีกตอไป ตารางที่3. 6 เปรียบเทียบระดับภูมิคุมกันกับเวลาที่ลูกโคไดรับน้ํานมเหลือง

เวลาใหน้ํานมเหลือง (หลังเกิด) ชม.

ระดับภูมิคุมกันในเลือด (zst.unit)1/

1 23.0 5 17.7 9 12.5

คา ZST (unit) ระดับการปองกัน

0-5 มีระดับภูมิคุมกันต่ํามาก 6-15 มีระดับภูมิคุมกันต่ํา

16-20 มีระดับภูมิคุมกันปานกลาง 21 ขึ้นไป อยูในระดับภูมิคุมกันเพียงพอ

1/ ZST unit = Zinc Sulfate Turbidity unit ที่มา: Holmes and Wilson (1987) 2. ปริมาณน้ํานมที่ลูกโคไดรับภายใน 24 ช่ัวโมงแรก ใหลูกโคไดกินน้ํานมเหลืองใหมากที่สุดเทาที่จะมากได เพื่อระดับภูมิคุมกันที่สูงสุดภายใน 24 ช่ัวโมงแรก ซึ่งเราควรเพิ่มความถี่ในการปอนนมแกลูกโคแรกเกิดเปนพิเศษ แตมีขอสังเกตวา ถาใหลูกโคกินน้ํานมเหลืองเปนจํานวนมากในครั้งเดียว มักจะกอใหเกิดปญหาทองรวงตามมา หรือมีปญหาเกี่ยวกับระบบการยอยอาหาร หรือทําใหเกิดโรคทองอืดตายได ลูกโคที่ปลอยใหอยูกับแมโคมาแลว 24 ช่ัวโมง ใหประมาณไดวา ลูกโคจะไดรับน้ํานมเหลืองจากแมโคมาแลวอยางนอย 8 ลิตร ภายใน 24 ช่ัวโมงดังกลาว กรณีลูกโคเลี้ยงแยกจากแมโค ดังกลาวแลวคือให 2 ลิตร โดยเร็วที่สุดภายใน 2 ช่ัวโมง การใหโดยขวดนม หรือถังนมที่มีหัวนมใหดูด พรอมๆ กับความอุนของน้ํานมที่พอเหมาะจะกระตุนใหลูกกินไดเร็ว และปริมาณเพียงพอ ถาใหเปนน้ํานมเย็น ลูกโคจะกินไดไมมาก และอาจทองเสีย ความถี่ของการใหน้ํานมเหลืองควรเปน 3 ครั้งอยางนอย ภายใน 24 ช่ัวโมง ในอัตราครั้งละ 2 ลิตร ควรรักษาระดับไวที่ 2 ลิตร ไมควรใหมากกวานี้ตอครั้ง ดังนั้นลูกโคภายใน 24 ช่ัวโมง ควรไดรับน้ํานมเหลืองรวม 6 ลิตร ถาคาดวาลูกโคจะกินไดนอยใหเพิ่มความถี่ในการจายน้ํานมเหลืองใหมากขึ้น 3. ความเขมขนของน้ํานมเหลืองจากแมโค ลูกโคที่อยูกับแมโคโดยปกติแลว จะไดรับระดับความเขมขนของน้ํานมเหลืองมาก อันเนื่องจากลักษณะของความเปนแมลูก ในโคเนื้อจึงมักปลอยใหลูกโคอยูกับแมโค 12-24 ช่ัวโมงกอนที่จะแยกออกจากกัน เพื่อนําไปเลี้ยงแยก สวนในระบบการผลิตโคนม เหตุการณเชนนี้มักเกิดตอนแมโคคลอดลูกกลางคืนแลวลูกโคก็จะถูกปลอยใหอยูกับแมเปนเวลา 10-12

Page 22: (Feeding and Management of Dairy cattle)¸šทที่ 3...67 บทท 3 การจดการให อาหารโคนม (Feeding and Management of Dairy cattle) 1. ความต

88

ช่ัวโมง แตถาแมโคคลอดกลางวัน เราจะแยกออกจากกันเลย เพื่อใหแมโคเตรียมตัวในการกินอาหารและใหผลผลิตตอไป ดังนั้นในกรณีที่แยกออกจากความจําเปนในเรื่องปริมาณนมที่ลูกโคจะไดรับในขั้นตน อยางไรก็ตามลูกโคแรกเกิดควรไดรับการเลี้ยงดูแบบใหดูดจากขวดเปนอันดับแรก อยาปลอยใหมีการใหนมลูกโคแบบวางตั้งใหกิน เพราะลูกโคจะยังกินไมเกง ขณะเดียวกันวิธีการใหลูกโคดูดนมจากขวด จะชวยทําให Esophagian groove กลายเปนรองน้ํานม และน้ํานมจะสงผานไปยังกระเพาะจริงเพื่อดูดซึมไดดียิ่งขึ้น ถาปลอยใหลูกโคกินนมในถังแลว โอกาสที่ลูกโคจะไดรับภูมิคุมกันในระดับที่พอเพียงมีโอกาสนอย

4. ฤดูกาลคลอด ความแปรปรวนของระดับภูมิคุมกันของแมโคในแตละฤดูกาลมีนอย แตพบวาฤดูกาลมีผลตอระดับภูมิคุมกันในเลือดลูกโคในโคเนื้อ แตในลูกโคนมยังไมมีการศึกษาจริงจังในเรื่องนี้ ในโคเนื้อพบวาในชวงฤดูหนาว ลูกโคจะมีระดับภูมิคุมกันต่ําที่สุด 5. การจัดการเกี่ยวกับน้ํานมเหลือง ในบางครั้งน้ํานมเหลืองจากแมโคอาจไมพอ มีนอยหรือแมโคปวยเตานมอักเสบเสียกอน หรือตรงขามน้ํานมเหลืองจากแมโคบางตัวอาจใหมากเกินความจําเปนของลูกโค การนํานมที่เหลือไปใหลูกโคตัวอื่นๆ กิน เปนสิ่งที่ทําไดดี หรือแมกระทั่งการจะเก็บน้ํานมเหลืองไวใชยามฉุกเฉิน ก็เปนสิ่งควรกระทําโดยมีหลักการ 5.1 เก็บน้ํานมเหลืองที่อุณหภูมิแชแข็งปกติเก็บไดนาน 6 เดือน ถาเก็บอยางดี (-18o ถึง -25oC ไวไดนาน 1 ป) 5.2 น้ํานมเหลือง ไมควรนําไปผสมกับน้ําเพื่อเจือจางหรือเพิ่มปริมาณแบงจายใหลูกโคหลายๆ ตัว 5.3 น้ํานมเหลือง ไมควรนําไปอุนใหความรอนเกิน 40 oC ซึ่งจะทําลายภูมิคุมกันในน้ํานมและทําลายโครงสรางของโปรตีนนมไป 5.4 น้ํานมเหลือง ไมควรนําไปผสมกับนมอื่นหรือน้ํานมเหลืองเกา (ที่เก็บมานานเกิน 2 วัน ในอุณหภูมิแชเย็นธรรมดา) ในกรณีท่ีน้ํานมเหลืองไมพอ ใหทํานมเทียมขึ้นมาใชโดยมีสวนผสมดังนี้ ไข 1 ใบ น้ําสะอาด 0.3 ลิตร นมดิบ 0.6 ลิตร น้ํามันละหุง ครึ่งชอนชา (สวนผสมประมาณ 1 ลิตร) เราตองผสมสวนผสมใหพอเพียง และนําไปเลี้ยงลูกโควันละ 3 ครั้งดังกลาว ในสวนเสริมอาจมีการใหไวตามิน A, D, E และยาปฏิชีวนะ ตามความจําเปน สวนผสมนําใหลูกโคกินเปนเวลา 4 วันแรกเกิด หลังจากนั้นลูกโคควรกินนมดิบจากแมโคทั่วไปได หรือเริ่มกินนมเทียมที่ซื้อมาผสมใหลูกโคไดแลวโดยทั่วไปนับจากวันที่ 5 เปนตนไป ลูกโคสามารถกินนมดิบ, นมเทียม หรือนมเปรี้ยว รวมถึงอาหารขนไดแลว (บางแหงมีการนํานมดิบหรือน้ํานมเหลืองมาเติมเชื้อใหไดนมเปรี้ยวไวใชเลี้ยงลูกโค) ภูมิคุมกันลูกโค (Immunology of the calf)

Page 23: (Feeding and Management of Dairy cattle)¸šทที่ 3...67 บทท 3 การจดการให อาหารโคนม (Feeding and Management of Dairy cattle) 1. ความต

89

เริ่มจากแมโค (Start with cow) ภูมิคุมกันของลูกโคจะไดจากน้ํานมเหลือง แตควรกลับไปพิจารณาแหลงที่มาของน้ํานมเหลืองกอน ระดับของพลังงานและโปรตีนของแมโคมีผลกระทบตอลูกโค พบวา ลูกโคที่ทองเสียงายมักเกิดจากแมโคที่ขาดอาหารพลังงาน และคุณภาพน้ํานมเหลืองเกิดจากการการใหอาหารแมโคที่มีการเสริมไวตามิน E, ซีลีเนียม, คอปเปอร, แมงกานีส, ซิงค ซึ่งมีสวนเสริมสรางระดับภูมิคุมกัน การทําวัคซีนใหแมโค ควรทําในระยะ 2-4 สัปดาหกอนคลอด ลูกโคจะไดรับภูมิคุมกันสูงสุด เมื่อเทียบกับการฉีดในระยะนอยกวา 10 วันกอนคลอด หรือฉีดระยะ 60 วันกอนคลอด จะทําใหระดับภูมิคุมกันในน้ํานมมีไมเพียงพอ การใหน้ํานมเหลือง การใหน้ํานมเหลืองใหมๆ ดีกวาน้ํานมเหลืองแชเย็นมาแลว การแชเย็นหรือแชแข็งจะเปนการทําลาย cellular components บางสวน ลูกโคควรไดรับปริมาณ immunoglobulin 200-400 g ดังนั้นถาจะใหแมนยําตองคํานวณดูวาจะตองใหกี่ลิตรของน้ํานมเหลือง ลูกโคจึงจะไดภูมิคุมกันเพียงพอ การเกิด FPT การที่ลูกโคไมไดรับน้ํานมเหลือง (Failure of passive transfer, FPT) ภายหลังจากที่ลูกโคเกิดออกมาแลวครบ 24 ชม. ลูกโคที่ไมได FPT ไมได หมายความวา จะตายทันที แตลูกโคเหลานี้จะเจ็บปวยไดงายในระยะกอนหยานม มีโอกาสเกิด 3-10 เทาของลูกโคที่ไดรับน้ํานมเหลือง ลูกโคเหลานี้จะมีอัตราเสี่ยงตอการเกิดโรค สะดืออักเสบ ขาอักเสบ ทองเสีย ตาเจ็บ และปญหาระบบทางเดินหายใจ จะเปนปญหาสําคัญของลูกโค FPT การรักษาดวยยาปฏิชีวนะหรือ blood plasma ดูจะราคาแพงและไมคุม ชนิดน้ํานมเหลือง (Colostrum) การใหกินน้ํานมเหลือง ควรอยูในเกณฑที่กําหนด เพราะน้ํานมเหลืองมีปริมาณ lactose นอยกวานมดิบ (ดังนั้นการใหปริมาณนมดิบที่มากเกินไป จึงมักกอใหเกิดปญหาทองเสียแกลูกโค) แตการกินน้ํานมเหลืองจะไมกอใหเกิดปญหาทองเสีย โดยทั่วไปน้ํานมเหลืองที่แมโคผลิตจะไดออกมาเปนจํานวนมาก และเกินตามตองการของลูกโค และในบางครั้งเวลาในการจายนมลูกโค กับชวงการจัดการรีดนมจากแมโคไมไดสัดสวนกัน การหาแนวทางถนอมคุณคาทางอาหารของน้ํานมเหลือง จึงทําไดหลายวิธี เพื่อจะไดมีประโยชนในการใช 1) น้ํานมเหลืองแชแข็ง (Frozen colostrum) ถาการจัดการเกี่ยวกับนมสะอาดถูกสุขลักษณะ น้ํานมเหลืองสามารถเก็บรักษาในสภาพแชแข็ง ไวไดจนเมื่อตองการใชจึงนํามาอุนใช และใหลูกโคกิน ขอจํากัดของวิธีนี้คือใชแรงงาน, ตองมีตูแชแข็ง, และตองรักษาความสะอาดใหดี และการจายตองอยูในรูปน้ํานมอุนซึ่งจะกระตุนการกิน แตตองระวังอยาอุนจนกลายเปนการตมน้ํานม ซึ่งอาจสูญเสียแรธาตุอาหารได การใหน้ํานมเหลืองรวมกับอาหารขนชวยเรงการเติบโตและน้ําหนักเมื่ออายุหยานม(ตารางที่ 3.7) ตารางที่3. 7 เปรียบเทียบการกินอาหารขนรวมกับน้ํานมเหลืองแชแข็ง

Page 24: (Feeding and Management of Dairy cattle)¸šทที่ 3...67 บทท 3 การจดการให อาหารโคนม (Feeding and Management of Dairy cattle) 1. ความต

90

ที่มา: Holmes and Wilson (1987) 2) น้ํานมเหลืองหมัก ( Fermented colotrum) น้ํานมเหลืองหมักหรืออาจเรียกนมเปรี้ยว การศึกษาหาวิธีการหมักน้ํานมเหลืองไดพัฒนาขึ้นมา และใชไดดีในเขตหนาว แตในประเทศเขตรอนอาจมีปญหาในการใชอยูบาง กลิ่นหมักของนมอาจจะมีกลิ่นแรง สําหรับคนเลี้ยงบางคนอาจไมชอบ แตอยางไรก็ตามการหมักนมดวยวิธีที่ถูกตองสามารถใชเลี้ยงลูกโคไดเปนอยางดี กระบวนการหมักจะคลายคลึงกับการทํา Silage การหมักน้ํานมเหลืองเพื่อรักษาคุณภาพไว ณ pH 4 จึงเปนจุดเหมาะสมสําหรับระงับการเจริญเติบโตของจุลินทรีย ถาในประเทศเขตรอนอาจมีการเสริมสารกันบูดเขาไปอีกคือการใส propionic acid 1% จะชวยทําใหการหมักเร็วขึ้น สามารถใชเวลาหมักสั้นลง และสามารถใชวิธีการตอเช้ือจากน้ํานมเหลืองหมักตัวเดิม ตอไปไดในการหมักครั้งใหม แตอยางไรก็ตามน้ํานมเหลืองหมักจะไมสามารถเก็บไวไดนานแบบ silage ได หลักการใชนมหมักใหแกลูกโค 1) นมหมัก จะตองใหกินภายใตการรักษาความสะอาดที่ดี และภาชนะที่ใชจะตองเปนสแตนเลสหรือพลาสติก 2) น้ํานมเหลืองที่ไดจากแมโคที่อยูระหวางรักษาโรคเตานมอักเสบดวยยาปฏิชีวนะ ไมสามารถนํามาใชหมักได เช้ือหมักจะตายหมด 3) นมหมักแลวจะตองเก็บรักษาไวในอุณหภูมิ 4.0-26oC ไวรอใหลูกโคกิน แตถาอุณหภูมิแวดลอมสูงกวานี้ นมอาจเสียไดจากการหมักบูดในรอบที่ 2-3 ของเชื้อที่เราไมตองการ ดังนั้นในสภาพอากาศรอน เราตองมีการจัดการแบบแยก คือ 3.1) ควรเริ่มขบวนการหมัก โดยการเติมเชื้อหมัก และเมื่อ pH ไดระหวาง 4-4.5 แลว 3.2) เราจะตองเก็บรักษานมดังกลาวไวในสภาพเย็น 4-8oC รอจนถึงเวลาจายนมใหลกโคเราจึงนํามาใหลูกโคกิน 3.3) และกําหนดชวงเวลาใหลูกโคกินภายใน 1-1.5 ช่ัวโมง ควรเก็บออกมาลางทําความสะอาดใหเรียบรอย 4) ถาหมักน้ํานมเหลืองแลว กระบวนการผิดพลาด pH ไมลดลงมาตามที่ตองการ เราตองทิ้งนมชุดนี้ไป หามนําไปใชเลี้ยงลูกโค 5) นมหมักที่ pH 4-4.5 เก็บรักษาที่อุณหภูมิ 4-8oC ไวไดนาน 1 เดือน 6) กอนใหกินเราควรกวนนมหมักใหเขากันดีกอน หรืออาจผสมกับนมใหมได 7) การใหกินนมหมัก จะตองใชน้ํานมเหลืองหมัก 2-3 สวน ผสมกับน้ํา 1 สวน กวนใหเขากัน และจึงนําไปใหกิน (การเจือจางเพื่อใหมีคุณสมบัติเชนเดียวกับนมดิบ) ปริมาณใหกินใชในอัตราสวนเดียวกับนมดิบ เพราะหลังเจือจางแลว โภชนะจะใกลเคียงกัน

Page 25: (Feeding and Management of Dairy cattle)¸šทที่ 3...67 บทท 3 การจดการให อาหารโคนม (Feeding and Management of Dairy cattle) 1. ความต

91

8) นมหมักที่เย็นเกินไป ไมควรใหลูกโคกิน ควรจายนมในขณะที่ไมเย็นมาก เพราะจะทําใหสวนไขมันละลายเขากันไดดีขึ้น 9) การใหกินนมหมักแบบขวด ดีกวาการปลอยใหกินแบบถัง หรือการใหกินแบบใชหัวนมใหลูกโคดูด จะชวยเพิ่มอัตราการกินไดดีขึ้น 10) ถามีลูกโคบางตัวปฏิเสธการกิน หรือกินไดไมดี ก็ควรใชนมดิบหรือนมเทียมอื่นเลี้ยงลูกโคตัวนั้น เปนการเฉพาะตัวไป นมดิบและนมเทียม ( Whole milk and milk replacer ) ลูกโคหรือลูกสัตวเกิดใหมก็คลายกัน คือมีความตองการน้ํานมในชวงแรกเกิด จนกวาลูกโคจะพัฒนาระบบกระเพาะไดดี จึงสามารถใชอาหารอื่นได อาหารเสริมนม ที่ใชจะตองมีสวนผสมของนมผงอยูดวย ลูกโคจึงเจริญไดดี ถึงแมวาลูกโคจะเจริญไดดีอัตราการตายนอย เมื่อเลี้ยงดวยนมเทียม แตอัตราการตายของลูกโคจะต่ําสุดเมื่อเลี้ยงดวยนมดิบ จากการศึกษาถึงระยะเวลาที่ตองใชนมดิบหรือนมเทียมเลี้ยงลูกโค พบวา จะตองใหลูกโคกินนมดิบไปอยางนอย 3 สัปดาห ลูกโคจึงจะแข็งแรงพอ แตถาใหลูกโคกินนมไดนานกวานี้ยิ่งเปนผลดีตอลูกโค การใหนมไปถึงอายุ 4-5 สัปดาห จะลดอัตราการตายไดมาก แตอยางไรก็ตามลูกโคที่ยังคงออนแอ เราตองใหลูกโคตัวนั้นกินนมอยูตอไป จนกวาจะแข็งแรง เพราะคาใชจายราคานมมีมูลคานอยกวามูลคาลูกโค

6.5 นมดิบ นมดิบ(whole milk)จะใหแกลูกโคในระยะวันที่ 3-4 เปนตนไป หรือหลังจากระยะที่ลูกโคกินน้ํานมเหลืองจนครบ

5-7 วันแลว ในชวงสัปดาหแรกลูกโคจะกินไดนอย เราจะใหนมดิบประมาณ 6% ของน้ําหนักตัว และลูกโคจะกินไดมากขึ้นในระยะ 2-3 สัปดาหตอมา ควรใหเพิ่มเปน 10-12% ของน้ําหนักตัว หลังจากนี้ไปในแตละสัปดาห เราตองพยายามปรับลดน้ํานมลงจาก 10-12%ลงเรื่อยๆ จนถึงวันหยานม เพื่อกระตุนใหลูกโคกินอาหารเสริมมากขึ้นจะไดแข็งแรงหยานมได การใหนมดิบหรือนมเทียม ที่สําคัญของการจัดการที่ดี ตองมีภาชนะใสนมที่สะอาด ลางทําความสะอาดทันทีหลัง ลูกโคกินเสร็จ และควรผานการเชื้อมาใหเรียบรอย เชน การตากแดด หรือการแชน้ํายาฆาเชื้อเจือจาง และอุณหภูมิน้ํานมดิบที่

ใหลูกโคกินแตละครั้ง จะตองมีอุณหภูมิสม่ําเสมอ(37°C)ตลอดเวลาที่จายนมใหลูกโคในแตละครั้ง และการใหลูกโคไดรับน้ํานมดิบกินเต็มที่จะทําใหลูกโคมีน้ําหนักหยานมสูงสุด(ตารางที่ 3.8) ตารางที่3. 8 ความสัมพันธของการใหน้ํานมดิบกับการเจริญเติบโตของลูกโคโฮนสไตฟรีเช่ียน ระดับต่ํา ระดับสูง เต็มที่ เต็มที่ + กรดcitric ปริมาณน้ํานมที่กิน, ลิตร 3.5 6.1 8.1 8.4 พลังงานที่ไดรับตอวัน, MJ.ME/day 9.1 15.8 21.1 21.8 น้ําหนักเพิ่มตอวัน, kg/day 0.24 0.56 0.82 0.82 น้ําหนักตัวเมื่ออายุ 41วัน, kg 40.6 53.5 63.9 61.9

Page 26: (Feeding and Management of Dairy cattle)¸šทที่ 3...67 บทท 3 การจดการให อาหารโคนม (Feeding and Management of Dairy cattle) 1. ความต

92

* กรดcitric ผสมในอัตรา 2 กรัมตอลิตร ใชเพื่อรักษาคุณภาพน้ํานม ที่มา: Holmes and Wilson (1987)

6.6 นมเทียม องคประกอบและคุณภาพของนมเทียมจัดเปนลําดับที่สําคัญสุดของอาหารลูกโคนม เนื่องจากนมเทียมตองจัดเตรียม

และมีคุณภาพเพียงพอตามความตองการของลูกโค เมื่อคิดในรูปน้ําหนักแหง นมเทียมจะตองมีโปรตีนขั้นตํ่า 22%, ไขมัน 10% TDN 95%, แคลเซียม 0.7%, ฟอสฟอรัส 0.5%, ไวตามิน A 1720 IU/ปอนด วัตถุดิบที่นํามาใชในสูตรอาหารตองมีความระมัดระวังมาก วัตถุดิบหลายตัวที่ใชกับโคโตได แตใชกับลูกโคไมได หรือใชไดในจํานวนจํากัด วัตถุดิบที่ลูกโคชอบมากคือนมผง หางนมผง โปรตีนนม และเคซีนเปนตน(ตารางที่ 3.9, 3.10) การใชผลิตภัณฑนมในลักษณะของนมเทียม เนื่องจากราคาของนมดิบมีราคาแพงขึ้น การใชนมดิบเลี้ยงลูกโคจึงมีแนวโนมลดลง และหันมานิยมใชนมเทียมกันมากขึ้น ในสวนของนมผงขาดมันเนย (skim milk powder) เมื่อนํามาใชจะมีปญหาในเรื่องการผสม (ละลายยาก) ยกเวนจะใชชนิดที่ละลายไดเร็ว แตสามารถใชในลูกโคไดไมมีปญหา หางนม (Dried whey) จะมีสวนของน้ําตาล lactose มาก ซึ่งในอาหารเสริมเราไมตองการ lactose มาก การนํามาใชจึงตองจํากัดปริมาณการใช แตทั้งนมผงพรองมันเนย และหางนมตางก็ถูกแยกไขมันออกไปแลว จึงเหลือไขมันอยูนิดเดียว เราจึงตองหาแหลงไขมันเสริมในอาหารนมเทียมอีก โดยทั่วไปอาหารนมเทียมที่มีไขมันสูงจะทําใหลูกโคเพิ่มน้ําหนักตัวไดเร็ว เปอรเซ็นตไขมันในนมเทียมประมาณ 10% ยกเวนถาจะขุน (veal production) ที่อาจมีการเพิ่ม %ไขมันใหสูงกวานี้ไดอีก ตารางที่3. 9 ปริมาณโภชนะที่แนะนําในนมเทียม

ที่มา: ดัดแปลงจากNRC(1989)

Page 27: (Feeding and Management of Dairy cattle)¸šทที่ 3...67 บทท 3 การจดการให อาหารโคนม (Feeding and Management of Dairy cattle) 1. ความต

93

ตารางที่3. 10 แหลงโปรตีนของนมเทียม ที่ใชในลูกโค ที่มา: Morrill(1992)

การใชวัตถุดิบอื่นๆ ในนมเทียม ความพยายามพัฒนาใหมีการใชวัตถุดิบจากแหลงอื่นๆ ที่ไมใชโปรตีนหรือพลังงานจากน้ํานมหรือผลิตภัณฑนม เพื่อลดตนทุนการผลิตนมเทียม แตก็ยังมีขอจํากัดในการใชใหไดดีอยู เนื่องจากเมื่อใชแลว ลูกโคยังมีปญหาในการยอยและนําไปใช ตารางที่3.10 1.)การใชปลาปนในนมเทียม ปลาปนสามารถนาํมาใชเปนสวนผสมในนมเทียมได 35% ของโปรตีนในนมเทียม การใชอัตราที่สูงกวานี้จะมีปญหาทําใหลูกโคชะงักการเจริญเติบโต โดยเฉพาะถานํามาใชในลูกโคอายุนอยๆ ทั้งนี้เกิดจากคุณภาพของโปรตีนจากปลาปนยอยไดตํ่า และมีสวนของกรดอะมิโน, ไขมันตํ่า และยังขาดไวตามิน E 2.)การใชโปรตีนพืชในนมเทียม ก็เชนเดียวกับปญหาในปลาปน แหลงโปรตีนจากพืชเชนถั่วเหลือง นอกเหนือจากมีสาร Trypsin inhibitor แลว การละลายของโปรตีนถั่วเหลือง ยังคงเปนปญหาในการนําใชในลูกโคอยู 3.) การใชเมล็ดธัญพืชในนมเทียม ลูกโคระยะแรกไมสามารถใชหรือยอยแปงไดอยางมีประสิทธิภาพ ดังนั้นเมล็ดธัญพืชที่เสริมเขาไปนั้น ลูกโคจะนําใชไดนอย และยังทําใหลูกโคเกิดอาการทองเสีย และมีผลทําใหการใชประโยชนของโปรตีนในเมล็ดธัญพืชเหลานี้สูญเสียไป การใชจึงยังมีขอจํากัด 4.)การใชไขมันและน้ําตาลในนมเทียม โดยทั่วไปอาจกลาวไดวา ลูกโคมีความสามารถใชแหลงไขมัน (ที่ไมไดมาจากน้ํานม) และน้ําตาลไดดีกวาการใชแหลงคารโบไฮเดรตและโปรตีนจากพืช ไขมันจากสัตวจะดีกวาไขมันจากพืชและควรมีการเพิ่ม lecithin จะทําใหการใชประโยชนไดดีขึ้น ลูกโคสามารถยอยน้ําตาลเชิงเดี่ยว (Simple Sugar) เชน กลูโคสไดดีมีประสิทธิภาพ แตไมสามารถยอยน้ําตาลที่มี Sucrose เปนองคประกอบได การใชนมเทียม(Milk Replacer)

Page 28: (Feeding and Management of Dairy cattle)¸šทที่ 3...67 บทท 3 การจดการให อาหารโคนม (Feeding and Management of Dairy cattle) 1. ความต

94

โคนมจะใหน้ํานมที่เปนน้ํานมเหลืองอยูประมาณ 5 วัน หลังจากนั้นน้ํานมจะเปนนมดิบที่สามารถนําไปจําหนายตอไปได ราคาของน้ํานมดิบมีราคา 10-13 บาทตอกิโลกรัม ในขณะที่นมเทียมเมื่อผสมเปนนมน้ํา แลวมีราคา6-7.0 บาทตอกิโลกรัม ดังนั้นผูเลี้ยงโคนมจึงมักนํานมดิบทั้งหมดไปขายและซื้อนมผง นมเทียม มาคืนรูปใชเลี้ยงลูกโคตอไป ในการซื้อนมเทียม (Milk Replacer) มาเลี้ยงลูกโคควรพิจารณาทั้งคุณภาพ (แหลงของวัตถุดิบ) และอัตราสวนในการผสม (นมผงตอน้ํา) โดยทั่วไปลูกโคควรไดรับสิ่งแหง หรือปริมาณนมผงในอัตรา 450 กรัม/วัน และมีสัดสวนในการผสมนมผงในอัตราความเขมขนอยางนอย 100 กรัม/ลิตรนม (อัตราผสมนมผง : น้ํา = 1 สวน : 8-10 สวน) ถาผสมนมผงใหเจือจางกวานี้ จะมีผลกระทบตออัตราการเจริญเติบโตของลูกโคทันที แตอยางไรก็ตามอัตราสวนผสมยังขึ้นอยูกับชนิดของนมเทียมที่แตละบริษัทจะแนะนําอัตราผสมไวให ผูเลี้ยงจึงไมควรผสมใหเจือจางกวาอัตราที่บริษัทกําหนดไว ผลของความเขมขนของนมเทียม การผสมนมเทียมใหมีความเขมขนแตกตางกันนั้น จะมีผลกระทบตออัตราการเจริญเติบโตของลูกโค ผูเลี้ยงบางสวนมีความเขาใจคลาดเคลื่อนที่พยายามผสมนมใหมีการเจือจาง เพื่อเพิ่มปริมาณการกิน หรือแบงจายไดมากตัว หรืออาจผสมน้ํานมใหมีความเขมขนมากๆ เพื่อเรงการเจริญเติบโต แตทั้งสองประการจะมีผลกระทบคือ ถาผสมนมเทียมใหเจือจาง ทําใหลูกลดอัตราการเจริญเติบโต และลูกโคมีแนวโนมถายเหลวจนถึงอาจทองเสียไดงาย แตถาผสมนมเทียมใหเขมขนมากลูกโคจะมีแนวโนมถายแข็งเปนกอน มีอาการทองผูก ดังนั้นจึงไมควรผสมใหนมเทียมมีความเขมขนมากเกินไป ตารางที่3. 11 ผลกระทบของความเขมขนน้ํานมเทียมตอการเสริมอาหารขนและการเจริญเติบโต

ความเขมขน (g/l)

100 200

น้ําหนักเริ่มตน (กก.) 45.3 48.6 จํานวนวันหยานม (ที่น้ําหนัก 68 กก.) 49.0 42.0 น้ําหนักหยานม (กก.) 68.2 68.0 น้ําหนักเพิ่ม/วัน (กก./day) ถึงหยานม 0.47 0.48 น้ําหนักเพิ่ม/วัน หลังหยานมไป 12 สัปดาห 0.86 0.86 นมเทียม (กก., แหง) 19.8 27.4 อาหารขนเสริม, กก. 35.6 18.8

ที่มา: Holmes and Wilson (1987) จากตารางที่ 3.11 จะเห็นวาระดับมาตรฐานที่แนะนําสําหรับลูกโคคือที่อัตราผสม 100 g/l (= ผสมนมเทียมผงตอน้ํา = 1:10) ลูกโคที่เลี้ยงโดยใหมีความเขมขนมาก จะใชจํานวนวันหยานมนอย ใชเวลาเลี้ยงเพียง 42 วัน (เทียบกับ 49 วัน) แตถาคิดราคาของนมเทียมกับราคาอาหารขนที่ใชในการเลี้ยง จะพบวาใชความเขมขนที่ 100 g/l จะใหผลตอบแทนดีที่สุด แตอยางไรก็ตามจากหลักการที่ลูกโคตองไดรับนมเทียม 450 g/วัน นั้น อัตราผสมอาจปรับตามความถี่ของการจายน้ํานมวาจายน้ําวันละกี่ครั้ง (2

Page 29: (Feeding and Management of Dairy cattle)¸šทที่ 3...67 บทท 3 การจดการให อาหารโคนม (Feeding and Management of Dairy cattle) 1. ความต

95

ครั้ง/วัน, 3 ครั้ง/วัน) แตละครั้งใหกินน้ํานมเทียมกี่ลิตร เชน จาย 2 ครั้ง/วัน, ใหกินครั้งละ 2 ลิตร เราตองผสมนมเทียมในอัตรา 112.5 กรัม/ลิตร (กิน 4 ลิตร x 112.5 = 450 กรัม/วัน) อุณหภูมิของน้ํานมเทียมท่ีผสม โดยทั่วไปการใหน้ํานมทั้งนมดิบหรือนมเทียม ควรอยูในสภาพอุนที่อุณหภูมิ 35-38oC จะทําใหลูกโคกินนมไดมากที่สุด และความสม่ําเสมอของอุณหภูมินมที่ใหลูกโคมีความสําคัญกวาองศาของน้ํานมที่ถูกตอง หมายความวา ถาเราเคยใหนมลูกโคที่ 35oC ก็ควรใหทุกครั้งที่ 35oC ไมควรเปลี่ยนไปมา การใหน้ํานมเย็นหรือที่อุณหภูมิหอง เมื่อเทียบกับการใหนมอุนแลว การใหนมอุนชวยใหโคเจริญเติบโตไดเร็ว มีน้ําหนักหยานมมากกวา ตารางที่3. 12 เปรียบการเจริญเติบโตของลูกโคที่ไดรับน้ํานมที่มีอุณหภูมิตางกัน

ใช 0.45 กก. นมเทียมผงผสมน้ําอุนใหกิน 3-4 ลิตร/วัน

รายการ อุน (35-38oC) เย็น (5oC)

น้ําหนักแรกเกิด, กก. 36.7 37.7 น้ําหนักหยานม, กก. 49.9 49.0 น้ําหนักที่อายุ 12 สัปดาห, กก. 86.6 84.8 น้ําหนักเพิ่ม/วัน 0.59 0.56 จํานวนวันหยานม 33 32 ปริมาณอาหารขนที่ได (กก.) 10.0 11.3

โดยทั่วไปอัตราการผสมนมเทียม (ผง) จะใชอัตราน้ํา 8 สวน กับนมเทียม 1 สวนผสมกันในน้ําอุน จะทําใหไดสวนผสมน้ํานมเทียมที่มีเปอรเซ็นตเนื้อนม 12% เทากับน้ํานมดิบ แตมีขอสังเกตวาน้ํานมเทียมมักจะมี %ไขมันตํ่า ดังนั้นระดับพลังงานในน้ํานมเทียมมักต่ํากวาในน้ํานมดิบ ตาราง3.12 หลังผสมนมเทียมผง ใหเปนน้ํานมเทียมแลว การนําไปจายใหลูกโคกินจะใชอัตราเดียวกับการใชน้ํานมดิบ แตตองใหหลังจากที่ลูกโคไดรับน้ํานมเหลืองมาแลว 5 วัน จึงเริ่มใชน้ํานมเทียมแตอยาลืมการใชน้ํานมเทียมในลูกโคเร็วเทาไร อัตราเสี่ยงที่โคจะเจ็บปวยจะมีมาก ดังนั้นวิธีที่เหมาะสม ควรใหลูกโคไดกินน้ํานมเหลือง 1 สัปดาห กินนมดิบอีก 2-3 สัปดาห หลังจากนั้นจึงทดแทนนมดิบดวยน้ํานมเทียมภายหลังจากสัปดาหที่ 3 เปนตนไป จะชวยใหลูกโคเจริญเติบโตไดดี เพราะระยะแรกๆ ควรปลอยใหลูกโคโตจากน้ํานมดิบ เนื่องจากเปนระยะวิกฤตของลูกโคในชวง 1-3 สัปดาหแรกหลังคลอด ชนิดของนมเทียม 1. นมผงแท (Conventional Powders)

Page 30: (Feeding and Management of Dairy cattle)¸šทที่ 3...67 บทท 3 การจดการให อาหารโคนม (Feeding and Management of Dairy cattle) 1. ความต

96

เปนนมผงที่ผลิตมาจากนมดิบแทอยางเดียว จะมีอยู 3 ประเภท คือ มีไขมันมาก (15-20 %fat, whole milk powder) กับชนิดที่มีไขมันนอย (1-5 %fat, Low fat milk powder) กับชนิดมีไขมันนอยมาก (Skim milk powder, 0.1-0.2 %fat) ลูกโคที่กินนมจากนมผงชนิดที่มีไขมันมาก จะมีอัตราการเจริญเติบโตดีกวา ชนิดมีไขมันนอย และสัมพันธกับปญหาจากโรคทองเสียก็มีนอยกวา ดังนั้นการซื้อนมผงมาใชเลี้ยงลูกโคจึงควรพิจารณาใหมีระดับไขมันที่อยางนอย 15-20% แตถาซื้อชนิดไขมันนอยมาก จะตองพิจารณาเพิ่มแหลงพลังงานใหลูกโคดวย แตนมผงชนิดไขมันนอยอาจเหมาะกับการเลี้ยงลูกโคในอายุใกลหยานมได เพราะลูกโคจะไดรับอาหารขนเสริมซึ่งเปนอาหารที่มีพลังงานเพียงพอเปนการชดเชย ตารางที่ 3.13 ตารางที่3. 13 เปรียบเทียบ นมผงที่มี %ไขมันตางกันตอการกินอาหารและการเจริญเติบโตของลูกโค

Low fat (4%) High fat (17%)

น้ําหนักเริ่มตน, กก. 42.8 42.2 น้ําหนักเพิ่มถึงหยานม, กก./วัน 0.29 0.36 น้ําหนักเพิ่มหลังหยานม 8 สัปดาห 0.51 0.56 ปริมาณอาหารขนถึงหยานม 6.5 7.4 ปริมาณอาหารขนถึงหลังหยานม 8 สัปดาห 50.2 53.7 จํานวนวันปวยเปนโรคทองเสีย, วัน 31 13

2. นมเทียม นมเทียม หมายถึง นมที่ทําจากแหลงที่ไมใชนมดิบอยางเดียว มีการใชแหลงโปรตีนและพลังงานจากพืชและโปรตีนสัตวเขามาผสมเปนวัตถุดิบ จําแนกไดเปน 2 ประเภทใหญๆ คือ กลุมที่ทดแทนโปรตีนนมบางสวน (40-50%) และกลุมที่ ทดแทนโปรตีนนมทั้งหมด (100%) 2.1 กลุมทดแทนโปรตีนนมบางสวน (40-50%) ปกติในนมผงจะมีโปรตีนนมประกอบอยูประมาณ 80% ของสิ่งแหงทั้งหมด บริษัทที่ผลิตนมเทียมประเภทนี้จะมีการทดแทนโปรตีนนม ดวยโปรตีนจาก ปลาปน, กากถั่วเหลือง เปนตน ผูเลี้ยงตองพิจารณาเลือกใชใหดี เพราะลูกโคอาจปรับตัวไดไมดีนัก เปนบางตัว เนื่องจากขอจํากัดที่ลูกโคมีน้ํายอยในระบบการยอยนอย ทั้งชนิดและปริมาณน้ํายอย โปรตีนนม (Casein สวนใหญ) จะตกตะกอน และอยูในกระเพาะ abomasum เพื่อการยอยไดนานกวาแหลงโปรตีนที่มาจากพืช โปรตีนจากพืชหรือสัตวจะผานเขากระเพาะ abomasum ในชวงสั้นๆ จึงมักกอใหเกิดปญหาลูกโคทองเสียไดงายแตนมเทียมประเภทนี้มักจะราคาถูกกวานมผงแท ดังนั้นจึงตองมีการปรับการใหกิน และถาใหนมเทียมที่ระดับ 200 กรัม/ลิตร

Page 31: (Feeding and Management of Dairy cattle)¸šทที่ 3...67 บทท 3 การจดการให อาหารโคนม (Feeding and Management of Dairy cattle) 1. ความต

97

นม เหมือนใหนมผงแท อัตราการกินและการเจริญเติบโตจะลดลง แตถาใหนมเทียมเพิ่มในอัตรา 300 กรัม/ลิตรนม อัตราการกินและการเจริญเติบโตจะเทียบเทากับการใหกินนมผงแท อยางไรก็ตามนมเทียม มักมีปญหาการผสมเขากันและการ ตกตะกอน ดังนั้นกอนใหกินแตละครั้งจึงตองกวนนมเทียมที่ผสมแลวนั้นใหเขากันอีกรอบหนึ่งกอนใหลูกโคกิน 2.2 กลุมที่ทดแทนโปรตีนนมทั้งหมด (Zero milk) นมเทียมประเภทนี้จะไมมีสวนผสมของโปรตีนจากนมโคเลย โดยมีสวนผสมทําจากหางนม (whey product) โปรตีนจากถั่วเหลือง, โปรตีนจากปลาปนผานกรรมวิธี, แปงจากพืชผานกรรมวิธี และไขมันจากพืชและสัตวเปนองคประกอบ นมเทียมประเภทนี้จะมีราคาถูกกวา (2.1) เพราะใชแหลงวัตถุดิบที่มีราคาถูกกวา หลักการก็เชนเดียวกับที่กลาวแลวคือเปนนมที่ตองกวนใหเขากันไดดี เพราะจะมีปญหาในการละลาย และเลือกใชใหเหมาะกับลูกโค เพราะลูกโคบางตัวอาจมีน้ํายอย ที่ยอยโปรตีนจากแหลงที่นมเทียมใชไมได จะเกิดปญหาทองเสีย สวนอัตราการเจริญเติบโตของลูกโคที่กินนมเทียมแบบนี้ ก็เจริญเติบโตไดดีและประหยัดตนทุน แตการใชควรอยูในรูปน้ํานมอุน

6.7 นมเปรี้ยว นมเปรี้ยว (Acidified milk replacers)นมประเภทนี้พัฒนามาเพื่อยืดอายุการเก็บรักษาคุณภาพของน้ํานมไวใหไดนานที่สุด เมื่อผสมขึ้นมาแลวสามารถวางตั้งใหลูกโคกินไดในอุณหภูมิหองธรรมดา หรือใหกินเต็มที่โดยไมจํากัดเวลา ลูกโคจะคอยๆ กินทีละนอย นมเปรี้ยวแบบนี้จะชวยลดปญหาทองเสีย และปรับปรุงอัตราการเจริญเติบโตไดดี นมเปรี้ยวจะมี 2 แบบคือ แบบที่มี pH ไมตํ่า (5.6-5.9) และแบบที่มี pH ตํ่า (4.2-4.4) นมเปรี้ยว pH ไมตํ่า จะผลิตจากนมผงชนิด skim milk ผสมกับแหลงไขมันหรือ dry whey หรือ milk protein ดวย สวนนมเปรี้ยว pH ตํ่าจะผลิตจาก whey เปนหลักไมมีโปรตีนนม โดยใชผสมกับแหลงโปรตีนจากปลาปน, ถั่วเหลือง ทั้งนี้เพราะโปรตีนนมจะตกตะกอนหากอยูในสภาพนมเปรี้ยวที่มีความเปนกรดสูง อยางไรก็ตามทั้ง 2 แบบของนมเปรี้ยว จะไดรับการปรับสภาพ pH ใหอยูในอัตราที่เหมาะสมโดยสาร organic pH เพื่อที่ชวยยืดอายุของน้ํานม คุณภาพของนมเปรี้ยวแบบนี้สามารถเก็บไวในอุณหภูมิธรรมดาไดนาน 2-4 วัน หลังผสมแลว ซึ่งขึ้นอยูกับสภาพความเปนกรดและอุณหภูมิหองขณะนั้น โดยทั่วไปนมเปรี้ยวควรจะใหกินในสภาพนมเย็น แบบใหกินเต็มที่ เหมาะกับการเลี้ยงลูกโคแบบรวมกลุม (4-5 ตัว/กลุม) หรืออาจใชกับลูกโคที่เลี้ยงแบบขังเดี่ยวได โดยจายลงในถังนมของแตละตัว หรือถังรวมแลวมีหัวนมใหแตละตัวไดดูดกินทั้งวัน ตารางที่3. 14 การเจริญเติบโตของลูกโคที่ไดรับนมเปรี้ยวของลูกโคเพศผูโฮนสไตน

รายการ นมดิบใหแบบ กินในถัง

2x/วัน

นมเปรี้ยว pH 5.6-5.9 (กินเต็มที่)

นมเปรี้ยว pH 4.2-4.4 (กินเต็มที่)

น้ําหนักเพิ่ม 0-10 สัปดาห, กก./day 0.59 0.61 0.62 จํานวนนมที่กิน, กก..แหง 17 28 30 อาหารขนเสริม, กก. 94 78 83

นมเปรี้ยวอีกประเภทที่ผูเลี้ยงสามารถทําใชเองไดคือนมดิบที่มีในฟารม ในกรณีที่มีปญหาเรื่องการเก็บนมดิบใหลูกโคไดกิน ก็อาจทํานมดิบใหเปนนมเปรี้ยวโดยการเติมเชื้อแล็คโตแบซิลัส (Lactobacillus spp) ลงในนมดิบหมักจนได pH 4.2-5 ก็สามารถนํามาใหลูกโคไดกินไดตลอดวัน โดยไมมีปญหาจากนมบูดเนาจากเชื้ออื่นๆ ที่เราไมตองการ การใหกินนมเปรี้ยว

Page 32: (Feeding and Management of Dairy cattle)¸šทที่ 3...67 บทท 3 การจดการให อาหารโคนม (Feeding and Management of Dairy cattle) 1. ความต

98

ควรคอยๆ ปรับเริ่มใหกินในลูกโคหลังจากผานการกินน้ํานมเหลืองมาแลว (อยางนอย 1 สัปดาห) ลูกโคจะสามารถปรับตัวกินนมเปรี้ยวไดดี ตารางที่ 3.14

6.8 การใหอาหารลูกโค ลูกโคมีกระเพาะเปนสี่สวน แตเฉพาะสวนที่เรียกวา abomasum หรือกระเพาะจริงเทานั้น ที่ทํางานไดในระยะแรกเกิดของลูกโค กระเพาะสวนอื่นๆ คือ reticulo-rumen แล omasum จะยังไมพัฒนาจนกวาลูกโคจะไดเริ่มกินอาหารเสริม พวกอาหารขนตางๆ รวมทั้งหญาแหง ซึ่งจะเปนระยะแรก 7-14 วันแรก ที่เรายังใหน้ํานมเปนหลักอยูนั่นเอง พฤติกรรมการดูดน้ํานมหรือการดื่มน้ําก็ดี จะเปนการทําใหหลอดอาหารสวน Oesophageal ยกตัวขึ้นเปนรอง (groove) เพื่อสงน้ํานมตรงเขาไปที่กระเพาะจริง abomasum โดยไมผานเขาไปใน reticulo-rumenเพื่อยอยน้ํานมไดโดยตรง ในกรณีตรงขามถาลูกโคดื่มนมแบบตะกละ ดื่มอยางรวดเร็ว จะเปนผลทําใหน้ํานมบางสวนลนรอง (Esophageal groove) เขาไปในกระเพาะหมัก Rumen ซึ่งทําใหเกิดอาการทองอืดขึ้นมาได ในระยะแรกเกิด หรือในชวงที่ลูกโคกินน้ํานมอยูนั้น (อาหารเหลว) ลูกโคจะไดสารอาหารจาก casein เปนแหลงโปรตีนรวมถึงโปรตีนในรูปอื่นดวย แต casein จะมีอยูมาก นอกนั้นก็มีสวนของไขมัน และน้ําตาลในนมเปนหลัก หลังจากลูกโคดื่มนมเขาไปแลว น้ํายอยในกระเพาะจะทําใหน้ํานมตกตะกอนเปนลิ่มใน abomasum ภายใน 3-4 ชม. หลังกินนมสวนของ whey จะแยกตัวออกมาเปนสวนของน้ําตาลนม และแหลงไนโตรเจน (Nitrogenous compounds) และไหลผานไปยังสวนลําไสเพื่อดูดซึมตอไป ในสวนของโปรตีนนมและไขมันนม จะใชเวลาในการยอยนาน จึงคอยไหลผานไปสวนของลําไสตอไป ในกรณีที่ลูกโคติดเช้ือหรือมีเช้ือ E. coli ปนเปอนในนม จะมีผลทําใหกระบวนการตกตะกอนของน้ํานมในกระเพาะอาหารไมสมบูรณ ทําใหลูกโคเกิดอาการทองเสียได

6.9 การพัฒนาของกระเพาะอาหารลูกโค การพัฒนาของกระเพาะอาหาร (rumen development)ทั้งในสวนของ retialo-rumen และ omasum จะเริ่มตนเมื่อ ลูกโคไดรับการกินอาหารแหง หรืออาหารขน อาหารหยาบตางๆ เขาไป การพัฒนาของกระเพาะจะชาหากลูกโคกินและเพิ่มอาหารเสริมใหลูกโค การพัฒนาของกระเพาะจะเร็วขึ้น ดังนั้นการฝกใหลูกโคไดกินอาหารเสริม ต้ังแตวันที่ 5 หลังคลอดเปนตนไปภายใน 4-5 วัน ลูกโคก็จะกินอาหารไดเกง และชวยเหลือตัวเองไดในการกินอาหารเสริมชดเชยปริมาณนมที่ถูกจํากัด เชนกันเมื่ออาหารเสริมไดรับการกินเขาไป จุลินทรียตางๆจะเริ่มขยายตัวเพื่อยอยอาหารในสวนของเยื่อใยและแปง เชน แหลงพลังงานของลูกโคตอไป เมื่อกระเพาะหมัก (Rumen) ทํางานไดดีแลว ปญหาลูกโคทองเสียก็จะหมดไป ในระยะกอนหยานมนี้ควรกระตุนหรือเนนการใหอาหารขนแกลูกโคมากกวาหญาแหง เพราะอาหารขนมีสวนชวยในการพัฒนาของ papillae ของ Rumen ซึ่ง papillae นี้จะทําหนาที่ในการดูดซึมสารอาหารภายในกระเพาะหมัก เทากับวาไดเพิ่มพื้นที่ การดูดซึมสารอาหารมากขึ้น ถา papillae มจีํานวนมาก และพัฒนาไดดี โดยการใหกินอาหารขนในระยะแรกนั่นเอง ขณะที่ลูกโคมีน้ําหนักต่ํากวา50 กก. ลูกโคจะกินอาหารไดประมาณ10% ของน้ําหนักตัวและยังขึ้นอยูกับลักษณะของอาหารที่จะกินได ในระยะกอนหยานมปริมาณสิ่งแหงควรไดมาจากแหลงน้ํานมเปนหลักและอาหารขน หญาแหงตามลําดับ โดยทั่วไปลูกโคจะชอบกินอาหารในรูปหยาบมากกวาอาหารขนที่มีลักษณะเปนฝุนมาก เราจึงควรมีหญาแหงคุณภาพดีเตรียมไวใหสําหรับลูกโคเปนการเฉพาะ

Page 33: (Feeding and Management of Dairy cattle)¸šทที่ 3...67 บทท 3 การจดการให อาหารโคนม (Feeding and Management of Dairy cattle) 1. ความต

99

6.10 อาหารขนลูกโค อาหารขนลูกโค (Calf starters) เนื่องจากนมดิบและนมเทียมมีราคาแพง และลูกโคเมื่อโตขึ้นก็จะกินในปริมาณมาก ดังนั้นเราจึงตองพยายามทดแทนนมดังกลาวดวยอาหารขนลูกโค ซึ่งมีแหลงโปรตีนและพลังงานจากพืชและสัตว และที่สําคัญมีราคาถูกกวา โดยปกติเราจะเริ่มฝกใหลูกโคไดหัดกินอาหารขนลูกโค ต้ังแตอายุได 5 วัน - ถึง 14 วัน การหัดใหกินเร็วจะทําใหลูกโครับไดงาย แตหากไปฝกเมื่อลูกโคอายุมาก จะฝกยากขึ้น เพราะลูกโคจะติดนม ในสัปดาหแรกที่เริ่มฝกใหลูกโคกิน จะกินไดนอย แตผูเลี้ยงตองเปลี่ยนอาหารใหมทุกมื้อเชนเดียวกับการใหนม เพื่อเปนการกระตุนลูกโค ปริมาณการกินจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ และจะกินไดเพียงพอกับความตองการเมื่อลูกโคถึงอายุหยานมพอดี (4-8 สัปดาห) ปริมาณอาหารขนที่กิน รวมกับหญาแหงคุณภาพดี จะชวยกระตุนระบบกระเพาะหมักพัฒนาไดเร็ว

อาหารขนลูกโคเมื่อคิดในรูปน้ําหนักแหง (Dry basis) ควรมีโปรตีนขั้นตํ่า 18% TDN 80%, แคลเซียม 0.8%, ฟอสฟอรัส 0.4% และหากใชวัตถุดิบคุณภาพดีในการทําอาหารขนแลว ไมจําเปนตองเลือกใชวัตถุดิบมากชนิด เพราะการใชวัตถุดิบมากชนิดไมไดมีขอไดเปรียบดีกวาการใชวัตถุดิบคุณภาพดีนอยชนิดเลย ยกเวนในเรื่องราคาที่อาจตางกันบาง อายุและน้ําหนักลูกโคจะเปนตัวกําหนดความตองที่แทจริง รวมถึงรูปแบบการใหอาหารวาเปนแบบแยกหรือแบบรวม

อาหารขนลูกโคจะใหกินไปไปจนถึงอายุลูกโค 12 สัปดาห (อายุหยานม 4-8 สัปดาห) โดยการใหกินในลักษณะกินเต็มที่ในรางอาหาร หรืออาจควบคุมการกินใหอยูในระดับ 2-3 กก./ตัว/วัน เพื่อควบคุมตนทุนการผลิตและปองกันลูกโคอวนเกินไป ก็ทําไดเชนกัน อยางไรตามเราจะเริ่มลดตนทุนจริงจัง เมื่อลูกโคอายุได 3 เดือนขึ้นไป เราจึงจะเปลี่ยนสูตรอาหารขน ลูกโค ไปเปนอาหารโครุนซึ่งมี %โปรตีน %พลังงาน ลดลง รวมถึงราคาอาหารลดลงดวย (ดูตัวอยางสูตรอาหารขนลูกโค) ลูกโคชวงเกิดใหมถึงอายุ 6 สัปดาห จะเจริญเติบโตแตกตางกันบาง แตภายหลังจากนั้นลูกโคจะเจริญเติบโตขึ้นมาทดแทน ดังนั้น ลูกโคจะเจริญเติบโตไดใกลเคียงกันในภายหลัง

6.11 การใหอาหารหยาบสําหรับลูกโค หญาแหง โดยทั่วไปหญาแหงคุณภาพดีเราจะจัดใหแกลูกโค ถึงวาในระยะแรกลูกโคจะกินหญาแหงไดนอยกวาอาหารขนก็ตาม หญาแหงควรเสริมเปนลักษณะใหกินอิสระ (free choice) ต้ังแตลูกโคอายุได 2 สัปดาหเปนตนไป หญาแหงควรเปนหญาคุณภาพดีจริง ไดจากบริเวณปลูกที่มีดินอุดมสมบูรณ และตัดทําแหงเมื่อระยะกอนออกดอก (early stage of maturity) เพื่อจะไดหญาแหงที่มีคุณคาทางอาหารดีที่สุด มีคุณสมบัติยอยงาย แตถาเราไปตัดทําแหงตอนหญาโตเต็มที่เราจะไดหญาที่มีเปอรเซ็นตการยอยยากเพิ่มขึ้น ถึงแมจะไดเปอรเซ็นตสิ่งแหงสูงก็ตาม และหญาแหงตองไดรับการเก็บรักษาในสถานที่ดี เพื่อถนอมคุณคาทางอาหารใหดีที่สุดสําหรับลูกโค แตอยางไรก็ตามหากแบบของโรงเรือนมีขอจํากัดของการจาย หญาแหงทําไดยาก เราก็สามารถเปลี่ยนสูตรอาหารขนเปนอาหาร TMR หรือ complete starter ration ซึ่งจะมีสัดสวนของอาหารเยื่อใยเพิ่ม สูงขึ้น เปนการทดแทนหญาแหงและอาหารขนในเวลาเดียวกันได เพราะอยางไรลูกโคก็ยังใชโภชนะจากแหลงอาหารหยาบไดไมดี จนกวาลูกโคจะอายุได 3 เดือนเปนตนไป ระบบกระเพาะจึงพัฒนาไดเต็มที่ จึงใชอาหารหยาบไดดี การใช TMR ลูกโคจะตองดูแลเรื่องปริมาณโภชนะของอาหารจะตองเพียงพอตามความตองการดวย อาหารหมัก (silage)

Page 34: (Feeding and Management of Dairy cattle)¸šทที่ 3...67 บทท 3 การจดการให อาหารโคนม (Feeding and Management of Dairy cattle) 1. ความต

100

หญาหมัก โดยทั่วไปลูกโคจะไมคอยชอบกินเทากับหญาแหง ถาเราจายใหลูกโคจะมีผลทําใหปริมาณการกินสิ่งแหงรวมลดลง ลูกโคจึงอาจโตชา อาหารขาวโพดหมักมักขาดแมงกานีส แคลเซียม และซัลเฟอร การใหกินจึงควรใหในระยะหลังของชวงการเจริญเติบโต คือ ต้ังแตอายุ 3 เดือนขึ้นไปจะดีกวา และหากสามารถลดความชื้นไดกอนนําจาย เชน การตกแดดกอนในหญาหมัก (ตากแหงไดงาย) จะเปนการดีลูกโคจะกินไดงายและมากขึ้น หญาสด หญาสด สามารถนําจายหรือเลี้ยงบนแปลงหญาไดดี แตมีขอระวังวา ไมควรใหหญาสดในลูกโคระยะแรกเกิดถึง 2 เดือน เพราะจะมีปญหาในเรื่องปริมาณการกินสิ่งแหงนอย และลูกโคอาจทองเสียไดงาย เพราะปริมาณน้ําจากหญาสด หรือถาจะนําจายควรจํากัดปริมาณการกิน จนกวาลูกโคจะโตกวาอายุ 2 เดือนเปนตนไป จึงจะปรับตัวไดดีขึ้น ลูกโคอายุ 3 เดือน สามารถใชหญาสดไดดีเทากับหญาแหง เพียงแตถาตัดนําจายจะตองเปนหญาสดใหมทุกมื้อ อยาปลอยใหเปนหญาคางรางอาหาร หญาสดจะเนาเสียไดงาย และจะทําใหลูกโคทองเสีย เจ็บปวยดวย สําหรับลูกโคที่เลี้ยงอยูบนแปลงหญา ใหระมัดระวังเรื่องโรคพยาธิเปนเรื่องใหญ โดยเฉพาะการติดพยาธิมาจากโคโตที่มารวมเลี้ยงในแปลงหญาเดียวกัน แตถาสามารถจัดแยกเปนแปลงหญาเฉพาะของลูกโคอยางเดียวไดตลอดป ปญหาเรื่องโรคพยาธิจะลดลง ระบบการเลี้ยงลูกโคบนแปลงหญา เราจะเสริมอาหารขนใหลูกโคไดกินแบบเต็มที่

6.12 น้ํา ความสะอาดของน้ําเปนเรื่องสําคัญมาก นอกเหนือจากการจัดใหมีอยางพอเพียงน้ําสะอาดเราจะเริ่มใสถังวางใหลูกโคไดกินต้ังแตอายุได 4-5 วันขึ้นไป ระยะแรกลูกโคจะไดน้ําเพียงพอจากน้ํานมอยูแลว และเมื่อเริ่มจํากัดปริมาณน้ํานมที่ใหโคกินแลว ความสําคัญของน้ําจะมีมากขึ้นและในชวงอากาศรอน ลูกโคที่มีน้ําใหกินตลอดเวลานั้น ลูกโคจะกินอาหารขนไดดีขึ้น และเร็วกวาลูกโคที่กินนมอยางเดียว

ดังนั้นจึงตองมีน้ําสะอาดใสถังวางใหลูกโคไดดื่มกินตลอดเวลา ลูกโคแรกเกิดไมชอบดื่มน้ําเย็น เราสามารถฝกใหลูกดื่มน้ําไดโดยปรับอุณหภูมิของน้ําใหอุนขึ้น จะชวยกระตุนใหลูกโคดื่มไดดีขึ้น การใหน้ําลูกโคอาจอยูในรูปถังวางตั้งหนาคอก หรือใสในถวยรองน้ําเฉพาะ ลูกโคระยะกอนหยานมควรดื่มน้ําและอาหารเปนรายตัว ไมควรจัดระบบที่กินดื่มรวมกัน จะทําใหลูกโคเจ็บปวยไดงาย เพราะสภาพอากาศที่รอนช้ืน มีผลทําใหเช้ือโรคขยายตัว และติดตอกับลูกโคไดเร็ว

6.13 อาหารโปรตีนและพลังงาน ปกติลูกโคจะไดรับพอเพียงเชนเดียวกับแรธาตุไวตามินในลูกโคระยะแรกเกิดถึงหยานม ถาเราใหปริมาณน้ํานมในอัตราแนะนําไว เพราะลูกโคจะไดแหลงโปรตีนและพลังงานจากน้ํานม แตโดยทั่วไปมีอัตราตามตารางที่3.15 ตารางที่3. 15 แสดงความตองการโปรตีนและพลังงานตามน้ําหนักลูกโค

น้ําหนัก (กก.)1/ ME

(MJ) โปรตีน (กรัม)

Page 35: (Feeding and Management of Dairy cattle)¸šทที่ 3...67 บทท 3 การจดการให อาหารโคนม (Feeding and Management of Dairy cattle) 1. ความต

101

50 19 150 100 27 253

1/ ลูกโคจะมีน้ําหนักเพิ่ม 0.5 กก./วัน

6.14 แรธาตุและไวตามิน จากที่ลูกโคไดรับจากน้ํานมในอัตราที่ใหกินที่เหมาะสมแลว ลูกโคจะไดรับแรธาตุและไวตามินในระดับที่เพียงพอตอการเจริญเติบโตปกติ การใหอาหารขนเสริมเพื่อเรงการหยานมนั้น เมื่อถึงระยะหยานม ปริมาณของแรธาตุและไวตามินจะมีความสําคัญมากขึ้น ในการผสมอาหารขึ้นใชเอง จึงควรใหความสนใจผสมแรธาตุไวตามินเขาไปดวย โดยใหในอัตรา แคลเซี่ยม 14 กรัม, ฟอสฟอรัส 9 กรัม แมกนีเซียม 0.7 กรัมตอตัวตอวัน สวนไวตามินที่อาจเสริมคือ A, D, E ไวตามินในลูกโคเกิดใหม กระเพาะหมักยังไมพัฒนานั้น ทําใหยังมีความตองการเสริมไวตามินในอาหาร นอกเหนือจากที่ไดจากน้ํานมเหลือง, นมดิบ ในนมเทียมและอาหารขนลูกโค จะตองมีการเสริมไวตามิน ไวตามินที่เสริมคือ A น้ํานมจากแมโคจะมีไวตามิน A มากหรือนอยจะขึ้นกับอาหารที่แมโคกินวามีแหลงของไวตามิน A หรือ Carotene หรือไม ถาในน้ํานมมีไวตามินไมเพียงพอเราอาจเสริมใหลูกโคในระยะสัปดาหแรกๆ ดวยวิธีผสมในอาหาร, กิน, ฉีด อยางหนึ่งอยางใดก็ได ในกรณีที่ลูกโคไดรับ แสงแดดบาง หรือไดรับหญาแหง ลูกโคไมจําเปนตองเสริมไวตามิน D ในอาหารขนลูกโค ในพื้นที่ที่มี selenium ตํ่า หรือในอาหารมีไขมันชนิดไมอิ่มตัว (unsaturated fat) เปนสวนประกอบเราควรเสริมไวตามิน E ในอาหารโดยทั่วไปก็จะใชเฉพาะในชวงแรกของการเจริญเติบโต

6.15 สารเสริม สารเสริมที่มีการใชในลูกโคคือกลุมยาปฏิชีวนะ โดยมีปริมาณการใชในระดับต่ําในอาหารลูกโคจะเพิ่มอัตราการกินอาหารการเจริญเติบโต, ลดปญหาทองเสีย และลดอัตราการตาย ของลูกโค การใชจะไดประโยชนดีในชวงแรกเกิดถึง 4 สัปดาห (ชวงระยะที่กินนมดิบหรือนมเทียม) หากลูกโคโตมากกวานั้นประโยชนที่ไดนอยลง และในสภาพการจัดการที่ดี สะอาดถูกสุขลักษณะ ประโยชนจากการใชสารเสริมนี้จะลดลงหรือไมมีประโยชนเลย และจะใชไดดีขึ้นในสภาพการจัดการที่ไมดีในลูกโค

6.16 จํานวนและวิธีการใหอาหารลูกโคถึงระยะหยานม ลูกโคแรกเกิดใหน้ํานมเหลือง 5-7 วัน แลวเปลี่ยนมากินนมดิบหรือนมเทียมในขณะเดียวกันเราจะมีการเสริมอาหารขนและหญาแหงใหลูกโคในระยะที่ลูกโคเริ่มเปลี่ยนมากินนมดิบดังกลาว ลูกโคจะเปลี่ยนมากินอาหารแหง (อาหารขน)ไดมากเทาใด(ตนทุนตํ่า)ขึ้นอยูกับผูเลี้ยง จะฝกหัดลูกโคไดดีเพียงใด เพื่อใหลูกโคเจริญเติบโตไดในเกณฑปกติ ลูกโคควรไดรับปริมาณสิ่งแหงเพียงพอ ลูกโคน้ําหนัก 35-45 กก. ควรกินสิ่งแหงได 0.45 กก./ตัว/วัน (ไดจากนมและอาหารขน) อาหารที่ใหควรแบงจายอยางนอยวันละ 2 ครั้ง ยกเวนในลูกโคปวย/ผอม ควรดูแลพิเศษและเพิ่มความถี่ในการจายอาหารใหมากขึ้นกวา 2 ครั้ง จนกวาลูกโคจะหายเปนปกติ

Page 36: (Feeding and Management of Dairy cattle)¸šทที่ 3...67 บทท 3 การจดการให อาหารโคนม (Feeding and Management of Dairy cattle) 1. ความต

102

ในสภาพอากาศหนาวจัด และลูกโคเลี้ยงในโรงเรือน เราควรเพิ่มความเขมขนของไขมันในอาหารขึ้น หรือพยายามเพิ่มความถี่ในการจายอาหารอาจเปน 3 ครั้งตอวัน เพื่อใหลูกโคสามารถกินอาหารไดเพิ่มขึ้น 1-1.5 เทาของปริมาณการกินปกติ เพื่อลูกโคจะไดรับระดับพลังงานสูงขึ้น สําหรับมาตรฐานการหยานมลูกโคที่อายุ 4-8 สัปดาห วิธีการที่ดีสุดในการหยานมลูกโค คือดูที่ปริมาณการกินอาหารขน ถาลูกโคกินอาหารขนไดในอัตรา 0.5 กก./ตัว/วันติดตอกัน เราก็หยานมลูกโคไดอยางปลอดภัย และมั่นใจไดวาลูกโคปรับตัวหลังการหยานมไดดี โดยไมมีปญหา การปองกันลูกโคทองรวง ทองรวงทองเสียจะเปนปญหาใหญในลูกโค และเปนโรคหลักที่ทําใหอัตราการตายของลูกโคสูงมาก แนวทางปองกันการทองเสียคือ 1) ใหลูกโคไดกินน้ํานมเหลืองเร็วที่สุด และปริมาณที่พอเพียง 2) เสริมไวตามิน 3) หลีกเลี่ยงการใหอาหารที่มากเกินไป (กินนมมากไป) และการใหอาหารที่มีกําหนดเวลาไมสม่ําเสมอ 4) เครื่องมือเครื่องใชถังน้ํา, ถังอาหาร ตองสะอาด และฆาเชื้อกอนใช 5) อยาเลี้ยงลูกโคในอัตราหนาแนน การเลี้ยงแยกกรงเดี่ยวดีที่สุด 6) พ้ืนคอก/กรงแหง มีการหมุนเวียนของอากาศไดดี 7) อยาใหลูกโคสกปรกและเปยกน้ํา

6.17 การหยานมลูกโค ลูกโคที่พรอมจะหยานมจะมีคุณสมบัติคือ กินอาหารแหงไดเกงและไมมีปญหาทองรวง อาหารแหงไดแกอาหารขนเสริมและหญาแหง ซึ่งมีราคาถูกกวานมดิบหรือนมเทียม การหยานมไดเร็วจึงเปนการลดตนทุนการผลิตอยางหนึ่ง การหยานมที่เหมาะสมพิจารณาจาก 1. อาหารที่กิน 2. น้ําหนักตัว 3. อายุโค 1. อาหารที่กิน จะหมายถึงอาหารขนเปนหลัก ปกติลูกโคกอนหยานมเราจะเริ่มหัดใหลูกโคไดกินอาหารขนมาตั้งแตอายุได 1 สัปดาห ซึ่งลูกโคจะกินปริมาณอาหารขน ไดมากเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ รวมกับการจํากัดปริมาณน้ํานมดิบหรือปริมาณน้ํานมเทียม จะชวยเรงใหลูกโคหัดกินอาหารขนไดเกงยิ่งขึ้น ปริมาณอาหารขนที่ลูกโคกิน จากผลการทดลองพบวาลูกโคถากินได 450 กรัม/วัน จะเปนปริมาณที่เพียงพอสําหรับการเจริญเติบโตของลูกโคในแตละวัน และไมมีขอไดเปรียบมากขึ้น หากรอใหลูกโคกินไดมากขึ้นถึง 900 กรัม/ตัว/วัน ดังนั้นในภาคปฏิบัติทั่วไป หากลูกโคกินอาหารขนไดเฉลี่ย 0.5-0.75 กก./ตัว/วัน ติดตอกัน เราก็พิจารณาหยานมลูกโคได เพราะแสดงวาระบบการยอยอาหารของลูกโคทํางานไดดีแลว ลูกโคสามารถเจริญเติบโตได จากการกินอาหารขนไดโดยไมตองพึ่งน้ํานมอีกตอไป 2. น้ําหนักตัวลูกโค

Page 37: (Feeding and Management of Dairy cattle)¸šทที่ 3...67 บทท 3 การจดการให อาหารโคนม (Feeding and Management of Dairy cattle) 1. ความต

103

การดูจากน้ําหนักลูกโคอาจมีขอผิดพลาดไดบาง เนื่องจากผลของน้ําหนักแรกเกิดรวมกับพันธุของลูกโค ซึ่งจะมีผลตออัตราการเจริญเติบโตอยูบาง แตโดยทั่วไปใหพิจารณาจาก 2.1 ลูกโคจากแรกเกิด ควรมีน้ําหนักตัวเพิ่มขึ้นอยางนอย 25 กก. เชน ตัวลูกโคแรกเกิดมีน้ําหนักตัว 40 กก. น้ําหนักsหยานมควรอยูที่ 65 กก. 2.2 น้ําหนักหยานมขั้นตํ่าของลูกโคที่ 60 กก. ถาใชสายพันธุที่มีขนาดใหญ น้ําหนักหยานมขั้นตํ่าควรพิจารณาใหสูงกวานี้ 3. อายุโค การพิจารณาจากอายุลูกโค เปนวิธีที่ทําไดงาย แตอาจจะไมเหมาะสมเทากับวิธีแรก เพราะลูกโคที่มีอายุมากหรือตัวเล็กหรือลูกโคที่เจ็บปวย มักจะยังไมพรอมที่หยานม ถึงแมวาอายุจะเกณฑแลวก็ตาม ผลของอายุตอการเจริญเติบโต ปกติเราควรหยานมลูกโคที่อายุได 2 เดือน ในการเลี้ยงสมัยใหม ถาการจัดการไดดีเราสามารถหยานมลูกโคไดภายใน 1 เดือน หรือ 4 สัปดาห จากตารางจะพบวา ถาหยานมลูกโคที่อายุ 4 สัปดาห จะมีน้ําหนักเพิ่ม 0.30 กก./วัน แตมีแนวโนมวา ถาหยานมที่อายุลูกโค 5 สัปดาหขึ้นไป จะทําใหลูกโคมีอัตราการเจริญเติบโตที่อายุ 12 สัปดาหไดดีกวา ดังนั้นในภาคปฏิบัติ เราสามารถหยานมลูกโค อยูในชวงอายุ 1-2 เดือน ไดโดยไมมีผลกระทบใด แตเราตองมีการจัดการดานอาหารเสริมเขามาทดแทนใหเพียงพอกับความตองการของลูกโค ตารางที่ 3.16 ตารางที่3. 16 อัตราการเจริญเติบโตของลูกโคที่ อายุหยานมตางกัน

โคพันธุโฮนสไตน, (กก./day)

4 สัปดาห 5 สัปดาห

น้ําหนักเพิ่มขึ้น - แรกเกินถึงหยานม 0.30 0.34 - แรกเกิดถึงอายุ 8 สัปดาห 0.37 0.42 - แรกเกิดถึงอายุ 12 สัปดาห 0.53 0.59

ระยะแรกของการหยานมลูกโค เมื่อเริ่มหยานมลูกโค ปริมาณอาหารขนเสริมที่ตองจัดใหเพียงพอควรมีปริมาณ 2.25 กก./ตัว/วัน พรอมดวยหญาแหงคุณภาพดี ไมควรใชอาหารหยาบสด (ถาไมจําเปน) เพราะจะมีผลกระทบตอปริมาณการกินสิ่งแหงและลูกโคทองเสียไดงาย อาหารขนเสริมนี้ควรเปนอาหารที่มีความนากิน มีระดับพลังงาน ME ไมนอยกวา 12.6 MJ./กก.น้ําหนักแหง และระดับโปรตีนไมนอยกวา 18% (As fed, หรือประมาณ 20%CP.DM) รวมกับไวตามิน A 4,000 IU, ไวตามิน D 1,000 IU, ในอาหารขน ตารางที่ 3.17 อาหารโปรตีนถามีความเขมขนตํ่ากวานี้จะมีผลกระทบตออัตราการเจริญเติบโตของลูกโค และการใชแหลงโปรตีนจากยูเรีย ไมแนะนําใหใชในอาหารของลูกโคอายุตํ่ากวา 14 สัปดาห ตารางที่3. 17 ผลกระทบของระดับโปรตีนตอการเจริญเติบโต

% Crude Protein (As fed)

14 16 18

Page 38: (Feeding and Management of Dairy cattle)¸šทที่ 3...67 บทท 3 การจดการให อาหารโคนม (Feeding and Management of Dairy cattle) 1. ความต

104

น้ําหนักเพิ่มตอวัน, กก. 0-5 สัปดาห 0.48 0.53 0.57 0.12 สัปดาห 0.55 0.62 0.68 ปริมาณอาหารขนที่กิน 0.12 สัปดาห, กก. 130 143 147 หญาแหง, กก. 6.6 6.0 5.9

อาหารขนสําหรับลูกโคไมควรมีลักษณะเปนฝุนผงมากนัก ลูกโคจะไมชอบกิน การใชโมลาสเปนสวนผสมในอาหารผสมเองนั้น เปนสิ่งดีจะชวยเพิ่มความนากินและลดการเปนฝุน อาหารขนอัดเม็ดไมจําเปนตองเพิ่มอัตราการกินอาหารของลูกโคได เพราะลูกโคคอนขางมีความรูสึกไวตอความออน-แข็งของเม็ดอาหาร อาหารเม็ดแข็ง ลูกโคไมชอบกิน จะกินนอยและลดอัตราการเจริญเติบโต แตอาหารเม็ดมีประโยชนที่ชวยเพิ่มความเปนเนื้อเดียวกันของอาหาร ทําใหลูกโคเลือกกินไมได หญาแหงลูกโคควรไดรับหญาแหงคุณภาพดี ไมใชฟางหรือหญาแหงที่แกจัด หญาแหงควรไดจากการทําการ ตัดหญาสดที่อายุกอน-ออกดอกของหญา จะไดหญาแหงที่มีคุณภาพโปรตีนและพลังงานดีกวาการตัดทําหญาแหงในระยะอื่นๆ หญาแหงที่ใหลูกโคกินควรจํากัดในปริมาณไมเกินครึ่งหนึ่งของปริมาณอาหารขนที่ลูกโคไดรับ (อัตราการเจริญเติบโต = 0.51 กก./วัน ภายในอายุ 12 สัปดาห รูปแบบการจัดการแบบตางๆ ในระยะแรกของการหยานม 1. แบบการใหนมดิบหรือนมเทียมเสริม วิธีนี้เปนการคอยๆ ลดปริมาณนมลง แตเพิ่มอาหารขนขึ้น อาจชวยใหลูกโคกินอาหารไดดีขึ้น ถาเราใหนมเสริมในปริมาณ 2-3 ลิตร/ตัว/วัน ลูกโคจะเจริญเติบโตแข็งแรงดี แตอาจมีปญหาในเรื่องคาใชจายหรือตนทุนการผลิตแพง มีมาตรฐานการเปรียบเทียบ Leaver และ Yarrow, 1972 น้ํานมดิบ 1 ลิตร มีคุณคาทางอาหารเทียบเทานมผงไขมันสูง 170 กรัม (DM) ถาคิดวานมดิบ 1 กก. ราคา 8.50 บาท และนมผง 1 กก. ราคา 40 บาท นมผงคืนรูป 170 กรัม มีมูลคา = 6.8 บาท ราคาอาหารขนลูกโค ราคา 6.5-8.0 บาทตอกิโลกรัม ดังนั้นผูเลี้ยงจึงตองพิจารณาดูวา สถานการณราคาวัตถุดิบกับวิธีการจายอาหารแบบใดไดเปรียบที่สุด 2. แบบใหอาหารเสริมน้ํานมเหลือง ในระหวางแมโคคลอดลูกใหม โคนมโฮนสไตนจะใหน้ํานมเหลืองวันละประมาณ 15 ลิตร ภายในระยะ 5 วันนี้ น้ํานมจะยังขายไมได ขณะเดียวกันลูกโคจะกินไดวันละ 8-10 ลิตร/วัน/ตัว ดังนั้นก็จะมีน้ํานมเหลือ ปริมาณที่เหลือนี้จะเพียงพอนํามาใชเลี้ยงลูกโคในระยะเริ่มหยานมได (เพื่อกระตุนการกินอาหาร) อัตราการใหน้ํานมเหลืองจะจายใหในรูปนมเย็น 2-2.5 ลิตร/ตัว/วัน ถาใหกินมากกวา 4.5 ลิตรตอตัวตอวัน จะมีผลทําใหทองรวงได และในระหวางการใหนมเทียมหรือน้ํานมเหลืองก็ดี ในสภาพอุณหภูมิหอง นมจะเปลี่ยนสภาพมี pH ตํ่าลง pH ที่ตํ่าลงจะยังคงพอเหมาะสําหรับลูกโคกินนมอยู ถาการจัดการจายน้ํานมมีความสะอาด และมีการจัดลางอุปกรณ และภาชนะที่เกี่ยวของดวยผงซักฟอกทุกครั้ง หลังจากจายนมใหลูกโคเสร็จก็มั่นใจไดวาโอกาสติดเชื้อจากเชื้ออันไมพ่ึงประสงคนั้นจะลดลง 3. การใหนมโดยเครื่องผสมนมอาหารอัตโนมัติ เครื่องผสมนมผงและจายนมใหแกลูกโคนั้น จะทําใหการจัดการมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยไมมีขอจํากัดของปริมาณการกินนม, ความถี่จายอัตราสวนผสมนม, อุณหภูมิของนม เครื่องจายและผสมนมแบบอัตโนมัติ จะชวยลดความ

Page 39: (Feeding and Management of Dairy cattle)¸šทที่ 3...67 บทท 3 การจดการให อาหารโคนม (Feeding and Management of Dairy cattle) 1. ความต

105

ตองการแรงงานลงไดถึง 30% เทียบกับการที่ลูกโคจะไดรับน้ํานมที่ใหมสดสะอาดอยูเสมอ รูปแบบนี้เหมาะสมกับฟารมขนาดใหญที่มีปริมาณลูกโคเกิดมาก จะลดปญหาเรื่องสุขภาพของลูกโคไดดี ลดอัตราการตายไดมาก ตลอดจนอัตราการเจริญเติบโตของลูกโครวดเร็ว เครื่องจายแบบนี้เหมาะกับโคที่ผานการกินน้ํานมเหลืองแลว จะตองเปนโคที่พรอมจะเลี้ยงแบบรวมกลุมไดดี 4. แบบการเลี้ยงในแปลงหญา ลูกโคที่เราไมปลอยออกเลี้ยงในแปลงหญาในระยะแรกดวยความเชื่อวาจะมีปญหาในเรื่องโรคแมลง, เห็บ, และพยาธิ รวมถึงการปรับตัวของลูกโคตอสภาพการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอม, อากาศ ฝนที่ตก เปนตน จะทําใหลูกโคออนแอ อยางไรก็ตามลูกโคสามารถกินและยอยหญาไดดี ต้ังแตอายุลูกโคได 3 สัปดาหเปนตนไป ดังนั้นจึงเปนไปไดสูงที่ควรเลี้ยงลูกโคแบบปลอยแปลงหญาได โดยพิจารณาในดานการเสริมอาหารขน น้ําสะอาด น้ํานม และรมเงาใหเพียงพอ โดยมีขอพิจารณาเพื่อเพิ่มความสําเร็จในการเลี้ยงลูกโคแบบปลอยแปลงหญาคือ 1. พยายามตรวจสอบปริมาณการกินนมของลูกโคแตละตัววากินไดดีเทากัน ตามจํานวนที่เราคาดการณไว 2. แบงกลุมลูกโคที่เลี้ยงในแปลงหญาใหมีขนาดและอายุใกลเคียงกันจะปองกันการแยงอาหารกิน และไมควรจัดใหเปนกลุมใหญมากนัก ในกรณีที่ที่พบลูกโคปวยใหจัดแยกและนําออกมาเลี้ยงขังเดี่ยว จนกวาลูกโคจะหายดี จึงกลับคืนฝูงเดิม 3. ปริมาณอาหารขนจะตองใหม และจัดวางภายใตรมเงา ตรวจสอบปริมาณการกินอาหารขน วาตรงตามที่คาดการณหรือไม 4. ปริมาณหญาสด ลูกโคจะกินเต็มที่อยูแลว แปลงหญาสดควรจัดใหเปนแปลงหญาเฉพาะของลูกโค และมีการเลี้ยงแบบหมุนเวียนเพื่อตัดวงจรของโรคพยาธิภายในภายนอก 5. ลูกโคตองมีการถายพยาธิภายใน-ภายนอกตามเวลากําหนด อยาปลอยใหลูกโคมีเห็บขึ้นตามลําตัว ถามีเห็บขึ้นแสดงการเลี้ยงในระบบแปลงเกิดความลมเหลวแลว ปญหาสุขภาพของลูกโคจะตามมา ถาในกรณีที่มีหญาสดในแปลงไมพอควรจัดเสริมหญาแหงคุณภาพดีเขาไป 6. รมเงาและน้ําสะอาด (เย็น) จะตองมีอยางพอเพียงบริเวณที่ลูกโคอยูจะตองไมหมักหมม ตองแหงมีการถายเทอากาศไดดี ถาแปลงหญาใดเริ่มแฉะ/ช้ืนควรรีบยายแปลงหญาใหม “จําไววาลูกโคตองอยูในที่แหงอยูในที่ที่แหง มีความสําคัญมากวาอยูในที่สะอาดแตไมแหง”

6.18 โรงเรือนและสิ่งแวดลอม ความเปนอยูของลูกโคไมใชเรื่องยุงยากมากนัก แตผูเลี้ยงมักไมคอยเอาใจใส อยาลืมวาอัตราการตายของลูกโคเกิน 5% จะมีผลกระทบอยางมากตอจํานวนโคทดแทนเขารีดนมของฟารม ดังนั้น จึงตองใหความสนใจตอความเปนอยูของลูกโคใหมาก ความตองการของลูกโคมีหลักใหญคือ ที่อยูแหง, มีอากาศถายเทสะดวก และพื้นที่ตอตัวเหมาะสม การออกแบบโรงเรือนลูกโค ตองออกแบบใหสะดวกตอการทํางาน และการตรวจสอบสุขภาพลูกโคไดงาย, งานในการจัดจายอาหาร, การทําความสะอาดโรงเรือน และการกําจัดสิ่งปฏิกูลตางๆ

6.19 ปจจัยดานสิ่งแวดลอม 1.) อุณหภูมิอากาศ

Page 40: (Feeding and Management of Dairy cattle)¸šทที่ 3...67 บทท 3 การจดการให อาหารโคนม (Feeding and Management of Dairy cattle) 1. ความต

106

อุณหภูมิของอากาศ, กระแสลม และลักษณะของพื้นโรงเรือนที่ลูกโคจะมีสวนสัมพันธกัน เพราะลูกโคตองนอนสัมผัสกับพื้นอยูตลอดเวลา ถาออกแบบลักษณะพื้นไมเหมาะสม ลูกโคก็จะสูญเสียอุณหภูมิรางกายไดงาย ลูกโคตองรักษาอุณหภูมิของรางกายใหคงที่ในสภาพที่เกิดความรอนทั้งภายในและภายนอกรางกาย เพื่อถายเทความรอนของรางกายจากการกินอาหารออกไป หากพื้นไมเหมาะสมลูกโคก็จะนอนเกือกกลิ้งเพื่อระบายความรอน ทําใหมีปญหาตอสุขภาพลูกโค ลักษณะของพื้นที่และที่นอนที่แหงของลูกโคจะมีความสําคัญมากกวากระแสลมหรือการหมุนเวียนของอากาศ โดยปกติลูกโคจะเจ็บปวยไดงายโดยเริ่มจากการสูญเสียความรอนออกจากรางกายมากเกินไป (heat loss) โรงเรือนที่เหมาะสมสําหรับลูกโคในระยะแรกเกิดควรเปนแบบขังเดี่ยวยกพื้น โดยพื้นของกรงเดี่ยวควรเปนพื้นไมหรือพ้ืนพลาสติกที่มีลักษณะเปนรู (พ้ืน slate) เมื่อลูกโคอายุได 1 เดือนขึ้นไปอาจพิจารณาลงอยูในคอกดิน หรือเลี้ยงเปนกลุมได กรงเดี่ยวแบบชนิดวางตั้งกับพื้นดิน (ยกยายหมุนเวียน) จะใชไดในฤดูรอน, ฤดูหนาว แตไมเหมาะสมอยางยิ่งที่จะใชในฤดูฝน อัตราการเจ็บปวย ลมตายของลูกโคจะเกิดมากในลูกโคที่เลี้ยงในกรงเดี่ยวต้ังพื้นในฤดูฝน เมื่อเทียบกับการเลี้ยงในกรงเดี่ยวยกพื้นภายใต โรงเรือนจะเหมาะสมกวาและสุขภาพของลูกโคดีกวา จะแพงตรงคาใชจายตั้งตนแตผลระยะยาวคุมคากวาทุกวิธี (สําหรับเลี้ยงลูกโคในระยะกอนหยานม) ลูกโคมักมีความทนทานตอสภาพอากาศรอนไดดี แตจะเจ็บปวยไดงายในสภาพอากาศเย็นและมีความชื้นสูง ดังนั้นโรงเรือนควรมีการระบายอากาศอยูในเกณฑดี หลังคาของโรงเรือนควรยกสูงเพื่อใหระบายอากาศไดดี

2.) การระบายอากาศ การระบายอากาศชวยลดความรอนภายในโรงเรือน รวมถึงลดอัตราการแพรระบาดของเชื้อโรค และอากาศเสียเชนกลิ่นแอมโมเนียที่จะกระทบสุขภาพลูกโค ปกติผูเลี้ยงมักจะปลอยใหมีการระบายอากาศโดยธรรมชาติ แตบางครั้งกระแสลมก็นิ่งจะทําใหลูกโคอึดอัด ดังนั้นเพื่อใหมีการระบายอากาศโดยสม่ําเสมอ อาจใชการติดตั้งลูกหมุนบนหลังคา หรือติดต้ังพัดลมชวยระบายอากาศในบางครั้งชวงอากาศรอน หรือสภาพที่โรงเรือนมีความชื้นสูง เชน ภายหลังลางกรงใหมๆ จะชวยใหกรงอยูในสภาพแหงตลอดเวลา ถึงแมวาเราจะมีโรงเรือนแบบโปรงแลวก็ตาม ก็ควรมีการติดตั้งพัดลมดวย แตก็ไมจําเปนตองเปดตลอดเวลาดังกลาว อัตราการระบายอากาศในเกณฑ 35-170 m3/ชม. จะทําใหลูกโคมีสุขภาพและการเจริญเติบโต, การกินอาหารอยูในเกณฑปกติ พัดลมจะเปนเครื่องมือที่ชวยลดความเครียดใหแกลูกโคไดดีที่สุด ลูกโคตองการลมเย็นแหงในการระบายความรอนออกจากรางกาย ในชวงฤดูหนาวอัตราการหมุนเวียนอากาศควรอยูที่ 35-116m3/ชม. ในชวงฤดูรอนอัตราการหมุนเวียนอากาศควรเพิ่มเปน 105-205 m3/ชม. อยางไรก็ตามการพิจารณาใชพัดลม ควรกระทําในบางชวงเทานั้นเพื่อลดตนทุนการผลิต โดยควรคํานึงถึงปริมาณความชื้นกับปริมาณอากาศที่ดี ถาโรงเรือนมีกลิ่นแอมโมเนียมากอาจพิจารณาเปดเปนบางชวง ถาเราสรางโรงเรือนในลักษณะโปรงไมมีผนังดานขางทั้ง 4 ดานแลว อัตราการหมุนเวียนของอากาศควรอยูในระดับเกิน 35 m3/ชม. ซึ่งเพียงพอตอการเจริญเติบโตขั้นปกติของลูกโคอยูแลว 3.)ความชื้น (Relative humidity) ความชื้นสัมพัทธจะมีผลคอนขางมากในสภาพอากาศของเมืองไทยที่มีลักษณะรอนและชื้น อากาศที่รอนและมีความชื้นสูงจะจํากัดการระบายความรอนของรางกาย ลูกโคจะมีอากาหอบ เบื่ออาหาร น้ําหนักลด ตรงขามถาความชื้นสัมพัทธตํ่า ลูกโคจะระบายความรอนออกจากรางกายไดงาย ความเปนอยูสบาย การควบคุมความชื้นนี้ทําไดไมมากนัก เพราะขึ้นกับฤดูกาลเปนสวนใหญ แตวิธีที่ปองกันไมใหเกิดผลกระทบในทางเสียหายมากขึ้นทําไดโดย

Page 41: (Feeding and Management of Dairy cattle)¸šทที่ 3...67 บทท 3 การจดการให อาหารโคนม (Feeding and Management of Dairy cattle) 1. ความต

107

1. พิจารณาพื้นที่ตอตัว รวมถึงความหนาแนนของลูกโคตอหนวยพ้ืนที่ ไมควรใหหนาแนนมาก 2. ความสูงของหลังคา และพื้นที่รมเงาภายในโรงเรือน ควรเปนโรงเรือนโปรง 3. ความเอียงของพื้นโรงเรือน ควรเอียงมากเพื่อชวยระบายน้ําและของเหลวออกจากโรงเรือนไดโดยงาย 4. พ้ืนที่ซักลางทําความสะอาดควรอยูนอกอาคารโรงเรือนลูกโค 5. ลดการจัดการใดๆ ที่จะเพิ่มความชื้นในโรงเรือน เวนแตถามีการลางพื้น/ลางกรง ควรมีพัดลมระบายอากาศใหแหงโดยเร็ว

6.20 โครงสรางกรง โครงสรางของกรงลูกโคจะแปรตามลักษณะรูปแบบการเลี้ยง วาเปนแบบขังเดี่ยวหรือกรงรวม และอายุการเลี้ยงไปจนถึงหยานมวาใชเวลานานเทาใด กรงเดี่ยว ลูกโคอายุแรกเกิด-6 สัปดาห พ้ืนที่กรง 1-1.2 ตร.เมตร (0.8x1.5 ม.)/ตัว ลูกโคอายุแรกเกิด-8 สัปดาห พ้ืนที่กรง 1.8 ตร.เมตร (1x1.8 ม.)/ตัว กรงรวม ลูกโคแรกเกิด-8 สัปดาห พ้ืนที่กรง 1.1 ตร.เมตร/ตัว ลูกโคแรกเกิด-12 สัปดาห พ้ืนที่กรง 1.5 ตร.เมตร/ตัว พ้ืนที่ทางผาน(พ้ืนที่วางทํางาน) - ชองวางระหวางกรงที่หันหนาเขาหากัน 1.2 เมตร - ระยะหางจากผนังแตละดาน 1.0 เมตร - ถาถังนมและถังน้ําวางอยูดานหนากรง ระยะหางของชองวางระหวางกรงควรเพิ่มจาก 1.2 เมตร เปน 1.60 เมตร (ดูรายละเอียดจากหัวขอเรื่องการกอสรางโรงเรือนและอุปกรณที่จําเปน) การเลือกชนิดกรง จะใชกรงเดี่ยว หรือกรงรวมสําหรับลูกโคดี จะเปนคําถามที่ตองพิจารณา การเลือกใชจะสัมพันธกับวิธีการจายอาหาร จํานวนลูก และความพรอมของสิ่งอํานวยความสะดวก ถาจํานวนลูกโคนอยตัวสามารถดูแลไดทั่วถึงก็อาจใชกรงรวม เพราะเปนการเลี้ยงแบบประหยัด สามารถใชอุปกรณรวมกันได แตถาเปนฟารมขนาดกลางขึ้นไป จํานวนลูกโคมีมากขึ้น โอกาสในการตรวจสอบผิดพลาดมีสูง ดังนั้นการที่จะตรวจสอบการกินนมกินอาหาร กินน้ํา และสุขภาพไดทั่วไมพลาดนั้นจะตองใชการเลี้ยงแบบกรงเดี่ยว และโดยเฉพาะถาใชระบบจายอาหารแบบใสในถัง (bucket feeding) จะเปนแบบใชสําหรับกรงเดี่ยวและในสภาพเมืองไทย แบบที่นาเหมาะสมที่สุดคือกรงเดี่ยวยกพื้น ถาเปนกรงเดี่ยวอยูบนพื้นจะตองหมั่นเปลี่ยนที่รองนอนของลูกโคอยาปลอยใหเปยกช้ืน

Page 42: (Feeding and Management of Dairy cattle)¸šทที่ 3...67 บทท 3 การจดการให อาหารโคนม (Feeding and Management of Dairy cattle) 1. ความต

108

7.การจัดการและการใหอาหารโคสาว 7.1 การแบงระยะในการจัดการ ในการจัดการและใหอาหารโคสาว (Feeding and Management Replacement Heifers) นับตั้งแตหยานมถึงโคทองและคลอดลูกตัวแรก (อายุ 8 สัปดาห อายุ 2 ป) การใหอาหารสําหรับโคสาวชวงนี้มักถูกละเลยจากผูเลี้ยงอยูบอยๆ ถึงแมชวงนี้จะเปนชวงที่เราไมเรงการเลี้ยงหรือไมขุนโค แตจําเปนที่เราตองดูแลการเจริญเติบโตของโคสาวใหเจริญเติบโตตามเกณฑมาตรฐาน ตารางที่3.18, 3.19 และรูป3.3 โดยทั่วไปจะแบงชวงการเลี้ยงออกเปน 3 ระยะคือ 1) ชวงหลังหยานมถึงอายุ 1 ป 2) ชวงอายุ 1 ป ถึงอายุ 2 ป 3) ชวงระยะ 2 เดือนกอนคลอดลูก 1) ชวงหลังหยานมถึงอายุ 1 ป ในระยะนี้โครุน จะไดรับอาหารหลักจากหญาสด และจํากัดปริมาณการกินอาหารขน สําหรับความเขมขนของโภชนะในอาหารขน จะขึ้นอยูกับปริมาณโภชนะที่โคไดจากแหลงอาหารหยาบแลวเทาไร จึงเสริมใหเทาสวนที่ตองการ การเลี้ยงจะเปนการปลอยโคสาวอยูในแปลงหญาตลอด 24 ชม. และเสริมอาหารแรธาตุ พรอมทั้งน้ําสะอาดใหแกโค เมื่อโคสาวอยุ 3 เดือนถึง 9 เดือน ตองควบคุมอาหารขน อยาใหโคอวนจนเกินไป การเลี้ยงโคใหอวนเกินไปทําใหการสรางเซลลกลั่นน้ํานมไดนอย เตานมจะเต็มไปดวยไขมันมากกวาเซลลเตานม การพัฒนาของเซลลกลั่นน้ํานม จะพัฒนามากในชวงโคอายุ 3 เดือนถึง 9 เดือน แตการเลี้ยงโคสาวชวงหลังอายุ 15 เดือนใหอวน ไมมีผลตอการพัฒนาของเตานมโค 2) ชวงอายุ 1 ปถึงอายุ 2 ป (โคคลอดเม่ืออายุ 24 เดือน) ถาระยะนี้แปลงหญายังมีความสมบูรณเพียงพอ เราควรเลี้ยงโคสาวอยูในแปลงหญาอีกตอไป เชนเดียวกับชวงแรก มีการเสริมอาหารขนอาหารแรธาตุ โคสาวควรโตในอัตรา 0.7-0.8 กก./ตัว/วัน ถาอัตราการเจริญเติบโตของโคต่ํากวา ควรเสริมอาหารขนเพิ่มขึ้น การเปนสัดของโคสาวจะขึ้นอยูกับอายุและขนาดน้ําหนักตัวโค โดยทั่วไปโคสาวจะแสดงอาการเปนสัดครั้งแรก เมื่อเจริญเติบโตไดน้ําหนัก 40-45% ของน้ําหนักตัวที่โตเต็มที่ และมักเปนชวงกอนโคอายุ 1 ป โคสาวที่มีการเลี้ยงแบบใหอาหารเขมขน จะเปนสัดไดเร็วกวาโคสาวที่เลี้ยงตามเกณฑมาตรฐาน แตโคสาวที่เลี้ยงแบบใหอาหารตํ่ากวามาตรฐาน จะแสดงการเปนสัดชา ถึงแมวาอาจมีการตกไขตามปกติ แตการเปนสัดจะแสดงไมชัดเจน

การผสมพันธุโคถาดูจากอายุจะผสมในระยะอายุโค 14-15 เดือน หรือหากดูน้ําหนักโคยุโรปจะผสมพันธุที่น้ําหนักตัว 300-350 กก. สําหรับโคโฮนสไตน และโคเจอรซี่จะผสมที่น้ําหนัก 280-290 กก. สําหรับโคลูกผสมในเมืองไทยควรผสมพันธุที่น้ําหนัก 250-280 กก. ถาโคนมมีสายเลือดใกลพันธุแทควรเพิ่มน้ําหนักใหอยูในชวง 280-300 กก. การผสมพันธุโคสาวเร็วเกินไปจะมีผลในเรื่องคลอดยาก และโคสาวจะแคระแกรน ใหผลผลิตน้ํานมนอยกวาที่ควรจะเปน แตการผสมพันธุโคที่ น้ําหนักตัวมากเกินไปก็จะเปนการเปลืองตนทุนการผลิต

Head(1992)รายงานวาอายุของแมโคมีความสําคัญนอยกวาน้ําหนักรางกายโคเพราะโคโฮนสไตนฟรีเช่ียนที่คลอดลูกตัวแรกที่โดยมีน้ําหนักรางกาย1350-1400ปอนด จะใหน้ํานมปริมาณสูงสุดเมื่อเทียบกับโคที่มีน้ําหนักตัว 900ปอนด (รูปที่3.4) หรือคิดเปนผลผลิตในเวลา305วัน จะไดน้ํานมเพิ่ม 2,000ปอนด

Page 43: (Feeding and Management of Dairy cattle)¸šทที่ 3...67 บทท 3 การจดการให อาหารโคนม (Feeding and Management of Dairy cattle) 1. ความต

109

ตารางที่3. 18 แสดงความแตกตางของเปาหมายในการผลิตโครุนพันธุตางๆ

ที่มา: James and Colline(1992) ตารางที่3. 19 ความสัมพันธของน้ําหนักตัว อายุ และอัตราการเจริญเติบโตของโคพันธุตางๆ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- Body weight(lb) Average daily gain(lb)

------------------------------------------------------------------------------------------------------------- birth 13 mo 24 mo Maturity Birth-13 mo Birth-24 mo ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- Large Holstein , Brown swiss 90 810 1300 1600 1.91 1.7 750 1150 1450 1.73 1.47 Medium Guernsey, Ayrshire 70 750 1180 1250 1.81 1.56 640 1025 1150 1.48 1.33 Small Jersey 60 570 900 1050 1.36 1.18 500 790 1000 1.15 1.02

ที่มา: Head(1992)

Page 44: (Feeding and Management of Dairy cattle)¸šทที่ 3...67 บทท 3 การจดการให อาหารโคนม (Feeding and Management of Dairy cattle) 1. ความต

110

รูปที่3. 3 อัตราการเจริญเติบโตของโครุนในชวงกอนและหลังวัยเจริญพันธุ (ในกรอบเปนคา ADG, lb) ที่มา: Head(1992)

รูปที่3. 4 ความสัมพันธของน้ําหนักตัวแมโคเมื่อคลอดลูกตัวแรกกับผลผลิตน้ํานม ที่มา: Head(1992) ตารางที่3. 20 ความตองการโภชนะพลังงาน และโปรตีนในโครุนที่มีอัตราการเจริญเติบโตวันละ 0.7กก.

Page 45: (Feeding and Management of Dairy cattle)¸šทที่ 3...67 บทท 3 การจดการให อาหารโคนม (Feeding and Management of Dairy cattle) 1. ความต

111

ที่มา: James and Collin (1992) 3) ชวงระยะ 2 เดือนสุดทายกอนคลอด การใหอาหารโคนมในระยะนี้มีผลตอปริมาณนมที่จะผลิตในชวงหลังคลอด ในระยะนี้โคควรมีอัตราการเจริญเติบโต 0.9 กก./ตัว/วัน โคสาวทองจะเติบโตเร็วมากในชวงนี้ และยังคงโตตอไปจนถึงการใหลูกในปที่ 2 โคที่ยังมีการเจริญเติบโตในชวงการใหนมปที่ 1 และ 2 จะมีความคงทนในการใหนมไดดีกวาโคที่เลี้ยงจนโตเต็มที่แลวจึงใหนม ปริมาณอาหารขนที่ใหจะขึ้นกับขนาดโค ความสมบูรณของรางกาย โดยทั่วไปจะเสริมอยูในอัตรา 1% ของน้ําหนักตัว สูตรอาหารสําหรับโคควรมีระดับโภชนะ โปรตีน แรธาตุ และไวตามินเพียงพอ การใหโคไดรับเกลือในอาหารมากไป จะทําใหเกิดการบวมน้ําที่ เตานม (Udder edema) โดยเฉพาะในชวง 2 สัปดาหสุดทายกอนคลอด การเลี้ยงโคสาวทองมาตามเกณฑมาตรฐาน จะมีปญหาเมื่อคลอดนอย ปญหาจะเกิดจาก 2 สาเหตุ 1) ขนาดของลูกโค 2) แมโคอวนมาก ปญหาแมโคอวนมากจะทําใหเกิดการตายระหวางคลอด เพราะกระดูก pelvic จะขยายตัวไดนอย สวนโคที่เลี้ยงต่ํากวาเกณฑมาตรฐาน จะตองใหความสนใจเมื่อถึงเวลาแมโคใกลคลอด และอาจตองใหการชวยเหลือ เพราะลูกมักมีความออนแอมาก ตองดูแลพิเศษ

7.2 ระดับโภชนะที่ตองการในโคสาว ลูกโครุนจากหยานม เราอาจเลี้ยงดวยอาหารขนลูกโคตอมาอีกสักพักจนถึงอายุ 6-12 สัปดาห จึงเริ่มเปลี่ยนสูตรอาหาร เปนสูตรอาหารโครุน ตามระยะดังกลาวขางตน ในแงการจัดการ ควรจัดแบงลูกโคหลังหยานมออกเปนกลุมเล็กๆ ยอยๆ ตามขนาดหรือตามน้ําหนักของโค เพื่อใหการดูแลทําไดงายสะดวก การเลี้ยงแบบปะปนกัน ในกลุมที่มีขนาดโคนอย-ใหญ โคตัวเล็กกวามักจะแคระแกรน เพราะแยงอาหารกินกับโคตัวโตไมได ณ เวลาที่หยานมลูกโค สภาพกระเพาะหมักของโคจะเริ่มทํางานไดดี จุลินทรียในกระเพาะหมักเริ่มทํางานสังเคราะหกรดอะมิโนตางๆ, ไวตามิน B, K และโภชนะอื่นๆ เชนเดียวกับในโคโตเต็มที่ ดังนั้นความตองการเสริมโภชนะเหลานี้ใน

Page 46: (Feeding and Management of Dairy cattle)¸šทที่ 3...67 บทท 3 การจดการให อาหารโคนม (Feeding and Management of Dairy cattle) 1. ความต

112

อาหารจะนอยหรือไมจําเปนตองเสริมเลย และเนื่องจากโครุนมีการเจริญเติบโตเร็วมาก โครุนจึงยังตองการพลังงานในอาหารมาก และโครุนจะไดรับไมเพียงพอจากแหลงอาหารหยาบอยางเดียว และความตองการโปรตีนแรธาตุในโครุนจะตองการมากกวาในโคสาวซึ่งโตกวา เพราะโคเล็กเจริญเติบโตเร็ว โภชนะตางๆ จึงตองการเพื่อการเจริญเติบโต เมื่อเริ่มตนหยานมใหม ลูกโคจะปรับตัวกินอาหารขนนอยลงและกินอาหารหยาบมากขึ้นอยางรวดเร็ว ถาโคเลี้ยงอยูในแปลงหญา 24 ชม. ในระยะ 2-6 เดือน จะยังคงตองการอาหารขนเสริมในอัตรา 1.8-2.8 กก./ตัว/วัน ทั้งนี้ขึ้นอยูกับคุณภาพหญาสดหรือแปลงหญาดวย ถาหญาสดคุณภาพดี ความตองการอาหารขนก็นอยลง แตถาคุณภาพแปลงหญาไมดี นอกจากจะตองเสริมอาหารขนแลว ยังตองเสริมไปจนอายุโคสาว 8-10 เดือน หลังจากนั้นโคสาวจะสามารถกินหญาสด และไดรับ พลังงานจากหญาสดอยางเพียงพอไปจนถึงชวงกอนคลอด แตถาคํานึงถึงการใหbypass protein ในสูตรดวยจะชวยใหโคเจริญเติบโตไดเร็วขึ้น เห็นไดจากงานของ James and Collin (1992)ที่เสริมโปรตีนเทียบเทากับbypass protein ระดับ28.2, 41.9, 50.6และ55% ในอาหารสูตรรวมพบวาอัตราการเจริญเติบโตสูงสุดในกลุมที่ไดbypass protein สูง(ตารางที่ 3.21) ระยะเดือนสุดทายกอนคลอด (2-4 สัปดาห) เราควรเพิ่มอาหารขนใหโคทองไดกิน การจะเพิ่มใหกินเร็ว-ชาอยูกับความสมบูรณของแปลงหญากับรางกายโค แตอยางนอยก็ตองใหในชวง 2 สัปดาหกอนคลอด ในอัตราอาหารขน 1% ของน้ําหนักตัว เพื่อเปนการปรับสมดุลของจุลินทรียในกระเพาะหมัก และสูตรอาหารขนในระยะ 2 สัปดาหสุดทายนี้ ควรเปนสูตรเดียวกับสูตรอาหารโครีดนม เพียงแตเราจํากัดปริมาณการกินอาหาร การเสริมอาหารขนในระยะกอนคลอด 2 สัปดาห และหลังคลอดลูกปรับเพิ่มกิโลกรัมอาหารขนขึ้น ในลักษณะการใหอาหารแนบนํา (lead feeding) จะทําใหโคทองแรกใหปริมาณน้ํานมไดมาก มีความทนทานในการใหน้ํานม และยังสามารถเจริญเติบโตทางดานรางกายตอไปไดอีก

7.3 ประเด็นสําคัญในการจายอาหาร การเลี้ยงโครุน-โคสาว เราตองทําใหโคไดรับโภชนะตามความตองการของรางกาย ในระดับการผลิตที่ตนทุนตํ่าสุด ซึ่งจะเห็นวาหญาสด/แปลงหญา คือหัวใจสําคัญของการผลิตโคในระยะนี้ มากกวาไปเนนในเรื่องอาหารขน หลักการคือ “ใหอาหารหยาบสดเต็มที่และจํากัดอาหารขน” การใหอาหารที่มีระดับพลังงานไมเพียงพอในระยะชวงการเจริญเติบโตของโคจะมีผลทําใหน้ําหนักโคต่ํา และโคมีโครงสรางของกระดูกและลําตัวเล็ก แตการที่โคมีลําตัวเล็กอาจไมมีผลตอเวลาการเปนสัดครั้งแรก แตจะมีผลตอการเปนสัดครั้งตอๆไปเมื่อโคมีอายุมากขึ้น ตารางแสดงการเติบโตของโคในตางประเทศสามารถเทียบไดจากตารางที่3.22จากตารางจะเห็นไดถึงอัตราการเจริญเติบโตทดแทนแมจะวาน้ําหนักแรกเกิดจะแตกตางกัน กรณีถาผสม ตารางที่3. 21 ผลของการเสริมbypass protein ตอการกิน การเจริญเติบโตในโคสาว

Page 47: (Feeding and Management of Dairy cattle)¸šทที่ 3...67 บทท 3 การจดการให อาหารโคนม (Feeding and Management of Dairy cattle) 1. ความต

113

ที่มา: James and Collin (1992)

โคพันธุที่อายุเดียวกัน ใหอาหารเหมือนกัน โคที่ตัวเล็กกวาจะมีปญหาการคลอดและใหน้ํานมนอยในชวงปแรกการใหน้ํานม และถาหลังคลอดลูกแลวใหอาหารไดดีขึ้นการปรับตัวของโคจะดีขึ้น ปริมาณนมที่จะลดลงจะนอยกวาโคที่มีขนาดรูปรางตางกัน จะเห็นวาการจัดการใหอาหารในชวงหลังคลอดจะชวยใหโคมีความสามารถใหน้ํานมดีขึ้น Sejrsen et al.(1982)รายงานถึงการใหอาหารโคสาวถาใหอาหารพลังงานมากกวาเกณฑมาตรฐานจะทําใหโคสาวอวนเกินไปมีไขมันจะเขาแทรกในระหวางเซลลสรางน้ํานม ทําใหมีจํานวนเซลลน้ํานมนอย(ตารางที่ 3.23) โคที่อวนจะมีระยะเวลาใหน้ํานมสั้นกวาปกติและทําใหมีปญหาเกี่ยวกับระบบสืบพันธุ รายงานดังกลาวเนนถึงการผสมพันธุโคสาวควรถือเกณฑการผสมพันธุตามน้ําหนักตัวมากกวาตามอายุโค การทําใหโคสาวไดรับพลังงานไมเพียงพอในระยะสั้นๆ ไมกี่สัปดาหจะไมมีผลใดๆ ตอสมรรถนะของโค โคสาวสามารถเจริญเติบโตทดแทนได (compensatory growth) จะเห็นไดวาลูกโคที่อยูในชวงแรกเกิดถึงอายุหยานม ถึงแมจะมีน้ําหนักตัวหยานมตางกัน แตโคจะเจริญทัดเทียมกัน และมีน้ําหนักตัวเมื่อผสมพันธุในเวลาใกลเคียงกันได(รูปที่3.5, 3.6) ผูเลี้ยงที่มีประสบการณดี จะสามารถปรับปริมาณการกินอาหารขนของโคใหอยูในเกณฑเจริญเติบโตไดตามปกติ ผูเลี้ยงทั่วไปอาจตองใชวิธีการช่ังน้ําหนักโคเพื่อเขาผสมพันธุ หรืออาจใชสายวัดหนาอกโค แตตองปรับคาตัวเลขใหเหมาะสมและตรงกับน้ําหนักที่ช่ังไดจริง

Page 48: (Feeding and Management of Dairy cattle)¸šทที่ 3...67 บทท 3 การจดการให อาหารโคนม (Feeding and Management of Dairy cattle) 1. ความต

114

Breeding

age and

xize

รูปที่3. 5 แสดงอัตราการเจริญของโคโฮนสไตนฟรีเช่ียนสาว ที่มา: Head(1992) รูปที่3. 6 แสดงการเจริญเติบโตทดแทนในโคสาว ที่มา: Park et al.(1987) ตารางที่3. 22 แสดงน้ําหนักรางกาย(ปอนด)ที่สัมพันธกับสวนสูง(นิ้ว)ในโคพันธุตางๆ

Page 49: (Feeding and Management of Dairy cattle)¸šทที่ 3...67 บทท 3 การจดการให อาหารโคนม (Feeding and Management of Dairy cattle) 1. ความต

115

ที่มา: Head(1992)

ตารางที่3. 23 แสดงผลกระทบของอัตราการเจริญเติบโตกับการพัฒนาของmammary gland ที่มา: Sejrsen et al.(1982)

7.4 ลักษณะของอาหารหยาบของโคสาว แปลงหญาคุณภาพดีหรือหญาแหงจัดเปนแหลงอาหารหยาบที่ดีของโคสาว รวมทั้งหญาหมักหรือขาวโพดหมัก โคสาวที่ใหกินหญาหมักที่มีความชื้นสูง จะเจริญเติบโตไดไมดี สูการเลี้ยงดวยหญาแหงไมได กรณีที่เลี้ยงโคสาวอยูบนแปลงหญา ที่มีคุณภาพดีและมีปริมาณเหลือเฟอ หญาสดมีโภชนะเพียงพอสําหรับการเจริญเติบโตของโคสาวไดดี โดยไมตองเสริมอาหารขนเลย (เชนการเลี้ยงในฤดูฝน) ผูเลี้ยงสามารถปลอยใหโคเจริญเติบโตอยูในแปลงหญาไดตลอดชวงฤดูฝน แตในชวงฤดูกาลอื่นๆ ที่คุณภาพหญาและปริมาณหญาสดมีไมเพียงพอ เราตองมีแหลง

Page 50: (Feeding and Management of Dairy cattle)¸šทที่ 3...67 บทท 3 การจดการให อาหารโคนม (Feeding and Management of Dairy cattle) 1. ความต

116

อาหารทั้งหญาแหงหรือหญาหมักรวมทั้งอาหารขน โครุน-โคสาว ตองการปริมาณสิ่งแหงจากแหลงอาหารหยาบประมาณ 2-2.5% ของน้ําหนักตัว

7.5 ลักษณะของอาหารขนของโคสาว ตามที่ไดกลาวแลววาการเสริมอาหารขนจะขึ้นกับปริมาณโภชนะที่ไดรับแลวจากแหลงอาหารหยาบ ขาดเหลือเทาใดจึงเสริมใหโดยอาหารขน ในระยะหยานมใหมๆ โคเล็กรุน จะกินอาหารขนมากกวาอาหารหยาบจนเมื่อผูเลี้ยงคอยลดปริมาณอาหารขน โคจะเริ่มกินอาหารหยาบไดมากขึ้น โดยทั่วไปวัตถุดิบอาหารสัตวที่เราใชเปนสวนผสมในสูตรอาหารโครีดนมทุกชนิดสามารถนํามาออกสูตรอาหารใหใชกับโครุน-โคสาวไดหมด จะแตกตางกันเพียงระดับของโภชนะความตองการในโครุน-โคสาวจะต่ํากวาในโครีดนม แตมีขอระวังที่โคสาวที่อยูแปลงหญา อาจไดรับพลังงานเพียงพอ แตมีโอกาสขาดโปรตีน และแรธาตุไดโดยเฉพาะฟอสฟอรัส โดยปกติอาหารเกลือแร จะตองมีเสริมใหโคที่อยูในแปลงหญา ตลอดเวลาเพื่อใหโคไดเลือกกินอยางอิสระ ผูเลี้ยงตองระลึกเสมอวา คุณคาทางอาหารของแหลงหยาบแตละชนิด จากแตละทองที่จะมีคุณคาทางอาหารแตกตางกัน การใชคาเฉลี่ยผลการวิเคราะหอาหารของแหลงอื่นอาจทําใหเกิดความผิดพลาด ทางที่ดีเราควรวิเคราะหหญาและวัตถุดิบที่ใชทุกชนิดกอนที่จะคํานวณออกสูตรอาหาร

7.6 การจัดการในโคสาว โครุนหลังหยานมแลว มักไมคอยมีปญหาเรื่องสุขภาพเทาไร เมื่อเทียบกับตอนที่เปนลูกโค อัตราเจ็บปวยจะสูงมาก โคสาวควรไดรับการจี้/ตัดเขาตั้งแตชวงกอน-หรือหลังหยานมก็ได แตการตัดเขาควรทําหลังลูกโคอายุได 1 เดือนจะดีสุด จะทําใหงายและดูแลสะดวก บาดแผลหายเร็ว 1) วัคซีนที่ตองทํามีปากเทาเปอย และวัคซีนเฮโมรายิก และวัคซีนปองกันแทงติดตอ (ควรทําในชวงอายุ 2-6 เดือน) สวนวัคซีนอื่นๆ พิจารณาเสริมตามความจําเปน 2) การถายพยาธิ ควรมีกําหนดทําปละ 3-4 ครั้ง เพราะโคเลี้ยงอยูบนแปลงหญา โอกาสติดโรคพยาธิสูงมาก และจะทําใหโคแคระแกรน ปจจุบันยาถายพยาธิมีทั้งชนิดเปนน้ําใหกินกรอกปาก เปนชนิดเม็ด (Bolus) เปนชนิดฉีดรวมถึงชนิดราดหลัง ผูเลี้ยงตองพิจารณาถึงความครอบคุมในการกําจัดพยาธิ และความถี่ในการกําจัดพยาธิ 3) พยาธิภายนอก ไดแก เห็บ และแมลงปากกัดทั้งหลาย ผูเลี้ยงตองมีโปรแกรมการควบคุมพยาธิภายนอกที่ชัดเจน ไมใชปลอยใหพยาธิภายนอก แพรระบาดใหเห็นแลวจึงขจัดนั้นไมถูก ผูเลี้ยงตองมีตารางการควบคุม เพื่อควบคุมการออกไข, การฟกเปนตัว และการแพรระบาดของพยาธิ ขอดอยของผูเลี้ยงคือ ไมควบคุมตามเวลา การผสมยาและปริมาณที่ใชไมถูกตอง วิธีการพน/อาบทําไดไมทั่วถึง ซึ่งจะตองแกไขในขอดอยเหลานี้ 4) การเลี้ยงโคสาว ยังคงตองการการแบงกลุม ตามขนาดของตัวโคเพื่อปองกันการแยงกินอาหาร หรืออยางนอยก็ตองแบงเปนกลุมโคสาวกอนผสมพันธุ กลุมโคสาวผสมพันธุ และกลุมโคสาวทอง รวมทั้งอาจจําเปนตองคัดแยกโคผอมที่มีอัตราการเจริญเติบโตไมเปนไปตามเกณฑมาตรฐาน (0.7-0.8 กก./ตัว/วัน) ออกมาขุนเปนการพิเศษได นอกจากนี้อาจมีกลุมโคสาวที่ผสมติดยาก กลุมนี้เราตองจัดการแกไขโดยใชหลักวิชาหรือเจาหนาที่สัตวแพทยที่มีความชํานาญมาชวยแกไขปญหาการผสมติดให

Page 51: (Feeding and Management of Dairy cattle)¸šทที่ 3...67 บทท 3 การจดการให อาหารโคนม (Feeding and Management of Dairy cattle) 1. ความต

117

5) รมเงาและน้ําสะอาด โคสาวที่อยูบนแปลงหญาจะมีความทนทานตอสภาพอากาศรอน, ฝน หนาว ไดดี แตอยางไรในชวงฤดูรอน อากาศจะรอนจัดมาก ผูเลี้ยงตองสํารวจดูวา รมเงาจากตนไมใหญในแปลงหญามีพอเพียงหรือไม พ้ืนที่รมเงาจะตองมากกวาจํานวนโคถึง 2 เทา โคถึงอยูกันไดสบาย หากรมเงามีไมพอ จําเปนอยางยิ่งที่จะตองรีบจัดเสริมเพิ่มเติมที่นิยมใชกันคือใชตาขายดําขึงตรึง จะชวยเพิ่มรมเงาใหโค ผูเลี้ยงตองระลึกวาหากโคทองมีภาวะความเครียดจากความรอนมาก โคอาจแทงลูก และผสมพันธุติดยาก น้ําสะอาด ชวงอากาศรอนโคจะตองการกินน้ํามากขึ้น เราตองจัดหาน้ําสะอาดใหโคไดกินอยางเต็มที่ โคที่ขาดน้ําจะสูญเสียน้ําหนักตัวไดงายรวมถึงความอยากกินอาหารลดนอยลง 6) ในชวงโคสาวทองใกลคลอด อยางนอย 2 สัปดาห นอกเหนือจากที่ผูเลี้ยงจะคัดแยกออกมาเลี้ยงดูอยางใกลชิด เพื่อดูการคลอด ผูเลี้ยงตองนําโคสาวเหลานี้มาฝกการใชชีวิตในโรงเรือน เชน ฝกการกินอาหารในซองกินอาหาร ฝกการกินน้ําจากอาง/จากถวย ฝกการเดิน-ไปมา และทําความคุนเคยกับระบบรีดนม โดยนําโคสาวเขาไปเดินในซองแถวรีดน้ํานม และฉีดพนน้ําทําความสะอาดเตานมเปนประจําเชา-เย็น จะชวยใหโคสาว ลดภาวะความเครียดหลังคลอดไดมาก จะทําใหโคสาวใหน้ํานมไดมากมีปญหารกคางนอยและคลอดลูกไดงายขึ้น เนื่องจากมีความคุนเคยใกลชิดกับคนเลี้ยง อยาลืมวาโคจะถูกปลอยเลี้ยงมาเปนเวลารวม 2 ป การปรับตัวเขาหาคนเลี้ยง คนรีด เครื่องจักร โคสาวตองเรียนรู

8. การผลิตและการจัดการลูกโคขุนนม Veal calf หรือลูกโคขุนน้ํานมหมายถึงการเลี้ยงลูกโค (สวนใหญเปนเพศผู) ที่มีอายุไมเกิน 4 เดือน ดวยน้ํานมหรือนมเทียม ซึ่งลูกโคที่เลี้ยงดวยอาหารแบบนี้ จะใหคุณภาพซากมีสีเนื้อชมพูออนๆ และเนื้อมีความออนนุมมาก ปกติการทํา Veal Calf จะทําในลูกโคนมเพศผู หรือลูกโคเพศเมียที่ไมสามารถใชทดแทนในฝูงได การทํา Veal Calf ลูกโคที่กินนมซึ่งปกติจะมีธาตุเหล็กต่ํา จะทําใหกลามเนื้อมี myoglobin นอย เนื้อลูกโคจึงมีสีชมพู หรือในการขุนจะจํากัดปริมาณของธาตุเหล็กใหอยูระหวาง 11.4-13.6 mg ตอปอนด ของสิ่งแหงของน้ํานมที่กินทั้งหมด อัตราการแลกเปลี่ยนเนื้อ (Feed น้ํานม/gain) = 10Ib/1Ib น้ําหนักโคหรือถาคิดเปนนมเทียม (นน.แหง) จะใช 1.3-1.5 ปอนด นมเทียมตอนํ้าหนักเพิ่ม 1 ปอนด ความสําเร็จของกิจการนี้ขึ้นกับ 1) อัตราการตายของลูกโค 2) มีแรงงานเหลือเฟอ 3) มีโรงเรือนเพียงพอ 4) มีตลาดที่แนนอน

8.1 การจัดการใหอาหาร การใหนมและอาหารแกลูกโคขุนทั่วไปจะเหมือนกับการเลี้ยงลูกโคเพศเมียในชวงระยะ 2-3 สัปดาหแรก แตตางกันตรงที่ลูกโคขุนจะไดรับอาหารที่เปนของเหลวทั้งหมด ตลอดชวงการขุน ไมมีการใหอาหารขน อาหารแหง, หญาสด หรือหญาแหง ซึ่งจะทําใหกลามเนื้อมีสีแดงจากเม็ดเลือดที่เขามาหลอเลี้ยงมาก ในระหวางสัปดาหแรกของการขุนลูกโคจะไดรับการจัดการเชนเดียวกับการเลี้ยงลูกโคเพศเมียทุกประการ (ลูกโคตองไดน้ํานมเหลือง, ไดนมดิบ หรือนมเทียม ในปริมาณอัตราเดียวกันกับลูกโคเพศเมียไดรับอยู) ปริมาณน้ํานมที่ใหจะยังคงจํากัด กก. ที่กินเพื่อปองกันปญหาลูกโคเจ็บปวย ทองเสีย จากการกินนมมาก หลังจาก 1-2 สัปดาหไปแลว (ควรหลังสัปดาหที่ 2) จะเลยระยะวิกฤตของลูกโคแลว เราสามารถเพิ่มจํานวนน้ํานมใหลูกโคกินไดเต็มที่ เพื่อใหลูกโคกินไดปริมาณสิ่งแหงสูงสุด แตถาใชนมเทียมขุนจะตองพิจารณาแตละยี่หอของนมเทียม เพราะ

Page 52: (Feeding and Management of Dairy cattle)¸šทที่ 3...67 บทท 3 การจดการให อาหารโคนม (Feeding and Management of Dairy cattle) 1. ความต

118

บางยี่หอจะตองใชกับลูกโคที่มีอายุมากกวา 3 สัปดาหขึ้นไป เนื่องจากลูกโคยังกินแลวมีปญหาทองเสียอยู ณ สัปดาหที่ 4 ลูกโคจะปรับตัวกินน้ํานมไดดี ซึ่งตรงขามกับการเลี้ยงลูกโคเพศเมียทดแทนฝูงที่จะเริ่มจํากัดปริมาณการกินน้ํานมของลูกโคภายหลังจากสัปดาหที่ 4 เปนตนไป แตการขุนลูกโคเพศผู จะเปนการเพิ่มนมใหกินเต็มที่ ลูกโคที่เจริญเติบโตไดดีจะอวนมีการสะสมไขมันบริเวณใตโคนหางจนเต็ม และสะสมไขมันใตผิวหนังบริเวณแนวกระดูกสันหลัง หรือเทียบกับการใหคะแนนความสมบูรณรางกายของโครีดนม จะมีคาคะแนนเทียบเทากับ 5 คะแนน และมีการสะสมไขมันเชนเดียวกัน อัตราการแลกเนื้อ ดังกลาว คือ ลูกโคกินน้ํานม 10 ปอนด จะโตเพิ่มขึ้น 1 ปอนด ขณะที่น้ํานมมีสิ่งแหงเพียง 12.5% แสดงวาลูกโคกินนมคิดเปนน้ําหนักแหง 1.25 ปอนด จะเพิ่มน้ําหนักตัวได 1 ปอนด เห็นไดวาลูกโคมีอัตราการเปลี่ยนอาหารเปนเนื้อ สําหรับนมเทียมที่ใชอาจใชชนิดที่มีคุณคาทางโภชนะเทากันกับการเลี้ยงลูกโคเพศเมียก็ได แตถาเลือกไดควรเลือกชนิดที่มี %ไขมันมาก (16-25%) และไขมันในนมเทียม ควรมีแหลงมาจากไขมันสัตว (Saturated fat) จะดีกวาไขมันพืช (Unsaturated fat) ชวยใหลูกโคเจริญเติบโตไดดี ลักษณะของกลามเนื้อ ลูกโคที่กินนมจะมีลักษณะของเนื้อแตกตางกันจากลูกโคที่กินอาหารขนหรืออาหารแหง สีเนื้อเปนชมพูออนเปนลักษณะของการขาดธาตุเหล็ก “iron deficiency anemia” สีเนื้อยิ่งออนยิ่งบงบอกวาเปนเนื้อขุนนมคุณภาพดี แตอยางไรก็ตาม หากลูกโคเกิดอาการขาดธาตุเหล็กรุนแรง ลูกโคก็จะชะงักการเจริญเติบโต ดังนั้นเราจึงตองรักษาระดับของธาตุเหล็กใหอยูระหวาง 11.4-13.6 mg/ปอนด หรือ 20-40 ppm ของสิ่งแหงที่กิน

8.2 การจัดการขุน การทําโคขุนนมอาจเริ่มจากถาในฟารมมีลูกโคเกิดมากเกินความจําเปน หรือในฟารมขนาดใหญที่มีลูกโคตัวผูมาก หรืออาจหาซื้อจากแหลงที่มีการเลี้ยงโคนมเยอะๆ จะซื้อไดราคาถูก แตกิจการจะอยูรอดมีผลกําไรมากนอย ขึ้นกับจุดแรกที่เริ่มทําการเลี้ยง เราตองเริ่มจากโคที่มีสุขภาพดี เชน ไมปวยจากปอดบวม, สะดืออักเสบ ขาอักเสบ หูตาเจ็บ หรือโคปวยทองรวง เปนตน ลูกโคที่ปวยเหลานี้จะตองคัดทิ้งกอนเริ่มตนทํากิจการ เพราะลูกโคปวยจะชะงักการเจริญเติบโต เลี้ยงไมคุมกับการลงทุน ดังนั้นลูกโคที่ซื้อมาตองกินน้ํานมเหลืองมาแลวหรืออยูในสภาพแข็งแรงเทานั้น เมื่อลูกโคซื้อมาถึงฟารม เราตองใหยาปฏิชีวนะชนิดกวาง จนครบทั้งปริมาณและจํานวนวันซึ่งอาจเปนชนิดฉีดหรือชนิดกินก็ได เพื่อเปนการปองกันโรคเขาฟารม รวมกับการใหไวตามิน A D E ในชวงสัปดาหแรกของการขุน ดวยการเลี้ยงลูกโคขุนนมเปนกิจการที่มีวงรอบการทํางานสั้นรวดเร็ว เปนรอบๆ ของการขุน และน้ํานมก็เปนอาหารเลี้ยงเช้ือโรคที่ดีมาก ดังนั้นโอกาสที่ลูกโตจะเจ็บปวย และแพรเช้ือโรคหากันจึงงายมากและรวดเร็ว การจัดการเลี้ยงจะตองรวดเร็วตามไปดวย การตรวจสอบสุขภาพโคปวยจะตองทําอยางเปนตารางสม่ําเสมอ และมีความถี่ เชน ควรมีการวัดอุณหภูมิรางกายลูกโคทุกวัน ในชวง 1-3 สัปดาหแรกของการเลี้ยง ถาอุณหภูมิรางกายเกิน 103oF หรือ 39.5oC จะตองคัดแยกทําการรักษาดวยยา และลดปริมาณน้ํานมที่ใหกินทันที ในดานสิ่งแวดลอมของโรงเรือนจะตองสะอาด และฆาเชื้อในโรงเรือนบอยครั้ง เครื่องมือเครื่องใชจะตองทําความสะอาดดวยน้ํายาซักลางและฆาเชื้อ กอนนํามาใชดวย สภาพที่นอนของลูกโคจะตองไมปลอยใหลูกโคอยูในพื้นที่ในอัตราหนาแนนเกินไป พ้ืนคอก โรงเรือน จะตองแหงอยูเสมอ การขุนลูกโคสามารถทําใหทั้งภายในโรงเรือน หรือในคอกดิน โรงเรือนที่เปนพื้นซีเมนตใหระวังเรื่องลูกโคปอดบวมและขอขาอักเสบจะเกิดไดมาก การจัดกลุมลูกโคเปนเรื่องสําคัญ เพื่อคัดขนาดใหใกลเคียงกัน จะไมมีปญหาในการแบงกินนม การใหนมก็ควรแบงจายวันละสองครั้งเชา-เย็น ตามปกติลูกโคขุนนมจะจําหนายไดขึ้นอยูกับขนาดที่ตลาดตองการ หรือมีน้ําหนักตัวอยูในชวง 100-150 กก. ถาลูกโคขุนน้ําหนัก 100 กก. จะใชเวลาเลี้ยง 8-10 สัปดาห ถาลูกโคขุนมีน้ําหนักตัว 150 กก. จะใชเวลาเลี้ยง 12-14 สัปดาห

Page 53: (Feeding and Management of Dairy cattle)¸šทที่ 3...67 บทท 3 การจดการให อาหารโคนม (Feeding and Management of Dairy cattle) 1. ความต

119

9. การใหอาหารโคพอพันธุ ลูกโคเพศผูที่มีลักษณะดี และผูเลี้ยงตองการเลี้ยงเก็บไวทําพันธุเปนพอพันธุของฝูงในอนาคต การเลี้ยงทั่วไปต้ังแตแรกเกิด จนถึงเปนพอพันธุจะเหมือนกับการเลี้ยงโคเพศเมีย เพียงแตโคเพศผูจะเจริญเติบโตไดเร็วกวา เมื่อเทียบกับโคเพศเมียที่อายุเดียวกัน ดังนั้นความตองการอาหารจะมากกวาตามขนาดและน้ําหนักตัว โภชนะในอาหารของโคตองการโภชนะเหมือนกัน และสูตรอาหารสามารถใชสูตรเดียวกันกับโคสาวได (NRC 1988) แนะนําใชสูตรอาหารเดียวกันต้ังแตแรกเกิดถึงอายุ 1 ป โครุนที่ไดรับอาหารต่ํากวาเกณฑ จะแคระแกรน เจริญเติบโตชา และถึงวัยเจริญพันธุชา รวมถึงใชคุมฝูงไดชาดวย ถาโคไดรับเฉพาะอาหารพลังงานต่ํากวาเกณฑ จะมีผลตอความสามารถในการผสมพันธุไมมากนัก ตรงขามถาใหอาหารมากกวาเกณฑ โคจะถึงวัยเจริญพันธุไดเร็ว แตถาใหอาหารมากกวาเกณฑตลอดเวลาเปนระยะเวลานาน จะมีผลเสียตอสมรรถนะการผสมพันธุ การเลี้ยงโคเพศผูจึงควรเลี้ยงใหเจริญเติบโตไดเร็ว แตตองไมเร็วมากจนทําใหโคอวน โคเพศผูที่อวนขณะเปนโครุน จะมีในดานสมรรถนะการผสมพันธุนอยกวาโคที่อวนตอนที่โตเต็มที่แลว โคโตที่สภาพกลามเนื้อสมบูรณ จะมีสมรรถนะดีกวาโคอวนดวยช้ันไขมัน ถาเทียบกับการใหคะแนนความสมบูรณของโคเพศเมีย คะแนนรางกายควรอยูระหวาง 2.8-3.0 (สําหรับโคพอพันธุ) การเลี้ยงโดยทั่วไปในระยะหลังหยานม โคจะตองการอาหารขนอยูในระยะ 3-4 เดือนแรก หลังจากนั้นโคจะปรับตัวดีขึ้น ในสภาพการเลี้ยงบนแปลงหญา เมื่อโคอายุได 5-10 เดือน จะยอยหญาหรือใชอาหารจากแหลงอาหารหยาบอื่นๆ ไดดี ถาอยูบนแปลงหญาคุณภาพดีก็ไมจําเปนตองเสริมอาหารขนเลย ยกเวนถาแปลงหญาขาดความอุดมสมบูรณ อาจเสริมอาหารขนและอาหารแรธาตุรวมดวย โคเพศผูที่โตเต็มที่แลว จะไมตองการแคลเซียมมากเหมือนในโคเพศเมียที่ตองนําไปสรางน้ํานม ทั่วไปโภชนะที่ตองการของโคพอพันธุที่โตเต็มที่จะต่ํากวาในโครีดนม และมีความเชื่อวาปญหาอันเนื่องจากขอเทา, ขา, สันหลังของโคพอพันธุ มักเกิดจากการไดรับแคลเซียมจากอาหารมากเกินไป ผูเลี้ยงตองดูวามีพืชอาหารสัตวใดที่ใหแคลเซียมมากอยูแลว อาจตองลดแคลเซียมในอาหารขนลง และในกรณีที่เลี้ยงโคพอพันธุรวมกับโครีดนม โคพอพันธุจะไดรับอาหารขนที่มาก และแคลเซียมมากเกินไป ผูเลี้ยงควรเลี้ยงโคพอพันธุแยก และบริเวณสําหรับการผสมพันธุของโคเฉพาะ การปลอยโคพอพันธุเขาคุมฝูงในโรงเรือนโครีดนม จะกอใหเกิดปญหาเรื่องกีบและขอเทาไดงาย และโคจะอวนเกินไป มีผลทําใหสมรรถนะการสืบพันธุลดลง การใหอาหารหยาบจากแหลงพืชตระกูลถั่ว จะมีแคลเซี่ยมสูง หากเปนไปไดควรใหอาหารจากแหลงหญาสด หรือหญาแหงเทานั้น และเสริมแคลเซียมใหตามความตองการของโค จะทําใหควบคุมปญหาขอเทาได กอนที่โครุนจะเริ่มหัดโดดทับกัน อายุโคจะประมาณ 4-6 เดือน เราควรแยกเลี้ยงโคเพศผูจากโคเพศเมีย เนื่องพฤติกรรมของโคเพศผูจะรุนแรง ทั้งการชนการปนกัน จะทําใหเกิดโอกาสบาดเจ็บไดงายทั้ง 2 ฝาย โคเพศผูควรเลี้ยงแยก ถามีคอกเพียงพอก็เลี้ยงแยกเดี่ยวและผูเลี้ยงตองระมัดระวังตัวเอง จากการเขาใกลโคที่โตแลว ไมเชนนั้นผูเลี้ยงจะไดรับอันตรายไดงาย

Page 54: (Feeding and Management of Dairy cattle)¸šทที่ 3...67 บทท 3 การจดการให อาหารโคนม (Feeding and Management of Dairy cattle) 1. ความต

120

10. การเลี้ยงโคนมเพื่อผลิตเนื้อ การผลิตเนื้อจากโคนม(Dairy Beef Production) มักเปนผลพลอยไดของการทําฟารมโคนมที่มีลูกโคเพศผูในฟารมมาก หรือมีโคที่จะคัดทิ้งซึ่งเปนโคที่ไมมีลักษณะของการใหน้ํานมที่ดี ผูเลี้ยงก็มักจะคัดออก การเลี้ยงโคนมเพื่อการผลิตเนื้อ ผูเลี้ยงตองมีพ้ืนที่ในการปลูกแปลงหญามากพอที่จะใชเลี้ยงได โดยทั่วไปลักษณะของกิจการมี 2 อยางคือ 1. การเลือกแบบขุนอาหารขน (High-Energy ration) การเลี้ยงแบบนี้โคจะอวน และไดน้ําหนักเร็ว สวนมากจะเปนการเลี้ยงในโรงเรือน และใหกินอาหารเต็มที่ ใชเวลาในการเลี้ยงสั้น มักเลี้ยงในโคที่มีน้ําหนักระหวาง 100-400 กก. น้ําหนักที่สงตลาดคือ 400-500 กก./ตัว 2. การเลี้ยงแบบขุนบนแปลงหญา (High-roughage ration) การเลี้ยงแบบนี้จะชาเลี้ยงปลอยใหโคเจริญเติบโตบนแปลงหญา หรือกินอาหารหยาบเปนหลัก จนกวาจะไดน้ําหนักตามเกณฑ น้ําหนักที่สงตลาดจะมากกวาอยูที่ 500-600 กก./ตัว จะเห็นไดวาการเลี้ยงโคนมเพื่อผลิตเนื้อหลักใหญจะหมายถึงโคเพศผูที่นํามาเลี้ยงขนดวยอาหารขนหรืออาหารหยาบ จนไดน้ําหนักสงตลาด การเลี้ยงทุกประการจะใชหลักเดียวกับการเลี้ยงโคเนื้อ แตโคนมผลิตเนื้ออาจครอบคลุมถึงการนําโคคัดทิ้ง หรือโคสาวหรือลูกโคคัดทิ้งมาใชในการขุนเพื่อการผลิตเนื้อได โคนมที่นําออกเลี้ยงเพื่อการผลิตเนื้อ มักเปนคัดทิ้งเนื่องจากสาเหตุใหผลผลิตน้ํานมต่ํา, เตานมอักเสบ, มีปญหาระบบสืบพันธุ, หรือมีความผิดปกติ ทางดานรางกาย ที่เกี่ยวของกับน้ํานม และดวยราคาของโคเนื้อ จะขึ้นอยูกับขนาดของรางกายและน้ําหนัก ดังนั้นการขุนโคเหลานี้จึงไมพิถีพิถันเทาไร เพราะคุณภาพเนื้อของโคเหลานี้ จะอยูในเกณฑที่ตองการของตลาดตองการอยูแลว และถาเปนตลาดที่นําไปทําผลิตภัณฑก็จะไมมีปญหาแตอยางใด โคโฮสไตนเพศผู สามารถนํามาใชผลิตเนื้อไดดี โคเจริญเติบโตเร็วมีความสามารถในการเปลี่ยนอาหารเปนเนื้อไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมถึงใหผลผลิตเนื้อคุณภาพดี เทียบไดกับคุณภาพจากโคเนื้อ ในสภาพการเลี้ยงแบบเดียวกัน และโคโฮนสไตน โคบราวสวิท จะเจริญเติบโตไดเร็วกวาโคพันธุเล็ก เชน เจอรซี่ เกอรซี่ ในการใชสูตรอาหารเดียวกันเลี้ยงโคนมกับโคเนื้อ พบวา เนื้อจากโคนมจะมีไขมันนอยกวาเนื้อจากโคเนื้อ ดังนั้นการผลิตเนื้อจากโคนมเพศผูจึงมีโอกาสที่จะแขงขันกับโคเนื้อไดดี ในสถานการณที่ผูบริโภคตองการกินเนื้อที่มีไขมันนอยกวา

10.1 การใหอาหารโคเพื่อผลิตเนื้อ การเลี้ยงโคแบบนี้คือ “ตองเลี้ยงโคใหโตเร็วที่สุดภายใตเร็วที่สุดภายใตกําไรสูงสุดตอกิโลกรัมของเนื้อ” ดังนั้นการเลี้ยงใหโคอวน ต้ังแตโคเล็ก-โครุน-โคโต จึงไมเปนปญหาตอการผลิต หรือโปรแกรมการผลิต เพียงแตผูเลี้ยงตองดูสภาวะราคาเนื้อของตลาดและวางแผนการผลิตใหสอดคลองกับตลาด รูปแบบการเลี้ยง ในชวงแรกเกิด - 3 เดือนแรก จะเหมือนกับการเลี้ยงลูกโตทั่วไป และในระยะ 3 เดือนขึ้นไป ลูกโคยังเลี้ยงดวยอาหารขนอยู แตผูเลี้ยงตองเริ่มตรวจดูราคาของอาหารขนกับอาหารหยาบ เมื่อเทียบกับหนวยการเจริญเติบโต หากราคาอาหารขนถูกกวาก็พิจารณาเลี้ยงดวยอาหารขน หากอาหารขนราคาแพงก็เลี้ยงแบบจํากัดปริมาณอาหารขน ปริมาณโภชนะที่ตองการสําหรับดํารงชีพและเพิ่มน้ําหนักตัวในโคเนื้อจะตองการไมมาก เพราะโคสามารถใชอาหารจากแหลงอาหารหยาบ ไดอยางมีประสิทธิภาพ และโคใชอาหารเพื่อการดํารงชีพและเพิ่มน้ําหนักตัวไดอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด ถาผูเลี้ยงตองการใชเวลาการเลี้ยงสั้นก็ตองพึ่งอาหารขนเปนแหลงพลังงานในการขุน แตถาไมมีปญหาเรื่องเวลา ก็ปลอยใหโคใชแหลงพลังงานจากอาหารหยาบเปนหลัก และเสริมดวยอาหารขน และตามปกติถาขุนโคจากแหลงอาหารหยาบ โคจะมี % ไขมันนอยกวาโคที่ขุนดวยอาหารขน

Page 55: (Feeding and Management of Dairy cattle)¸šทที่ 3...67 บทท 3 การจดการให อาหารโคนม (Feeding and Management of Dairy cattle) 1. ความต

121

10.2 ประสิทธิภาพการขุน ประสิทธิภาพของการเจริญเติบโตจะสัมพันธกับอายุของโค โคเล็กจะมีประสิทธิภาพในการเปลี่ยนอาหารเปนเนื้อไดสูงกวาโคโต ในโคโตปจจัยรวมของการเพิ่มน้ําหนักตัว 2 แบบคือ 1) การเพิ่มน้ําหนักตัวของโคขุนคือ การเพิ่มขึ้นของไขมันแทรก 2) ไขมันใหพลังงานมากกวาโภชนะตัวอื่นๆ ดังนั้นจึงตองการโภชนะจากอาหารเปนจํานวนมาก เพื่อเปลี่ยนเปนไขมันแทรก จึงทําให อัตราการเปลี่ยนอาหารไปเปนเนื้อมากขึ้น

10.3 อนาคตของโคนมเนื้อ เมื่อผูบริโภคเริ่มหันมากินเนื้อที่มีคุณภาพมากขึ้น และราคาของเนื้อขายกันตามเกรดของคุณภาพซาก จะทําใหอนาคตของโคนมมีโอกาสนํามาใชเพื่อการขุนเปนเนื้อไดมาก เพราะเทคโนโลยีของการขุนหรือพันธุของโคนม ไมใชปญหาหลักในเรื่องคุณภาพซาก เพราะจะเปนแรงจูงใจใหวงการโคขุนเจริญกาวหนาไปได รวมถึงการบริโภคเนื้อในรูปผลิตภัณฑสําเร็จรูป จะชวยกระตุนใหอุตสาหกรรมโคกาวหนา เพราะโรงงานตองการโคที่มีคุณภาพสม่ําเสมอเขาโรงงานนั่นเอง

บรรณานุกรม Bath, D.L., Dickinson, H.A. Tucker, and R.D. Appleman . 1978. Dairy cattle. 2nd ed. Lea & Febiger, Philadelphia. Battaglia, R. A., and V. B. Mayrose. 1987. Handbook of livestock management techniques. Surjeet Publications. Bell, R. L. 1984. Dairy herd fertility. Ministry of Agriculture, Fisheries and Food, Reference book 259. Cambell, J. R. , and R. T. Marshall. 1975. The Science of providing milk for man. McGraw-Hill, Inc. Chamberlian, A. T., and J. M. Wilkinson. 2000. Feeding the dairy cow. Chalcombe Publications. Church, D. C. 1988. The ruminant animal digestive physiology and nutrition. Waveland Press, Inc. Church, D.C. 1991. Livestock feed and feeding. 3th ed. Prentice-Hall, Inc. Ensminger, M. E. 1993. Dairy cattle science. 3th ed. Interstate Publishers, Inc. Etgen ,W.M., and P.M. Reaves. 1978. Dairy cattle feeding and management. 6th ed. John Wiley & Son, Inc. Ferguson, J. D. 1988. Feeding for reproduction. Cornell University. Ithaca. Head, H .H. 1992. Heifer performance standards: Rearing system , growth rate, and lactation. in Large Dairy Herd

Management. H. H Van Horn and C. J. Wilcox, ed. American Dairy Science Association. Champain, IL. Heide, D. V. D., E. A. Huisman., E. Kanis, J. W. M. Osse., and M. W. A. Verstegen. 1999. Regulation of feed

Page 56: (Feeding and Management of Dairy cattle)¸šทที่ 3...67 บทท 3 การจดการให อาหารโคนม (Feeding and Management of Dairy cattle) 1. ความต

122

intake. CABI Publising. Hoard’s Dairyman.1994. Calf care and raising young stock. W. D. Hoard and Sons Company. Holmes , C. W., and G. F. Wilson .1987. Milk production from pasture. Butterworths. James, R.E., and W. H. Colline. 1992. Heifer feeding and management systems. in Large Dairy Herd Management. H. H Van Horn and C. J. Wilcox, ed. American Dairy Science Association. Champain, IL. John , B. O. 1977. Complete diet for cattle and sheep. Farming Press Ltd. Malcolm E. C. and W. Paul . 1984. Modern milk production. Faber and faber. Mccullough, M.E.1973. Optimum feed of dairy animal for meet and milk. The University of Georgia Press. Miller, W.J. 1979. Dairy cattle feeding and nutrition. Academic Press, Inc. Minson, D.J.1990. Forage in ruminant nutrition. Academic Press, Inc. Morrill, J. L. 1992. The calf : Birth to 12 weeks. in Large Dairy Herd Management. H. H Van Horn and C. J.

Wilcox, ed. American Dairy Science Association. Champain, IL. National Research Council. 1989. Nutrient requirements of dairy cattle. 6th rev. ed. National Academy Press,

Washington, DC. National Research Council. 2001. Nutrient requirements of dairy cattle. 7 th rev. ed. National Academy Press,

Washington, DC. Park, C. S., G. M. Erickson, Y. J. Chol, and G. D. Marx. 1987. Effect of compensatory growth on regulation of

growth and lactation: respond of dairy heifers to a stair-step growth pattern. J. Anim. Sci. 64:1751. Quim, T. 1980. Dairy farm management. Van Nostrand Reinhocd Company. Richard A.B., and B.D. Vernon .1987.Handbook of livestock mnagement techniques. Surjeet Publications. Schmidt, G.H., and L.D. VanVleck. 1974. Priciple of dairy science. W.H.Freeman and Company. Sejrsen, K., J. T. Huber, H.A. Tucker, and R. M. Akers. 1982. Influence of nutrition on mammary development I

pre-and postpubertal heifers. J. Dairy Sci. 66:793. Sniffen, C.J. 1988. Balancing ration for carbohydrates for dairy cattle.Cornell, Ithaca. Whittlemore, C.T. 1980. Lactation of dairy cow. Longman Group Limited.

Page 57: (Feeding and Management of Dairy cattle)¸šทที่ 3...67 บทท 3 การจดการให อาหารโคนม (Feeding and Management of Dairy cattle) 1. ความต

123