Top Banner
คคคคคคคค (Elevation) คคคคคคค คคคคคคคคค ธธธธ ธธธธธธธธธธธธ ธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธ ธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธ ธธธธธธ E-mail: [email protected] ธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธ ธธธ ธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธ ธธธธธธธธธ ธธธธธธธ ธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธ ธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธ ธธธธธธธธธธธธธธธธธธธ ธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธ ธธธธธธธธ ธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธ ธธธธธธธธธ ธธธธธธธธธ ธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธ ธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธ ธธธธธธธ ธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธ ธธธธธธธธธธธธธธธธธธธ ธธธธธธธธธธธธธธ ธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธ ธธธธธธธธธ ธธธธธธธธธธธธธ ธธธธ ธธธธธธธธธธธธธ ธธธ ธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธ ธธธ ธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธ (ธธธธ ธธธธธธธธธธธธธธธ) ธธธธธธธธธธธธธธธธ ธธ ธธธธธธธ 760 ธธธธธธธธธธธธธ ธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธ ธธธธ 11 ธธธธธธธธธธธธธ ธธธธธธธธธธธธ ธธธธธธ 1 ธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธ ธธธธ ธธธธธธธธธธธธธธธธ (Total Station) ธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธ ธ) ธ) ธ ธ) ธธธธธธธธธธธ ธ)ธธธธธธธธธธธธธธธธ (Total Station) ธธธธธธธธธ 1 ธธธธธธธธธธธธธ ธธธธธธธธธธธ ธธธธธธธธธธธธธธธธ (Total Station) ธธธธธธ Sokkia ธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธ ธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธธ
6

Elevation

Mar 21, 2016

Download

Documents

Elevation, enineering, technology
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: Elevation

ค่าระดับ (Elevation) อ้างอิงจากท่ีไหน ธรีะ ลาภิศชยางกลู

อาจารยภ์าควชิาวศิวกรรมโยธา มหาวทิยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุร ี

E-mail: [email protected] พื้นผิวโลกท่ีมนุษยใ์ชใ้นการเดินทาง และอยูอ่าศัยตัง้แต่อดีตจนถึงปัจจุบนั จะพบวา่มีความสงู และต่ำ่าแตกต่างออกไปตามสถานที่ต่าง ๆ บนโลกท่ีเราสามารถพบเหน็ได้ด้วยตาในระหวา่งการเดินทาง และใชช้วีติบนพื้นท่ีแหง่นัน้ ดังนัน้พูดถึงความสงูของพื้นผิวโลกที่เราอาศัยอยู ่ถ้าเป็นภเูขาก็ต้องสงูกวา่พื้นท่ีที่เป็นทุ่งนาอยา่งแน่นอน แต่ก็จะมบีา้งในบางพื้นท่ีท่ีม ีความสงูใกล้เคียงกัน จนท่ำาใหเ้ราไมส่ามารถแยกออกได้ด้วยตาเปล่าจงึต้องมวีธิกีารวดัแบบต่างๆกันออกไป เชน่ ใชเ้ทปวดัระยะ การค่ำานวณด้วยวธิกีารตรโีกณจากการวดัระยะและมุมจากการเปรยีบเทียบจากความกดอากาศ (หรอืเรยีกวา่ความดัน) ท่ีระดับน่ำ้าทะเล มคีวามดัน760 มลิลิเมตรปรอท และทกุๆความสงูท่ีเพิม่ขึ้น 11 เมตรโดยประมาณ ความดันอากาศ จะลดลง 1 มลิลิเมตรปรอทและเครื่องมอืส่ำารวจ เชน่ กล้องประมวลผลรวม (Total Station) หรอืเครื่องหาต่ำาแหน่งพกิัดดาวเทียมจพีเีอส

ก) ข)รูปท่ี 1 แสดงลักษณะของ ก ) กล้องวดัมุม ข)กล้องประมวลผลรวม (Total Station) ยีห่อ้ Sokkia [1][2]

จากรูปท่ี 1 แสดงลักษณะของกล้องวดัมุม กล้องประมวลผลรวม (Total Station) ยีห่อ้Sokkia ส่ำาหรบัในการวดัระยะและมุมทางราบและดิ่งเพื่อน่ำาไปค่ำานวณหาความสงู

Page 2: Elevation

รูปท่ี 2 การหาความสงูด้วยกล้องวดัมุมและกล้องประมวลผลรวม [3]

รูปท่ี 3 เครื่องหาต่ำาแหน่งพกิัดดาวเทียมจพีเีอส [1 ]

การวดัระยะและมุมทางราบและดิ่งเพื่อน่ำาไปค่ำานวณหาความสงูดังรูปท่ี 2 เป็นตัวอยา่งการหาความสงูของเจดีย์ด้วยกล้องวดัมุมและรูปท่ี 3 แสดงเครื่องหาต่ำาแหน่งพกิัด

ดาวเทียมจพีเีอสท่ีก่ำาหนดค่าพกิัดได้ทางแกน x, y และ z ของจุดที่ต้องการทราบค่าพกิัด เมื่อน่ำาไปวดัค่าพกิัดทัง้สองจุดก็จะ

สามารถหาความสงูท่ีแตกต่างระหวา่งสองจุดนัน้ ได้จากเครื่องมอืที่ยกตัวอยา่งจะเป็นเครื่องมอืในงานส่ำารวจตัง้แต่

แบบเดิมจนถึงเครื่องมอืสมยัใหม ่ ท่ีใชก้ันในปัจจุบนัที่มีววิฒันาการเรื่อยมา ท่ำาใหก้ารหาค่าความสงูของพื้นผิวโลก

สามารถท่ำาใหร้วดเรว็มคีวามถกูต้องสงูจากเครื่องมอืและวธิีการที่ใชใ้นการวดั

แต่การท่ีวดัความสงูโดยทัว่ไปเราจะนึกถึงการวดัเฉพาะวตัถทุี่เราต้องการก็จะทราบเฉพาะความสงู เมื่อท่ำาการวดัวตัถุอีกสิง่หน่ึงก็จะทราบความสงูของอีกวตัถหุน่ึงเชน่กัน จงึสามารถเทียบกันได้ แต่ทราบหรอืไมว่า่ถ้าเราวดัความสงูของ

พื้นผิวโลกในต่ำาแหน่งท่ีต้องการจุดใดจุดหน่ึงนัน้จะอ้างอิงความสงูของจุดนัน้จากท่ีใด ท่ำาการวดัอยา่งไรจงึท่ำาใหเ้ราสามารถทราบได้วา่พื้นท่ีนี้สงูกวา่พื้นที่อีกแหง่หน่ึงเพื่อน่ำาไปใชใ้นการ

วางแผนก่อสรา้ง , ท่ำาแผนท่ีเสน้ชัน้ความสงู และก่ำาหนดต่ำาแหน่งของอาคาร บา้น ในประเทศไทยก่ำาหนดความสงูของ

พื้นหลักฐานอ้างอิงไวท่ี้ใด

Page 3: Elevation

ค่าระดับ (Elevation) และพื้นหลักฐานอ้างอิงคืออะไร ค่าระดับ (Elevation) คือค่าความสงูของจุดที่พจิารณาที่อยูบ่นหรอืใต้พื้นผิวโลก ในระนาบดิ่ง โดยการนับความสงูเริม่ต้นจากพื้นผิวที่มคี่าเท่ากับศูนยส์่ำาหรบัเริม่ต้นในการวดัระยะทาง

ดิ่งของจุดต่างๆบนพื้นผิวโลก

ดังรูปท่ี 4 แสดงตัวอยา่งการวดัระยะทางดิ่งที่ก่ำาหนดให้พื้นผิวที่สมมติขึ้น (ขอบโต๊ะ ) มคี่าเท่ากับศูนย ์ซึ่งถ้าจุดอ่ืนๆท่ีต้องการวดัระยะทางในแนวดิ่ง ที่สมัพนัธก์ับขอบโต๊ะน้ีจะมค่ีาความสงูตามรูปท่ีปรากกฎ จากตัวอยา่งจะพบวา่ถ้าเราต้องการ

ทราบความสงูของพื้นท่ีใดพื้นท่ีหน่ึงวา่สงูต่างกันเท่าไรก็จะใชก้ารวดัระยะทางดิ่งของทัง้สองจุด ท่ีเทียบกับพื้นอ้างอิงท่ีมัน่คง จะสามารทราบความแตกต่างระหวา่งของจุดทัง้สองนัน้ได้อยา่งถกูต้อง แต่ในการท่ำางานส่ำารวจเพื่อท่ำาแผนท่ีหรอืการก่อสรา้งบน

พื้นที่ภมูปิระเทศจรงิจะต้องใชเ้ครื่องมอืในการส่ำารวจและพื้นหลักฐานอ้างอิงค่าระดับที่มคีวามถกูต้องสงูและใชก้ันเป็นสากลทกุๆ

จงัหวดัหรอืในระดับประเทศที่หน่วยงานต่างๆใหค้วามเชื่อถือ

รูปท่ี 4 แสดงตัวอยา่งการวดัระยะทางดิ่งท่ีก่ำาหนดใหพ้ื้นผิวท่ีสมมติขึ้น (ขอบโต๊ะ ) มค่ีาเท่ากับศูนย์

ดังนัน้พื้นหลักฐานท่ีใชอ้้างอิงความสงูของจุดต่างๆบนพื้นผิวโลกจะต้องมคี่าความสงู ท่ีแน่นอนตลอดเวลาและสามารถใช้อ้างอิงอยา่งถกูต้องของแต่ละประเทศนัน้ ซึ่งปรกติจะใชค้่าระดับน่ำ้าทะเลปานกลาง(Mean Sea Level) หรอื ร.ท.ก . เป็นค่าการวดัความสงูในการอ้างอิงถือเป็นสากลในแต่ละประเทศ ส่ำาหรบัค่า

ระดับน่ำ้าทะเลปานกลางจะเป็นค่าเฉล่ีย ของระดับน่ำ้าทะเลขึ้นสงูสดุ (High Tide : HT) และลงต่ำ่าสดุ (Low Tide : LT) ของแต่ละวนัในชว่งระยะเวลาที่ก่ำาหนด แล้วน่ำาค่ามาเฉล่ีย เป็นระดับน่ำ้าทะเลปานกลาง ส่ำาหรบัระยะเวลา ท่ีท่ำาการรงัวดัโดย

ทัว่ไปจะต้องวดัเป็นเวลา 186. ปี ตามวฏัจกัรของน่ำ้า

Page 4: Elevation

ก )

แต่ระดับน่ำ้าทะเลปานกลางของแต่ของทัว่โลกในแต่ละประเทศอาจจะมคีวามสงูไมเ่ท่ากันแต่ก็ไมไ่ด้หมายความวา่ระดับ

น่ำ้าทะเลปานกลางของทกุประเทศจะเท่ากันหมด เพราะบางประเทศอาจต่างกันเป็นเมตรหรอืมากกวา่นัน้ครบั ใน

ประเทศไทยใชเ้วลาในการวดั 5 ปี โดยเลือกที่ต่ำาบลเกาะหลัก จงัหวดัประจวบคีรขีนัธ ์ เป็นท่ีวดัความสงูแล้วน่ำามาหาค่าเฉล่ีย

เพื่อใชเ้ป็นค่าระดับน่ำ้าทะเลปานกลาง ใหม้คี่า 0000.เมตรเพื่อน่ำามาสรา้งเป็นหมุดหลักฐานถาวรอันแรกของไทย

เรยีกวา่หมุด BMA . ซึ่งมค่ีาระดับน่ำ้าทะเลปานกลาง 14477 เมตร[4 ] และเรยีก รทก . น้ีวา่ “พื้นหลัก

ฐานทางดิ่งเกาะหลัก 2458” (Kolak 1915 Vertical Datum) ซึ่งความสงูท่ีวดัเทียบกับระดับน่ำ้าทะเลปานกลางน้ีจงึมคี่าทัง้บวกและลบ ถ้าอยูส่งูกวา่ระดับน่ำ้าทะเลปานกลางจะ

เป็นค่าบวก ในทางตรงขา้มถ้าอยูต่่ำ่ากวา่ระดับน่ำ้าทะเลปานกลางจะเป็นค่าลบ ท่ำาใหเ้ราสามารถทราบได้วา่พื้นที่ใดอยูส่งูกวา่ระดับน่ำ้าทะเลปานกลางหรอืสงูต่ำ่ากวา่กันเท่าใดในแต่ละจุดบนพื้นที่เดียวกัน ท่ีสามารถบอกถึงผลกระทบจากน่ำ้าขึ้นและลงเพื่อ

ป้องกันน่ำ้าท่วมและออกแบบอาคาร

ข)รูปท่ี 5 แสดงตัวอยา่งหมุดหลักฐานทางดิ่ง ก ) BMA. ท่ีเกาะหลัก จ . ประจวบคีรขีนัธ์

ข ) BMR. 5 ส่ำานักสงฆเ์ขาหลาว จ ราชบุร.ี [5]

Page 5: Elevation

รูปท่ี 6 โครงขา่ยระดับชัน้ 1 ของประเทศไทย [5 ][6] ในปัจจุบนักรมแผนท่ีทหารโดยกองยอีอเดซี ่และ ยอีอฟสิกิส ์ได้มกีารขยายหมุดหลักฐาน ทางดิ่ง (z) ไปทัว่ประเทศจากต่ำาบลเกาะหลัก จงัหวดัประจวบคีรขีนัธด์ังรูปที่ 5 และ 6

ตามมาตรฐาน “ระเบยีบกองยีอ่อเดซีแ่ละยีอ่อฟสิกิส ์กรมแผนท่ีทหาร วา่ด้วยการส่ำารวจวางหมุดหลักฐานทางราบและทางดิ่ง พ.ศ 2539” ซึ่งเป็นไปตามแนวทางของ Federal

Geodetic Control Committee (FGCC) แหง่สหรฐัอเมรกิา[5] เพื่อใหเ้กิดประโยชน์ต่อการวางแผนและ

วเิคราะหใ์นงานต่างๆ จากโครงขา่ยมคีวามถกูต้อง มคีวามน่าเชื่อถือสงูและ มคีวามเป็นเอกภาพ สามารถน่ำาไปใชเ้ป็นประโยชน์ต่อการพฒันาประเทศและพฒันาระบบต่างๆ ท่ี

ต้องการความละเอียดถกูต้องทางต่ำาแหน่งสงู ท่ำาใหห้น่วยงานต่างๆ บรษัิทเอกชน และสถานศึกษาสามารถน่ำาค่าระดับที่เป็นความสงูแต่ละพื้นที่จากหมุดหลักฐานทางดิ่งที่กระจายอบยูท่ัว่

ประเทศไปใชป้ระโยชน์ในหน่วยงานและพฒันาพื้นท่ีได้อยา่งยัง่ยนืในอนาคต

Page 6: Elevation

บรรณานุกรมวชิาการ.คอม , 2004, เครื่องมอืทางพกัิดภมูศิาสตร,์ Available URL : http://www.vcharkarn.com/vcafe/42253/3, [Monday, February 0 4, 2011 ]Sokkia Corp. , 2011, Series 50RX Reflectorless Total Station, Available URL : http://www.sokkia.com/Products/Detail/Series50RX.aspx, [Monday, February 0 4, 2011 ]ภาควชิาวศิวกรรมโยธา คณะวศิวกรรมศาสตร ์มหาวทิยาลัยเชยีงใหม่ , 2010, ความรูทั้่วไปเก่ียวกับเจดีย,์ Available URL : http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=moonfleet&month=01-2010&date=07&group=104&gblog=87, [Monday, February 0 4, 2011 ]วกิิพเีดีย สารานุกรมเสรี , 2010, ระดับน้ำ้าทะเล, Available URL : http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%94%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B8%97%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%A5, [Monday, February 0 4, 2011 ]กองยอีอเดซี ่และ ยอีอฟสิกิส ์กรมแผนที่ทหาร , 2011, การส้ำารวจวางโครงขา่ยหมุดหลักฐานทางด่ิงแห่งชาติ, Available URL : http://www.rtsd.mi.th/section/New_Section/Geodesy/Documents_Geo.html, [Tuesday, February 05, 2011 ]กองยอีอเดซี ่และ ยอีอฟสิกิส ์กรมแผนที่ทหาร , 2011, พื้นหลักฐานอ้างอิงของประเทศไทย, Available URL : http://www.rtsd.mi.th/information/download/geodasy.htm, [Tuesday, February 05, 2011 ]