Top Banner
~ 1 ~
22

E-BOOK คู่มือเตรียมสอบเจ้าหน้าที่บริหารงานทะเบียนและบัตร 3...

May 28, 2015

Download

Education

E-BOOK คู่มือเตรียมสอบเจ้าหน้าที่บริหารงานทะเบียนและบัตร 3 กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น ข้อสอบท้องถิ่น ปี 57
ราคา 249 บาท
สั่งซื้อได้ที่ :www.Sheetram.com
บริษัท ชีทราม จำกัด
ชมรมลูกพ่อขุนประยุกต์ สำนักงานใหญ่
453 ถนนรามคำแหง(ปากซอย 53)
หัวหมาก บางกระปิ กรุงเทพฯ 102
โทรศัพท์ : 02-7230950,02-5141422,085-9679080,
085-9993722,085-9993740
FAX : 02-718-6528
เปิดบริการ 8.15-21.30 น. ทุกวัน
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: E-BOOK คู่มือเตรียมสอบเจ้าหน้าที่บริหารงานทะเบียนและบัตร 3 กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

~ 1 ~

Page 2: E-BOOK คู่มือเตรียมสอบเจ้าหน้าที่บริหารงานทะเบียนและบัตร 3 กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

~ 2 ~

ขอบเขตเนื้อหา

ความรูทั่วไปเก่ียวกับกรมสงเสริมการปกครองทองถ่ิน ประวัติความเปนมา 5 กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น 5 อํานาจหนาท่ี 5 วิสัยทัศนและพันธกิจ 6 ประเด็นยุทธศาสตร (Strategic Issues) 7

ความรูเฉพาะเฉพาะตําแหนงเจาหนาที่บริหารงานทะเบียนและบัตร ความรูทางดานงานทะเบียนและบัตร 8 ช่ือ 8 อัตราคาธรรมเนียม 9 คํานําหนานาม 9 บัตรประจําตัวประชาชน 10 ความรูเกี่ยวกับงานธุรการ 12 สรุป พรบ.ขอมูลขาวสารของราชการ 23 สรุประเบียบการรักษาความลับของทางราชการ 30 งานสารบรรณ 40 แนวขอสอบงานสารบรรณ 55

กฎหมายที่เก่ียวของกับเจาหนาที่บริหารงานทะเบียนและบัตร พรบ.ขอมูลขาวสารของทางราชการ พศ. 2540 79 พรบ.ทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2535 และแกไขเพิ่มเติมถึงฉบับท่ี 2 พ.ศ.2551 94 พรบ.บัตรประจําตัวประชาชน พ.ศ.2526 และท่ีแกไขเพิ่มเติม 99 กฎกระทรวงกําหนดใหคนตางดาวปฏิบัติเกี่ยวกับการทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2548 107 กฎกระทรวงกําหนดหลักเกณฑและวิธีจัดเกบขอมูลทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2550 109 กฎกระทรวงกําหนดอัตราคาธรรมเนียมการทะเบียนราษฎร พ.ศ.2545 111 แนวขอสอบ พรบ.ขอมูลขาวสารของทางราชการ พศ. 2540 113 แนวขอสอบ พรบ.ทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2535 และแกไขเพิ่มเติมถึงฉบับท่ี 2 พ.ศ.2551 121 แนวขอสอบ พรบ.บัตรประจําตัวประชาชน พ.ศ.2526 และท่ีแกไขเพิ่มเติม 139

กฎหมายที่เก่ียวของกับกรมสงเสริมการปกครองทองถ่ิน สรุประเบียบวาดวยการรกัษาความลับของทางราชการ 145 สรุป ระเบียบบริหารราชการแผนดินพ.ศ. 2534 และแกไขเพิ่มเติม 155

การจัดระเบียบบริหารราชการสวนกลาง 155 การจัดระเบียบบริหารราชการสวนภูมิภาค 157 การจัดระเบียบบริหารราชการสวนทองถิ่น 160 คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ 160

สรุปพ.ร.บ. องคการบริหารสวนจังหวัด พ.ศ. 2540 และแกไขเพิ่มเติม 163 สภาองคการบริหารสวนจังหวัด 163 นายกองคการบริหารสวนจังหวัด 164 อํานาจหนาท่ีขององคการบริหารสวนจังหวัด 165 การงบประมาณและการคลัง 165 การกํากับดูแล 166

สรุป พรบ.เทศบาล 2496 และท่ีแกไขเพิ่มเติมถึง ฉบับท่ี 13 พ.ศ.2552 169 การจัดตั้งเทศบาล 169 สภาเทศบาล 169 อํานาจหนาท่ีของนายกเทศมนตรี 171

Page 3: E-BOOK คู่มือเตรียมสอบเจ้าหน้าที่บริหารงานทะเบียนและบัตร 3 กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

~ 3 ~

เทศบัญญัติ 171 การคลังและทรัพยสินของเทศบาล 172 การควบคุมเทศบาล 173 คณะกรรมการที่ปรึกษาการเทศบาล 173

สรุปพ.ร.บ.สภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ.2537 และแกไขเพิ่มเติมถึง 182 ฉบับท่ี 6 พ.ศ. 2552 สภาตําบล 182 การกํากับดูแลสภาตําบล 184 งบประมาณรายจายประจําป 187 การกํากับดูแลองคการบริหารสวนตําบล 188

สรุปพรบ.ระเบียบบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่น พ.ศ. 2542 และแกไขเพิ่มเติมถึงฉบับท่ี 3 189 พ.ศ. 2551 การบริหารงานบคุคลในองคการบริหารสวนจังหวัด 190 การบริหารงานบุคคลในเทศบาล 191 การบริหารงานบุคคลในองคการบริหารสวนตําบล 192 การบริหารงานบุคคลในกรุงเทพมหานคร 192 การบริหารงานบุคคลในเมืองพัทยา 192 คณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่น 192

สรุปสาระสําคัญพ.ร.บ.กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ ใหแกองคกรปกครอง 196 สวนทองถิ่น พ.ศ.2542 และแกไขเพิ่มเติมฉบับท่ี 2 พ.ศ.2549 คณะกรรมการการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น 196 แผนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น 197

สรุปสาระสําคัญ พระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองท่ีดี 199 พ.ศ. 2546 การบริหารกจิการบานเมืองท่ีดี 199 การบริหารราชการเพื่อใหเกิดประโยชนสุขของประชาชน 199 การบริหารราชการเพื่อใหเกิดผลสัมฤทธิ์ตอภารกิจของรัฐ 200 การบริหารราชการอยางมีประสิทธิภาพและเกิดความคุมคาในเชิงภารกิจของรัฐ 201 การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน 202 การปรับปรุงภารกิจของสวนราชการ 202 การอํานวยความสะดวกและการตอบสนองความตองการของประชาชน 203 การประเมินผลการปฏิบัติราชการ 204

สรุปสาระสําคัญพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการเมืองพัทยา พ.ศ.2552 และแกไขเพิ่มเติม 205 การบริหารเมืองพัทยา 205 สภาเมืองพัทยา 205 นายกเมืองพัทยา 205 ระเบียบบริหารราชการเมืองพัทยา 206 ขอบัญญัติเมืองพัทยา 206 การกํากับดูแล 208

Page 4: E-BOOK คู่มือเตรียมสอบเจ้าหน้าที่บริหารงานทะเบียนและบัตร 3 กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

~ 4 ~

ประวัตคิวามเปนมา กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น

เปนสวนราชการที่จัดตั้งข้ึนใหมใน สังกัดกระทรวงมหาดไทยที่มีบทบาทภารกิจสําคัญในการสงเสริมสนับสนุนองคกร ปกครองสวนทองถิ่น โดยการพัฒนาและใหคําปรึกษา แนะนําองคกรปกครองสวนทองถิ่นในดานการจัดทําแผนพัฒนาทองถิ่น การบริหารงานบุคคล การเงินการคลัง และการบริหารจัดการ เพื่อให องคกรปกครองสวนทองถิ่น มีความเขมแข็ง และมีศักยภาพในการใหบริการสาธารณะ ทั้งนี้ อํานาจหนาที่และโครงสรางสวนราชการ ของกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น เปนไปตามกฏกระทรวงแบงสวนราชการกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่นกระทรวง มหาดไทย พ.ศ. 2545 ซึ่งกําหนดไวดังนี้

อํานาจหนาที่

1. ดําเนินการพัฒนาระบบ รูปแบบ และโครงสรางขององคกรปกครองสวนทองถิ่น 2. สงเสริมและสนับสนุนในการจัดทํา ประสานและบรูณาการแผนพัฒนาทองถิ่นและวางระบบ

ในการติดตามและประเมนิ ผลการดําเนินงานตามแผนพัฒนาทองถิ่น 3. ดําเนินการจัดทํา แกไข ปรับปรุงกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวของกับองคกรปกครองสวน

ทองถิ่น รวมทั้งใหคําปรึกษา แนะนํา และกํากับดูแลการปฏิบัติงานตามอาํนาจ หนาที่ขององคการปกครองสวนทองถิ่น

4. กําหนดแนวทางและจัดทํามาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับการบรหิารงานบุคคลขององคกร ปกครองสวนทองถิ่น ทั้งนี้ ตามกฎหมายวาดวยการบริการงานบุคคลสวนทองถิ่น

5. สงเสริม สนบัสนุน และประสานการดําเนินงานดานการเงิน การคลัง การงบประมาณ การพัสดุการจัดเก็บรายได และการประกอบกิจการพาณิชยขององคกรปกครองสวน ทองถิ่น รวมทั้งวางระบบตรวจสอบระบบการเงิน การบัญช ีและ การพัสดุขององคการปกครองสวนทองถิ่น

6. สงเสริมสนับสนุนและประสานการจัดการบริการสาธารณะและการศึกษาในอํานาจหนาที่ขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

7. กําหนดแนวทาง วางระบบ และสรางตัวชีว้ัดเพือ่เปนมาตรฐานการดําเนินงานขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ตลอดจนกํากับดูแลใหเปนไปตามมาตรฐาน

8. สงเสริมภาคประชาชนใหมีสวนรวมในการบริหารงานและตรวจสอบการดําเนินงานขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

Page 5: E-BOOK คู่มือเตรียมสอบเจ้าหน้าที่บริหารงานทะเบียนและบัตร 3 กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

~ 5 ~

9. พัฒนาระบบขอมูลสารสนเทศเพื่อการบริการขององคการปกครองสวนทองถิ่น

10. พัฒนาบุคลากรขององคการปกครองสวนทองถิน่และของกรม

11. ปฏิบัติการอืน่ใดตามที่กฎหมายกําหนดใหเปนอํานาจหนาที่ของกรมหรอืตามที่กระทรวงหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย

ตอมาในป พ.ศ.2551 ไดมีการประกาศใชกฎกระทรวงแบงสวนราชการกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น กระทรวงมหาดไทย พ.ศ.2551 โดยกําหนดใหมีราชการบริหารสวน ภูมิภาค และจัดตั้งสํานักงานสงเสริมการปกครองทองถิ่นจังหวัดข้ึนในกรมสงเสริมการ ปกครองทองถิ่น เพื่อทําหนาที่ประสานงานและปฏิบัติหนาที่ในฐานะตัวแทนของกรม ในราชการสวนภูมิภาค เพื่อใหการดําเนินการกํากับ ดูแล และสนับสนุนการปฎิบัติงานขององคกรปกครองสวนทองถิ่นเปนไปอยางคลองตัว และมีประสิทธิภาพ และจัดตั้งกลุม ตรวจสอบภายในและกลุมพัฒนาระบบบริหารข้ึนในกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น กระทรวงมหาดไทย เพื่อทําหนาที่ตรวจสอบการดําเนินงานภายในสวนราชการ สนับสนุนการปฏิบัติงานของกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น และพัฒนาการบริหารของสวนราชการใหเกิดผลสัมฤทธิ์ มีประสิทธิภาพ และคุมคา

วิสัยทัศนและพันธกิจ

วิสัยทัศนกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น (Vision)

“ เปนองคกรหลักในการสงเสริมให อปท. เขมแข็งอยางย่ังยืน ”

พันธกิจกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น (Mission)

1. พัฒนากรมสงเสริมการปกครองทองถิ่นใหเปนองคกรที่มีสมรรถนะสูง 2. สงเสริมการจัดทําแผนพัฒนาทองถิ่นใหสอดคลองกับแผนยุทธศาสตรระดับชาต ิระดับจังหวัด

และตอบสนองความตองการของประชาชนภายใตกระบวนการมีสวนรวมจาก ภาคีเครือขาย

3. สงเสริมระบบบรหิารงานบุคคลของ อปท. ใหเปนไปตามหลักคุณธรรม และเพิ่มขีดความสามารถของบุคลากร อปท. ใหทํางานอยางมืออาชีพ

4. พัฒนาระบบงบประมาณและการคลังขององคกรปกครองสวนทองถิ่นใหมีประสิทธิภาพและสามารถพึ่งตนเองได

5. พัฒนาระบบกฎหมายเพื่อเพิ่มประสทิธิภาพการบริหารงานของ อปท. และสนับสนุนผูกํากับดูแล อปท.

Page 6: E-BOOK คู่มือเตรียมสอบเจ้าหน้าที่บริหารงานทะเบียนและบัตร 3 กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

~ 6 ~

ความรูทางดานบริหารงานทะเบยีนและบัตร

ชื่อ “ช่ือตัว” หมายความวา ชื่อประจําบุคคล “ช่ือรอง” หมายความวา ชื่อประกอบถัดจากชื่อตัว “ช่ือสกุล” หมายความวา ชื่อประจําวงศสกุล “นายทะเบียน” หมายความวา นายทะเบียนทองที่ นายทะเบียนจังหวัด หรือนาย

ทะเบียนกลาง ซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งใหปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ “รัฐมนตรี” หมายความวา รัฐมนตรีผูรกัษาการตามพระราชบัญญัตินี้ ผูมีสัญชาติไทยตองมีชื่อตัวและชื่อสกุล และจะมีชื่อรองก็ได

ชื่อสกุลตอง (1) ไมพองหรือมุงหมายใหคลายกับพระปรมาภิไธย หรือพระนามของพระ

ราชินี (2) ไมพองหรือมุงหมายใหคลายกับราชทินนาม เวนแตราชทินนามของตน

ของผูบุพการี หรือของผูสืบสันดาน (3) ไมซ้ํากับชื่อสกุลที่ไดรับพระราชทานจากพระมหากษัตริย หรือชื่อสกุลที่ได

จดทะเบียนไวแลว (4) ไมมีคําหรือความหมายหยาบคาย (5) มีพยัญชนะไมเกินกวาสิบพยัญชนะ เวนแตกรณีใชราชทินนามเปนชื่อสกุล

เมื่อการสมรสสิ้นสุดลงดวยการหยาหรือศาลพิพากษาใหเพิกถอนการสมรส ใหฝายซึ่งใชชื่อสกุลของอีกฝายหนึ่งกลับไปใชชื่อสกุลเดิมของตน เมื่อการสมรสส้ินสุดลงดวยความตาย ใหฝายซึ่งยังมีชีวิตอยูและใชชื่อสกุลของอีกฝายหนึ่งมีสิทธิใชชื่อสกุลนั้นไดตอไป แตเมื่อจะสมรสใหม ใหกลับไปใชชื่อสกุลเดิมของตน

ผูอุปการะเล้ียงดูเด็ก หรือเจาของสถานพยาบาล สถานสงเคราะห หรือสถานอุปการะเล้ียงดูเด็ก ประสงคจะจดทะเบียนตั้งชื่อสกุลของเด็กซึ่งตนอุปการะเล้ียงดูหรือเด็กแหงสถานดังกลาวซึ่งมีสัญชาติไทยแตไมปรากฏชื่อสกุลใชรวมกันหรือแยกกัน ใหย่ืนคําขอตอนายทะเบียนทองที่ที่ผูอุปการะเล้ียงดูมีชื่ออยูในทะเบียนบานตามกฎหมายวาดวยการทะเบียนราษฎรหรือที่สถานดังกลาวตั้งอยู

ผูมีชื่อตัวหรือชื่อรองอยูแลวประสงคจะเปล่ียนชื่อตัวหรือชื่อรอง ใหย่ืนคําขอตอนายทะเบียนทองที่ในทองที่ที่ตนมีชื่ออยูในทะเบียนบานตามกฎหมายวาดวยการทะเบียน

Page 7: E-BOOK คู่มือเตรียมสอบเจ้าหน้าที่บริหารงานทะเบียนและบัตร 3 กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

~ 7 ~

ราษฎร เมื่อนายทะเบียนทองที่เห็นวาชื่อตัวหรือชื่อรองที่ขอเปล่ียนใหมนั้นไมขัดตอพระราชบัญญัตินี้ ก็ใหอนุญาตและออกหนังสือสําคัญแสดงการเปล่ียนชื่อให

ในกรณีที่นายทะเบียนสั่งไมรับจดทะเบียนชื่อสกุล ผูขอจดทะเบียนชื่อสกุลมีสิทธิอุทธรณคําส่ังของนายทะเบียนตอรัฐมนตรีภายในสามสิบวันนับแตวันทราบคําส่ังโดยย่ืนอุทธรณตอนายทะเบียนทองที่ อัตราคาธรรมเนียม

(1) การออกหนังสือสําคัญแสดงการเปล่ียนชื่อตัว หรือชื่อรอง ฉบับละ 100 บาท

(2) การออกหนังสือสําคัญแสดงการรับจดทะเบียน ตั้งชื่อสกุล ฉบับละ 200 บาท

(3) การออกหนังสือสําคัญแสดงการรับจดทะเบียน เปล่ียนชื่อสกุล (ก) การเปล่ียนชื่อสกุลเพราะเหตุสมรส

(1) การเปล่ียนครั้งแรกภายหลังการ จดทะเบียนสมรสหรือเปล่ียนเพราะ การสมรสสิ้นสุดลง ไมตองเสียคาธรรมเนียม

(2) การเปล่ียนครั้งตอ ๆ ไป ฉบับละ 200 บาท (ข) การเปล่ียนชื่อสกุลเพราะเหตุอื่น ฉบับละ 200 บาท

(4) การออกใบแทนหนังสือสําคัญตาม (1) (2) หรือ (3) ฉบับละ 50 บาท

คํานําหนานาม หญิงซึ่งมีอายุ 15 ปบริบูรณข้ึนไป และยังไมไดจดทะเบียนสมรสใหใชคํานําหนา

นามวา “นางสาว” หญิงซึ่งจดทะเบียนสมรสแลว จะใชคํานําหนานามวา “นาง” หรือ “นางสาว”

ไดตามความสมัครใจ โดยใหแจงตอนายทะเบียนตามกฎหมายวาดวยการจดทะเบียนครอบครัว

หญิงซึ่งจดทะเบียนสมรสแลว หากตอมาการสมรสไดส้ินสุดลงจะใชคํานําหนานามวา “นาง” หรือ “นางสาว” ไดตามความสมัครใจ โดยใหแจงตอนายทะเบียนตามกฎหมายวาดวยการจดทะเบียนครอบครัว

Page 8: E-BOOK คู่มือเตรียมสอบเจ้าหน้าที่บริหารงานทะเบียนและบัตร 3 กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

~ 8 ~

บัตรประจําตัวประชาชน “บัตร” หมายความวา บัตรประจําตัวประชาชน

“ผูถือบัตร” หมายความวา ผูมีชื่อเปนเจาของบัตร

“ทะเบียนบาน” หมายความวา ทะเบียนบานตามกฎหมายวาดวยการทะเบียนราษฎร

“เจาพนักงานออกบัตร” หมายความวา ผูซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งใหปฏิบัติการตาม

พระราชบัญญัตินี้ “เจาพนักงานตรวจบัตร” หมายความวา ผูซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งใหปฏิบัติการตาม

พระราชบัญญัตินี้ “พนักงานเจาหนาที่” หมายความวา ผูซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งใหปฏิบัติการตาม

พระราชบัญญัตินี้ “รัฐมนตรี” หมายความวา รัฐมนตรีผูรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้

ผูมีสัญชาติไทยซึ่งมีอายุตั้งแตเจ็ดปบริบูรณ แตไมเกินเจ็ดสิบปบริบูรณ และมีชื่อในทะเบียนบานตองมีบัตรตามที่กําหนด

ผูซึ่งมีอายุเกินเจ็ดสิบปและผูซึ่งไดรับการยกเวนตามกฎกระทรวงจะขอมีบัตรก็ได

ผูซึ่งตองมีบัตร ใหย่ืนคําขอมีบัตรตอพนักงานเจาหนาที่ภายในกําหนดหกสิบวันนับแต

(1) วันที่อายุครบเจ็ดปบริบูรณ (2) วันที่ไดสัญชาติไทย สําหรับผูไมไดสัญชาติไทยโดยการเกิด หรือได

กลับคืนสัญชาติไทยตามกฎหมายวาดวยสัญชาติ (3) วันที่นายทะเบียนเพิ่มชื่อในทะเบียนบานตามกฎหมายวาดวยการทะเบียน

ราษฎร (4) วันที่พนสภาพจากการไดรับการยกเวน

บัตรใหใชไดนับแตวันออกบัตรและมีอายุแปดปนับแตวันเกิดของผูถือบัตรที่ถึงกําหนดภายหลังจากวันออกบัตร บัตรที่ยังไมหมดอายุในวันที่ผูถือบัตรมีอายุครบเจ็ดสิบปบริบูรณ ใหใชบัตรนั้นตอไปไดตลอดชีวิต ผูถือบัตรตองมีบัตรใหม โดยย่ืนคําขอตอพนักงานเจาหนาที่ภายในหกสิบวันนับแตวันที่บัตรเดิมหมดอายุ ผูถือบัตรจะขอมีบัตรใหมกอนวันที่บัตรเดิมหมดอายุก็ได โดยย่ืนคําขอตอพนักงานเจาหนาที่ภายในหกสิบวันกอนวันที่บัตรเดิมหมดอายุ

Page 9: E-BOOK คู่มือเตรียมสอบเจ้าหน้าที่บริหารงานทะเบียนและบัตร 3 กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

~ 9 ~

ผูถือบัตรผูใดเสียสัญชาติไทยเมื่อใด ไมวาดวยเหตุใดผูนั้นหมดสิทธิที่จะใชบัตรนั้นทันที และตองสงมอบบัตรนั้นใหแกพนักงานเจาหนาที่แหงทองที่ที่ตนมีชื่ออยูในทะเบียนบาน ภายในสามสิบวันนับแตวันที่เสียสัญชาติไทย

ผูใด

(1) ย่ืนคําขอมีบัตรโดยมิไดมีสัญชาติไทย ดวยการแสดงหลักฐานอันเปนเท็จหรือปกปดขอความจริงตอพนักงานเจาหนาที่ ตองระวางโทษจําคุกตั้งแตหนึ่งปถึงหาปหรือปรับตั้งแตสองหมื่นบาทถึงหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ

(2) แจงขอความหรือแสดงหลักฐานอันเปนเท็จตอพนักงานเจาหนาที่ ในการขอมีบัตร หรือการขอมีบัตรใหมหรือขอเปล่ียนบัตร ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสามปหรือปรับไมเกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ

(3) ปลอมบัตรหรือใบรับหรือใบแทนใบรับ ตองระวางโทษจําคุกตั้งแตหนึ่งปถึงสิบปหรือปรับตั้งแตสองหมื่นบาทถึงสองแสนบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ

เจาพนักงานออกบัตร เจาพนักงานตรวจบัตร หรือพนักงานเจาหนาที่ กระทําผิดดังขอ ขางตนตองระวางโทษจําคุกตั้งแตสามปถึงสิบหาปและปรับตั้งแตหกหมื่นบาทถึงสามแสนบาท

ผูใดนําบัตรหรือใบรับหรือใบแทนใบรับของผูอื่นไปใชแสดงวาตนเปนเจาของบัตรหรือใบรับหรือใบแทนใบรับ ตองระวางโทษจําคุกตั้งแตหกเดือนถึงหาป และปรับตั้งแตหนึ่งหมื่นบาทถึงหนึ่งแสนบาท

ผูใดเอาไปเสียหรือยึดไวซึ่งบัตรหรือใบรับหรือใบแทนใบรับของผูอื่น เพื่อประโยชนสําหรับตนเองหรือผูอื่นโดยมิชอบ ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหกเดือนและปรับไมเกินหนึ่งหมื่นบาท

ผูใดยินยอมใหผูอื่นนําบัตรหรือใบรับหรือใบแทนใบรับของตนไปใชในทางทุจริต ตองระวางโทษจําคุกตั้งแตสามเดือนถึงสามป หรือปรับตั้งแตหาพันบาทถึงหกหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ

ผูถือบัตรหรือใบรับหรือใบแทนใบรับซึ่งมีอายุตั้งแตสิบหาปข้ึนไป ผูใดไมสามารถแสดงบัตรหรือใบรับหรือใบแทนใบรับ เมื่อเจาพนักงานตรวจบัตรขอตรวจ ตองระวางโทษปรับไมเกินสองรอยบาท

ผูใดมีอายุครบสิบหาปบริบูรณแลวกอนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ และเปนบุคคลซึ่งตองขอมีบัตรตอพนักงานเจาหนาที่ ใหย่ืนคําขอมีบัตรตอพนักงานเจาหนาที่ ภายในเกาสิบวันนับแตวันที่รัฐมนตรีกําหนด

Page 10: E-BOOK คู่มือเตรียมสอบเจ้าหน้าที่บริหารงานทะเบียนและบัตร 3 กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

~ 10 ~

อัตราคาธรรมเนียม (1) การออกบัตร ฉบับละ 100 บาท (2) การออกใบแทนใบรับ ฉบับละ 10 บาท (3) การขอคัดและรับรองสําเนาขอมูลเกี่ยวกับบัตร ฉบับละ 10 บาท

ความรูความเขาใจเกี่ยวกับงานธุรการ งานสารบรรณ

งานธุรการ งานธุรการจะเปนงานที่เกี่ยวของกับทางดานเอกสาร เชน การรับ – สงเอกสาร การจัดระบบงาน เอกสาร การเก็บขอมูลที่สําคัญขององคกร งานพิมพตางๆ และหนังสือโตตอบทางราชการ เปนตน รวมถึงประสานงานทั้งภายในและภายนอกองคกร ทุกหนวยงานจะมีงานธุรการเพื่อทําหนาที่ดําเนินงานดานเอกสารภายในหนวยงาน นั้นๆ รวมไปถึงการประสานงานกับหนวยงานอื่นๆ ทั้งภายในองคกรและภายนอกองคกรก็ได ดังนั้น จะเห็นไดวาองคกรสวนใหญใหความสําคัญกับงานธุรการเพราะงานธุรการเปนหัวใจหลักของการประสานงานตางๆ การเก็บขอมูลเอกสารที่สําคัญๆ ของสวนงานภายในองคกรนั่นเอง

งานธุรการ คือ งานท่ีเกี่ยวกับเอกสารหลักฐานในราชการ รวมท้ังการควบคุมตรวจสอบ อํานวยความสะดวกในการติดตอประสานงาน เพื่อใหการปฏิบัติงานของทุกฝายดําเนินไปสูเปาหมายที่วางไวไดดีที่สุด

ขอบขายของงานธุรการ 1. รับ-สงหนังสือ 2. รางหนังสือ 3. พิมพหนงัสือ 4. ผลิตสําเนาเอกสาร 5. จัดเก็บเอกสาร/แฟมเสนอ 6. บันทึกเสนอหนังสือ 7. ตรวจทานหนงัสือ 8. การทําลายหนังสือ 9. ดูแลสํานักงาน 10. อื่นๆ เชน การเงิน บัญช ีงบประมาณ พัสดุ

ความสาํคัญของงานธุรการ

1. เปนดานหนาของหนวยงาน 2. เปนหนวยสนับสนุน 3. เปนหนวยบริการ

Page 11: E-BOOK คู่มือเตรียมสอบเจ้าหน้าที่บริหารงานทะเบียนและบัตร 3 กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

~ 11 ~

สรุปพระราชบัญญัติขอมลูขาวสารของราชการ พ.ศ.2540 พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ.2540” มีผลใชบังคับเมื่อพนกําหนดเกาสิบวันนับแตวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป และมีายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และมีอํานาจออกกฎกระทรวง ผูรับสนองพระบรมราชโองการ คือ พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ นายกรฐัมนตรี “ขอมูลขาวสาร” หมายความวา ส่ิงที่ส่ือความหมายใหรูเรื่องราวขอเท็จจริง ขอมูล หรือส่ิงใดๆ ไมวาการส่ือความหมายนั้นจะทําไดโดยสภาพของสิ่งนั้นเองหรือโดยผานวิธีการใดๆ และไมวาจะไดจัดทําไวในรูปของเอกสาร แฟม รายงาน หนังสือ แผนผัง แผนท่ี ภาพวาด ภาพถาย ฟลม การบันทึกภาพหรือเสียง การบันทึกโดยเครื่องคอมพิวเตอร หรือวิธีอื่นใดที่ทําใหส่ิงที่บันทึกไวปรากฏได “ขอมูลขาวสารของราชการ” หมายความวา ขอมูลขาวสารท่ีอยูในความครอบครองหรือควบคุมดูแลของหนวยงานของรัฐ ไมวาจะเปนขอมูลขาวสารเกี่ยวกับการดําเนินงานของรัฐหรือขอมูลขาวสารเกี่ยวกับเอกชน “หนวยงานของรัฐ” หมายความวา ราชการสวนกลาง ราชการสวนภูมิภาค ราชการสวนทองถิ่น รัฐวิสาหกิจ สวนราชการสังกัดรัฐสภา ศาลเฉพาะในสวนที่ไมเกี่ยวกับการพิจารณาพิพากษาคดี องคกรควบคุมการประกอบวิชาชีพ หนวยงานอิสระของรัฐและหนวยงานอื่นตามที่กําหนดในกฎกระทรวง “เจาหนาที่ของรัฐ” หมายความวา ผูซึ่งปฏิบัติงานใหแกหนวยงานของรัฐ

“ขอมูลขาวสารสวนบุคคล” หมายความวา ขอมูลขาวสารเกี่ยวกับส่ิงเฉพาะตัวของบุคคล เชน การศึกษา ฐานะการเงิน ประวัติสุขภาพ ประวัติอาชญากรรม หรือประวัติการทํางาน บรรดาที่มีชื่อของผูนั้นหรือมีเลขหมาย รหัส หรือส่ิงบอกลักษณะอื่นที่ทําใหรูตัวผูนั้นได เชน ลายพิมพนิ้วมือ แผนบันทึกลักษณะเสียงของคนหรือรูปถาย และใหหมายความรวมถึงขอมูลขาวสารเกี่ยวกับส่ิงเฉพาะตัวของผูที่ถึงแกกรรมแลวดวย “คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการ

“คนตางดาว” หมายความวา บุคคลธรรมดาที่ไมมีสัญชาติไทยและไมมีถิ่นที่อยู

ในประเทศไทย และนิติบุคคลดังตอไปนี้ (1) บริษัทหรือหางหุนสวนที่มีทุนเกินกึ่งหนึ่งเปนของคนตางดาว ใบหุนชนิดออกใหแกผูถือ ใหถือวาใบหุนนั้นคนตางดาวเปนผูถือ (2) สมาคมท่ีมีสมาชิกเกินกึ่งหนึ่งเปนคนตางดาว

Page 12: E-BOOK คู่มือเตรียมสอบเจ้าหน้าที่บริหารงานทะเบียนและบัตร 3 กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

~ 12 ~

(3) สมาคมหรือมูลนิธิที่มีวัตถุประสงคเพื่อประโยชนของคนตางดาว (4) นิติบุคคลอื่นใดที่มีผูจัดการหรือกรรมการเกินกึ่งหนึ่งเปนคนตางดาว

การเปดเผยขอมูลขาวสาร

หนวยงานของรัฐตองสงขอมูลขาวสารของราชการอยางนอยดังตอไปนี้ลงพิมพในราชกิจจานุเบกษา (1) โครงสรางและการจัดองคกรในการดําเนินงาน (2) สรุปอํานาจหนาที่ที่สําคัญและวิธีการดําเนนิงาน (3) สถานที่ติดตอเพื่อขอรับขอมูลขาวสาร หรือคําแนะนําในการติดตอกับหนวยงานของรัฐ (4) กฎ มติคณะรัฐมนตรี ขอบังคับ คําส่ัง หนังสือเวียน ระเบียบ แบบแผน นโยบาย หรือการตีความ ทั้งนี้ เฉพาะท่ีจัดใหมีข้ึนโดยมีสภาพอยางกฎ เพื่อใหมีผลเปนการทั่วไปตอเอกชนที่เกี่ยวของ (5) ขอมูลขาวสารอื่นตามที่คณะกรรมการกําหนด หนวยงานของรัฐตองจัดใหมีขอมูลขาวสารของราชการอยางนอยดังตอไปนี้ไวใหประชาชนเขาตรวจดูได

(1) ผลการพิจารณาหรือคําวินิจฉัยที่มีผลโดยตรงตอเอกชน รวมทั้งความเห็นแยงและคําส่ังที่เกี่ยวของในการพิจารณาวินิจฉัยดังกลาว (2) นโยบายหรือการตีความที่ไมเขาขายตองลงพิมพในราชกิจจานุเบกษา (3) แผนงาน โครงการ และงบประมาณรายจายประจําปของปที่กําลังดําเนินการ (4) คูมือหรือคําส่ังเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติงานของเจาหนาที่ของรัฐ ซึ่งมีผลกระทบถึงสิทธิหนาที่ของเอกชน (5) ส่ิงพิมพที่ไดมีการอางอิง (6) สัญญาสัมปทาน สัญญาท่ีมีลักษณะเปนการผูกขาดตัดตอนหรือสัญญารวมทุนกับเอกชนในการจัดทําบริการสาธารณะ (7) มติคณะรัฐมนตรี หรือมติคณะกรรมการที่แตงตั้งโดยกฎหมาย หรือโดยมติคณะรัฐมนตรี ทั้งนี้ ใหระบุรายชื่อรายงานทางวิชาการ รายงานขอเท็จจริง หรือขอมูลขาวสารที่นํามาใชในการพิจารณาไวดวย (8) ขอมูลขาวสารอื่นตามที่คณะกรรมการกําหนด

Page 13: E-BOOK คู่มือเตรียมสอบเจ้าหน้าที่บริหารงานทะเบียนและบัตร 3 กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

~ 13 ~

สรุประเบียบวาดวยรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ.2544

“ระเบียบวาดวยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ.2544” ระเบียบนี้ใหใชบังคับเมื่อพนกําหนด 120 วัน นับแตวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา ซึ่งนายกรัฐมนตรีรักษาการตามระเบียบ มีนายชวน หลีกภัย ลงนามในประกาศ

“ขอมูลขาวสารลับ” หมายความวา ขอมูลขาวสารตาม ม.14 หรือ ม.15 ที่มีคําส่ังไมใหเปดเผยและอยูในความครอบครอง หรือ ควบคุมดูแลของหนวยงานของรัฐ ไมวาจะเปนเรื่องที่เกี่ยวกับการดําเนินงานของรัฐ หรือ ที่เกี่ยวกับเอกชน ซึ่งมีการกําหนดใหมีชั้นความลับเปน ชั้นลีบ ชั้นลับมาก หรือ ชั้นลับที่สุด ตามระเบียบนี้ โดยคํานึงถึงการปฏิบัติหนาที่ของหนวยงานของรัฐ และประโยชนแหงรัฐประกอบกัน

“ประโยชนแหงรัฐ” หมายความวา การดําเนินงานของรัฐที่เกี่ยวกับประโยชนสาธารณะ หรือ ประโยชนของเอกชนประกอบกัน ไมวาจะเปนเรื่องความมั่นคงของรัฐท่ีเกี่ยวกับการเมืองภายในประเทศ หรือระหวางประเทศ การปองกันประเทศ เศรษฐกิจ สังคม วิทยาศาสตร เทคโนโลยี การพลังงาน และส่ิงแวดลอม

“ หัวหนาหนวยงานของรัฐ” หมายความวา

(1) หัวหนาสวนราชการที่มีฐานะเปนนิติบุคคล

สําหรับสวนราชการในสังกัด กระทรวงกลาโหม ใหหมายความรวมถึง หัวหนาสวนราชการที่ข้ึนตรงตอ สํานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม กรมราชองครักษ กองบัญชาการทหารสูงสุด กองทัพบก กองทัพเรือ กองทัพอากาศ

(2) ผูวาราชการจังหวัด สําหรับราชการสวนภูมิภาค

(3) ผูวาราชการจังหวัดกรุงเทพมหานคร นายกองคการบริหารสวนจังหวัด

นายกเทศมนตรี ประธานสภาตําบล นายกเมืองพัทยา หรือตําแหนงที่เรียกชื่ออยางอื่นที่มีลักษณะทํานองเดียวกัน แลวแตกรณี สําหรับขาราชการสวนทองถิ่น

(4) ผูบริหารกิจการของรัฐวิสาหกิจ หรือหนวยงานอื่นของรัฐ สําหรับงานของรัฐวิสาหกิจ หรือหนวยงานอื่นของรัฐ

“ การปรับช้ันความลับ” หมายความวา การลด หรือ เพิ่มชั้นความลับของขอมูลขาวสารลับ และใหหมายความรวมถึง การยกเลิกชั้นความลับของขอมูลขาวสารลับนั้นดวย

ทุก 5 ป เปนอยางนอย ใหนายกรัฐมนตรีจัดใหมีการทบทวนการปฏิบัติการตามระเบียบนี้ และพิจารณาแกไขเพิ่มเติมระเบียบนี้ใหเหมาะสม

Page 14: E-BOOK คู่มือเตรียมสอบเจ้าหน้าที่บริหารงานทะเบียนและบัตร 3 กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

~ 14 ~

ใหหนวยงานของรัฐ มีหนาที่รักษาขอมูลขาวสารลับในหนวยงานของตน และอาจมอบหมายหนาที่ดังกลาวไดตามความจําเปนใหผูใตบังคับบัญชา หรือใหแกราชการสวนภูมิภาค ในกรณีที่สามารถมอบอํานาจไดตาม กม.

บุคคลที่จะเขาถึงขอมูลขาวสารบัญในช้ันความลับใด จะตองเปนบุคคลที่ผูบังคับ บัญชามอบหมายความไววางใจ และใหเขาถึงขอมูลขาวสารลับไดเฉพาะเรื่องที่ไดรับมอบหมายเทานั้น

องคการรักษาความปลอดภัย องคการรักษาความปลอดภัยตามระเบียบนี้ ไดแก

(1) สํานักขาวกรองแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี เปนองคการรักษาความปลอดภัยฝายพลเรือน (2) ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการทหารสูงสุด เปนองคการรักษาความปลอดภัยฝายทหาร ช้ันความลับของขอมูลขาวสารลับ แบงออกเปน 3 ช้ัน คือ

(1) ลับที่สุด (TOP SECRET)

(2) ลับมาก ( SECRET)

(3) ลับ ( CONFIDENTIAL) ลับที่สุด หมายความถึง ขอมูลขาวสารลับซึ่งหากเปดเผยทั้งหมดหรือเพียงบางสวนจะกอใหเกิดความเสียหายแกประโยชนแหงรัฐอยางรายแรงที่สุด ลับมาก หมายความถึง ขอมูลขาวสารลับซึ่งหากเปดเผยทั้งหมดหรือเพียงบางสวนจะกอใหเกิดความเสียหายแกประโยชนแหงรัฐอยางรายแรง ลับ หมายความถึง ลับที่สุด หมายความถึง ขอมูลขาวสารลับซึ่งหากเปดเผยทั้งหมดหรือเพียงบางสวนจะกอใหเกิดความเสียหายแกประโยชนแหงรัฐ

ผูมีอํานาจกําหนดช้ันความลับ

ใหหัวหนาหนวยงานของรัฐมีหนาที่รับผิดชอบในการกําหนดช้ันความลับ พรอมทั้งใหเหตุผลประกอบการกําหนดชั้นความลับของขอมูลขาวสารลับนั้นดวยวาเปนขอมูลขาวสารประเภทใด และเพราะเหตุใด ในการนี้อาจมอบหมายหนาที่ดังกลาวไดตามความจําเปนใหผูใตบังคับบญัชาหรือใหแกราชการสวนภูมิภาค ในกรณีที่สามารถมอบอํานาจไดตามกฎหมาย

Page 15: E-BOOK คู่มือเตรียมสอบเจ้าหน้าที่บริหารงานทะเบียนและบัตร 3 กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

~ 15 ~

พระราชบัญญัตขิอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ.2540 ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.

ใหไว ณ วันที่ 2 กันยายน พ.ศ.2540 เปนปที่ 52 ในรัชกาลปจจุบัน

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลา ฯ ใหประกาศวา โดยที่เปนการสมควรใหมีกฎหมายวาดวยขอมูลขาวสารของราชการ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหตราพระราชบัญญัติข้ึนไวโดยคําแนะนําและยินยอมของรัฐสภาดังตอไปนี้ มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ.2540” มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับเมื่อพนกําหนดเกาสิบวันนับแตวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป มาตรา 3 บรรดากฎหมาย กฎ ระเบียบ และขอบังคับอื่น ในสวนที่บัญญัติไวแลวในพระราชบัญญัตินี้ หรือซึ่งขัดหรือแยงกับบทแหงพระราชบัญญัตินี้ใหใชพระราชบัญญัตินี้แทน มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้

“ขอมูลขาวสาร” หมายความวา ส่ิงที่ส่ือความหมายใหรูเรื่องราวขอเท็จจริง ขอมูล หรือส่ิงใดๆ ไมวาการส่ือความหมายนั้นจะทําไดโดยสภาพของสิ่งนั้นเองหรือโดยผานวิธีการใดๆ และไมวาจะไดจัดทําไวในรูปของเอกสาร แฟม รายงาน หนังสือ แผนผัง แผนท่ี ภาพวาด ภาพถาย ฟลม การบันทึกภาพหรือเสียง การบันทึกโดยเครื่องคอมพิวเตอร หรือวิธีอื่นใดที่ทําใหส่ิงที่บันทึกไวปรากฏได “ขอมูลขาวสารของราชการ” หมายความวา ขอมูลขาวสารท่ีอยูในความครอบครองหรือควบคุมดูแลของหนวยงานของรัฐ ไมวาจะเปนขอมูลขาวสารเกี่ยวกับการดําเนินงานของรัฐหรือขอมูลขาวสารเกี่ยวกับเอกชน “หนวยงานของรัฐ” หมายความวา ราชการสวนกลาง ราชการสวนภูมิภาค ราชการสวนทองถิ่น รัฐวิสาหกิจ สวนราชการสังกัดรัฐสภา ศาลเฉพาะในสวนที่ไมเกี่ยวกับการพิจารณาพิพากษาคดี องคกรควบคุมการประกอบวิชาชีพ หนวยงานอิสระของรัฐและหนวยงานอื่นตามที่กําหนดในกฎกระทรวง “เจาหนาที่ของรัฐ” หมายความวา ผูซึ่งปฏิบัติงานใหแกหนวยงานของรัฐ

Page 16: E-BOOK คู่มือเตรียมสอบเจ้าหน้าที่บริหารงานทะเบียนและบัตร 3 กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

~ 16 ~

“ขอมูลขาวสารสวนบุคคล” หมายความวา ขอมูลขาวสารเกี่ยวกับส่ิงเฉพาะตัวของบุคคล เชน การศึกษา ฐานะการเงิน ประวัติสุขภาพ ประวัติอาชญากรรม หรือประวัติการทํางาน บรรดาที่มีชื่อของผูนั้นหรือมีเลขหมาย รหัส หรือส่ิงบอกลักษณะอื่นที่ทําใหรูตัวผูนั้นได เชน ลายพิมพนิ้วมือ แผนบันทึกลักษณะเสียงของคนหรือรูปถาย และใหหมายความรวมถึงขอมูลขาวสารเกี่ยวกับส่ิงเฉพาะตัวของผูที่ถึงแกกรรมแลวดวย “คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการ

“คนตางดาว” หมายความวา บุคคลธรรมดาที่ไมมีสัญชาติไทยและไมมีถิ่นที่อยู

ในประเทศไทย และนิติบุคคลดังตอไปนี้ (1) บริษัทหรือหางหุนสวนที่มีทุนเกินกึ่งหนึ่งเปนของคนตางดาว ใบหุนชนิดออกใหแกผูถือ ใหถือวาใบหุนนั้นคนตางดาวเปนผูถือ (2) สมาคมท่ีมีสมาชิกเกินกึ่งหนึ่งเปนคนตางดาว (3) สมาคมหรือมูลนิธิที่มีวัตถุประสงคเพื่อประโยชนของคนตางดาว (4) นิติบุคคลตาม (1) (2) (3) หรือนิติบุคคลอื่นใดที่มีผูจัดการหรือกรรมการเกินกึ่งหนึ่งเปนคนตางดาว นิติบุคคลตามวรรคหนึ่ง ถาเขาไปเปนผูจัดการหรือกรรมการ สมาชิก หรือมีทุนในนิติบุคคลอื่น ใหถือวาผูจัดการหรือกรรมการ หรือสมาชิก หรือเจาของทุนดังกลาวเปนคนตางดาว มาตรา 5 ใหนายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และมีอํานาจออกกฎกระทรวง เพื่อปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวงนั้น เมื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลวใหใชบังคับได มาตรา 6 ใหจัดตั้งสํานักงานคณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการขึ้นในสังกัดสํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี มีหนาที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับงานวิชาการและธุรการใหแกคณะกรรมการและคณะกรรมการวินิจฉัยการเปดเผยขอมูลขาวสาร ประสานงานกับหนวยงานของรัฐ และใหคําปรึกษาแกเอกชนเกี่ยวกับการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้

หมวด 1

การเปดเผยขอมูลขาวสาร

มาตรา 7 หนวยงานของรัฐตองสงขอมูลขาวสารของราชการอยางนอยดังตอไปนี้ลงพิมพในราชกิจจานุเบกษา (1) โครงสรางและการจัดองคกรในการดําเนินงาน (2) สรุปอํานาจหนาที่ที่สําคัญและวิธีการดําเนินงาน

Page 17: E-BOOK คู่มือเตรียมสอบเจ้าหน้าที่บริหารงานทะเบียนและบัตร 3 กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

~ 17 ~

พระราชบัญญัตบัิตรประจําตัวประชาชน พ.ศ. ๒๕๒๖ และแกไขเพิ่มเตมิ(ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๔

ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ใหไว ณ วันที่ ๒๙ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๒๖

เปนปที่ ๓๘ ในรัชกาลปจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการ

โปรดเกลาฯ ใหประกาศวา โดยที่เปนการสมควรปรับปรุงกฎหมายวาดวยบัตรประจําตัวประชาชน จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติข้ึนไวโดยคําแนะนําและ

ยินยอมของรัฐสภา ดังตอไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้ เรียกวา “พระราชบัญญัติบัตรประจําตัว

ประชาชน พ.ศ. ๒๕๒๖” มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราช

กิจจานุเบกษาเปนตนไป มาตรา ๓ ใหยกเลิกพระราชบัญญัติบัตรประจําตัวประชาชน พ.ศ. ๒๕๐๕

มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้

“บัตร” หมายความวา บัตรประจําตัวประชาชน

“ผูถือบัตร” หมายความวา ผูมีชื่อเปนเจาของบัตร

“ทะเบียนบาน” หมายความวา ทะเบียนบานตามกฎหมายวาดวยการทะเบียนราษฎร

“เจาพนักงานออกบัตร” หมายความวา ผูซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งใหปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้

“เจาพนักงานตรวจบัตร” หมายความวา ผูซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งใหปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้

“พนักงานเจาหนาที่” หมายความวา ผูซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งใหปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้

“รัฐมนตรี” หมายความวา รัฐมนตรีผูรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้

Page 18: E-BOOK คู่มือเตรียมสอบเจ้าหน้าที่บริหารงานทะเบียนและบัตร 3 กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

~ 18 ~

แนวขอสอบพรบ.การทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534 และแกไขเพิ่มเตมิ (ฉบับ 2) พ.ศ. 2551

3.เลขประจําตัวประชาชนที่นายทะเบียนออกใหแกบุคคลมีกี่หลัก ก. 10 หลัก ข. 11 หลัก ค. 12 หลัก ง. 13 หลัก ตอบ ง. 13 หลัก 4."บาน" หมายความถึงส่ิงใด ก. โรงเรือนหรือส่ิงปลูกสรางที่ใชเปนที่อยูอาศัย ข. แพ ค. เรือ ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ

บาน หมายความวา โรงเรือนหรือส่ิงปลูกสรางสําหรับใชเปนที่อยูอาศัย ซึ่งมีเจาบานครอบครองและใหหมายความรวมถึงแพ หรือเรือซึ่งจอดเปนประจําและใชเปนที่อยูประจํา หรือสถานที่ หรือยานพาหนะอื่นซึ่งใชเปนที่อยูอาศัยประจําไดดวย (พรบ.การทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534 มาตรา 4)

5.ในกรณีที่ไมปรากฎเจาบาน หรือเจาบานไมอยู ตาย สูญหาย ใหผูใดทําหนาที่แทนเจาบาน ก. ผูดูแลบานในขณะนั้น ข. ลูกชาย - ลูกสาว ค. พอ-แม ง. ถูกทุกขอ ตอบ ก. ผูดูแลบานในขณะนั้น

ในกรณีที่ไมปรากฏเจาบาน หรือเจาบานไมอยู ตาย สูญหาย สาบสูญหรือไมสามารถปฏิบัติกิจการไดใหถือวาผูมีหนาที่ดูแลบานในขณะนั้นเปนเจาบาน (พรบ.การทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534 มาตรา 4)

6."ทองถิ่น" หมายความรวมถึงขอใด ก. กรุงเทพมหานคร , เทศบาล ข. กรุงเทพมหานคร, เทศบาล, เมืองพัทยา ค. กรุงเทพมหานคร,. เทศบาล, เมือง ง. กรุงเทพมหานคร, เทศบาล, เมืองพัทยา, หนวยการปกครองสวนทองถิ่น

Page 19: E-BOOK คู่มือเตรียมสอบเจ้าหน้าที่บริหารงานทะเบียนและบัตร 3 กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

~ 19 ~

ตอบ ง. กรุงเทพมหานคร, เทศบาล, เมืองพัทยา, หนวยการปกครองสวนทองถิ่น

ทองถิ่น หมายความวา กรุงเทพมหานคร เทศบาล เมืองพัทยาและหนวยการปกครองทองถิ่นอ่ืนที่ผูอํานวยการทะเบียนกลางโดยอนุมัติรัฐมนตรีกําหนดใหเปนทองถิ่นตามพระราชบัญญัตินี้ (พรบ.การทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534 มาตรา 4)

7.ผูรักษาการตาม พรบ. การทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534 คือใคร ก. รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย ข. รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ ค. รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง ง. ถูกท้ังขอ ก. และ ขอ ข. ตอบ ง. ถูกทั้งขอ ก. และ ขอ ข.

ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทยและรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และใหมีอํานาจแตงตั้งพนักงานเจาหนาที่กับออกกฎกระทรวงกําหนดคาธรรมเนียมไมเกินอัตราทายพระราชบัญญัตินี้ ยกเวนคาธรรมเนียมและกําหนดกิจการอื่นเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ ทั้งนี้ ในสวนที่เกี่ยวกับราชการของกระทรวงนั้น (พรบ.การทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534 มาตรา 7)

8.ผูมีอํานาจออกกฎกระทรวงกําหนดหรือยกเวนการปฏิบัติเกี่ยวกับการแจงการเกิด การแจง การตาย การแจงการยายที่อยู เปนหนาที่ของบุคคลใด ก. รัฐมนตรี ข. ปลัดกระทรวง ค. นายกรัฐมนตรี ง. ผูวาราชการจังหวัด ตอบ ก. รัฐมนตรี

ใหรัฐมนตรีมีอํานาจออกกฎกระทรวงกําหนดหรือยกเวนการปฏิบัติเกี่ยวกับการแจงการเกิด การแจงการตาย การแจงการยายที่อยูการสํารวจตรวจสอบหรือปรับปรุงการทะเบียนราษฎร การจัดทําทะเบียนประวัติ การจัดทําบัตรประจําตัวหรือการอื่นใดอันเกี่ยวกับคนซึ่งไมมีสัญชาติไทยตามกฎหมายที่เกี่ยวดวยสัญชาติได (พรบ.การทะเบียนราษฎร มาตรา 5)

Page 20: E-BOOK คู่มือเตรียมสอบเจ้าหน้าที่บริหารงานทะเบียนและบัตร 3 กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

~ 20 ~

9.ขอใดมิใชสํานักทะเบียนตาม พรบ.การทะเบียนราษฎร ก. สํานักทะเบียนกลาง ข. สํานักทะเบียนจังหวัด ค. สํานักทะเบียนตําบล ง. สํานักทะเบียนกรุงเทพมหานคร ตอบ ค. สํานักทะเบียนตําบล

มาตรา 8 ใหมี สํานักทะเบียนและนายทะเบียนเพื่อปฏิบัติหนาที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ดังนี้

(1) สํานักทะเบียนกลาง (2) สํานักทะเบียนกรุงเทพมหานคร (3) สํานักทะเบียนจังหวัด (4) สํานักทะเบียนอําเภอ (5) สํานักทะเบียนทองถิ่น

(พรบ.การทะเบียนราษฎร มาตรา 8) 10.การจัดตั้งสํานักทะเบียนอําเภอหรือสํานักทะเบียนทองถิ่น ตองคํานึงถึงส่ิงใด ก. สภาพความพรอม ข. ความสะดวกในการใหบริการประชาชน ค. การไมซ้ําซอนและการประหยัด ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ

การจัดตั้งสํานักทะเบียนอําเภอหรือสํานักทะเบียนทองถิ่นใหเปนไปตามที่ผูอํานวยการทะเบียนกลางประกาศ โดยคํานึงถึงสภาพแหงความพรอมและความสะดวกในการใหบริการประชาชน รวมตลอดถึงการไมซํ้าซอนและการประหยัด (พรบ.การทะเบียนราษฎร ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2551 มาตรา 8/1)

11.ผูอํานวยการทะเบียนกลาง ซึ่งทําหนาที่ออกระเบียบหลักเกณฑวิธีปฏิบัติตาม พรบ.นี้คือใคร ก. ปลัดกรุงเทพมหานคร ข. อธิบดีกรมการปกครอง ค. ผูวาราชการจังหวัด ง. นายอําเภอ ตอบ ข. อธิบดีกรมการปกครอง

อธิบดีกรมการปกครองเปนผูอํานวยการทะเบียนกลาง มีอํานาจออกระ เบี ยบหลัก เกณฑ วิ ธี ปฏิบัติ รวมทั้ งกํ าหนดแบบพิมพ เพื่ อปฏิบั ติ ตามพระราชบัญญัตินี้ และแตงตั้งรองผูอํานวยการทะเบียนกลาง และผูชวยผูอํานวยการทะเบียนกลาง (พรบ.การทะเบียนราษฎร ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2551 มาตรา 8/2)

Page 21: E-BOOK คู่มือเตรียมสอบเจ้าหน้าที่บริหารงานทะเบียนและบัตร 3 กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

~ 21 ~

12.นายทะเบียนกรุงเทพมหานคร คือบุคคลใด ก. ปลัดกรุงเทพมหานคร ข. อธิบดีกรมการปกครอง ค. ผูวาราชการจังหวัด ง. นายอําเภอ ตอบ ก. ปลัดกรุงเทพมหานคร

ปลัดกรุงเทพมหานคร เปนนายทะเบียนกรุงเทพมหานคร และใหมีอํานาจแตงตั้งผูชวยนายทะเบียนกรุงเทพมหานคร (พรบ.การทะเบียนราษฎร ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2551 มาตรา 8/2)

13.นายทะเบียนจังหวัด คือบุคคลใด ก. ปลัดกรุงเทพมหานคร ข. อธิบดีกรมการปกครอง ค. ผูวาราชการจังหวัด ง. นายอําเภอ ตอบ ค. ผูวาราชการจังหวัด

ผูวาราชการจังหวัด เปนนายทะเบียนจังหวัด และใหมีอํานาจแตงตั้งผูชวยนายทะเบียนจังหวัด (พรบ.การทะเบียนราษฎร ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2551 มาตรา 8/2)

14.นายทะเบียนอําเภอ คือบุคคลใด ก. ปลัดกรุงเทพมหานคร ข. อธิบดีกรมการปกครอง ค. ผูวาราชการจังหวัด ง. นายอําเภอ ตอบ ง. นายอําเภอ

นายอําเภอหรือปลัดอําเภอ ผูเปนหัวหนาประจํากิ่งอําเภอ แลวแตกรณี เปนนายทะเบียนอําเภอ และใหมีอํานาจแตงตั้งผูชวยนายทะเบียนอําเภอ (พรบ.การทะเบียนราษฎร ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2551 มาตรา 8/2)

15. นายทะเบียนทองถิ่น คือบุคคลใด ก. ปลัดกรุงเทพมหานคร ข. อธิบดีกรมการปกครอง ค. ผูวาราชการจังหวัด ง. นายอําเภอ ตอบ ก. ปลัดกรุงเทพมหานคร

ปลัดเทศบาล ผูอํานวยการเขต ปลัดเมืองพัทยาหรือหัวหนาผูบริหารของหนวยการปกครองทองถิ่น แลวแตกรณี เปนนายทะเบียนทองถิ่น และใหมีอํานาจแตงตั้งผูชวยนายทะเบียนทองถิ่น ผูอํานวยการทะเบียนกลาง จะมอบอํานาจ

Page 22: E-BOOK คู่มือเตรียมสอบเจ้าหน้าที่บริหารงานทะเบียนและบัตร 3 กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

~ 22 ~

ส่ังซื้อไดท่ี

www.SheetRam.com

โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,

085-9679080,085-9993722,085-9993740