Top Banner
ความหลากหลายและการเพาะเลี้ยงแพลงก์ตอนพืช กับคุณภาพน้า ในฝายราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ Diversity and Cultivation of Phytoplankton and Water Quality in Rasi Salai Dam in Si Sa Ket Province ณรงค์ เชิดไชย, จันทร์เพ็ญ ปิยวงษ์ และ ปริญญา มูลสิน สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี บทคัดย่อ การศึกษาความหลากหลายและการเพาะเลี้ยงแพลงก์ตอนพืช และคุณภาพน้าในฝายราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ ระหว่างเดือนเมษายน 2556 ถึง เดือนกันยายน 2557 เก็บ ตัวอย่าง 10 จุด โดยวิเคราะห์คุณภาพน้าบางประการ และเก็บตัวอย่างแพลงก์ตอนพืช เพื่อน้าไปวินิจฉัย ผลการศึกษาพบแพลงก์ตอนพืชทั้งหมด 7 ดิวิชัน 199 ชนิด แพลงก์ตอนพืชที่พบ มากที่สุดคือ Aulacoseira granulata (Ehrenberg) Simonsen รองลงมาคือ Ulnaria ulna (Nitzsch) P.Compère, Trachelomonas volvocina (Ehrenberg) Ehrenberg, Cocconeis acutata Rabenhorst, Coenococcus planctonicus Korshikov, Synedra ulna (Nitzsch) Ehrenberg, Trachelomonas superba Swirenko emend. Deflander, Tetraedron incus Smith, และ Dictyosphaerium tetrachotomum Printz ตามล้าดับ ผลการวิเคราะห์คุณภาพน้า และค่าค้านวณ AARL-PC Score มีค่า 2.61 จัดเป็นแหล่งน้าที่มี สารอาหารน้อยถึงปานกลาง (Oligotrophic-mesotrophic status) และ AARL–PP Score มีค่า 7.2 จัดเป็นแหล่งน้าที่มีสารอาหารปานกลางถึงสูง (Meso-eutrophic ) เมื่อพิจารณารวม กับแพลงก์ตอนพืชชนิดเด่นที่พบ สามารถจัดได้ว่าเป็นแหล่งน้าที่มีสารอาหารปานกลาง (Mesoeutrophic status) จัดได้ว่าเป็นแหล่งน้าที่มีคุณภาพน้าปานกลาง และจัดเป็นแหล่งน้า ประเภทที่ 3 ตามมาตรฐานคุณภาพน้าในแหล่งน้าผิวดิน ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยใช้โปรแกรม MVSP พบว่าแพลงก์ตอนพืชชนิดเด่นมีความสัมพันธ์กับคุณภาพน้าทางกายภาพ เคมี และชีวภาพ พบว่า Dictyosphaerium tetrachotomum Printz มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับ อุณหภูมิอากาศ อุณหภูมิน้า ความลึกที่แสงส่องถึง ความเป็นกรด-ด่าง ออกซิเจนทีละลายในน้า ออกซิเจนที่แบคทีเรียใช้ในการย่อยสลายสารอินทรีย์ การน้าไฟฟ้า ความเป็นด่าง คลอโรฟิลล์ เอ โคลิฟอร์มแบคทีเรียทั้งหมด ฟิคัลโคลิฟอร์มแบคทีเรีย และไนเตรท ซึ่ง สามารถใช้เป็นแพลงก์ตอนพืชที่บ่งชี้แหล่งน้าที่มีสารอาหารปานกลาง (Mesotrophic status) ผลการเพาะเลี้ยงแพลงก์ตอนพืชในอาหารเหลว 2 สูตร คือ สูตร Bold’s basal และ สูตร BG-11 พบว่าสามารถคัดแยกและเพาะเลี้ยงแพลงก์ตอนพืชบริสุทธิ์ได้ได้ 3 สกุล 1 ชนิด ได้แก่ Oscillatoria sp. Chlorella sp., Synechococcus sp. และ Eudorina elegans Ehrenberg แพลงก์ตอนพืชในดิวิชั่น Cyanophyta เจริญเติบโตได้ดีที่สุดในอาหารสูตร BG-11 และดิวิชั่น Chlorophyta เจริญได้ดีในอาหารสูตร Bold’s basal Abstract The study of diversity, cultivation of phytoplankton and water quality in Rasi Salai Dam in Si Sa Ket Province during April 2013 to September 2014. The sample were collected from 10 stations. The analysis of some water qualities and the phytoplankton. The result showed 7 Divisions, 199 species, the dominant species were classified as Aulacoseira granulata (Ehrenberg) Simonsen, followed by Ulnaria ulna (Nitzsch) P.Compère, Trachelomonas volvocina (Ehrenberg) Ehrenberg, Cocconeis acutata Rabenhorst, Coenococcus planctonicus Korshikov, Synedra ulna (Nitzsch) Ehrenberg, Trachelomonas superba Swirenko emend. Deflander, Tetraedron incus Smith, and Dictyosphaerium tetrachotomum Printz. The results of some water qualities and biodiversity of phytoplankton in these sites could be classified as mesotrophic status. The AARL-PP Score and AARL-PC Score were 7.2 and 2.61 respectivety that could be classified in category by the standard surface water quality. MVSP and cluster analysis found that site 5 were the best water quality (Mesotrophic). Dictyosphaerium tetrachotomum Printz were the dominant species at site 5, it could be indicated Mesotrophic. The phytoplankton were cultivated in 2 media; Bold’s basal, and BG-11 media. Three genus one species of phytoplankton could be growth in the media that were classified Oscillatoria sp., Chlorella sp., Synechococcus sp. and Eudorina elegans Ehrenberg. วิธีการทดลอง แผนที่การเก็บตัวอย่าง จุดเก็บตัวอย่าง พิกัดดาวเทียม จุดที่ 1 N15.410264 E104.067533 จุดที่ 2 N15.384332 E104.084865 จุดที่ 3 N15.351594 E104.098360 จุดที่ 4 N15.344872 E104.098068 จุดที่ 5 N15.343047 E104.009111 จุดที่ 6 N15.338269 E104.151501 จุดที่ 7 N15.338750 E104.152679 จุดที่ 8 N15.337724 E104.155538 จุดที่ 9 N15.334582 E104.161214 จุดที่ 10 N15.333376 E104.162686 ภาพที่ 1 แผนที่แสดงจุดเก็บตัวอย่าง บริเวณทางน้าเข้า ทั้ง 10 จุด ฝายราษีไศล อ้าเภอราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ ตารางที่ 1 แสดงพิกัด ในการเก็บตัวอย่าง ในบริเวณฝายราษีไศล อ้าเภอราษีไศล จังศรีสะเกษ ทั้ง 10 จุดเก็บตัวอย่าง การศึกษาความหลากหลายของแพลงก์ตอนพืช การศึกษาคุณภาพน้า การศึกษาคุณภาพน้าทางด้าน กายภาพ การศึกษาคุณภาพน้าทางด้าน เคมี การศึกษาคุณภาพน้าทางด้าน ชีวภาพ หาปริมาณคลอโรฟิลล์ เอ, total coliform และ fecal -coliform หาค่าความเป็นด่าง, ไนเตรท-ไนโตรเจน, SRP, DO และ BOD วัดอุณหภูมิน้า, วัดอุณหภูมิากาศ, วัด pH วัดค่าการ น้าไฟฟ้า และ ความลึกที่แสงส่องถึง วิเคราะห์ข้อมูลความหลากหลายของแพลงก์ตอนพืช และคุณภาพน้าโดย AARL PP Score, AARL PC Score และ MVSP กระทรวงสาธารณสุข. คู่มือตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้าทางเคมี.กรมอนามัย. กระทรวงสาธารณสุข, 2537. ขจรเกียรติบัญญัติ และ จงกล. ความหลากชนิด ปริมาณ แพลงก์ตอนพืช และ คุณภาพน้าในบ่อเลี้ยงปลาบึกด้วยระบบการเลี้ยง ที่แตกต่างกัน. เชียงใหม่, 2555. ปริญญา เกศิณี ปรีชา และ คณะ ได้ศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมของสาหร่ายและ คุณภาพน้าในแม่น้ามูล ในเขตอ้าเภอเมือง อ้าเภอวารินช้าราบ อ้าเภอ ดอนมดแดง อ้าเภอตาลสุม และอ้าเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี, 2549. ยุวดี พีรพรพิศาล. สาหร่ายน้าจืดในภาคเหนือของประเทศไทย. ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2548. บทน้า ฝายราษีไศลเป็นฝายคอนกรีตมีบานประตูระบายน้า 7 บาน กั้นแม่น้ามูลที่บ้านห้วย-บ้านดอน ตั้งอยู่ อ้าเภอราศีไศล จังหวัดศรีสะเกษ ฝายเริ่มเก็บกักน้าในปี พ.ศ. 2536 เป็นฝายในกลุ่มโครงการผันน้าโขง-ชี-มูล ภายใต้การดูแลรับผิดชอบของกรมพัฒนาและส่งเสริมพลังงาน กระทรวงพลังงาน เพื่อท้าการผันน้าจากแม่น้าโขง แม่น้าชี แม่น้ามูล มาแก้ปัญหาการขาดแคลนน้าในพื้นที่ 4.98 ล้านไร่ในเขตภาคอีสาน โดยใช้งบประมาณกว่า 2.28 แสนล้านบาท ใช้เวลาด้าเนินการก่อสร้างกว่า 2 ปี แหล่งน้าเป็น ทรัพยากรที่มีความส้าคัญต่อมนุษย์ตลอดมา มนุษย์ใช้ประโยชน์จากแหล่งน้าทั้งการอุปโภค บริโภค เกษตรกรรม อุตสาหกรรม การประมงตลอดจนการคมนาคมขนส่ง แต่ใน ขณะเดียวกันกระบวนการจัดการเหล่านี้ ก็ได้ท้าลายสภาพแวดล้อมของแหล่งน้า ด้วยเหตุผลนี้การอนุรักษ์แหล่งน้าจึงเป็นสิ่งส้าคัญควรแก่การเอาใจใส่ การศึกษา ถึงสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการด้ารงชีวิตของพืชและสัตว์ แพลงก์ตอนพืชเป็นสิ่งมีชีวิตที่ล่องลอยอยู่ในน้า สุดแต่คลื่นลมและกระแสน้าจะพัดพาไป แพลงก์ตอนพืชมีบทบาททีส้าคัญอย่างยิ่งต่อระบบนิเวศของแหล่งน้า เนื่องจากเป็นผู้ผลิตเบื่องต้น (Primary- producer) โดยใช้พลังงานจากแสงอาทิตย์ หรือพลังงานจากแหล่งอื่นเพื่อผลิตอาหาร ในรูป ของโปรตีน คาร์โบไฮเดรต ฯลฯ ดังนั้นชนิดปริมาณความหลากหลาย และลักษณะการแพร่กระจายของแพลงก์ตอน จึงมีความสัมพันธ์อย่างชิดใกล้กับระบบนิเวศ ดังนั้นการ จัดการทรัพยากรสัตว์น้า การจัดการสิ่งแวดล้อมในน้า และการจัดการทรัพยากรประมงจ้าเป็นต้องใช้ความรู้เรื่องแพลงก์ตอนพืชเป็นความรู้พื้นฐาน และเพื่อการน้าแพลงก์ตอน พืชมาใช้เป็นดัชนีทางชีวภาพได้ในอนาคต ผลการทดลอง จากการศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ ในบริเวณฝายราศีไศล อ้าเภอราศีไศล จังหวัดศรีสะเกษ ตั้งแต่ เดือนเมษายน พ.ศ. 2556 เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2556 และ เดือนกันยายน พ.ศ. 2557 พบว่ามีความหลากหลายของแพลงก์ตอนพืช 7 ดิวิชัน 191 ชนิด ดิวิชั่น ที่พบมากที่สุดคือ Division Bacillariophyta แพลงก์ตอนพืชที่พบ มากที่สุดคือ Aulacoseira granulata (Ehrenberg) Simonsen ค่าพารามิเตอร์ ค่ามาตรฐาน ค่าเฉลี่ยตัวแปรทีตรวจวัด ฤดูร้อน ฤดูฝน ฤดูหนาว Air Temperature ( C) 28.7 28.2 33 Water Temperature ( C) 31.7 28.2 30.4 Secchi depth (cm) อยู่ในช่วง 0.4 - 0.8 33.5 29.2 33.8 pH อยู่ในช่วง 5 - 9 7.25 8.08 7.05 DO (mg/l) อยู่ในช่วง 4 - 6 7.32 8.06 5.9 BOD (mg/l) อยู่ในช่วง 1.5 - 4.5 1.10 6.31 4.39 Conductivity (µs/cm) ไม่เกิน 300 447.35 118.56 242.4 Alkalinity CaCO 3 as (mg/l) ไม่เกิน 50 16.90 24.73 17.46 Chlorophyll a (µg/l) 4.7 1.07 1.26 2.12 Total Coliform bacteria (MPN/100ml) 20,000 235.96 115.04 651.31 Fecal Coliform bacteria (MPN/100ml) 4,000 14.09 13.16 4.00 Nitrate 5 0.736 0.120 0.020 SRP 0.6 0.111 0.126 0.030 ตารางที่ 4 แสดงการตรวจวัดตัวแปรคุณภาพน้าทางกายภาพ เคมี และทางชีวภาพบางประการ ช่วงฤดูฝน ฤดูหนาว และฤดูร้อน ในบริเวณฝายรษีไศล อ้าเภอราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ ภาพที่ 2 แพลงก์ตอนพืชชนิดเด่นที่ได้จากการเพาะเลี้ยง และแพลงก์ตอนพืชที่บ่งชี้คุณภาพน้า หมายเหตุ : ธ คือ เป็นไปตามธรรมชาติ ภาพที่ 3 แสดงการจัดกลุ่มจากจุดเก็บตัวอย่าง โดยพิจารณาจากการพบแพลงก์ตอนพืชในแต่ละจุดในบริเวณ ฝายราษีไศล อ้าเภอราศีไศล จังหวัดศรีสะเกษ ระหว่างเดือนเมษายน 2556 ถึง เดือนกันยายน 2557 โดยวิธี Cluster analysis แพลงก์ตอนพืชชนิดเด่นที่พบในฝายราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ ในแต่ละฤดูระหว่างเดือนเมษายน พ.ศ. 2556 ถึง เดือน กันยายน พ.ศ. 2557 แพลงก์ตอนพืชที่พบในฤดูร้อน (ภาพที่ A, B, C, D, E, F) แพลงก์ตอนพืชที่พบในฤดูร้อน (ภาพที่ B, D, G, H, I, J ) แพลงก์ตอนพืชที่พบในฤดูร้อน (ภาพที่ B, D, K, L, M, N ) เมื่อวิเคราะห์ พบว่าแพลงก์ตอนพืชชนิดเด่นมีความสัมพันธ์กับคุณภาพน้าทางกายภาพ เคมี และชีวภาพ พบว่ามี ความสัมพันธ์เชิงบวกกับ Dictyosphaerium tetrachotomum Printz (ภาพที่ L) ซึ่งสามารถใช้เป็นแพลงก์ตอนพืชที่บ่งชี้แหล่ง น้าที่มีสารอาหารปานกลาง (Mesotrophic status) ผลการวิเคราะห์คุณภาพน้า และค้านวณค่า AARL-PC Score มีค่า 2.61 จัดเป็นแหล่งน้าที่มีสารอาหารน้อยถึงปานกลาง (Oligotrophic-mesotrophic status) และ AARL–PP Score มีค่า 7.2 จัดเป็น แหล่งน้าที่มีสารอาหารปานกลางถึงสูง (Meso-eutrophic ) เมื่อพิจารณารวมกับแพลงก์ตอนพืชชนิดเด่นที่พบ สามารถจัดได้ว่าเป็น แหล่งน้าที่มีสารอาหารปานกลาง (Mesoeutrophic status) จัดได้ว่าเป็นแหล่งน้าที่มีคุณภาพน้าปานกลาง และจัดเป็นแหล่งน้า ประเภทที่ 3 ตามมาตรฐานคุณภาพน้าในแหล่งน้าผิวดิน ผลการคัดแยกและเพาะเลี้ยงแพลงก์ตอนพืชในอาหารแข็งและเหลว 2 สูตรคือเพาะเลี้ยงแพลงก์ตอน พืช ในอาหารสูตร สูตร Bold’s basal และ สูตร BG-11 สามารถคัดแยกแพลงก์ตอนพืชได้ 3 สกุล 1 ชนิด คือ Oscillatoria sp. Chlorella sp. Synechococcus sp. และ Eudorina elegans Ehrenberg แพลงก์ตอนพืชในดิวิชั่น Cyanophyta เจริญเติบโตได้ดีที่สุดใน อาหารสูตร BG-11และ ดิวิชั่น Chlorophyta เจริญได้ดีในอาหารสูตร Bold’s basal (ภาพ O, P, Q, R) สรุปและอภิปรายผลการวิจัย ผลของการศึกษาพบแพลงก์ตอนพืชทั้งหมด 7 ดิวิชัน 191 ชนิด ตามล้าดับ และผลการวิเคราะห์คุณภาพน้า และค่าค้านวณ AARL-PC Score มีค่า 2.61 จัดเป็นแหล่งน้าที่มีสารอาหารน้อยถึงปานกลาง (Oligotrophic-mesotrophic status) และ AARL–PP Score มีค่า 7.2 จัดเป็นแหล่งน้าที่มีสารอาหารปานกลางถึงสูง (Meso-eutrophic ) เมื่อพิจารณารวมกับแพลงก์ตอนพืชชนิดเด่นที่พบ สามารถจัดได้ว่าเป็นแหล่งน้าที่มีสารอาหารปานกลาง (Mesoeutrophic status) จัดได้ว่าเป็นแหล่งน้าที่มีคุณภาพน้าปานกลาง และจัดเป็นแหล่งน้าประเภทที่ 3 ตามมาตรฐานคุณภาพน้าในแหล่งน้าผิวดิน ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยใช้โปรแกรม MVSP พบว่าแพลงก์ตอนพืชชนิดเด่นมีความสัมพันธ์กับ คุณภาพน้าทางกายภาพ เคมี และชีวภาพ พบว่า Dictyosphaerium tetrachotomum Printz มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับ อุณหภูมิอากาศ อุณหภูมิน้า ความลึกที่แสงส่องถึง ความเป็นกรด-ด่าง ออกซิเจนที่ละลายในน้า ออกซิเจนทีแบคทีเรียใช้ในการย่อยสลายสารอินทรีย์ การน้าไฟฟ้า ความเป็นด่าง คลอโรฟิลล์ เอ โคลิฟอร์มแบคทีเรียทั้งหมด ฟิคัลโคลิฟอร์มแบคทีเรีย และไนเตรท ซึ่งสามารถใช้เป็นแพลงก์ตอนพืชที่บ่งชี้แหล่งน้าที่มีสารอาหารปานกลาง (Mesotrophic status) ) ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ ปริญญา มูลสิน และคณะ (2549) ได้ศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมของสาหร่ายและคุณภาพน้าในแม่น้ามูล ในเขตอ้าเภอเมือง อ้าเภอวารินช้าราบ อ้าเภอดอนมดแดง อ้าเภอ ตาลสุม และอ้าเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี ผลการศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมของสาหร่าย พบแพลงก์ตอนพืช 94 สปีชีส์ ดิวิชั่นที่พบมากคือ Division Chlorophyta รองลงมาคือ Division Bacillariophyta, Division Cyanophyta, Division Euglenophyta, Division Pyrrophyta, Division Chrysophyta และ Division Cryptophyta ตามล้าดับ สาหร่ายชนิดเด่นที่พบมากคือ Aulacoseira granulata (Ehrenberg) Simonsen จัดได้ว่า แม่น้ามูลในเขตดังกล่าวเป็นแหล่งน้าที่มีสารอาหารปานกลาง (Mesotrophic) ผลการเพาะเลี้ยงแพลงก์ตอนพืชในอาหารเหลว 2 สูตร คือ สูตร Bold’s basal และ สูตร BG-11 พบว่าสามารถคัดแยกและเพาะเลี้ยงแพลงก์ตอนพืชบริสุทธิได้ได้ 3 สกุล 1 ชนิด ได้แก่ Oscillatoria sp. Chlorella sp., Synechococcus sp. และ Eudorina elegans Ehrenberg แพลงก์ตอนพืชในดิวิชั่น Cyanophyta เจริญเติบโตได้ดีที่สุดในอาหารสูตร BG-11 และดิวิชั่น Chlorophyta เจริญได้ดีในอาหารสูตร Bold’s basal ซึ่งสอดคล้องกับ มลิวัลย์ ท่าหาร (2535) พบว่าสูตรอาหารที่สาหร่ายเจริญเติบโตได้ดีคือ สูตร BG-11 กิตติกรรมประกาศ ผู้วิจัยขอขอบพระคุณอาจารย์ ดร.ปริญญา มูลสิน ที่ให้ความกรุณาให้ค้าปรึกษาแนะน้าแนวทาง ให้ความช่วยเหลือในการ ออกเก็บตัวอย่าง ขอขอบพระคุณอาจารย์ประจ้าสาขาวิชาชีววิทยาทุกท่าน ขอขอบพระคุณ ทุนอุดหนุนการวิจัย มหาวิทยาลัย ราชภัฏอุบลราชธานี สุดท้ายนี้ ขอขอบพระคุณบิดา มารดา ที่ให้การสนับสนุนในด้านทุนทรัพย์ ภาพที่ 4 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างแพลงก์ตอนพืชชนิดเด่นกับคุณภาพน้าทางกายภาพ เคมี และ ชีวภาพ ในแต่ละจุดในฝายราษีไศล อ้าเภอราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ ระหว่างเดือนตุลาคม 2555 ถึง เดือน สิงหาคม 2556 A B C D E F G H I J K L M N O P Q R A.) Ulnaria ulna (Nitzsch) P.Compère J.) Strombomonas acuminata (Schmarda) Deflandre B.) Aulacoseira granulata (Ehrenberg) Simonsen K.) Nostoc sp. C.) Cocconeis acutata Rabenhorst L.) Dictyosphaerium tetrachotomum Printz D.) Trachelomonas volvocina (Ehrenberg) Ehrenberg M.) Tetraedron incus Smith E.) Rhopalodia giberula (Ehrenberg) Otto Müller N.) Coenococcus planctonicus Korshikov F.) Coelastrum cf. verrucosum (Reinsch) Reinsch O.) Oscillatoria sp. G.) Trachelomonas superba Svirenko P.) Synechococcus sp. H.) Trachelomonas similis A.Stokes Q.) Eudorina elegans Ehrenberg I.) Synedra ulna (Nitzsch) Ehrenberg R.) Chlorella sp. แต่ละฤดูกาล ค่าดัชนีความ หลากหลายของ แพลงก์ตอนพืช(H') ค่าดัชนีความ สม่้าเสมอของแพลงก์ ตอนพืช (Evenness) จ้านวนเซลล์/ ลิตร ฤดูร้อน 2.534 0.575 92,891.67 ฤดูฝน 2.997 0.654 81,223.33 ฤดูหนาว 3.404 0.682 90,856.67 ตารางที่ 2 ค่าดัชนีความหลากหลายของแพลงก์ตอนพืช (H') Shannon-Weiner และค่าดัชนีความ สม่้าเสมอของแพลงก์ตอนพืชในแต่ละฤดูกาล จุดเก็บตัวอย่าง ค่าดัชนีความ หลากหลายของ แพลงก์ ตอนพืช (H') ค่าดัชนีความสม้าเสมอ ของ แพลงก์ตอนพืช (Evenness) จ้านวนเซลล์/ ลิตร Site 1 3.346 0.733 27,746.33 Site 2 3.226 0.776 23,822.33 Site 3 3.126 0.695 28,095.00 Site 4 2.82 0.638 23,511.67 Site 5 3.043 0.696 28,918.33 Site 6 3.22 0.723 33,516.67 Site 7 3.233 0.724 31,305.00 Site 8 2.724 0.641 24,638.33 Site 9 3.043 0.671 24,685.00 Site 10 3.132 0.693 21,466.67 ตารางที3 ค่าดัชนีความหลากหลายของแพลงก์ตอนพืช (H') Shannon-Weiner และค่าดัชนีความ สม่้าเสมอของแพลงก์ตอนพืชในแต่ละจุด
1

Diversity and Cultivation of Phytoplankton and Water ...nestc.sci.ubu.ac.th/2015/upload/Poster/N2015213.pdf · The AARL-PP Score and AARL-PC Score were 7.2 and 2.61 respectivety that

Aug 29, 2019

Download

Documents

vokhanh
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: Diversity and Cultivation of Phytoplankton and Water ...nestc.sci.ubu.ac.th/2015/upload/Poster/N2015213.pdf · The AARL-PP Score and AARL-PC Score were 7.2 and 2.61 respectivety that

ความหลากหลายและการเพาะเลี้ยงแพลงกต์อนพืช กับคุณภาพน้้า ในฝายราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ Diversity and Cultivation of Phytoplankton and Water Quality

in Rasi Salai Dam in Si Sa Ket Province ณรงค์ เชิดไชย, จันทร์เพ็ญ ปิยวงษ์ และ ปริญญา มูลสิน

สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

บทคัดย่อ การศึกษาความหลากหลายและการเพาะเลี้ยงแพลงก์ตอนพืช และคุณภาพน้้าในฝายราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ ระหว่างเดือนเมษายน 2556 ถึง เดือนกันยายน 2557 เก็บ

ตัวอย่าง 10 จุด โดยวิเคราะห์คุณภาพน้้าบางประการ และเก็บตัวอย่างแพลงก์ตอนพืช เพื่อน้าไปวินิจฉัย ผลการศึกษาพบแพลงก์ตอนพืชทั้งหมด 7 ดิวิชัน 199 ชนิด แพลงก์ตอนพืชที่พบมากที่สุดคือ Aulacoseira granulata (Ehrenberg) Simonsen รองลงมาคือ Ulnaria ulna (Nitzsch) P.Compère, Trachelomonas volvocina (Ehrenberg) Ehrenberg, Cocconeis acutata Rabenhorst, Coenococcus planctonicus Korshikov, Synedra ulna (Nitzsch) Ehrenberg, Trachelomonas superba Swirenko emend. Deflander, Tetraedron incus Smith, และ Dictyosphaerium tetrachotomum Printz ตามล้าดับ ผลการวิเคราะห์คุณภาพน้้า และค่าค้านวณ AARL-PC Score มีค่า 2.61 จัดเป็นแหล่งน้้าที่มีสารอาหารน้อยถึงปานกลาง (Oligotrophic-mesotrophic status) และ AARL–PP Score มีค่า 7.2 จัดเป็นแหล่งน้้าที่มีสารอาหารปานกลางถึงสูง (Meso-eutrophic ) เมื่อพิจารณารวมกับแพลงก์ตอนพืชชนิดเด่นที่พบ สามารถจัดได้ว่าเป็นแหล่งน้้าที่มีสารอาหารปานกลาง (Mesoeutrophic status) จัดได้ว่าเป็นแหล่งน้้าที่มีคุณภาพน้้าปานกลาง และจัดเป็นแหล่งน้้าประเภทที่ 3 ตามมาตรฐานคุณภาพน้้าในแหล่งน้้าผิวดิน ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยใช้โปรแกรม MVSP พบว่าแพลงก์ตอนพืชชนิดเด่นมีความสัมพันธ์กับคุณภาพน้้าทางกายภาพ เคมี และชีวภาพ พบว่า Dictyosphaerium tetrachotomum Printz มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับ อุณหภูมิอากาศ อุณหภูมิน้้า ความลึกที่แสงส่องถึง ความเป็นกรด-ด่าง ออกซิเจนที่ละลายในน้้า ออกซิเจนที่แบคทีเรียใช้ในการย่อยสลายสารอินทรีย์ การน้าไฟฟ้า ความเป็นด่าง คลอโรฟิลล์ เอ โคลิฟอร์มแบคทีเรียทั้งหมด ฟิคัลโคลิฟอร์มแบคทีเรีย และไนเตรท ซึ่งสามารถใช้เป็นแพลงก์ตอนพืชที่บ่งชี้แหล่งน้้าที่มีสารอาหารปานกลาง (Mesotrophic status) ผลการเพาะเลี้ยงแพลงก์ตอนพืชในอาหารเหลว 2 สูตร คือ สูตร Bold’s basal และ สูตร BG-11 พบว่าสามารถคัดแยกและเพาะเลี้ยงแพลงก์ตอนพืชบริสุทธิ์ได้ได้ 3 สกุล 1 ชนิด ได้แก่ Oscillatoria sp. Chlorella sp., Synechococcus sp. และ Eudorina elegans Ehrenberg แพลงกต์อนพืชในดิวิชั่น Cyanophyta เจริญเติบโตได้ดีที่สุดในอาหารสูตร BG-11 และดิวิชั่น Chlorophyta เจริญได้ดีในอาหารสูตร Bold’s basal

Abstract The study of diversity, cultivation of phytoplankton and water quality in Rasi Salai Dam in Si Sa Ket Province during April 2013 to September 2014.

The sample were collected from 10 stations. The analysis of some water qualities and the phytoplankton. The result showed 7 Divisions, 199 species, the dominant species were classified as Aulacoseira granulata (Ehrenberg) Simonsen, followed by Ulnaria ulna (Nitzsch) P.Compère, Trachelomonas volvocina (Ehrenberg) Ehrenberg, Cocconeis acutata Rabenhorst, Coenococcus planctonicus Korshikov, Synedra ulna (Nitzsch) Ehrenberg, Trachelomonas superba Swirenko emend. Deflander, Tetraedron incus Smith, and Dictyosphaerium tetrachotomum Printz. The results of some water qualities and biodiversity of phytoplankton in these sites could be classified as mesotrophic status. The AARL-PP Score and AARL-PC Score were 7.2 and 2.61 respectivety that could be classified in category by the standard surface water quality. MVSP and cluster analysis found that site 5 were the best water quality (Mesotrophic). Dictyosphaerium tetrachotomum Printz were the dominant species at site 5, it could be indicated Mesotrophic. The phytoplankton were cultivated in 2 media; Bold’s basal, and BG-11 media. Three genus one species of phytoplankton could be growth in the media that were classified Oscillatoria sp., Chlorella sp., Synechococcus sp. and Eudorina elegans Ehrenberg.

วิธีการทดลอง

แผนที่การเก็บตัวอย่าง

จุดเก็บตัวอย่าง พิกัดดาวเทียม

จุดที่ 1 N15.410264 E104.067533

จุดที่ 2 N15.384332 E104.084865

จุดที่ 3 N15.351594 E104.098360

จุดที่ 4 N15.344872 E104.098068

จุดที่ 5 N15.343047 E104.009111

จุดที่ 6 N15.338269 E104.151501

จุดที่ 7 N15.338750 E104.152679

จุดที่ 8 N15.337724 E104.155538

จุดที่ 9 N15.334582 E104.161214

จุดที่ 10 N15.333376 E104.162686

ภาพที่ 1 แผนที่แสดงจุดเก็บตัวอย่าง บริเวณทางน้้าเข้า ทั้ง 10 จุด ฝายราษีไศล อ้าเภอราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ

ตารางที่ 1 แสดงพิกัด ในการเก็บตัวอย่าง ในบริเวณฝายราษีไศล อ้าเภอราษีไศล จังศรีสะเกษ ทั้ง 10 จุดเก็บตัวอย่าง

การศึกษาความหลากหลายของแพลงกต์อนพืช

การศึกษาคุณภาพน้้า

การศึกษาคุณภาพน้้าทางด้านกายภาพ

การศึกษาคุณภาพน้าทางด้านเคม ี

การศึกษาคุณภาพน้าทางด้านชีวภาพ

หาปริมาณคลอโรฟิลล์ เอ, total coliform และ fecal -coliform

หาค่าความเป็นด่าง, ไนเตรท-ไนโตรเจน, SRP, DO และ BOD

วัดอุณหภูมิน้้า, วัดอุณหภูมิากาศ, วัด pH วัดค่าการน้าไฟฟ้า และ ความลึกที่แสงส่องถึง

วิเคราะห์ข้อมูลความหลากหลายของแพลงก์ตอนพืช และคุณภาพน้าโดย AARL PP Score, AARL PC Score และ MVSP

กระทรวงสาธารณสุข. คู่มือตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้้าทางเคมี.กรมอนามัย. กระทรวงสาธารณสุข, 2537. ขจรเกียรติ ์ บัญญัต ิ และ จงกล. ความหลากชนิด ปริมาณ แพลงกต์อนพืช และ คุณภาพน้้าในบ่อเลี้ยงปลาบึกด้วยระบบการเลี้ยง ที่แตกต่างกัน. เชียงใหม่, 2555. ปริญญา เกศิณี ปรีชา และ คณะ ได้ศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมของสาหร่ายและ คุณภาพน้้าในแมน่้้ามูล ในเขตอ้าเภอเมอืง อ้าเภอวารินช้าราบ อ้าเภอ

ดอนมดแดง อ้าเภอตาลสุม และอ้าเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี, 2549. ยุวดี พีรพรพิศาล. สาหร่ายน้้าจืดในภาคเหนือของประเทศไทย. ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2548.

บทน้า ฝายราษีไศลเป็นฝายคอนกรีตมีบานประตูระบายน้้า 7 บาน กั้นแม่น้้ามูลที่บ้านห้วย-บ้านดอน ตั้งอยู่ อ้าเภอราศีไศล จังหวัดศรีสะเกษ ฝายเริ่มเก็บกักน้้าในปี

พ.ศ. 2536 เป็นฝายในกลุ่มโครงการผันน้้าโขง-ชี-มูล ภายใต้การดูแลรับผิดชอบของกรมพัฒนาและส่งเสริมพลังงาน กระทรวงพลังงาน เพื่อท้าการผันน้้าจากแม่น้้าโขง แม่น้้าชี แม่น้้ามูล มาแก้ปัญหาการขาดแคลนน้้าในพื้นที่ 4.98 ล้านไร่ในเขตภาคอีสาน โดยใช้งบประมาณกว่า 2.28 แสนล้านบาท ใช้เวลาด้าเนินการก่อสร้างกว่า 2 ปี แหล่งน้้าเป็นทรัพยากรที่มีความส้าคัญต่อมนุษย์ตลอดมา มนุษย์ใช้ประโยชน์จากแหล่งน้้าทั้งการอุปโภค บริโภค เกษตรกรรม อุตสาหกรรม การประมงตลอดจนการคมนาคมขนส่ง แต่ในขณะเดียวกันกระบวนการจัดการเหล่านี้ ก็ได้ท้าลายสภาพแวดล้อมของแหล่งน้้า ด้วยเหตุผลนี้การอนุรักษ์แหล่งน้้าจึงเป็นสิ่งส้าคัญควรแก่การ เอาใจใส่ การศึกษา ถึงสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการด้ารงชีวิตของพืชและสัตว์ แพลงก์ตอนพืชเป็นสิ่งมีชีวิตที่ล่องลอยอยู่ในน้้า สุดแต่คลื่นลมและกระแสน้้าจะพัดพาไป แพลงก์ตอนพืชมีบทบาทที่ส้าคัญอย่างยิ่งต่อระบบนิเวศของแหล่งน้้า เนื่องจากเป็นผู้ผลิตเบื่องต้น (Primary- producer) โดยใช้พลังงานจากแสงอาทิตย์ หรือพลังงานจากแหล่งอื่นเพื่อผลิตอาหาร ในรูปของโปรตีน คาร์โบไฮเดรต ฯลฯ ดังนั้นชนิดปริมาณความหลากหลาย และลักษณะการแพร่กระจายของแพลงก์ตอน จึงมีความสัมพันธ์อย่างชิดใกล้กับระบบนิเวศ ดังนั้นการจัดการทรัพยากรสัตว์น้้า การจัดการส่ิงแวดล้อมในน้้า และการจัดการทรัพยากรประมงจ้าเป็นต้องใช้ความรู้เรื่องแพลงก์ตอนพืชเป็นความรู้พื้นฐาน และเพื่อการน้าแพลงก์ตอนพืชมาใช้เป็นดัชนีทางชีวภาพได้ในอนาคต

ผลการทดลอง จากการศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ ในบริเวณฝายราศีไศล อ้าเภอราศีไศล จงัหวัดศรีสะเกษ ตั้งแต่ เดือนเมษายน พ.ศ. 2556 เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2556

และ เดือนกันยายน พ.ศ. 2557 พบวา่มีความหลากหลายของแพลงกต์อนพืช 7 ดิวิชัน 191 ชนิด ดิวิชั่น ที่พบมากที่สุดคือ Division Bacillariophyta แพลงกต์อนพืชที่พบมากที่สุดคือ Aulacoseira granulata (Ehrenberg) Simonsen

ค่าพารามิเตอร์ ค่ามาตรฐาน ค่าเฉลี่ยตัวแปรที่ตรวจวัด

ฤดูร้อน ฤดูฝน ฤดูหนาว Air Temperature (๐C) ธ๐ 28.7 28.2 33 Water Temperature (๐C) ธ๐ 31.7 28.2 30.4 Secchi depth (cm) อยู่ในช่วง 0.4 - 0.8 33.5 29.2 33.8

pH อยู่ในช่วง 5 - 9 7.25 8.08 7.05 DO (mg/l) อยู่ในช่วง 4 - 6 7.32 8.06 5.9 BOD (mg/l) อยู่ในช่วง 1.5 - 4.5 1.10 6.31 4.39

Conductivity (µs/cm) ไม่เกิน 300 447.35 118.56 242.4 Alkalinity CaCO3 as (mg/l) ไม่เกิน 50 16.90 24.73 17.46

Chlorophyll a (µg/l) 4.7 1.07 1.26 2.12 Total Coliform bacteria (MPN/100ml)

20,000 235.96 115.04 651.31

Fecal Coliform bacteria (MPN/100ml)

4,000 14.09 13.16 4.00

Nitrate 5 0.736 0.120 0.020 SRP 0.6 0.111 0.126 0.030

ตารางที ่ 4 แสดงการตรวจวัดตัวแปรคุณภาพน้้าทางกายภาพ เคม ี และทางชีวภาพบางประการ ช่วงฤดฝูน ฤดหูนาว และฤดูร้อน ในบริเวณฝายรษีไศล อ้าเภอราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ

ภาพที ่2 แพลงกต์อนพืชชนิดเด่นที่ได้จากการเพาะเลี้ยง และแพลงก์ตอนพืชที่บ่งชี้คุณภาพน้้า

หมายเหตุ : ธ๐ คือ เป็นไปตามธรรมชาติ

ภาพที ่3 แสดงการจัดกลุ่มจากจุดเก็บตัวอย่าง โดยพิจารณาจากการพบแพลงก์ตอนพืชในแต่ละจุดในบริเวณฝายราษีไศล อ้าเภอราศีไศล จังหวัดศรีสะเกษ ระหว่างเดือนเมษายน 2556 ถึง เดือนกันยายน 2557 โดยวิธี Cluster analysis

แพลงก์ตอนพืชชนิดเด่นที่พบในฝายราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ ในแต่ละฤดูระหว่างเดือนเมษายน พ.ศ. 2556 ถึง เดือนกันยายน พ.ศ. 2557 แพลงก์ตอนพืชที่พบในฤดูร้อน (ภาพที่ A, B, C, D, E, F) แพลงก์ตอนพืชที่พบในฤดูร้อน (ภาพที่ B, D, G, H, I, J ) แพลงก์ตอนพืชที่พบในฤดูร้อน (ภาพที่ B, D, K, L, M, N )

เมื่อวิเคราะห์ พบว่าแพลงก์ตอนพืชชนิดเด่นมีความสัมพันธ์กับคุณภาพน้้าทางกายภาพ เคมี และชีวภาพ พบว่ามีความสัมพันธ์เชิงบวกกับ Dictyosphaerium tetrachotomum Printz (ภาพที่ L) ซึ่งสามารถใช้เป็นแพลงก์ตอนพืชที่บ่งชี้แหล่งน้้าที่มีสารอาหารปานกลาง (Mesotrophic status) ผลการวิเคราะห์คุณภาพน้้า และค้านวณค่า AARL-PC Score มีค่า 2.61 จัดเป็นแหล่งน้้าที่มีสารอาหารน้อยถึงปานกลาง (Oligotrophic-mesotrophic status) และ AARL–PP Score มีค่า 7.2 จัดเป็นแหล่งน้้าที่มีสารอาหารปานกลางถึงสูง (Meso-eutrophic ) เมื่อพิจารณารวมกับแพลงก์ตอนพืชชนิดเด่นที่พบ สามารถจัดได้ว่าเป็นแหล่งน้้าที่มีสารอาหารปานกลาง (Mesoeutrophic status) จัดได้ว่าเป็นแหล่งน้้าที่มีคุณภาพน้้าปานกลาง และจัดเป็นแหล่งน้้าประเภทที่ 3 ตามมาตรฐานคุณภาพน้้าในแหล่งน้้าผิวดิน

ผลการคัดแยกและเพาะเลี้ยงแพลงก์ตอนพืชในอาหารแข็งและเหลว 2 สูตรคือเพาะเลี้ยงแพลงก์ตอน พืช ในอาหารสูตร สูตร Bold’s basal และ สูตร BG-11 สามารถคัดแยกแพลงก์ตอนพืชได้ 3 สกุล 1 ชนิด คือ Oscillatoria sp. Chlorella sp. Synechococcus sp. และ Eudorina elegans Ehrenberg แพลงก์ตอนพืชในดิวิชั่น Cyanophyta เจริญเติบโตได้ดีที่สุดในอาหารสูตร BG-11และ ดิวิชั่น Chlorophyta เจริญได้ดีในอาหารสูตร Bold’s basal (ภาพ O, P, Q, R)

สรุปและอภิปรายผลการวิจัย ผลของการศึกษาพบแพลงก์ตอนพืชทั้งหมด 7 ดิวิชัน 191 ชนิด ตามล้าดับ และผลการวิเคราะห์คุณภาพน้้า และค่าค้านวณ AARL-PC Score มีค่า 2.61 จัดเป็นแหล่งน้้าที่มีสารอาหารน้อยถึงปานกลาง (Oligotrophic-mesotrophic status) และ AARL–PP Score มีค่า 7.2 จัดเป็นแหล่งน้้าที่มีสารอาหารปานกลางถึงสูง (Meso-eutrophic ) เมื่อพิจารณารวมกับแพลงก์ตอนพืชชนิดเด่นที่พบ สามารถจัดได้ว่าเป็นแหล่งน้้าที่มีสารอาหารปานกลาง (Mesoeutrophic status) จัดได้ว่าเป็นแหล่งน้้าที่มีคุณภาพน้้าปานกลาง และจัดเป็นแหล่งน้้าประเภทที่ 3 ตามมาตรฐานคุณภาพน้้าในแหล่งน้้าผิวดิน ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยใช้โปรแกรม MVSP พบว่าแพลงก์ตอนพืชชนิดเด่นมีความสัมพันธ์กับคุณภาพน้้าทางกายภาพ เคมี และชีวภาพ พบว่า Dictyosphaerium tetrachotomum Printz มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับ อุณหภูมิอากาศ อุณหภูมิน้้า ความลึกที่แสงส่องถึง ความเป็นกรด -ด่าง ออกซิเจนที่ละลายในน้้า ออกซิเจนที่แบคทีเรียใช้ในการย่อยสลายสารอินทรีย์ การน้าไฟฟ้า ความเป็นด่าง คลอโรฟิลล์ เอ โคลิฟอร์มแบคทีเรียทั้งหมด ฟิคัลโคลิฟอร์มแบคทีเรีย และไนเตรท ซึ่งสามารถใช้เป็นแพลงก์ตอนพืชที่บ่งชี้แหล่งน้้าที่มีสารอาหารปานกลาง (Mesotrophic status) ) ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ ปริญญา มูลสิน และคณะ (2549) ได้ศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมของสาหร่ายและคุณภาพน้้าในแม่น้้ามูล ในเขตอ้าเภอเมือง อ้าเภอวารินช้าราบ อ้าเภอดอนมดแดง อ้าเภอตาลสุม และอ้าเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี ผลการศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมของสาหร่าย พบแพลงก์ตอนพืช 94 สปีชีส์ ดิวิชั่นที่พบมากคือ Division Chlorophyta รองลงมาคือ Division Bacillariophyta, Division Cyanophyta, Division Euglenophyta, Division Pyrrophyta, Division Chrysophyta และ Division Cryptophyta ตามล้าดับ สาหร่ายชนิดเด่นที่พบมากคือ Aulacoseira granulata (Ehrenberg) Simonsen จัดได้ว่าแม่น้้ามูลในเขตดังกล่าวเป็นแหล่งน้้าที่มีสารอาหารปานกลาง (Mesotrophic) ผลการเพาะเลี้ยงแพลงก์ตอนพืชในอาหารเหลว 2 สูตร คือ สูตร Bold’s basal และ สูตร BG-11 พบว่าสามารถคัดแยกและเพาะเลี้ยงแพลงก์ตอนพืชบริสุทธิ์ได้ได้ 3 สกุล 1 ชนิด ได้แก่ Oscillatoria sp. Chlorella sp., Synechococcus sp. และ Eudorina elegans Ehrenberg แพลงก์ตอนพืชในดิวิชั่น Cyanophyta เจริญเติบโตได้ดีที่สุดในอาหารสูตร BG-11 และดิวิชั่น Chlorophyta เจริญได้ดีในอาหารสูตร Bold’s basal ซึ่งสอดคล้องกับ มลิวัลย์ ท่าหาร (2535) พบว่าสูตรอาหารที่สาหร่ายเจริญเติบโตได้ดีคือ สูตร BG-11

กิตติกรรมประกาศ ผู้วิจัยขอขอบพระคุณอาจารย์ ดร.ปริญญา มูลสิน ที่ให้ความกรุณาให้ค้าปรึกษาแนะน้าแนวทาง ให้ความช่วยเหลือในการออกเก็บตัวอย่าง ขอขอบพระคุณอาจารย์ประจ้าสาขาวิชาชีววิทยาทุกท่าน ขอขอบพระคุณ ทุนอุดหนุนการวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี สุดท้ายนี้ ขอขอบพระคุณบิดา มารดา ที่ให้การสนับสนุนในด้านทุนทรัพย์

ภาพที่ 4 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างแพลงก์ตอนพืชชนิดเด่นกับคุณภาพน้้าทางกายภาพ เคมี และชีวภาพ ในแต่ละจุดในฝายราษีไศล อ้าเภอราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ ระหว่างเดือนตุลาคม 2555 ถึง เดือนสิงหาคม 2556

A B C D E F

G H I J K L

M N O P Q R

A.) Ulnaria ulna (Nitzsch) P.Compère J.) Strombomonas acuminata (Schmarda) Deflandre B.) Aulacoseira granulata (Ehrenberg) Simonsen K.) Nostoc sp. C.) Cocconeis acutata Rabenhorst L.) Dictyosphaerium tetrachotomum Printz D.) Trachelomonas volvocina (Ehrenberg) Ehrenberg M.) Tetraedron incus Smith E.) Rhopalodia giberula (Ehrenberg) Otto Müller N.) Coenococcus planctonicus Korshikov F.) Coelastrum cf. verrucosum (Reinsch) Reinsch O.) Oscillatoria sp. G.) Trachelomonas superba Svirenko P.) Synechococcus sp. H.) Trachelomonas similis A.Stokes Q.) Eudorina elegans Ehrenberg I.) Synedra ulna (Nitzsch) Ehrenberg R.) Chlorella sp.

แต่ละฤดูกาล

ค่าดัชนีความ

หลากหลายของ

แพลงกต์อนพืช(H')

ค่าดัชนีความ

สม่้าเสมอของแพลงก์

ตอนพืช (Evenness)

จ้านวนเซลล์/ ลิตร

ฤดูร้อน 2.534 0.575 92,891.67

ฤดูฝน 2.997 0.654 81,223.33

ฤดูหนาว 3.404 0.682 90,856.67

ตารางที่ 2 ค่าดัชนีความหลากหลายของแพลงก์ตอนพืช (H') Shannon-Weiner และค่าดัชนีความสม่้าเสมอของแพลงกต์อนพืชในแต่ละฤดูกาล

จุดเก็บตัวอย่าง

ค่าดัชนีความ

หลากหลายของ

แพลงกต์อนพืช (H')

ค่าดัชนีความสม่้าเสมอ

ของ

แพลงกต์อนพืช

(Evenness)

จ้านวนเซลล์/ ลิตร

Site 1 3.346 0.733 27,746.33

Site 2 3.226 0.776 23,822.33

Site 3 3.126 0.695 28,095.00

Site 4 2.82 0.638 23,511.67

Site 5 3.043 0.696 28,918.33

Site 6 3.22 0.723 33,516.67

Site 7 3.233 0.724 31,305.00

Site 8 2.724 0.641 24,638.33

Site 9 3.043 0.671 24,685.00

Site 10 3.132 0.693 21,466.67

ตารางที่ 3 ค่าดัชนีความหลากหลายของแพลงก์ตอนพืช (H') Shannon-Weiner และค่าดัชนีความสม่้าเสมอของแพลงกต์อนพืชในแต่ละจุด