Top Banner
บทที2 ระบบของคอมพิวเตอร คอมพิวเตอร(Computer) เปนเทคโนโลยีที่สําคัญและโดดเดนในสังคมสารสนเทศ (Information Society) เนื่องจากเปนเครื่องมือที่ชวยใหการทํางานโดยเฉพาะทางขอมูลสารสนเทศมีประสิทธิภาพสะดวกรวด เร็วยิ่งขึ้น การรูจักคอมพิวเตอรจึงเปนสิ่งจําเปนสําหรับนําคอมพิวเตอรไปใชงาน ไมวาจะเปนงานดานพื้นฐานหรือ งานที่ตองอาศัยความชํานาญตางๆ 1. ความหมายของคอมพิวเตอร คอมพิวเตอร หมายถึง อุปกรณอิเล็คทรอนิคสที่สามารถแปลงคําสั่งและดําเนินการตามคําสั่ง เชน การ สงขอมูลเขาสูระบบ การประมวลผล และการแสดงผลลัพธ เปนตน การทํางานของคอมพิวเตอร การทํางานของคอมพิวเตอรประกอบไปดวยการทํางานขั้นพื้นฐาน 4-ขั้นตอน ดังนี1. การสงขอมูลเขา (Input) คําสั่งหรือขอมูลตางๆ จะตองมีการนําเขาสูระบบเพื่อนําไป ประมวลผล โดยผานอุปกรณนําเขาขอมูล เชน mouse และ keyboards เปนตน 2. การประมวลผล (Processing) เมื่อมีการนําเขาขอมูลสูระบบแลว คอมพิวเตอรมีหนาทีประมวลผลตามคําสั่งที่กําหนดไว เชน การคํานวณเปรียบเทียบตางๆ 3. การแสดงผลลัพธ (Output) ผลที่ไดจากการประมวลผลของคอมพิวเตอรในรูปแบบตางๆ เพื่อนําไปใชในการตัดสินใจ หรือการบริหารงานตอไป อุปกรณแสดงผลลัพธ เชน monitors และ printers 4. การจัดเก็บขอมูล (Storage) ทําหนาที่จัดเก็บขอมูลลงบนหนวยความจําสํารองประเภทตางๆ ตามความสามารถของคอมพิวเตอรนั้นๆ อุปกรณที่ใชในการจัดเก็บขอมูล เชน Floppy disks, CD-ROM, hard disks เปนตน รูปที2.1 การทํางานของคอมพิวเตอร
17

Computer System

Nov 14, 2014

Download

Documents

Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: Computer System

บทที่ 2 ระบบของคอมพิวเตอร คอมพิวเตอร(Computer) เปนเทคโนโลยีที่สําคัญและโดดเดนในสังคมสารสนเทศ (Information Society) เนื่องจากเปนเครื่องมือที่ชวยใหการทํางานโดยเฉพาะทางขอมูลสารสนเทศมีประสิทธิภาพสะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น การรูจักคอมพิวเตอรจึงเปนสิ่งจําเปนสําหรับนําคอมพิวเตอรไปใชงาน ไมวาจะเปนงานดานพื้นฐานหรืองานที่ตองอาศัยความชํานาญตางๆ 1. ความหมายของคอมพิวเตอร

คอมพิวเตอร หมายถึง อุปกรณอิเล็คทรอนิคสที่สามารถแปลงคําสั่งและดําเนินการตามคําสั่ง เชน การสงขอมูลเขาสูระบบ การประมวลผล และการแสดงผลลัพธ เปนตน

การทํางานของคอมพิวเตอร การทํางานของคอมพิวเตอรประกอบไปดวยการทํางานขั้นพื้นฐาน 4-ขั้นตอน ดังนี้

1. การสงขอมูลเขา (Input) คําสั่งหรือขอมูลตางๆ จะตองมีการนําเขาสูระบบเพื่อนําไปประมวลผล โดยผานอุปกรณนําเขาขอมูล เชน mouse และ keyboards เปนตน 2. การประมวลผล (Processing) เมื่อมีการนําเขาขอมูลสูระบบแลว คอมพิวเตอรมีหนาที่ประมวลผลตามคําสั่งที่กําหนดไว เชน การคํานวณเปรียบเทียบตางๆ 3. การแสดงผลลัพธ (Output) ผลที่ไดจากการประมวลผลของคอมพิวเตอรในรูปแบบตางๆ เพื่อนําไปใชในการตัดสินใจ หรือการบริหารงานตอไป อุปกรณแสดงผลลัพธ เชน monitors และ printers

4. การจัดเก็บขอมูล (Storage) ทําหนาที่จัดเก็บขอมูลลงบนหนวยความจําสํารองประเภทตางๆ ตามความสามารถของคอมพิวเตอรนั้นๆ อุปกรณที่ใชในการจัดเก็บขอมูล เชน Floppy disks, CD-ROM, hard disks เปนตน

หนวยประมวล

หนวยนําเขาขอ หนวยแสดงผลลัพธ

หนวยจัดเก็บ

รูปท่ี 2.1 การทํางานของคอมพิวเตอร

Page 2: Computer System

องคประกอบของระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร ประกอบดวย 1. ฮารดแวร (Hardware) หมายถึง อุปกรณทุกชนิดที่ใชในการประมวลผล การนําขอมูลเขา การจัดเก็บขอ

มูลและการแสดงผลลัพธ โดยอุปกรณทุกช้ินจะทํางานรวมกันเพื่อใหไดผลลัพธตามชุดคําสั่งหรือ software ที่อยูในเครื่อง รายละเอียดเกี่ยวกับฮารดแวร

2. ซอฟตแวร (Software) หมายถึง ชุดคําสั่งที่สั่งใหฮารดแวรทํางานรวมกัน บางครั้งเรียกวา โปรแกรม แบงออกเปน 2 ประเภทหลัก คือ system software และ application software รายละเอียดไดกลาวไวในบทที่ 5

3. ขอมูล/สารสนเทศ (data/ information) เมื่อเรานําขอมูลเขาสูระบบคอมพิวเตอร หนวยประมวลผลจะจัดการกับขอมูลนั้น เพื่อใหไดมาซึ่งสารสนเทศ หรือขอมูลที่ไดรับการกลั่นกรองใหอยูในรูปแบบที่นํามาใชใหเกิดประโยชนได ดังนั้น ขอมูล จึงตองมีความถูกตองแมนยํา ทันเวลาและเชื่อถือได เพื่อใหไดมาซึ่งสารสนเทศที่มีความถูกตองเชนกัน

4. กระบวนการทํางาน (Procedure) คือขั้นตอนการทํางานของคอมพิวเตอรในระบบตางๆ เพื่อใหเกิดผลลัพธที่ตองการ เชน ขั้นตอนในการใชตู ATM ผูใชจะตองปฏิบัติตามขั้นตอนที่ลําดับไว จึงจะไดเงินออกมา

5. บุคลากร (Peopleware) เปนกลุมผูทํางานที่เกี่ยวของกับคอมพิวเตอร มีหนาที่แตกตางกันไป แตทํางานรวมกันเพื่อใหมีการใชคอมพิวเตอรอยางเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ดังกลาวไวแลวในบทที่ 1

6. ผูใช (Users) ถึงแมวาคอมพิวเตอรสวนมากสามารถสั่งการทํางานดวยตัวเองตามโปรแกรมที่ต้ังไวก็ตาม การใชการควบคุมของมนุษยก็ยังเปนสิ่งจําเปนอยูเสอมเชนกัน ดังนั้น ผูใชจึงควรเปนผูที่มีความรูความสามารถพอที่จะนําสิ่งที่มีอยูมากอใหเกิดประโยชนได

คุณสมบัติท่ีสําคัญ 5 ประการของคอมพิวเตอร

1. มีความเร็วสูงในการประมวลผล (Processing Speed) ซึ่งแตกตางกันไปตามการทํางานและความสามารถของคอมพิวเตอรแตละประเภท

2. มีการทํางานที่ถูกตองแมนยําและเชื่อถือได (Accuracy and Reliability) ไมวาจะเปนการปฏิบัติการทางดานคํานวณ หรือการใหปฏิบัติงานซ้ําๆกันหลายครั้ง คอมพิวเตอรตองสามารถทําตามชุดคําสั่ง (programs) ที่เขียนไวอยางไมมีขอผิดพลาด

3. มีความจุในการเก็บขอมูลสูง (Storage Capacity) ซึ่งก็ขึ้นอยูกับขนาดของคอมพิวเตอรดวยเชนกัน วามีหนวยความจําสํารองไดปริมาณมากเทาไร

4. มีการทํางานดวยระบบอิเล็กทรอนิกส (Electronic Machine) ขอมูลทั้งหมดที่ถูกปอนเขาสูเครื่องคอมพิวเตอรจะไดรับการแปลงสัญญาณใหอยูในรูปของสัญญาณไฟฟากอน และ เมื่อมีการประมวลผลเรียบรอยแลว คอมพิวเตอรก็จะเปลี่ยนสัญญาณไฟฟาเปนภาษาที่มนุษยเขาใจได

5. มีการสื่อสารเชื่อมโยงขอมูล (Communication) สามารถติดตอสื่อสารกับเครื่องคอมพิวเตอรเครื่องอื่นๆได

ระบบสารสนเทศ 8

Page 3: Computer System

องคประกอบของระบบคอมพิวเตอร ประกอบดวย 3 สวน

1. ฮารดแวร (Hardware) หมายถึง ตัวเครื่องคอมพิวเตอรหรือสวนประกอบและอุปกรณที่เกี่ยวของ ที่เห็นไดจับตองได เกณฑมาตรฐานในการเลือกซื้ออุปกรณ 1.1 ไมโครโปรเซสเซอร (Microprocessor) หรือ ซีพียู (CPU) เปนวัสดุที่ทําดวยสารซิลิคอน ซึ่ง

ประกอบดวยวงจรรวม เรียกวา ชิป (Chip) ความเร็วในการทํางานวัดเปน เมกะเฮิรตซ (MHz) หรือ 1ลานรอบตอวินาที

1.2 แรม (RAM) เปนหนวยความจําช่ัวคราว กอนประมวลผลขอมูลจะถูกอานเก็บไวที่แรมกอน ถามีหนวยความจําแรมนอยเครื่องจะประมวลผลไดชา ปจจุบันแรมาไมควรตํ่ากวา 32 MB

1.3 ดิสกไดรฟ (Disk Drive) ใชอานขอมูลบนแผนดิสก

1.4 ซีดีรอมไดรฟ (CD-ROM Drive) ใชอานขอมูลจากแผนซีดีรอม แผนซีดีรอม 1 แผนจุได 650 MB

1.5 ฮารดดิสก (Hard disk) เปนอุปกรณเก็บขอมูลเหมือนแผนดิสกเกตแตจะทํามาจากจานโลหะแข็ง เชน อลูมิเนียมเคลือบดวยสารแมเหล็ก สามารถบันทึกและอานขอมูลไดเร็วกวาดิสกเกต จุขอมูลไดมาก มีหนวยในการเก็บขอมูลเปนกิกะไบต(GB) ที่นิยมใชกันไดแก Seagate, NEC, Quantum เปนตน

1.6 คียบอรด (Key board) เปนอุปกรณรับขอมูล มาตรฐานที่ใชเปนขนาด 105 คีย

1.7 เมาส (Mouse) เปนอุปกรณสําหรับช้ีตําแหนงบนจอภาพ ใชคูกับแผนรองเมาส(Mouse Pad)

1.8 กลองของเครื่อง (Case) ทําหนาที่หอหุมอุปกรณอิเล็กทรอนิกสตางๆภายในเครื่องไว มีแบบนอน (Baby) และแบบตั้ง (Tower)

1.9 จอภาพ (Monitor) ขนาดจอภาพที่นิยม คือ ขนาด 15 นิ้ว หรือ 17 นิ้ว โดยวัดจากความยาวของเสนทแยงมุมของจอภาพ

2. ซอฟตแวร (Software) คือโปรแกรมคําสั่งที่สั่งใหเครื่องคอมพิวเตอรทํางาน โดยจะเก็บไวในหนวยความจํา หลังจากนั้นเครื่องจะทํางานดวยตนเองตามโปรแกรมภายใตการควบคุมของหนวยควบคุม (Control Unit) ซอฟตแวรแบงเปน 2 ประเภท คือ 2.1 ซอฟตแวรระบบ (System Software)

ระบบสารสนเทศ 9

Page 4: Computer System

คือ โปรแกรมที่ทําหนาที่ควบคุมการทํางานของคอมพิวเตอรฮารดแวร จัดระบบการเก็บขอมูล การรับสงขอมูล เก็บขอมูลลงหนวยความจํา โดยบริษัทผูผลิตเครื่องจะใหโปรแกรมมากับเครื่อง สวนสําคัญที่เปนแกนหลักของโปรแกรมระบบ คือ ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการ (OS: Operating System) คือ

กลุมโปรแกรมที่เปนสวนเชื่อมโยงระหวางเครื่องและ ผูใชเครื่อง โดยมีหนาที่สําคัญดังนี้

- ควบคุมการทํางานของโปรแกรมและอุปกรณตางๆโดยเฉพาะอุปกรณรับและสงขอมูล (Input / Output Device)

- จัดสรรทรัพยากรซึ่งใชรวมกัน (Shared Resource) - ติดตามการทํางานของอุปกรณภายในเครื่อง

ประเภทของระบบปฏิบัติการ

- ดอส (DOS: Disk Operating System) เปนระบบปฏิบัติการที่เมื่อกอนนิยมใชกันมาก การทํางานเปนแบบงานเดี่ยว (Single-tasking) ซึ่งมี 2 แบบ คือ PC-DOS และ MS-DOS

- วินโดวส (Windows) ค.ศ 1990 บริษัทไมโครซอฟตไดผลิต Windows 3.0 ใชงานดานกราฟก GUI: Graphic User

Interface) สามารถทํางานหลายโปรแกรมพรอมกัน (Multitasking) ค.ศ 1995 ไดผลิต Windows 95 เปนระบบปฏิบัติการ 32 บิท ซึ่งมีความสามารถดานระบบ

เครือขาย สง E- mail ได Windows 98 เพิ่มประสิทธิภาพของวินโดวส 95-เปนระบบที่สนับสนุนการทํางานโปรแกรม

ตางๆบนวินโดวสใหสามารถเชื่อตอกับระบบอินเทอรเน็ตอยางมีประสิทธิภาพ ปจจุบันไดพัฒนาถึง Windows 2000

Windows NT เปนระบบปฏิบัติการของบริษัทไมโครซอฟตสําหรับเนตเวิรกขนาดเล็ก เหมาะสําหรับติดตั้งบนเครื่องแมขาย (Server)

- โอเอส/ทู (OS/2: Operating System 2)

บริษัท IBM ใหบริษัท ไมโครซอฟตผลิตระบบปฏิบัติการที่ใชกับเครื่อง PS/2 ใหสามารถใชงานแบบกราฟกและสามารถทํางานแบบมัลติทาสกิ้ง คือใชงานหลายๆโปรแกรมไดพรอมกัน แตไมเปนที่นิยมเพราะตองใชหนวยความจําขนาดใหญ

- ยูนิกซ (Unix) เปนระบบปฏิบัติการที่ใหญและซับซอน มีขีดความสามารถสูง ใชงานลักษณะ

มัลติทาสกิ้ง(Multitasking) คือสามารถใชงานไดหลายๆโปรแกรมพรอมกัน และเปนแบบมัลติยูสเซอร (Multiuser) คือ มีผูใชหลายๆคนพรอมกัน เหมาะสําหรับระบบเนตเวิรก (Network) ใชไดกับเครื่องคอมพิวเตอรเมนเฟรม มินิคอมพิวเตอรและเครื่อง

ระบบสารสนเทศ 10

Page 5: Computer System

ไมโครคอมพิวเตอร แตตองระดับ 386 Dx ขึ้นไป มีหนวยความจําไมนอยกวา 8 MB มีฮารดดิสกความจุไมนอยกวา 100 MB

- ซิสเต็ม 8 (System 8) เปนระบบปฏิบัติการของเครื่องแมคอินทอช (Macintosh) สามารถทําเปนระบบมัลติทาสกิ้งได

เหมาะกับงานดานเดสทอปพับลิสช่ิง (Desktop Publishing) คือการออกแบบและพิมพเอกสารโดยใชโปรแกรมคอมพิวเตอรซึ่งเปรียบเสมือนโรงพิมพต้ังโตะ

2.2 ซอฟตแวรประยุกต (Application Software) คือ โปรแกรมที่นักเขียนโปรแกรมเขียนขึ้นดวยภาษาใดภาษาหนึ่ง เพื่อใหสามารถประมวลผลไดตามตองการ

2.2.1 โปรแกรมสําเร็จรูป (Package Program) 2.2.2 โปรแกรมที่นักเขียนโปรแกรมเขียนขึ้นเอง ภาษาคอมพิวเตอร (Computer Languages)

คือ ภาษาที่ใชในการติดตอกับเครื่องคอมพิวเตอร โดยเขียนเปนชุดคําสั่ง (Program) ภาษาคอมพิวเตอรแบงเปน 2 ระดับ คือ

1. ภาษาระดับต่ํา (Low Level Language) เปนภาษาในยุคแรกๆ แบงเปน 2 ประเภท คือ - ภาษาเครื่อง (Machine Language)

เปนชุดคําสั่งที่ใชติดตอกับเครื่องโดยตรง ลักษณะแสดงในรูปเลขฐานสอง ประกอบดวยรหัสบอกประเภทของคําสั่ง (Operation Code หรือ OP-Code) เปนสวนคําสั่งที่บอกใหเครื่องทําการประมวลผล และ รหัสบอกตําแหนงขอมูล (Operand) เปนสวนที่บอกตําแหนงขอมูลในหนวยความจํา

- ภาษาแอสแซมบลี (Assembly Language) เปนภาษาสัญลักษณ (Symbolic Language) พัฒนามาจากภาษาเครื่อง ใชสัญลักษณแทนเลข

ฐานสอง เชน ADD แทนภาษาเครื่อง 1100 SUB “ 1101

Machine Language

Assembler Assembly Language

2. ภาษาระดับสูง (High lever Language)

การเขียนภาษาไมขึ้นกับฮารดแวรดังนั้นผูใชไมจําเปนตองเขาใจระบบการทํางานของเครื่องก็ได แตตองเขาใจกฎเกณฑในการเขียนแตละภาษา ลักษณะคลายภาษาอังกฤษ จึงเปนที่นิยม

ระบบสารสนเทศ 11

Page 6: Computer System

ภาษาเครื่อง Compiler หรือ

Interpreter

ภาษาระดับสูง

-อินเทอพรีเตอร (Interpreter) เปนโปรแกรมแปลภาษาระดับสูงใหเปนภาษาเครื่อง จะแปลทีละคําสั่ง เชน ภาษา BASIC, dBASE เปนตน -คอมไพเลอร (Compiler) เปนโปรแกรมแปลภาษาระดับสูงเปนภาษาเครื่อง โดยจะแปลทั้งโปรแกรม

3. ภาษาธรรมชาติ (Natural language) เปนภาษาที่อนุญาตใหผูใชสั่งคอมพิวเตอรดวยภาษาพูดซึ่งเปนโครงสรางของภาษาอังกฤษ หมายความวา สั่งดวยประโยคเหมือนกับสั่งมนุษยดวยกัน ในการทําเชนนี้ จะตองทําใหคอมพิวเตอรฉลาดพอที่จะเขาใจคําสั่งนั้นๆได สวนมากจะนํามาใชในวงการแพทยและธุรกิจ โครงสรางของภาษาโปรแกรม แบงเปน 5 สวนดังนี้ 1. ประโยคที่ใชระบุตัวแปร 2. ประโยคที่ใชในการอานและแสดงผลลัพธ 3. ประโยคควบคุม วาจะใหทํางานที่สวนใดของคําสั่ง ถาไมมีสวนนี้เครื่องจะทํางานเรียง จากบนลงลาง 4. ประโยคที่ใชในการคํานวณ 5. ประโยคที่ใชบอกจบการทํางาน ตัวอยางของซอฟตแวรประยุกต ไดแก 1. Word Processing เปนโปรแกรมที่นิยมนํามาใชในงานเอกสารตางๆ (document) ทั้งที่มีเนื้อหาเปนอักขระ

และรูปภาพ โดยการเก็บขอมูลของงานที่ไดจากโปรแกรมนี้ จะอยูในรูปของแฟมขอมูลนามสกุล .doc ผูใชสามารถกําหนดรูปแบบหนากระดาษ ตัวอักขระ และสีได เชน Microsoft Word เปนตน

2. Spreadsheet เปนโปรแกรมที่ใชในการสรางตารางและงานแผนภูมิตางๆ รวมทั้งการคํานวณ ผูใชสามารถใสขอมูลทุกอยางได เชนเดียวกับ word processing การนําโปรแกรมนี้ไปใชงาน เชน การทําบัญชี ตารางสถิติ และ การบันทึกคะแนน โปรแกรมประเภทนี้ เชน Microsoft Excel เปนตน

3. Presentation เปนโปรแกรมที่ใชในการนําเสนอขอมูล ในรูปแบบที่นาสนใจ เนื่องจากสามารถใสเทคนิคตางๆ ทั้งลักษณะการปรากฏของตัวอักขระ รูปภาพ และเสียงดวย เปนโปรแกรมประเภท multimedia ใชประกอบกับเครื่องฉาย (LCD projector) เชน Microsoft PowerPoint เปนตน

4. Database โปรแกรมประเภทจัดการฐานขอมูล ใชสรางฐานขอมูลเพื่อจัดเก็บและจัดการขอมูลไดอยางรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ เราสามารถนําโปรแกรมนี้ไปใชในงานตางๆ เชน การเก็บขอมูลนักศึกษา รายการสินคาในโกดัง ขอมูลพนักงาน เปนตน โปรแกรมประเภทนี้ เชน Microsoft Access

5. Desktop Publishing และ Graphics ใชสําหรับจัดหนาหนังสือ สิ่งตีพิมพตางๆ เชน แผนพับ นามบัตร และใบประกาศ สามารถกําหนดรูปแบบไดตามตองการหรือตามที่มีแบบมาใหอยูแลว(Template)รวมทั้งใน

ระบบสารสนเทศ 12

Page 7: Computer System

การออกแบบงานดานศิลปะ ตัดตอ ตกแตงรูปภาพตางๆ โปรแกรมประเภทนี้ เชน Adobe PageMaker, Adobe PhotoShop เปนตน ซอฟตแวรเพื่อการใชงานกับระบบไมโครคอมพิวเตอร ซอฟตแวรกลุมนี่เรียกวา productivity software แบงออกตามการทํางานดังนี้ 1. ดานการพิมพหรือประมวลผลคํา (word processing software) 2. ดานการตีพิมพและผลิตเอกสาร (desktop publishing software) 3. ดานเอกสารอิเล็กทรอนิกส (electronic publishing software) 4. ดานการนําเสนองานดวยกราฟฟก (graphics presentation) 1.1 ซอฟตแวรเพื่อการประมวลผลคํา ซอฟตแวรเพื่อประมวลผลคํา หรือเรียกวา word สรุป การใชงานของซอฟตแวรประมวลผลคํา ไดดังนี้

1. สรางเอกสาร 2. จัดรูปแบบของเอกสาร 3. บันทึกตัวอักขระเขาสูระบบคอมพิวเตอรและแกไขปรับปรุงการพิมพ 4. พิมพเอกสารที่ประมวลผลแลวหรือสงเอกสารที่ประมวลผลแลวบนระบบแฟกซ

1.2 ซอฟตแวรเพื่อการผลิตเอกสารในลักษณะของการตีพิมพเผยแพร โปรแกรม desktop publishing หรือ DTP เปนโปรแกรมที่ทํางานตีพิมพเอกสารมีความคลองตัว ตัวอยางเชน เมนูอาหาร บัตรอวยพร แผนพับ จุลสาร เปนตน ทั้งนี้ก็จะทํางานควบคูไปกับ word processing คือ word ใชในการจัดรูปแบบเอกสาร สวน DTP จัดรูปแบบ กราฟฟก เลยเอาต อารตเวิรก ฯลฯ 1.3 เอกสารอิเล็กทรอนิกส เอกสารอิเล็กทรอนิกส (electronic documents) จะถูกสรางดวยโปรแกรม electronic publishing และเก็บไวบน diskette, HD, CD-ROM,DVD และเผยแพร รวมทั้งตัวหนังสือ ภาพ และเสียง หรือไมวาจะเผยแพรบนเครือขาย internet การสราง electronic documents ประกอบดวย

1. โปรแกรม word processing สําหรับสราง text file 2. HTML (HyperText Markup Langusge) สําหรับสราง HTML documents 3. Portable document เปนเอกสารอิเล็กทรอนิกสที่สามารถเคลื่อนยายไปยังผูรับในสถานที่ตาง ๆ

หรืออาจรวมอยูใน HTML-based ในการสราง WWW page ทําใหสามารถเผยแพรเอกสารอิเล็กทรอนิกสไปไดทั่วโลก

1.4 ชุดโปรแกรมการนําเสนอรายงาน การนําเสนอรายงานของภาคธุรกิจเปนสิ่งสําคัญมากสําหรับผูบริหาร ดังนั้นการนําเสนองานดวย presentation graphics software

ระบบสารสนเทศ 13

Page 8: Computer System

สรุป 1. สามารถเตรียมการในการนําเสนอไดสะดวก 2. สามารถนําเสนอหรือช้ีแจงภาพรวมไดชัดเจน 3. สามารถขยายความเฉพาะสวนที่ตองการใหละเอียดลงไปไดอยางมองเห็นความตอเนื่อง 4. ดึงดูดความสนใจของผูฟงไดดี 5. ยนระยะเวลาในการนําเสนอ การประชุม 6. สามารถเรียกรูปแบบการนําเสนอไดหลายรูปแบบโปรแกรมการนําเสนอดวยกราฟฟกที่นิยมมากที่

สุดในปจจุบัน คือ Microsoft Power Point 3. พีเพิลแวร (Peopleware)

หมายถึง บุคคลที่เกี่ยวของกับการใชคอมพิวเตอรทั้งทางตรงและทางออม บุคลากรคอมพิวเตอร 3.1 หัวหนาหนวยงานคอมพิวเตอร 3.2 ฝายวิเคราะหและออกแบบระบบ (System Analysis Design)

- นักวิเคราะหระบบ (SA: System Analyst) - นักออกแบบระบบ (SD: System Designer)

3.3 โปรแกรมเมอร (Programmer) 3.4 ฝายปฏิบัติการ (Operation and Services)

- ผูควบคุมเครื่อง (Operator) - ผูจัดตารางเวลา (Scheduler) - พนักงานจัดเก็บและรักษา (Librarian) - พนักงานเตรียมขอมูล (Data Entry)

ประเภทของคอมพิวเตอร

เราสามารถแบงประเภทของคอมพิวเตอรไดตามขนาดและความเร็วในการประมวลผลดังนี้ 1. Supercomputers ซูเปอรคอมพิวเตอร เปนคอมพิวเตอรที่มีประสิทธิภาพในการทํางานสูงที่สุด มีความสามารถในการประมวลผลเร็วสูง มีการทํางานที่ซับซอน โดยเฉพาะอยางยิ่งในดานการคํานวณ จึงเหมาะที่จะนําไปใชงานที่ตองการความละเอียดในการประมวลผล เชน การพยากรณอากาศ การปฏิบัติการทางทหารดานอาวุธตางๆ การตรวจสอบการแพรกระจายของสารกัมมันตภาพรังสี เปนตน (หมายเหตุ : ราคาตรวจสอบ พ.ศ. 2544 ประมาณ 80 ลานบาทขึ้นไป) 2. Mainframes คอมพิวเตอรเมนเฟรมหรือคอมพิวเตอรขนาดใหญ มีความสามารถในการประมวลผลดวย

ความเร็วสูง มีหนวยความจําหลักขนาดใหญ ทําใหสามารถเก็บขอ มูลไดในปริมาณมาก เหมาะสําหรับองคกร หรือ ธุรกิจขนาดใหญที่ตองรองรับผูใชบริการมากๆในเวลา เดียวกัน เชน

ระบบสารสนเทศ 14

Page 9: Computer System

ธนาคาร การจองตั๋วเครื่องบิน การจองหองพักโรงแรม การลง ทะเบียนนักศึกษา เปนตน

3. Minicomputer มินิคอมพิวเตอรหรือ คอมพิวเตอรขนาดกลาง มีความสามารถรองลงมาจาก mainframes แตสูงกวา Workstations คือสามารถรองรับการทํางานจากผูใชหลายคน เพื่อการ ทํางานเฉพาะดานตางกันไป ธุรกิจที่นิยมนํามินิคอมพิวเตอรมาใช เชน อุตสาหกรรมขนาดกลางตางๆ การคํานวณทางดานวิศวกรรม การทํางานดานบัญชี หรือ การจองตั๋วและที่พักในธุรกิจขนาดกลาง เปนตน 4. Workstations เวิรคสเตชั่น มีลักษณะเหมือนคอมพิวเตอรขนาดตั้งโตะ (desktop computer) ตางกันตรงที่ Workstations มีความสามารถทางดานกราฟฟค และการประมวลผลดานการคํานวณที่สูงกวา และยังสามารถทํางานหลายงานไดในเวลาเดียวกัน ทําใหถูกใชเปนคอมพิวเตอรแมขายไดดวย Workstations จะใชในทางวิทยาศาสตร วิศวกรรม และ งานที่ตองอาศัยความรูเฉพาะทางดานตางๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งทางดานงานออกแบบกราฟฟค แบบจําลอง(modeling) และ การหมุนรอบทิศทางของภาพ 3 มิติ (Three-dimensional objects rotation) อยางไรก็ตาม เทคโนโลยีที่สูงขึ้นทําใหความแตกตางของ Workstations และ PCs นั้น ลดนอยลงไปทุกที เนื่องจาก PCs ที่มีประสิทธิภาพสูง สามารถปฏิบัติงานดานกราฟฟคไดเทียบเทากับ Workstations ที่มีประสิทธิภาพตํ่า และ Workstations ที่มีประสิทธิภาพสูงก็สามารถปฏิบัติงานของ mainframes และ supercomputers ในยุคแรกๆไดเชนกัน (Thomborson, 1993) 5. Microcomputers ไมโครคอมพิวเตอร เปนคอมพิวเตอรที่มีผูใชมากที่สุด เนื่องจากมีขนาดกะทัดรัด สามารถปฏิบัติงานทางธุรกิจขนาดยอมและใชในงานสวนตัวไดเปนอยางดี เราจึงนิยมเรียกคอมพิวเตอรประเภทนี้วา PC : Personal Computer PCs นั้นมีหลายรูปแบบตางกันตามลักษณะ ดังนี้

5.1 Desktop Computers เปนคอมพิวเตอรขนาดตั้งโตะ เหมาะสําหรับการใชในสํานักงาน ที่บานหรือ สถานศึกษาทั่วไป แยกยอยออกเปน 2 ประเภท คือ Desktop PC และ Tower PC มีคุณสมบัติเชนเดียวกันทุกประการ ตางกันตรงที่ แผงวงจรตางๆของ Tower PC จะถูกเก็บไวที่ Tower case หรือกลองทรงสูงสี่เหลี่ยม

รูปท่ี 2.2 Desktop PC รูปท่ี 2.3 Tower PC 5.2 Notebook Computers เปนคอมพิวเตอรขนาดพกพา หนักประมาณ 2-4 กิโลกรัม มีอุปกรณ

คอมพิวเตอรมาตรฐานทั่วไป เชน คีบอรด disk drive และ CD-ROM drive 5.3 Labtop Computers มีลักษณะเชนเดียวกับ notebook computers ตางกันตรงขนาดของหนาจอที่ใหญ

กวาและน้ําหนักที่มากกวา

ระบบสารสนเทศ 15

Page 10: Computer System

5.4 Hand-held Computers เหมาะกับงานที่ตองมีการออกนอกสถานที่ เชน การตรวจเช็คสินคาในโกดัง หรือการเก็บขอมูลตามสถานที่ตางๆ

5.5 Palmtop Computers เปนคอมพิวเตอรพกพาขนาดประมาณฝามือ เหมาะสําหรับการใชงานสวนบุคคลเพื่อบันทึกขอมูลตางๆ เชน เบอรโทรศัพทที่อยู นัดหมายการประชุม ปฏิทิน เปนตน

5.6 Personal Digital Assistant (PDA) เปนคอมพิวเตอรพกพาประเภท pen-based computers เนื่องจากมีการนําเขาขอมูลโดยใชปากกา PDA นี้กําลังเปนที่นิยมมากขึ้นเรื่อยๆ เพราะคุณสมบัติที่ทํางานไดเหมือน PC และยังเปนอุปกรณสื่อสารในตัว คือ สามารถ สงแฟกซ ขอความ และใชเปนโทรศัพทไดดวย

รูปท่ี 2.4 Notebook Computer รูปท่ี 2.5 Subnotebook Computer รูปท่ี 2.6 Laptop computer หนวยความจําสํารอง (secondary storage) หมายถึง หนวยจัดเก็บขอมูลในระยะยาวภายนอก CPU และ หนวยความจําหลัก ในการจัดการกับขอมูลนั้น เราจําเปนตองจัดเก็บขอมูลใหอยูในรูปของแฟมขอมูล(file) โดยเราสามารถแบงประเภทของแฟมขอมูลไดตามลักษณะขอมูล ดังนี้

1. ASCII file : เก็บขอมูลในรูปของ text เทานั้น (text-only file) 2. Data file : เก็บขอมูลที่จัดไวในรูปของระเบียน (record) แลว 3. Document file: เก็บขอมูลที่ไดจากการประมวลผลของ โปรแกรมประเภท word processing 4. Spreadsheet file : เก็บขอมูลที่เปนลักษณะตาราง แผนภูมิ ตางๆ เชน ขอมูลที่ไดจาก โปรแกรม

Excel 5. Source program file : เก็บชุดคําสั่ง หรือโปรแกรมที่เขียนหรือพัฒนาขึ้นมาดวยภาษาโปรแกรม

ประเภทตางๆ และตองไดรับการแปลเปนภาษาเครื่องเสียกอน คอมพิวเตอรจึงจะนําไปปฏิบัติได 6. Executable program file : เก็บชุดคําสั่งที่ไดรับการแปลใหอยูในรูปของภาษาเครื่องแลว 7. Graphics file : เก็บขอมูลที่เปนรูปภาพในรูปของดิจิตอล 8. Audio file : เก็บขอมูลที่เปนเสียงในรูปของดิจิตอล 9. Video file : เก็บขอมูลที่เปนภาพเคลื่อนไหวในรูปของดิจิตอล

การจัดการกับแฟมขอมูล 1. ผูใชสามารถ สราง ต้ังช่ือ และเก็บแฟมขอมูล 2. ผูใชสามารถก็อปป ยาย และลบแฟมขอมูล 3. ผูใชสามารถเรียกดูและปรับเปลี่ยนแกไขแฟมขอมูล

ระบบสารสนเทศ 16

Page 11: Computer System

4. ผูใชสามารถทําการ upload (โอนแฟมขอมูลจากเครื่องลูกขายไปยังเครื่องแมขาย) และ download (โอนแฟมขอมูลจากเครื่องแมขายมายังลูกขาย)

5. ผูใชสามารถรับแฟมขอมูล(import file)จากโปรแกรมอื่นเพื่อมาทํางานรวมกับแฟมขอมูลของตนได 6. ผูใชสามารถบีบอัดแฟมขอมูล (compress file)ใหมีขนาดเล็กลงไดเพื่อประหยัดเนื้อที่บนหนวย

ความจําสํารอง 7. ผูใชสามารถสรางระบบความปลอดภัยในการเขาถึงแฟมขอมูลได (password or security)

การเขาถึงสารสนเทศบนหนวยความจําสํารอง แบงออกไดเปน 2 ประเภท ดังนี้

1. การเขาถึงแบบเรียงลําดับ (sequential access) กลาวคือ หากตองการเขาถึงขอมูลที่บันทึกไวในสุด ผูใชก็ตองไลตามลําดับขอมูลไปจนกวาจะเจอ ซึ่งเปรียบไดกับการกรอเทปคาสเซ็ท เพื่อฟงเพลงที่ตองการ

2. การเขาถึงแบบสุม หรือแบบโดยตรง (random access or direct access) เมื่อผูใชตองการเขาถึงขอมูลใด ก็สามารถเลือกไปที่ขอมูลนั้นๆไดทันที เปรียบไดกับการเลือกฟงเพลงจากแผน CD ซึ่งสามารถกําหนดเพลงที่ตองการฟงไดทันที

ประเภทของหนวยความจําสํารอง แบงออกไดเปน 3 ประเภท ดังนี้ 1. จานแมเหล็ก (Magnetic Disks) เปนวัสดุที่ไดรับความนิยมแพรหลาย เนื่องจากมีความจุสูง มีความเช่ือถือได และสามารถเขาถึงไดแบบโดยตรง(direct access) จานแมเหล็กแบงออกเปน 2 ประเภท ไดแก 1.1 จานแมเหล็กแบบออน (floppy disks) นิยมเรียกวา diskettes หรือ แผนดิสก (disks) ที่ใชอยูในปจจุบันมีขนาด 3.5 นิ้ว (จานออนประเภท 5.25 นิ้วไดถูกเลิกใชไปแลว) เปนจานออนเคลือบสารแมเหล็กหุมดวยพลาสติกแข็ง มีความจุสูงไดถึง 2.5 MB แตปกติที่ใชอยู คือ 1.44 MB และที่ floppy disks จะมีแถบปองกันการเขียนขอมูล เรียกวา write -protect tab ไวสําหรับกันการเผลอเขียนทับขอมูลที่เราไมตองการเปลี่ยนแปลง การบันทึกขอมูลบนแผนดิสก เปนแบบ sector โดยการแบงเนื้อที่บนแผนดิสกเปนแทรค (track) แตละ track จะแบงออกเปนสวนๆ เรียกวา sector และ sector แตละ sector รวมกัน เรียกวา cluster ซึ่งทําใหการหาหรือบันทึกขอมูลเปนไปโดยงาย เนื่องจากแตละขอมูลจะมีที่อยูเปนของตน Floppy disks ที่สามารถเก็บขอมูลไดมากๆ เรียกวา floppy-disk cartridges ที่รูจักกันดีมีอยู 3 ประเภท คือ

• Zip disks มีความจุ 100 MB และ 250 MB นิยมใชกับขอมูลที่เปน multimedia ตองใช zip disk drive ในการทํางาน เช่ือกันวา จะเปนดิสกที่นิยมใชอยางกวางขวางแทนที่ floppy disk ในอนาคต

• Superdisks มีความจุสูงกวา 120 MB ดีกวา zip disk ตรงที่มีความจุสูงกวา และสามารถทํางานดวย floppy disk drive ธรรมดาได

• HiFD disk มีความจุสูงถึง 200 MB ใชกับ floppy disk drive ไดเชนเดียวกัน 1.2 จานแมเหล็กแบบแข็ง (hard disks) เปนแผนเหล็กบางๆ เคลือบดวยสาร iron

oxide ใชสําหรับเก็บขอมูล เรียกวา platter ซึ่งมีการเขาถึงขอมูลที่เร็วกวา floppy disk และมีความสามารถในการเก็บขอมูลไดในปริมาณมากๆ ปจจุบันมีหนวยความจุ เปน GB (gigabyte)

ระบบสารสนเทศ 17

Page 12: Computer System

ขอมูลจะถูกบันทึกหรืออานจากฮารดดิสกดวย read/ write heads โดยที่หัวเข็มนั้นไมไดสัมผัสผิวหนาของ platter เหมือนกับการเลนแผนเสียง เพราะเพียงแคฝุนละออง หรือควันบุหรี่ ก็สามารถทําลายจานแมเหล็กชนิดนี้ได หัวเข็มขนาดเล็กและบางนี้ จึงเหมือนกับรอนจากซายไปขวาผานผิวหนา platter ไปมาในระยะที่ใกลมากๆ เทานั้นเอง การบันทึกขอมูลบน hard disk จะเปนลักษณะที่เรียกวา แบบ cylinder เนื่องจากในระบบคอมพิวเตอรที่มีขนาดใหญนั้น ฮารดดิสก เปนการนํา platters หลายๆแผน มาวางซอนกันจึงเกิดเปนรูปทรงกระบอก (cylinder)ขึ้นมา เชน ถานํามาวางซอนกัน 11 แผน เราก็จะไดดานที่สามารถบันทึกขอมูลได 20 หนา ไมรวมดานที่อยูบนสุด และลางสุด เปนตน

ลักษณะของฮารดดิสกที่วางซอนกัน หรือที่เรียกวา hard disk packs นั้น สามารถเคลื่อนยายได และมีความสามารถในการเก็บขอมูลไดมากกวาฮารดดิสกชนิดอื่น อีก 2 ประเภทของฮารดดิสก คือ internal hard disk หรือ fixed disk จะอยูภายในตัวเครื่องคอมพิวเตอร มักใชกับประเภท ไมโครคอมพิวเตอร สามารถเก็บขอมูลไดในปริมาณมาก และ hard-disk cartridge สามารถเคลื่อนยายไปมาไดสะดวกเหมือนตลับเทปทั่วไป นิยมใชเก็บขอมูลที่เปนความลับ โดยทั่วไปมีความจุอยูที่ 2 GB

2. จานแสง (Optical Disks) ซึ่งบางครั้งเรียก compact disk (CD) หรือ optical laser disk (เลเซอรดิสก) เปนหนวยความจําสํารองที่มีความจุสูงที่สุด อานและบันทึกขอมูลดวยแสงเลเซอรจาก optical head ที่รูจักกันดีมีอยู 3 ประเภท คือ

2.1 Compact disk (CD) เปนวัสดุที่ไดรับความนิยมอยางแพรหลายในปจจุบัน ทํางานดวย CD drive ซึ่งมีความเร็วในการอานตางกันไป โดยคาความเร็วจะอยูในรูปตัว X เชน 24x (สามารถถายโอนขอมูลประมาณ 3.6 MB ตอวินาที เปนตน ) 32x และ 50x เปนตน โดยทั่วไปจะมีความจุอยูที่ 650 MB ขึ้นไป เราสามารถแบง CD ออกเปน 3 ประเภทได ดังนี้

• Compact disk read-only memory (CD-ROM) สามารถบันทึกขอมูลในรูปของ multimedia ได มีขอจํากัด คือ สามารถบันทึกไดเพียงครั้งเดียวโดยผูผลิต และผูใชสามารถอานไดเพียงอยางเดียวเทานั้น ไมสามารถแกไขหรือทําการเปลี่ยนแปลงใดๆกับขอมูลได นิยมนํามาใชในการบันทึกผลิตภัณฑเพื่อจําหนาย เชน โปรแกรมตางๆ

• Compact disk recordable (CD-R) เปนแผนซีดีเปลาที่สามารถนํามาบันทึกขอมูลไดครั้งเดียว และนําไปอานไดหลายครั้ง เชนเดียวกับ CD-ROM แต CD-R อนุญาตใหผูซื้อเปนผูบันทึกขอมูลที่ตนตองการ

• Compact disk rewritable (CD-RW) ผูใชสามารถบันทึก เปลี่ยนแปลง และอานขอมูลไดหลายครั้ง นิยมใชกับงานออกแบบและงานที่นําเสนอในรูปของ multimedia ตางๆ ตองใชงานกับ CD-RW drive โดยที่มีขอดีตรงที่สามารถใชอาน CD-ROM ไดดวย ในขณะที่ CD-ROM drive ไมสามารถทํางานกับ CD-RW ได

2.2 Digital video disk (DVD) หรือ digital versatile disk มีขนาดเทากับ CD-ROM แตมี

ความจุสูงกวามาก เพราะสามารถบันทึกไดทั้ง 2 ดาน โดยที่แตละดานมีความจุสูงถึง 4.7 GB ดังนั้น DVD 1 แผนจะสามารถจุไดประมาณ 10 GB และมีแนวโนมที่จะเพิ่มถึง 17 GB และสูงขึ้นไปอีกเรื่อยๆ ปจจุบันนิยมนํามาใชในการบันทึกภาพยนตร แบงออกเปน 3 ประเภท เชนเดียวกับ CD คือ DVD-ROM, DVD-R, และ DVD-RW ซึ่งแตละประเภทก็มีคุณสมบัติเชนเดียวกันกับ CD

ระบบสารสนเทศ 18

Page 13: Computer System

2.3 Write once/ read many (WORM disk) เปนจานแสงที่มีขอจํากัดเหมือนกับ CD-ROM คือสามารถบันทึกไดครั้งเดียวแตอานไดหลายครั้ง ตางกันตรงที่มีความจุสูงกวามาก นิยมใชในองคกรที่ตองการบันทึกที่มีการเปลี่ยนแปลงนอยในปริมาณมาก เชน หองสมุดขนาดใหญ และเปนอีกทางเลือกหนึ่งแทนการใช microfilm ในการบันทึกภาพดิจิตอลปริมาณมาก

3. เทปแมเหล็ก (Magnetic Tape) เปนเทคโนโลยีหนวยความจําสํารองในรุนแรกๆ มีการเขาถึงแบบเรียงลําดับ(sequential access) ทําใหไมเปนที่นิยมในการบันทึกขอมูลที่ตองการนําไปใชบอยๆแบบทันเวลา เราจึงนิยมนําเทปแมเหล็กเปนวัสดุในระบบคอมพิวเตอรที่ไมตองการเขาถึงแบบทันที ซึ่งเรียกวา batch processing (การรวบรวมขอมูลปริมาณหนึ่งกอนที่จะปอนเขาสูระบบคอมพิวเตอรเพื่อการประมวลผล)และ ในระบบสํารองขอมูล (backup system) เพราะมีราคาถูก มีความแมนยํา และสามารถเก็บขอมูลไดในปริมาณมาก ทํางานโดยใช tape drive หรือเครื่องอานเทปแมเหล็ก

เทปแมเหล็กแบงออกเปน 2 ประเภท คือ 3.1 คารทริดจเทป (cartridge tape) มีลักษณะเปนกลอง หรือตลับ มีความจุประมาณ 120 MB

ถึง 5 GB มีขอดี คือ สามารถนําขอมูลที่สํารองไวในเทปมาติดตั้งแทนฮารดดิสกที่เสียหายไดภายในเวลาอันรวดเร็ว

3.2 มวนเทปแมเหล็ก (magnetic tape reel) เปนรูปแบบดั้งเดิมซึ่งไดรับความนิยมนอยลง บันทึกขอมูลได 1,600- 6,400 ไบทตอนิ้ว นิยมใชกับคอมพิวเตอรขนาดกลางขึ้นไป ในระบบการสํารองสารสนเทศ (backup system) นั้นสามารถกระทําไดดังนี้ Full backup คือ การสํารองสารสนเทศทั้งหมดภายในระบบ Selective backup คือ การสํารองเฉพาะสารสนเทศที่มีความสําคัญตามความตองการของผูใช Modified files only backup คือ การสํารองเฉพาะสารสนเทศที่มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นลาสุด

หนวยเก็บความจําสํารองประเภทอื่นๆ เชน smart card คือ การดที่มีลักษณะคลายบัตรเครดิต แตหนากวา เนื่องจากมี ไมโครโปรเซสเซอร (microprocessor) หรือ หนวยประมวลผลยอย และสามารถบันทึกและเปลี่ยนแปลงขอมูลทุกอยางของผูถือบัตรไวได เก็บขอมูลโดยบันทึกไวที่แถบแมเหล็ก (magnetic stripe) ซึ่งเหมาะสําหรับการเก็บขอมูลที่มีปริมาณมากและตองการเก็บเปนความลับ เชนเดียวกับที่ใชในบัตร ATM เนื่องจากไมสามารถอานไดดวยตาเปลา อุปกรณนําเขาขอมูล (Input devices) แบงออกเปนประเภทตางๆไดดังนี้

1. อุปกรณประเภทคียหรือกด (keyed device) เปนอุปกรณประเภทที่มีการใชงานมากที่สุดตั้งแตอดีตมาจนถึงปจจุบัน ซึ่ง ไดแก คีบอรด(keyboards) โดยสามารถแบงออกเปน 2 ประเภทตามการใชงาน ดังนี้ 1.1 Alphanumeric Keyboard นิยมใชกับเครื่อง PCs ทั่วไป มีแปนพิมพเปนตัวเลข ตัวอักษร และ ปุมที่เปนฟงกช่ันการทํางาน (function keys)

ปุมฟงกช่ัน ปุมตัวเลข

Esc F1 F2 F3 F4 F5 F6 F7 F8 F9 F10 F11 F12

~`

!1

@2

$4

%5

^6

&7

*8

(9

)0

+=

#3

Q W E R T Y

A S D F G H

Z X C V B

U I O P

J K L

N M

{[

}]

:;

"'

<,

>.

?/

Tab

Shift

Ctrl Alt

CapsLock

Alt Ctrl

Shift

Enter

Backspace Insert Home PageUp

Delete End PageDown

|\

7 8 9

4 5 6

1 2 3

0 .

NumLock

Home PgUp

End PgDn

Ins Del

Enter

/ *

+

PrintScreen

ScrollLock Pause

ScrollLock

CapsLock

NumLock

ปุมตัวอักษร

รูปท่ี 2.7 Keyboard

ระบบสารสนเทศ 19

Page 14: Computer System

1.2 Special- Function Keyboard เปนคีบอรดที่ออกแบบมาเพื่อใชงานเฉพาะดาน ประเภทเครื่องที่ใชตามรานอาหาร fast-food ตางๆ เชน KFC McDonald’s เปนตน 2. อุปกรณประเภทชี้และวาดรูป (pointing and drawing devices) 2.1 Mouse เมาส เปนอุปกรณที่ตอเช่ือมกับคอมพิวเตอรดวยสายเคเบิ้ล ใชช้ีตําแหนงและคลิกเพื่อสงขอมูลเขาสูระบบ โดยผูใชสามารถเลื่อนตําแหนงของ cursor (เคอรเซอร) ไปตามจุดตางๆบนหนาจอ ทั้งนี้ ยังสามารถใชวาดรูปไดดวย ดังรูปที่ 2.8 2.2 Joystick มักนิยมใชในการเลนเกมคอมพิวเตอรหรือการเคลื่อนที่ของหุนยนต ดังรูปที่ 2.9 2.3 Trackball เปนลูกกลมๆโดยผูใชจะหมุนลูกบอลไปตามทิศทางที่ตองการ มีขนาดใหญกวาลูกบอลที่อยูขางใตเมาส มักใชกับคอมพิวเตอรแบบพกพา ดังรูปที่ 2.10 2.4 Trackpoint ปุมควบคุม เปนปุมยางเล็กๆติดอยูกับแปนพิมพของคอมพิวเตอรแบบพกพา ดังรูปที่ 2.11 2.5 Touchpad แผนสัมผัส เปนแผนสี่เหลี่ยมอยูกับคอมพิวเตอรแบบพกพา โดยใชนิ้วสัมผัสเพื่อเลื่อนตําแหนงและเคาะเบาๆเพื่อกําหนดตําแหนงที่ตองการ ดังรูปที่ 2.12 2.6 Digitizer tablet and pen เปนอุปกรณที่เหมาะสําหรับการทํางานดานกราฟฟค โดยใชปากกา เรียกวา stylus เปนตัวตกแตงขอมูลวาดไปบน digitizer ได ดังรูปที่ 2.13 2.7 Touch Screens เปนการนําเขาขอมูลโดยใชนิ้วสัมผัสบนหนาจอคอมพิวเตอร มีขอบเขตจํากัดในการนําเขาขอมูล กลาวคือ ผูใชตองเลือกขอมูลที่กําหนดไวใหเทานั้น ดังรูปที่ 2.14 รูปท่ี 2.8 Mouse รูปท่ี 2.9 Joystick รูปท่ี 2.10 Trackball รูปท่ี 2.11 Trackpoint รูปท่ี 2.12 Touchpad รูปท่ี 2.13 digitizing tablet

รูปท่ี 2.14 Touch Screens

ระบบสารสนเทศ 20

Page 15: Computer System

3. อุปกรณนําเขาขอมูลอัตโนมัติ (Source Data Automation) เปนการนําขอมูลเขาสูระบบทันทีที่เกิด

ขอมูลขึ้น เชน POS (Point-of-sale)Systems, optical bar-code scanners, หรือ อุปกรณ optical character recognition (OCR) อื่นๆ โดยมีขอดี คือ สามารถลดความผิดพลาดของขอมูลที่อาจเกิดขึ้นจากการ คีย ช้ี หรือวาดรูปขอมูลเขาสูระบบ

เทคโนโลยีหลักในการนําเขาขอมูลอัตโนมัติ มีดังนี้ Scanners สแกนเนอร เปนการเปลี่ยนรูปภาพ(images)หรือเอกสารตางๆใหอยูในลักษณะของขอมูลที่เปน digital ซึ่งสามารถนําไปประมวลผลและจัดเก็บดวยคอมพิวเตอรตอไปได สแกนเนอรมีอยูหลายแบบ เชน แบบที่อยูกับแปนพิมพ แบบตั้งโตะและแบบมือถือ

รูปท่ี 2.15 สแกนเนอรแบบตั้งโตะ รูปท่ี 2.16 สแกนเนอรแบบตั้งโตะ รูปท่ี2.17 สแกนเนอรขนาดมือถือ 3.2 Optical Character Recognition(OCR)และ Bar code Reader เครื่องอานอักขระและรหัส

โดยเฉพาะบารโคด(Bar code: รูปแบบที่ใชกับเทคโนโลยีOCR เพื่อแยกประเภทและราคาของสินคา) นิยมใชตามรานคาและงานบริการ เพื่อความสะดวกในการคิดราคาหรือแยกประเภทของตางๆ เชน ซุปเปอรมารเก็ต หองสมุด โรงพยาบาล การปฏิบัติงานทางทหาร หรือการขนสงสินคา เปนตน นอกจากนี้ ยังนําไปใชในการอานเอกสารที่เปนลายมือหรือที่พิมพดวยคอมพิวเตอรก็ได โดยเครื่องจะแปลงอักขระนั้นๆใหเปนรหัสคอมพิวเตอร 3.3 Optical Mark Recognition (OMR) เครื่องอานเครื่องหมาย นิยมใชในงานตรวจขอสอบหรือแบบสอบถามประเภทตัวเลือกบนกระดาษคอมพิวเตอร โดยสวนมากจะใชดินสอ 2B ในการกรอกแบบฟอรมเพื่อใหคอมพิวเตอรอานออก 3.4 Magnetic ink character recognition (MICR) นิยมใชในงานธนาคารโดยเฉพาะ เช็ค เนื่องจากสวนลางของเช็คแตละใบจะถูกบันทึกขอมูลดวยหมึกพิเศษ หรือ หมึกแมเหล็กที่ระบุ รหัสธนาคาร หมายเลขบัญชี และหมายเลขเช็คเอาไว โดยที่เครื่อง MICR นี้จะทําการแปลอักขระบนเช็คเหลานั้นเพื่อนําไปประมวลผลในรูปของขอมูล digital ตอไป สวนตางๆบนเช็คที่เขียนดวยหมึกธรรมดานั้น ตองอาศัยการคียขอมูลเขาตามปกติ 4. อุปกรณนําเขาขอมูลในรูปของเสียง (Voice Input device) เชน ไมโครโฟน เปนตัวบันทึกเสียงเขาสูระบบคอมพิวเตอร โดยสามารถนํามาแกไขเปลี่ยนแปลงไดดวยโปรแกรมที่เกี่ยวของ นอกจากนี้ คอมพิวเตอรยังสามารถจดจําเสียงและคําสั่งโดยการใชเสียงได(Speech Recognition) ซึ่งเทคโนโลยีทางดานนี้มีการพัฒนาอยางรวดเร็ว เนื่องจากการพูดเปนพฤติกรรมตามธรรมชาติของมนุษยอยูแลว ทั้งนี้ตองมีการฝกใหคอมพิวเตอรเขาใจในคําพูดหรือจําเสียงพูดของผูใชไดเสียกอน โปรแกรมประเภทนี้ เชน Dragon Dictate เปนโปรแกรมที่สามารถจําแนกคําไดมากกวา 30,000 คํา หรือโปรแกรมแปลภาษาตางๆ เปนตน

ระบบสารสนเทศ 21

Page 16: Computer System

5. Digital camera กลองดิจิตอล มีคุณสมบัติเหมือนกลองถายรูปทั่วไป ตางกันตรงที่กลองดิจิตอลไมตองใชฟลมถายรูป แตจะจัดเก็บภาพเปนขอมูลดิจิตอลไวในแผนดิสกหรือหนวยความจําของคอมพิวเตอร มีทั้งประเภทที่พกพาไดสะดวก(field camera) และประเภทที่ติดกับเครื่องคอมพิวเตอร (studio camera)

6. Digital Video camera กลองวีดีโอดิจิตอล ทํางานเหมือนกับกลองดิจิตอล เพียงแตสามารถบันทึกภาพตอเนื่องหรือภาพเคลื่อนไหวได ปจจุบันนี้ กลองวีดีโอดิจิตอลสามารถบันทึกภาพนิ่งไดเชนเดียวกัน อุปกรณแสดงผลลัพธ (Output Devices) ผลลัพธสามารถแบงออกไดเปน 2 ลักษณะ คือ ผลลัพธแบบชั่วคราว (Soft Copy)จะแสดงผลบนหนาจอคอมพิวเตอร และผลลัพธแบบถาวร(Hard Copy) จะอยูในลักษณะเอกสารที่พิมพออกมา อุปกรณแสดงผล สามารถจําแนกได ดังนี้ 1. Monitors จอภาพคอมพิวเตอร เปน cathode ray tube terminals (CRT) หรือบางครั้ง เรียกวา video display terminals (VDTs) ใชผลิตผลลัพธที่เรียกวา soft copy โดยจอภาพจะประกอบดวยคุณสมบัติ ดังนี้

- ขนาด (size) มีต้ังแต 14, 15, 17 นิ้ว หรือใหญกวา โดยวัดตามเสนทแยงมุมของจอภาพ - สี (color) แบงออกเปน จอภาพสีเดียว (monochrome monitor) แสดงผลลัพธเพียง สีเดียวบนพื้นดํา และจอภาพสี (color monitor) ซึ่งเปนที่นิยมใชกันอยูในปจจุบัน สามารถแสดงผลลัพธที่เปนขอความและกราฟฟคได - ความละเอียด (resolution) คือจํานวนของจุดที่แสดงความคมชัดหรือความละเอียดของภาพ 2. Flat Panel displays จอภาพชนิดแบน นิยมใชกับเครื่องคอมพิวเตอรแบบพกพา แตปจจุบันมีการนํา

มาใชในลักษณะเหมือนจอภาพตั้งโตะทั่วไป มีลักษณะแบนเรียบและบางโดยใชเทคโนโลยีที่เรียกวา Liquid Crystal display monitors (LCD) ทําใหไมเกิดแสงรบกวนตอสายตา มักมีราคาแพงกวา

3. Printers เคร่ืองพิมพ เปนตัวผลิตผลลัพธที่เรียกวา hard copy แบงออกไดเปน 3 ประเภทยอย คือ

3.1 Dot-matrix printers เครื่องพิมพแบบจุด ทํางานโดยใชหัวเข็มตอกลงไปบนวัสดุที่ใชพิมพ นิยมใชในงานราชการหรืองานพิมพที่ไมตองการความสวยงาม มักเปนการพิมพบนกระดาษที่มีสําเนาหรือกระดาษตอเนื่อง เชน ใบเสร็จคาไฟฟา คาโทรศัพท ใบกํากับภาษีตางๆ ใบสั่งของ หรือ ต๋ัวเดินทางประเภทตางๆ เปนตน เครื่องพิมพประเภทนี้มีราคาถูก แตมีเสียงคอนขางดัง 3.2 Ink-jet printers เครื่องพิมพแบบพนหมึก เปนที่นิยมใชที่สุดในปจจุบันโดยเฉพาะกับเครื่อง PCs ที่ใชตามบานหรือสํานักงานทั่วไป เนื่องจากมีราคาไมสูงนัก ไมมีเสียงดังรบกวนเหมือนประเภทแรกและสามารถผลิตไดทั้งงานสีและขาวดําที่มีประสิทธิภาพในระดับหนึ่ง ทํางานโดยใชหัวพนหรือหัวฉีด พนน้ําหมึกดวยความเร็วสูงลงบนกระดาษ

3.3 Laser printers เครื่องพิมพเลเซอร เปนการใชแสงเลเซอร ซึ่งเปนเทคโนโลยีเดียวกันกับเครื่องถายเอกสาร ในการผลิต hard copy ผลลัพธที่ไดจึงมีคุณภาพสูงกวาเครื่องพิมพทั้ง 2 แบบที่กลาวมาขางตน รวมทั้งสามารถผลิตงานไดมากในเวลาสั้นๆ เมื่อคุณภาพสูง ราคาก็สูงตามเชนกัน สวนมากที่นิยมใช laser printers จะเปนแบบขาวดําเทานั้น เพราะถาเปนแบบสีดวย ราคาจะอยูที่ประมาณ 100, 000 บาทขึ้นไป

ระบบสารสนเทศ 22

Page 17: Computer System

รูปท่ี 2.18 Dot-matrix printer รูปท่ี 2.19 Ink-jet printers รูปท่ี 2.20 Laser printers 4. Plotters เคร่ืองพล็อตเตอร เปนอุปกรณที่เหมาะกับงานดานกราฟฟคตางๆ ที่มีขนาดใหญ ใช multicolored pens ในการสรางผลงาน ทํางานชากวาเครื่องพิมพมาก แตสามารถรองรับงานที่เครื่องพิมพทั่วไปทําไมได เชน แผนที่ ผังอาคาร แผงวงจรไฟฟา แผนภูมิที่มีความละเอียดสูงตางๆ เปนตน 5. Presentation Graphics อุปกรณในการนําเสนอ ใชในการแสดงผลลัพธปตางๆ เพื่อใหผูฟงเกิดความเขาใจที่ดีขึ้น ที่นิยมอยูในปจจุบัน แบงออกเปน 2 ชนิด คือเครื่องฉายขามศีรษะ (overhead projector) หรือเครื่องฉายสไลด และ LCD projector มสามารถฉายภาพบนจอไดทันที เทอรมินอล (Terminals) คือ ฮารดแวรใดๆในระบบคอมพิวเตอรที่เปนสวนหนึ่งของเมูลและแสดงผลลัพธ แบงออกเปน 3 ประเภทใหญๆไดดังนี้

1. Dumb terminals เปนเทอรมินอลที่มีความสามารถในการประมวคอมพิวเตอรแมขาย เชน เมนเฟรมคอมพิวเตอร เพื่อแสดงขอมูล/สารสนเทศใหผูใชบรไวตามโรงพยาบาล หางสรรพสินคา หรือสนามบินเพื่อเปนแหลงขอมูลของสถานที่นั้น

2. Smart X terminals มีประสิทธิภาพในการประมวลผลสูง มีหนวยสามารถแสดงผลกราฟฟคที่มีคุณภาพ ออกแบบมาเพื่อใหใชงานกับคอมพิวเตอรในเครสามารถทํางานหลายงานในเวลาเดียวกัน โดยมี input และ output devices ประกอบอยูด

3. Telephone terminals เปนการนําเทคโนโลยีโทรศัพทมาใชในการสมีประสิทธิภาพและสะดวก โดยมี PC เปนตัวประมวลผลขอมูลเสียงที่สงมาทางโทรศัพเปน เทอรมินอลขึ้นมา เชน การสั่งซื้อสินคาทางโทรศัพท การลงทะเบียนเรียน การสอผลตางๆทางโทรศัพท เปนตน

นอกจากนี้ยังมีเทอรมินอลที่พัฒนาขึ้นมาเฉพาะดาน ที่รูจักกันแพรหลาย เชน 1. ATM terminal (Automatic Teller Machine) เปนเทอรมินอลเครือขาย

เพื่อเพิ่มความสะดวกสบายใหแกลูกคาในการเบิก-ถอนเงิน หรือสอบถATM ที่มีแถบแมเหล็กเปนตัวเก็บขอมูลสวนบุคคลเอาไว

2. POS terminal (Point-of –sale terminals) ใชในรานอาหาร fast-foodBig C, Lotus, etc. หรือรานขายของทั่วไป โดยในระบบนี้จะมีการใช sในการคิดราคาสินคา ซึ่งผานการประมวลผลโดยคอมพิวเตอร และจเสร็จใหลูกคา เปนตน

รูปที่ 2.21 Plotter

ระกอบการบรรยายในดาน LCD panel ใชตอเขากับีเลนสและเครื่องฉายในตัว

ครือขายใชในการนําเขาขอ

ลผลนอยมาก ตอเช่ือมกับิการทราบ เชน เครื่องที่ต้ังๆ ความจําหลักที่มีความจุสูง ือขาย เชน workstations วย ื่อสารขอมูล/สารสนเทศที่ท จึงทําใหโทรศัพทกลายบถามยอดเงินหรือรายงาน

ของเมนเฟรมของธนาคาร ามยอดเงิน โดยใชบัตร

หรือหางสรรพสินคา เชน pecial-function keyboards ากนั้นก็ผลิตผลลัพธเปนใบ

ระบบสารสนเทศ 23