Top Banner
1 ทฤษฏีสี ความหมายของทฤษฎีสี ทฤษฎี หมายถึง ความจริงที่ไดพิสูจนแลว หรือ หลักวิชา สี หมายถึง แสงที่มากระทบวัตถุแลวสะทอนเขาตาเรา ทําใหเห็นเปนสีตางๆ ทฤษฎีสี หมายถึง หลักวิชาเกี่ยวกับสีที่สามารถมองเห็นไดดวยสายตา ความสัมพันธของมนุษยกับสี สรรพสิ่งทั้งหมายในจักรวาลประกอบไปดวยสี ดังนั้นสิ่งแวดลอมรอบตัวมนุษยจึงประกอบไปดวยสี สี จําแนกออกเปน 2 ประเภท คือ 1. สีที่เกิดจากปรากฏการณตามธรรมชาติ เชน สีของแสง สีผิวของวัตถุตามธรรมชาติ 2. สีที่เกิดจากการสรางสรรคของมนุษย เชน สีของแสงไฟฟา สีของพลุ สีที่ใชเขียนภาพ และยอมสีวัสดุ ตางๆ เหตุที่มนุษยรูจักใชสี เพราะมนุษยมีธรรมชาติรักสวยรักงาม เมื่อเห็นความงามตามธรรมชาติ เชน ดอกไม ใบไม สัตว วัตถุ ตลอดจนทิวทัศนที่งดงาม มนุษยก็อยากจะเก็บความงามเอาไว จึงไดนําเอาใบไม หินสี เปลือก หอย ฯลฯ มาประดับรางกาย และยังรูจักเอาดินสีและเขมามาทาตัว หรือขีดเขียนสวนที่ตองการใหงาม รวมทั้ง การเขียนภาพตามผนังถ้ําอีกดวย สําหรับในปจจุบันไดมีการสังเคราะหสีจากวัตถุขึ้นมาใชในงานตางๆ อยาง กวางขวางทั่วไป จิตวิทยาแหงส(psychology of colors) การใชสีใหสอดคลองับหลักจิตวิทยา จะตองเขาใจวาสีใดใหความรูสึกตอมนุษยอยางไร จึงจะใชไดอยาง เหมาะสม ความรูสึกเกี่ยวกับสี สามารถจําแนกออกไดดังนีสีแดง ใหความรูสึกอันตราย เรารอน รุนแรง มั่นคง อุดมสมบูรณ สีสม ใหความรูสึกสวาง เรารอน ฉูดฉาด สีเหลือง ใหความรูสึกสวาง สดใส สดชื่น ระวัง สีเขียว ใหความรูสึกงอกงาม พักผอน สดชื่น สีน้ําเงิน ใหความรูสึกสงบ ผอนคลาย สงางาม ทึม สีมวง ใหความรูสึกหนัก สงบ มีเลศนัย สีน้ําตาล ใหความรูสึกเกา หนัก สงบเงียบ สีขาว ใหความรูสึกบริสุทธิสะอาด ใหม สดใส สีดํา ใหความรูสึกหนัก หดหู เศราใจ ทึบตัน การใชสีตามหลักจิตวิทยา สามารถกอใหเกิดประโยชนไดหลายประการ ทั้งนี้ขึ้นอยูกับลักษณะการใชงาน ประโยชนที่ไดรับนั้น สามารถสรุปไดดังนี1. ประโยชนในดานแสดงเวลาของบรรยากาศในภาพเขียน เพราะสีบรรยากาศในภาพเขียนนั้น จะแสดง ใหรูวาเปนภาพตอนเชา ตอนกลางวันหรือตอนบาย เปนตน 2. ประโยชนในดานการคา คือ ทําใหสินคาสวยงาม นาซื้อหา นอกจากนี้ยังใชกับงานโฆษณา เชน โปสเตอรตางๆ ชวยใหจําหนายสินคาไดมากขึ้น 3. ประโยชนในดานประสิทธิภาพของการทํางาน เชน โรงงานอุตสาหกรรม ถาทาสีสถานที่ทํางานใหถูก หลักจิตวิทยา จะเปนทางหนึ่งที่ชวยสรางบรรยากาศใหนาทํางาน คนงานจะทํางามากขึ้น มีประสิทธิภาพในการ
22
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: Color Theory

1

ทฤษฏีสี

ความหมายของทฤษฎีสี ทฤษฎี หมายถึง ความจริงที่ไดพิสูจนแลว หรือ หลักวิชา สี หมายถึง แสงที่มากระทบวัตถุแลวสะทอนเขาตาเรา ทําใหเห็นเปนสีตางๆ ทฤษฎีสี หมายถึง หลักวิชาเกี่ยวกับสีที่สามารถมองเห็นไดดวยสายตา

ความสัมพันธของมนุษยกับสี สรรพส่ิงทั้งหมายในจักรวาลประกอบไปดวยสี ดังนั้นส่ิงแวดลอมรอบตัวมนุษยจึงประกอบไปดวยสี สีจําแนกออกเปน 2 ประเภท คือ 1. สีที่เกิดจากปรากฏการณตามธรรมชาติ เชน สีของแสง สีผิวของวัตถุตามธรรมชาติ 2. สีที่เกิดจากการสรางสรรคของมนุษย เชน สีของแสงไฟฟา สีของพลุ สีที่ใชเขียนภาพ และยอมสีวัสดุตางๆ เหตุที่มนุษยรูจักใชสี เพราะมนุษยมีธรรมชาติรักสวยรักงาม เมื่อเห็นความงามตามธรรมชาติ เชน ดอกไม ใบไม สัตว วัตถุ ตลอดจนทิวทัศนที่งดงาม มนุษยก็อยากจะเก็บความงามเอาไว จึงไดนําเอาใบไม หินสี เปลือกหอย ฯลฯ มาประดับรางกาย และยังรูจักเอาดินสีและเขมามาทาตัว หรือขีดเขียนสวนที่ตองการใหงาม รวมทั้งการเขียนภาพตามผนังถ้ําอีกดวย สําหรับในปจจุบันไดมีการสังเคราะหสีจากวัตถขุึ้นมาใชในงานตางๆ อยางกวางขวางทั่วไป จิตวิทยาแหงส ี (psychology of colors) การใชสีใหสอดคลองับหลักจิตวิทยา จะตองเขาใจวาสีใดใหความรูสึกตอมนุษยอยางไร จึงจะใชไดอยางเหมาะสม ความรูสึกเกี่ยวกับสี สามารถจําแนกออกไดดังนี้ สีแดง ใหความรูสึกอันตราย เรารอน รุนแรง ม่ันคง อุดมสมบูรณ สีสม ใหความรูสึกสวาง เรารอน ฉูดฉาด สีเหลือง ใหความรูสึกสวาง สดใส สดชื่น ระวัง สีเขียว ใหความรูสึกงอกงาม พักผอน สดชื่น สีน้ําเงิน ใหความรูสึกสงบ ผอนคลาย สงางาม ทึม สีมวง ใหความรูสึกหนัก สงบ มีเลศนัย สีน้ําตาล ใหความรูสึกเกา หนัก สงบเงียบ สีขาว ใหความรูสึกบริสุทธิ์ สะอาด ใหม สดใส สีดํา ใหความรูสึกหนัก หดหู เศราใจ ทึบตัน

การใชสีตามหลักจิตวิทยา สามารถกอใหเกิดประโยชนไดหลายประการ ทั้งนี้ขึ้นอยูกับลักษณะการใชงาน ประโยชนที่ไดรับนั้น สามารถสรุปไดดังนี้ 1. ประโยชนในดานแสดงเวลาของบรรยากาศในภาพเขียน เพราะสีบรรยากาศในภาพเขียนนั้น จะแสดงใหรูวาเปนภาพตอนเชา ตอนกลางวันหรือตอนบาย เปนตน 2. ประโยชนในดานการคา คือ ทําใหสินคาสวยงาม นาซื้อหา นอกจากนี้ยังใชกับงานโฆษณา เชน โปสเตอรตางๆ ชวยใหจําหนายสินคาไดมากขึ้น 3. ประโยชนในดานประสิทธิภาพของการทํางาน เชน โรงงานอุตสาหกรรม ถาทาสีสถานที่ทํางานใหถูกหลักจิตวิทยา จะเปนทางหนึ่งที่ชวยสรางบรรยากาศใหนาทํางาน คนงานจะทํางามากขึ้น มีประสิทธิภาพในการ

Page 2: Color Theory

ทํางานสูงขึ้น 4. ประโยชนในดานการตกแตง สีของหอง และสีของเฟอรนิเจอร ชวยแกปญหาเรื่องความสวางของหอง รวมทั้งความสุขในการใชหอง ถาเปนโรงเรียนเด็กจะเรียนไดผลดีขึ้น ถาเปนรงพยาบาลคนไขจะหายเร็วขึ้น

สีกับการรับรู ในป พ.ศ. 2203 ไอแซก นิวตัน ไดคนพบวา แสงสีชาวจากดวงอาทิตยเมื่อหักเหผานแทงแกวสามเหลี่ยม (prism) แสงสีขาวจะกระจายออกเปนสีรุง (ดูภาพ 5.1) เรียกวา สเปคตรัม มี 7 สี ไดแก มวง คราม น้ําเงิน เขียว เหลือง สม แดง (ศักดา ศิริพันธุ. 2527 : 5) และไดมีกําหนดใหเปนทฤษฎีสีของแสงขึ้น ความจริงสีรุงเปนปรากฏการณตามธรรมชาติ ซึ่งเกิดขึ้นและพบเห็นกันบอยๆ อยูแลว ซึ่งเกิดจากการหักเหของแสงอาทิตยหรือแสงสวางเมื่อผานละอองน้ําในอากาศ

ภาพ 5.1 แสงสวางสีขาวผานแทงแกวสามเหลี่ยม และกระจายออกเปนสีรุง 7 สี แตในภาพปรากฏเพียง 6 สี เพราะสีครามกับสีมวงแยกไมคอยออก เลยรวมเปนสีเดียว (Bevlin. 1980 : 127)

หมายเหตุ คล่ืนแสงที่สายตามนุษยไมสามารถมองเห็น ไดแกคล่ืนแสงอินฟราเรด (infrared) และที่ชวงคล่ืนความถี่ต่ํากวาลงมา กับคล่ืนแสงอุลตราไวดอเลต (ultraviolet) และที่ชวงคลื่นความถี่สูงขึ้นไป สําหรับชวงคล่ืนสีแดงมีชวงคลื่นยาว และสีมวงมีชวงคลื่นส้ัน (Birren. 1968 : 17)

แมส ี สีที่ใชในการออกแบบจะมาจากการผสมของแมสี แมสีมีหลายประเภท ดังนั้นจะตองทําความเขาใจเกี่ยวกับแมสีใหดีเสียกอน จึงจะสามารถนําสีไปใชไดอยางถูกตอง แมสีที่ใชมีดังตอไปนี้

1. แมสีของนักฟสิกส (spectrum primaries) แมสีของนักฟสิกส มาจากสีของแสง สามารถผสมใหเกิดสีใหมได จากขอตกลงทางวิทยาศาสตร ไดกําหนดแมสีของแสงไว 3 สี คือสีแดง (red) สีเขียว (green) และสีน้ําเงิน (blue) แมสีทั้ง 3 สี เปนแมสีปฐมภูมิ (additive primary colors) การผสมแมสีทั้ง 3 สีดวยลําแสงบนผนังสีขาว จะปรากฏเปนสีขาว ถาผสมเปนคูระหวางสีจะปรากฏสีดังนี้ สีแดง ผสม สีเขียว จะได สีเหลือง (yellow) สีแดง ผสม สีน้ําเงิน จะได สีมวงแดง (magenta) สีเขียว ผสม สีน้ําเงิน จะได สีฟา (cyan) การผสมดวยแมสีจัดเปนการผสมสีในขั้นที่ 1 (ดูภาพ 5.2) การผสมสีในขั้นที่ 2 เปนการนําเอาสีที่ผสมกันแลวในขั้นที่ 1 มาผสมเขาดวยกัน ถาเอาสีฟา สีเหลือง และสีมวงแดงผสมพรอมกันดวยแสงจะปรากฏเปนสีดํา ถาผสมเปนคูระหวางสีจะปรากฏสีดังนี้ สีฟา ผสม สีเหลือง จะได สีเขียว (green) สีฟา ผสม สีมวงแดง จะได สีน้ําเงิน (blue)

2

Page 3: Color Theory

สีเหลือง ผสม สีมวงแดง จะได สีแดง (red) (ดูภาพ 5.3)

ภาพ 5.2 การผสมสีของแสงในขั้นที่ 1 เปนการผสมระหวางแมสีปฐมภูมิบนผนังสีขาว (ศักดา ศิริพันธุ. 2527 : 20)

ภาพ 5.3 การผสมสีในขั้นที่ 2 เอาสีจากการผสมในขั้นที่ 1 มาผสมกันดวยแสง (ศักดา ศิริพันธุ. 2527 : 27)

การผสมสีของแสงจะใชแสงสวางสีขาวสองผานฟลเตอรสี (filter) แตละสีออกไปผสมกัน ฟลเตอรสีจะดูดกลืนบางสีของแสงสวางเอาไว และยอมใหบางสีผานออกไปได (ดูภาพ 5.4) การใชฟลเตอรสีนี้มีประโยชนตอวงการพิมพมาก เพราะใชแยกสีทําแมพิมพเพื่อพิมพภาพสีตามธรรมชาติ ฟลเตอรแตละสี จะแยกสีได 1 สี เชน ฟลเตอรสีน้ําเงิน จะแยกสีเพื่อพิมพสีเหลือง (yellow) ฟลเตอรสีเขียว จะแยกสีเพื่อพิมพสีมวงแดง (magenta) ฟลเตอรสีแดง จะแยกสีเพื่อพิมพสีฟา (cyan) ฟลเตอรสีเหลืองชนิดพิเศษ จะแยกสีเพื่อพิมพสีดํา (black) การพิมพสีธรรมชาติจะพิมพเพียง 4 สีเทานั้น

3

Page 4: Color Theory

ภาพ 5.4 แสดงการดูดกลืนแสงสีของฟลเตอรสีตางๆ ลูกศรที่แทงทะลุผานฟลเตอรออกไป แสดงวาฟลเตอรสีนั้นยอมใหแสงสีนั้นผานออกไปได (ศักดา ศิริพันธุ. 2527 : 25)

สีของแสงมีประโยชนมากในการนําไปใชกับงานดานการละคร ภาพยนตร การตกแตงสถานที่ ตลอดจนงานดานกราฟค เชน การพิมพภาพสีธรรมชาติ เปนตน

2. แมสีของนักเคมี (pigmentary primaries) แมสีของนักเคมี สังเคราะหมาจากวัตถุโดยนักเคมี ซึ่งนํามาใชกับวงการศิลปะ วงการอุตสาหกรรม โดยกําหนดแมสีไว 3 สี คือ สีแดง (red) สีน้ําเงิน (blue) สีเหลือง (yellow) ในการผสมสีถานําเอาแมสีมาผสมกันเปนคูจะไดสีขั้นที่ 2 จํานวน 3 สี และถานําเอาสีขั้นที่ 2 มาผสมกับแมสี โดยผสมเปนคูจะไดสีขั้นที่ 3 จนวน 6 สี เมื่อรวมแมสีเขากับสีขั้นที่ 2 และสีขั้นที่ 3 แลวจะได 12 สี (ดูภาพ 5.5)

ภาพ 5.5 วงสี ประกอบดวยแมสี สีขั้นที่ 2 และสีขั้นที่ 3 (Itten. 1975 : 33) วงส ีหรือเรียกอีกอยางหนึ่งวา วงสีธรรมชาติ ประกอบดวยแมสี สีขั้นที่ 2 และสีขั้นที่ 3 ซึ่งมีสีดังตอไปนี้ (Ittem.1975 : 33) แมสี 3 สี คือ สีแดง (red) สีน้ําเงิน (blue) สีเหลือง (yellow) สีขั้นที่ 2 เกิดจากการผสมกันระหวางสีของแมสี จะเกิดสีขึ้น 3 สี คือ สีมวง (violet) เกิดจาก สีแดงผสมสีน้ําเงิน สีเขียว (green) เกิดจาก สีน้ําเงินผสมสีเหลือง สีสม (orange) เกิดจาก สีเหลืองผสมสีแดง สีขั้นที่ 3 เกิดจากการผสมกันระหวางสีของแมสีกับสีขั้นที่ 2 จะเกิดสีขึ้น 6 สี คือ

4

Page 5: Color Theory

5

สีน้ําเงินมวง (violet-blue) เกิดจาก สีน้ําเงินผสมสีมวง สีเขียวน้ําเงิน (blue-green) เกิดจาก สีน้ําเงินผสมสีเขียว สีเหลืองเขียว (green-yellow) เกิดจาก สีเหลืองผสมสีเขียว สีสมเหลือง (yellow-orange) เกิดจาก สีเหลืองผสมสีสม สีแดงสม (orange-red) เกิดจาก สีแดงผสมสีสม สีมวงแดง (red-violet) เกิดจาก สีแดงผสมสีมวง สีของนกัเคมีนิยมนํามาใชประโยชนในงานศิลปะตางๆ เชน งานออกแบบจิตรกรรม งานออกแบบตกแตง ตลอดจนงานโฆษณาประชาสัมพันธตางๆ 2.1 คุณลักษณะของส ีมี 3 ประการ คือ 2.1.1 สีแท (hue) คือ สี 12 สีที่ปรากฏในวงสีธรรมชาติ 2.1.2 ความจัดของสี (intensity) คือ ความสดหรือความบริสุทธิ์ของสีแท ความบริสุทธิ์ของสีแทจะลดลงเมื่อถูกผสมดวยสีขาว สีดํา หรือสีคูตรงขาม (Walker.1980 : 246 - 247) 2.1.3 น้ําหนักของสี (values) หมายถึง น้ําหนักออนแกของสีตามลําดับ เนื่องจากถูกผสมดวยสีขาว – ดํา น้ําหนักของสีจะลดลงดวยการใชสีขาวผสม (tint) น้ําหนักของสีจะเพิ่มขึ้นปานกลางดวยการใชสีเทาผสม (tone) และน้ําหนักของสีจะเพิ่มขึ้นมากขึ้นดวยการใชสีดําผสม (shade) น้ําหนักของสียังหมายถึงการเรียงลําดับน้ําหนักของสีแทดวยกันเอง โดยเปรียบเทียบน้ําหนักออนแกกับสีขาว – ดํา 2.2 การใชสีสําหรับการออกแบบ จะใชใหเกิดความสวยงามตรงตามจุดประสงค มีหลักในการใชอยางกวางๆ 2 ประการ คือ การใชสีใหกลมกลืนกัน และการใชสีใหตัดกัน ในงานหนึ่งๆ อาจจะใชสีใหกลมกลืนกันหรือตัดกันเพียงอยางใดอยางหนึ่ง หรืออาจจะใชพรอมกันทั้ง 2 อยาง ทั้งนี้แลวแตความประสงคของนักออกแบบ 2.2.1 การใชสีใหกลมกลืนกัน เปนการใชสีหรือน้ําหนักของสีใหใกลเคียงกันหรือคลายคลึงกัน เชน การใชสีแบบเอกรงค (monochrome) เปนการใชสีสีเดียวที่มีน้ําหนักออนแกหลายลําดับ การใชสีขางเคียง (adjacent colors) เปนการใชสีที่เคียงกัน 2 – 3สี ในวงสี เชน สีแดง สีสมแดง และสีมวงแดง (ชะลูด นิ่มเสมอ. 2531 : 60 - 61) การใชสีใกลเคียง (analogous colors) เปนการใชสีที่อยูเรียงกันในวงสีไมเกิน 5 สี ตลอดจนการใชสีวรรณะรอนและวรรณะเย็น (warm tone colors and cool tone colors) โดยการแบงครึ่งวงสี ผากลางสีเหลืองและสีมวง เพื่อแยกออกเปนสองซีก ซีกที่มีสีแดงเปนวรรณะรอน ซีกที่มีสีเขียวเปนวรรณะเย็น 2.2.2 การใชสีใหตัดกัน เปนการใชสีหรือน้ําหนักของสีใหแตกตางหรือตรงกันขาม เชน การใชสีตรงขาม (complementary colors) เปนคูสีที่ตรงขามกันในวงสีซึ่งเปนสีที่ตัดกันอยางแทจริง การใชสีเกือบตรงขาม (split complementary colors) เปนสีที่อยูเกือบตรงขามกันในวงสี เชน สีเหลืองเกือบตรงขามกับสีมวงแดงและสีมวงน้ําเงิน ใชรวมกันทั้ง 3 สี การใชสีตรงขาม 2 คูที่อยูเคียงกัน (double complementary colors) เชน สีเหลืองตรงขามกับสีมวง และสีมวงแดงตรงขามกับสีเขียวเหลือง การใชสีสามเสา (triad colors) เปนสี 3 สีที่มีระยะหางเทาๆ กันในวงสี และการใชสีส่ีเสา (square colors) เปนสี 4 สีที่มีระยะหางเทาๆ กันในวงสี (ชลูด นิ่มเสมอ. 2531 : 60 - 61) การใชสีตัดกัน ควรคํานึงถึงความเปนเอกภาพดวย วิธีการใชมีหลายวิธี เชน ใชสีใหมีปริมาณตางกัน เชน ใชสีแดง 20 % สีเขียว 80% หรือใชเนื้อสีผสมในกันและกัน หรือใชสีหนึ่งสีใดผสมกับสีคูที่ตัดกัน รวมทั้งการเอาสีที่ตัดกันมาทําใหเปนลวดลายเล็ก ๆ สลับกัน (วิรุณ ตั้งเจริญ. 2527 : 32)

3. แมสีของนักออกแบบ มันเซลล (Munsell) ศิลปนชาวอเมริกัน ไดคิดระบบสีมันเซลลขึ้น โดยพิจารณาสีรุงที่เกิดจากลําแสงผานแทงแกวสามเหลี่ยม ไดพบวา สีสมรับรูไดชา จึงกําหนดใหมีแมสีเพียง 5 สี ไดแก สีแดง สีเหลือง สีเขียว สีน้ําเงิน

Page 6: Color Theory

สีมวง โดยตัดสีสมออก (อารี สุทธิพันธุ.2527 : 110) ระบบสีของมันเซลล เปนระบบที่มีความคิดสอดคลองกับหลักการทางวิทยาศาสตร สามารถอธิบายระบบสีที่มองเห็นไดดวยตาใหเขาใจไดอยางมีเหตุมีผล ขอบขายที่สําคัญของระบบนี้มี 3 ประการ คือ สีแท น้ําหนักออนแก และความจัดหรือความอิ่มตัวของสี (saturation) ดังมีรายละเอียดดังตอไปนี้ 3.1 สีแท (hue) คือ สีที่มีความบริสุทธิ์ ซึ่งไดแก แมสี 5 สี คือ สีแดง สีเหลือง สีเขียว สีน้ําเงิน และสีมวง และสีขั้นที่ 2 ซึ่งมาจากการผสมกันของแมสี มี 5 สี คือ สีเหลืองแดง สีเขียวเหลือง สีน้ําเงินเขียว สีมวงน้ําเงิน และสีแดงมวง 10 สีนี้เปนสีหลัก (ดูภาพ 5.6) สีแทยังสามารถผสมกันอกไปไดเปนสีขั้นที่ 3 และขัน้ตอๆ ไปไดอีก สีแทนี้จะอยูที่แถบวงกลมรอบแกนกลางของโครงสรางสีมันเซลล (ดูภาพ 5.7) ซึ่งมีสัญลักษณระบุสีเอาไว เชน สัญลักษณ R แทนสีแดง (red) , Y แทนสีเหลือง (yellow) , G แทนสีเขียว (green) , B แทนสีน้ําเงิน (blue) , P แทนสีมวง (purple) , YR แทนสีแดงเหลือง (yellow-red), GY แทนสีเหลืองเขียว (green-yellow) ,BG แทนสีเขียวน้ําเงิน (blue-green) , PB แทนสีน้ําเงินมวง (purple-blue), RP แทนสีมวงแดง (red-purple) , สําหรับการผสมสีตั้งแตขั้นที่ 4 เปนตนไป จะใชตัวเลขกํากับแทนชื่อสีเพื่อความสะดวก เชน จะผสมสีแดงกับสีเหลืองแดงใหได 5 สี จะใชสัญลักษณ และตัวเลขแทนสีที่ผสม โดยเรียงตามลําดับจากสีแดงถึงสีเหลืองแดงไดดังนี้ 1R, 2R, 3R หรือ 3YR, 2YR, 1YR (3R หรือ 3 YR คือสีเดียวกัน) ถาจะผสมแยกละเอียดออกไป เชน จะผสม 1R – 2R ใหได 10 สี จะใชสัญลักษณเปนจุดทศนิยมดังนี้ 1.1R , 1.2R , 1.3R จนถึง 1.10R หรือ 2R นั่นเอง

ภาพ 5.6 สีแท 10 สี เปนสีที่มีความบริสุทธิ์หรือมีความจัดของสีสูงสุด (Brushwell.1980 : unpaged)

ภาพ 5.7 โครงสรางสีของมันเซลล แสดงใหเห็นเปน 3 มิติ สีแทอยูที่แถบวงกลมใหญน้ําหนักออนแกหรือความสวางความมืดแสดงเปนชั้นๆ 9 ลําดับที่แกนกลาง สีแทจะสวางหรือมือดวยความสัมพันธกับแกนกลาง โดยทําเปนแขนยื่นออกมาโดยรอบแกนกลาง จะยื่นออกมาเปนลําดับมากนอยเทาใด ขึ้นอยูกับการจัดของแตละสี โครงสีนี้แสดงถึงสีที่เห็นตามธรรมชาติ (Goldstein. 1968 : unpaged) 3.2 น้ําหนักออนแก (value) หมายถึง ระดับความสวาง หรือความมืดของสีในความสัมพันธกับลําดับสีเทากลางที่แกนกลาง ซึ่งเรียงลําดับจากความมืดสนิทถึงสวางปานกลาง ใชหมายเลข 0/ - 5/ และเรียงลําดับจากสวางปานกลางถึงสวางจัดใชหมายเลข 6/ - 9/ แกนกลางจะมีน้ําหนักออนแกจากมืดถึงสวางจัดรวม 9 ลําดับ คือ 6

Page 7: Color Theory

มี 1/ - 9/ สําหรับ 0/ เปนตําแหนงที่สีอยูในที่มืดสนิท ไมสามารถมองเห็นสีได (Brushwell”1982 : 137) 3.3 ความจัดของสี (chroma) หมายถึง ความอิ่มตัวของสี (ศักดา ศิริพันธ.2527 : 6) หรือระดับของสีแทที่เรียงลําดับเปนแขนยื่นจากแกนกลางออกมา เริ่มจาก /0 - /10 , /12 , /14 หรือมากกวานั้น ทั้งนี้ขึ้นอยูกับการจัดหรือความเขมของสีนั้นๆ ถาสีมีความจัดหรือความเขมมาก ก็จะออกหางจากแกนกลางมาก (ดูภาพ 5.8) แขนนี้สามารถเล่ือนขึ้นเลื่อนลงจากแกนกลาง เพื่อใหสีมีความสวางหรือมืดไดตามความตองการ สมมุติวาแขนสีแดงเล่ือนมาอยูที่ตําแหนงที่ 5 ของแกนกลาง ตัวแขนยาวถึงระดับ /10 ดังนั้นสัญลักษณของสีแดงที่ตําแหนง /10 ก็คือ R5/10 หรือ Red 5/10 นั่นเอง (Brushwell. 1982 : 137)

ภาพ 5.8 โครงสรางสี 3 มิติ แสดงใหเห็นแขนสีแตละสีที่ยื่นออกมาไมเทากัน ทั้งนี้ขึ้นอยูกับความจัดของสีนั้นๆ (ศักดา ศิริพันธ.2527 : 7)

โครงสรางสีมันเซลลเปนประโยชนกับวงการอกแบบมาก ทําใหนักออกแบบเขาใจเรื่องสีมากขึ้น สําหรับวงการเคาไดมีการผลิตสีโดยกําหนดเปนตัวเลข ทําใหสะดวกในการเรียกสีแทนชื่อสี และยังทําใหผูซื้อซื้อสีไดตรงตามความตองการอีกดวย

4. แมสีของนักจิตวทิยา สีในวัตถุและสีในแสงสวางมาจากสีพื้นฐานหรือสีแมสีเพียง 3 สี แตสีในการเห็นมีสีพื้นฐานหรือแมสีอยู 4 สี ที่กําหนดเชนนี้ก็เพราะวา ไมมีสีใดที่ผสมกันดวยสายตาแลวจะกอใหเกิดเปน สีแดง สีเหลือง สีเขียว หรือสีน้ําเงิน ทั้ง 4 สีนี้จึงถูกกําหนดใหเปนแมสีของนักจิตวิทยา (Goldstein. 1968 : 191) และไดกําหนดแผนผังสีออกมาเปนรูปส่ีเหลี่ยม มีสีขั้นที่ 2 จํานวน 4 สีไดแก สีสม สีเขียวเหลือง สีเขียวน้ําเงิน สีมวง สวนสีคูตรงขามในการมองเห็น ไมเหมือนสีคูตรงขามที่เกิดจากการผสมของสีวัตถุ หรือเกิดจากการผสมดวยแสง สีตรงขามมี 4 คู คือ สีแดง ตรงขามกับ สีเขียว สีเขียวเหลือง ตรงขามกับ สีมวง สีเหลือง ตรงขามกับ สีน้ําเงิน สีสม ตรงขามกับ สีเขียวน้ําเงิน สําหรับแมสีทั้ง 4 สีเมื่อผสมกันดวยสายตา จะเกิดเปนสีเทา (ดูภาพ 5.9)

7

Page 8: Color Theory

ภาพ 5.9 แผนผังสีของนักจิตวิทยา เปนสีที่ประกอบกันขึ้นในสายตา มีแมสี 4 สี คือ สีเหลือง (yellow) , สีเขียว (green) , สีน้ําเงิน (blue) , และสีแดง (red) มีสีในขั้นที่ 2 อีก 4 สี คือ สีเขียวเหลือง (yellow-green) , สีเขียวน้ําเงิน (blue green) , สีมวง (purple) และสีสม (orange) สําหรับสีคูตรงขามหรือสีตัดกันจะอยูตรงขามกัน (Goldstein. 1968 : 191)

จากการศึกษาเรื่องสีของนักจิตวิทยา ทําใหทราบถึงหลักการและผลของการทดลองซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ 4.1 หลักการเกี่ยวกับสีที่สัมผัสทางสายตา ผลจากการทดลองของนักจิตวิทยาไดเผยใหเราทราบวา มีหลักการในการมองเห็นอยู 3 ระการ ดังตอไปนี้ (Goldstein. 1968 : 190) 4.1.1 สีสามารถกระทบกระเทือนอารมณของแตละบุคคล 4.1.2 สีมีคุณสมบัติที่ดูเหมือนวาจะสวางขึ้นหรือมืดลง 4.1.3 สีใหความรูสึกตอบุคคลไมเทากัน 4.2 ความรูสึกเกี่ยวกับสี สีมีผลกระทบตออารมณเปนอยางมาก สีในกลุมของสีเย็น เชน สีเขียว สีน้ําเงิน จะใหความรูสึกสงบ แตถาสีออกเย็นมากหรือคลํ้ามากอาจจะทําใหไมรูสึกไมเบิกบาน กระชุมกระชวย และจะกระตุนความรูสึกมากยิ่งขึ้น ถาสีมีความสวางสดใสขึ้นหรือใกลไปในทางสีแดง สีเย็นยังมีผลตอความรูสึกเกี่ยวกับระยะทางในธรรมชาติดวย สีที่เย็นมากๆ เชน สีน้ําเงิน ถาทดลองโดยนําเอาวัตถุสีน้ําเงินวางไวทายหอง หรืออาจจะทาสีทายหองดวยสีน้ําเงิน จะปรากฏวาหองมีความยาวมากขึ้นกวาความเปนจริง สําหรับสีรอนโดยเฉพาะสีแดงเพลิงดูเหมือนจะสวาง และถาใชสีแดงเพลิงที่ทายหอง จะรูสึกวาหองดูส้ันกวาความเปนจริง (Goldstein. 1968 : 192) 4.3 สีกับการมองเห็น จากการเรียนรูทางดานจิตวิทยา ทําใหเราทราบวา เมื่อเราตั้งใจมองจุดสีอยางจดจอ สมมุติวาเปนจุดสีสม มองประมาณ 30 วินาที แลวละสายตาออกจากจุดสีสมมามองที่พื้นกระดาษสีขาว จะปรากฏสีน้ําเงินออนๆ หรือสีฟาแทนที่จุดสีสม จุดที่เห็นจะมีลักษณะรูปรางเหมือนจุดสีสม เหตุที่ปรากฏเชนนี้ก็เพราะวาเปนปรากฏการณของสีคูตรงขามของสีสม ซึ่งตองการจะผสมกบัสีสมใหเปนสีกลางหรือสีเทานั่นเอง (Goldstein. 1968 : 192) เราจะเริ่มเรียนทฤษฏีสีไดอยางไร โดยปรกติแลว ทุกคนโดยทั่ว ๆ ไป ตางก็รูจักสีดวยกันทั้งนั้น และทุกคนก็สามาถบอกไดวา สีแดง สีเหลือง สีเขียว สีฟา สีดํา สีขาว และสีอื่น ๆ ฯลฯ แตก็เปนเพียงไดรูจักสี และเรียกชื่อสีที่ถูกตองใหเปนสัญลักษณเฉพาะ ตัวเทานั้น จะมีสักกี่คนที่จะรูจักสีไดลึกซึ้ง ถาจะคิดเฉลี่ยแลว อาจจะมีผูรูเพียงไมกี่เปอรเซ็นต ทั้งนี้เปนเพราะ เรายังไมมีตําราเรียนกันนั่นเอง จนถึงปจจุบันนี้วงการศึกษายังมองขามหลักวิชา ที่จําเปนตอการดํารงชีวิต ประจําวันนี้อยู และผูเขียนเองกไ็ดตระหนักดีวา เด็กไทยยังขาดความรูเรื่องสี จึงไดตัดสินใจเขียนตําราเลมนี้ ขึ้น เพื่อเปน

8

Page 9: Color Theory

ทฤษฎีสีสําหรับใชศึกษาเรื่องสีเบื้องตน และผูเขียนตั้งใจจะใหเปนตําราชี้แนวทางการศึกษาเรื่องสีให ถูกตอง และเปนตําราเลมแรกที่พิมพสีทั้งเลม

ตอไปเราจะเริ่มตนเรียนรูเรื่องความเปนมาของตนกําเนิดของ "ทฤษฎีสี" ซึ่งเปนหลักวิชาไดศึกษากันตอ ๆ มา

3 เหล่ียมสี TriaangcI Princries

นําเอาแมสีหลัก หรือสีขั้นที่ 1( PRIMERY ) คือ แดง เหลือง ฟา มาวางที่มุมของ 3 เหลี่ยมดานเทา สีละมุม ( ดูภาพประกอบ )

ภาพเขียนที่ใชชุดที่ 2 Secondaries

สังเกตดูภาพเขียนที่แสดงอยูนี้ เราใชสีเพียง 3 สี ดวยสีขั้นที่ 2 คือ สีสม สีมวง สีเขียว นี่เปนการใชสีชุดอีก แบบหนึ่งเราจะเห็นวาสีมีความสัมพันธตอกัน

3 เหล่ียมสี Tridteries

ในขั้นที่ 3 นําสี S กับสี P มาผสมกัน สีก็จะเกิดขึ้นใหมในชองวางระหวาง S กับ P อยางเชน ระหวางเหลือง แดง เอาสีเหลืองผสมสมก็จะไดสีเหลืองสม Yellwo Orange และสีสมผสมกับสีแดง ก็จะไดสีแดงสม Red Orange และสีแดงผสมมวงก็จะไดสีมวงแดง Red Violet และสีมวงผสมฟาก็จะไดสีมวงน้ําเงิน และสีฟาผสมเขียวก็จะได สีฟาเขียว Blue Green เขียวผสมเหลืองก็จะไดเขียวเหลือง Yellwo Green

สีกลาง Muddy Colour

สีขั้นนี้เปoการผสมสี Primeries ทั้ง 3 เขาดวยกัน สีที่ไดจะเปนสีกลาง คลายสีโคลน เราเรียกสีนี้วาสี Muddy

9

Page 10: Color Theory

สีใกลเคียง Ncar Colour ที่เปนวรรณะ แนวทางที่ 1

สีใกลเคียงที่เกิดจากแนวสี 3 ดานของ 3 เหลี่ยมสี ( ดู 3 เหลี่ยมสีขั้นที่ 3 ) อีกครั้งหนึ่ง เพื่อความเขาใจวสี แตละวรรณะนั้นไดมาจากแนวสีของ 3 เหลี่ยมสีแตละดาน

สีใกลเคียง Near Colour

สีใกลเคียงแนวทางที่ 1 นี้ เราจัดสีใหสีเปนคู ๆ ดังตัวอยางเชน สีคูที่แสดงอยูนี้เปนสเต็ปสีที่ไดนํามาตาม แนวสีของ 3 เหลี่ยมสี สีแตละคูนั้น เราจัดใหเปนคู ๆ จนครบแนว 3 เหลี่ยมสีทั้ง 3 ดาน ตามตัวอยางที่แสดงไวแลว

ภาพที่เขียนดวยสีคูใกลเคียง แนวทางที ่1

ภาพเขียนที่ใชสีใกลเคียงขามสเต็ป แนวทางที่ 2

สีใกลเคียงขามสเต็ป แนวทางที่ 3 สีใกลเคียงแนวทางที่ 3 เกิดจากการจัดสีที่เปนคูแบบเวนชวง หรือขามสเต็ป ดังตัวอยางตอไปนี้

การจัดจัดสีที่ใกลเคียงใหเปนคูๆ นี้ ก็เพื่ออํานวยประโยชนในการนําออกแบบและเขียนภาพ ทั้งนี้ก็เพราะวา เวลาใชสีจะไดไมใช อยางเดาสุม การเขียนเมื่อรางภาพเสร็จแลว ก็นึกถึงสีที่จะลงวา ควรจะใชสีแนวทางใด เมื่อพิจจารณาแลวกําหนดสีลงไปเปนชุด เปนทีม ภาพ ที่ระบายสีก็จะมีความสําคัญขึ้น

สีตรงขาม Oposit Colour สีตรงขามมีทั้งหมด 5 แนวดวยกนั และชุดสีตอไปนนี้ เปนแนวทางที่1 คือสีตรงขาม ระหวางสีขั้นที่ 1 กับสีขั้นที่ 2 10

Page 11: Color Theory

(Primeries กับ Secondaries) ไดแก P1 - S7, P5-S11, และ P9 S3

การเขียนภาพดวยชุดวรรณะสี ชุดที่ 1 วรรณะเหลือง-แดง

สังเกตสีที่ลงในภาพจะมีทั้งหมด 5 สีดวยกัน นี่ก็เปนอีกวิธีการหนึ่งในการเลือกใชสีชุดเขียนภาพ

การเขียนภาพดวยชุดวรรณะสี ชุดที่ 2 วรรณะแดง-ฟา

ภาพเขียนที่ใชสีชุดของวรรณะสี แดง-ฟา ในภาพจะเห็นวาสีตางๆ มีความสัมพันธที่ดีตอกัน ไมมีความขัดแยง ขัดตอความรูสึก

การเขียนภาพดวยชุดวรรณะสี ชุดที่ 1 วรรณะเหลือง-ฟา

ภาพเขียนที่ใชสีชุดของวรรณะสี ในภาพจะเห็นสีตางๆมีความสัมพันธที่ดีตอกัน

การหาคาของสีแดงสีเดียว

ภาพเขียนที่ใชชุดคาขิงสีแดงคือการนําเอาสีใดสีหนึ่งมาหาคอตางกันใหเปนขั้นหลายสเต็ป ในที่นี้จะแสดงหาคาตางให เกิดขึ้นเพียง 5 ขั้น ตอสี 1 สี วิธีการ ถาเปนสีน้ํา ก็ใชน้ําผสมลดคาสีใหออนลง ทีละขั้น จากแกมาออน ถาเปนสีโปสเตอรก็ใชสีขาวมาผสมก

การหาคาของสีเหลืองสีเดียว

11

Page 12: Color Theory

ภาพที่ใชเขียนชุดคาของสีเหลือง

การหาคาของสีฟาสีเดียว

นี่ก็เปนอีกแบบหนึ่งที่เขียนภาพดวยสีชุดคาของสีเดียว

ตระกูลของสี สีไดถูกแบงออกเปน 3 ตระกูลดวยกัน และมีวิธีสราง Colour Famiries ตระกูลของสีได 2 วิธีดวยกัน

ตระกูลสีเหลืองYellow Famiries วิธีที่ 1 แดง 25% ฟา25 % เหลือง 50% จะไดเปนสีเปลือกมะนาวแหง

ตระกูลสีแดง จะมีสีเหลือง 25% ฟา 25% แดง 50% ผสมกัน ก็จะไดสีใหมขึ้นมาเปนสีเปลือกละมุด

และวิธีที่ 2 แดง 50% เขียว 50% ก็จะไดสีเปลือกละมุดเชนเดียวกัน

ตระกูลสีฟา ในวิธีที่ 1 จะมีสีเหลือง 25% แดง 25% ฟา 50% เมื่อผสมกันเขา ก็จะไดสีใหมขึ้นมา คือ สีโอลีฟ ลักษณะสีฟาอมเขียว มีแดง เจือปนเล็กนอย

12

Page 13: Color Theory

วิธีที่ 2 ฟา 50% สม 50% ผสมกันจะไดสีโอลีฟ

การฆาสี Brake Colour การฆาสีคือการเปล่ียนคาของสีใหเปนอีกลักษณะหนึ่ง และหยุดความสดใสของสี วิธีฆาสี ก็คลายกับการหาคาของสี มีขอแตกตางก็ตรงที่วา การหาคาของสีนั้นใชเพียงสีเดียว แตการฆาใชสี 2 สี หาคารวมกัน ดังตัวอยางตอไปนี้

ตัวอยางที่ 1 การฆาสีดวยสี

ตัวอยางที่ 2 ระหวางฟากับสม

ตัวอยางที่ 3 ระหวางเหลืองกับมวง

สีตัดกัน Contras สีตัดกันที่ดคีือ ขาวกับดํา

สีตัดกัน คือสีที่มีความเขมรุนแรงและโดดเดนตางกัน การตัดกันของสีที่มีอยูหลายทางดวยกัน อยางเชน ตัดกันดวยสีตรงขาม ตัดกันดวยสี Primerics ตอ Primeries หรือ Secondaries กับ Primeries สีตัดกันที่ดีตองมีความสัมพันธที่ดีตอกัน

ความกลมกลืนของสี Hamonies ความกลมกลืนของสีเกิดขึ้นไดหลายแนวทางดวยกัน แตละแนวทางนั้นตองเปนลักษณะเฉพาะตัว เฉพาะกลุม ยกตัวอยางเชน

1. ความกลมกลืนของสีวรรณเดียวกัน 2. ความกลมกลืนของสีตรงกันขาม

3. ความกลมกลืนของสีใกลเคียง 4. ความกลมกลืนของสี

13

Page 14: Color Theory

องคประกอบ

5. ความกลมกลืนของสีตางวรรณะ 6. ความกลมกลืนของสีตัดกัน

หลักการใชสี การใชสีกับงานออกมานั้น อยูที่นักออกแบบมีจุดมุงหมายใด ที่จะสรางความสนใจ ความเราใจตอผูดู เพื่อใหเขาถึงจุดหมายที่ตนตองการ หลักของการใชมีดังนี้

1.การใชสีวรรณะเดียว ความหมายของสีวรรณะเดียว (tone) คือกลุมสีที่แบงออกเปนวงลอของสีเปน 2 วรรณะ คือ วรรณะรอน (warm tone) ซึ่งประกอบดวย สีเหลือง สีสม สีแดง สีมวง สีเหลานี้ใหอิทธิพล ตอความรูสึก ตื่นเตน เราใจ กระฉับกระเฉง ถือวาเปนวรรณะรอน วรรณะเย็น (cool tone) ประกอบดวย สีเหลือง สีเขียว สีน้ําเงิน สีมวง สีเหลานี้ดู เย็นตา ใหความรูสึก สงบ สดชื่น (สีเหลืองกับสีมวงอยูไดทั้งสองวรรณะ) การใชสีแตละครั้งควรใชสีวรรณะเดียวในภาพทั้งหมด เพราะจะทําใหภาพความเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน (เอกภาพ) กลมกลืน มีแรงจูงใจใหคลอยตามไดมาก

2.การใชสีตางวรรณะ หลักการทั่วไป ใชอัตราสวน 80% ตอ 20% ของวรรณะสี คือ ถาใชสีวรรณธรอน 80% สีวรรณะเย็นก็ 20% เปนตน ซึ่งการใชแบบนี้สรางจุดสนใจของผูดู ไมควรใชอัตราสวนที่เทากันเพราะจะทําใหไมมีสีใดเดน ไมนาสนใจ

3.การใชสีตรงกันขาม สีตรงขามจะทําใหความรูสึกที่ตัดกันรุนแรง สรางความเดน และเราใจไดมากแตหากใชไมถูกหลัก หรือ ไมเหมาะสม หรือใชจํานวนสีมากสีจนเกินไป ก็จะทําใหความรุสึกพรามัว ลายตา ขัดแยง ควรใชสีตรงขาม ในอัตราสวน 80% ตอ20% หรือหากมีพื้นที่เทากันที่จําเปนตองใช ควรนําสีขาว หรือสีดํา เขามาเสริม เพื่อ ตัดเสนใหแยกออก จาก กันหรืออีกวิธีหนึ่งคือการลดความสดของสีตรงขามใหหมนลงไป

สีตรงขามมี 6 คูไดแก สีเหลือง ตรงขามกับ สีมวง สีแดง ตรงขามกับ สีเขียว สีน้ําเงิน ตรงขามกับ สีสม สีเขียวเหลือง ตรงขามกับ สีมวงแดง สีสมเหลือง ตรงขามกับ สีมวงน้ําเงิน สีสมแดง ตรงขามกับ สีเขียวน้ําเงิน

14

Page 15: Color Theory

สีรอน (สีอุน) Warm Colors

นับจากโทนสีเหลือง ชมพู แดง สม มวง น้ําตาล สีเหลานี้ใหความหมายที่เรารอน กาวราว มีอิทธิพลตอการดึงดูดและกระตุนอารมณได มากมายกวาโทนสีอื่นๆ สีเหลานี้จะใชมากกับงานประเภท หัวหนังสือ นิตยาสาร แคตตาลอก ตลอดจนปายโฆาราตางๆซึ่งจะกระตุนความสนใจตอผูพบเห็นไดเร็ว

สีโทนรอน คือสีที่ใหความหมาย ร่ืนเริง สดชื่น ฉูดฉาด บาดอารมณ

สีเย็น (Cool Colors)

เริ่มจากสีเทา ฟา น้ําเงิน เขียว สีโทนนี้จัดอยูในสีโทนเย็น ให อารมณความรูสึก สงบ สะอาด เย็นสบาย

สีขาว (White)

15

Page 16: Color Theory

คือสีแหงความสะอาด บริสุทธิ์ ไรเดียงสา เหมือนกับสํานวนที่ ชอบพูดวา "เด็กที่เกิดมาเหมือนผาขาวที่ยังไมมีรอยแปดเปอน"

สีดํา (Black)

คือ สัญลักษณแหงความโศกเศราและความตาย และบางความหมายใชแทนความชั่วราย ในความหมายของคนยุโรป อเมริกา แทนความเปนผูดี ขรึม ม่ันคง

สีแดง (Red)

คือสีแหงความกระตือรือรน เรารอน รุนแรง สะเทือนอารมณ มีพลังความสวางโชติชวง เปนสัญลักษณแหงความรัก ดึงดูด ความสนใจ หากเปนสีชมพู ซึ่งความเขมของสีจะจางลงจะใหความรูสึกหวานโรแมนติก

สีเหลือง (Yellow)

คือสีแหงความสุขสดชื่น ราเริงมีชีวิตชีวา เปนสีที่เขาไดกับทุกสี

สีเขียว (Green)

16

Page 17: Color Theory

คือสีของตนไม ใบหญา เปนสัญลักษณของความสงบ เรียบงาย ความเขมของสีเขียวใหความหมายถึงความอุดมสมบูรณ

สีฟา (Blue)

คือ สีแหงทองฟาและน้ําทะเล เปนสัญลักษณของความสงบ เยือกเย็น ม่ันคง แตเต็มไปดวยพลัง หากเปนสีฟาออนจะใหความรูสึก สดชื่น สวยงาม กระฉับกระเฉงเปนหนุมสาว

สีมวง (Purpke)

คือสีแหงความลึกลับ ซอนเรน เปนสีที่มีอิทธิพลตอจิตนาการ และความอยากรูอยากเห็นหับเด็ก เชน เรื่องเทพนิยายตางๆ

สีน้ําตาล (Brown)

เปนสีสัญลักษณแหงความรวงโรยเปรียบเสมือนตนไมมีใบรวงหลนเมื่อถึงอายุขัย เปนสีที่ใหความหมายดูเหมือนธรรมชาติ เชน สีน้ําตาลออนและสีแกนของลายไมเปนตน

สีแจด (Vivid Colors)

17

Page 18: Color Theory

คือสีที่สะดุดตาเร็วมองเห็นไดไกล โทนสีตัดกันแบบตรงขาม เชน แดงกับดํา เหลืองกับน้ําเงิน เขียวกับแดง ดํากับเหลืองเปนตน สีจําพวกนี้นิยมใชกันมากในงานของเด็กเลน ภัตตาคาร รานอาหาร ประเภทฟาสทฟูด คาเฟ ขอเสียของสีประเภทนี้หากใชจํานวนสีมากจะดูลายตา พรา วิธีใชที่ดีควรใชหนึ่งหรือสองสีเปนตัวเนนหนัก

สีจาง (สีออน) Light Colors

ใหความหมายที่ดูออนโยน เบาหวิวเหมือนคลื่นเมฆหรือปุยฝาย ชวยทําใหพื้นที่ที่แคบดูใหกวางขึ้น โทนสีจําพวกนี้จะใชกันมากกับเส้ือผา สตรี ชุดชั้นใน แฟชั่นชุดนอน ในงานศิลปะบางอยางใชสีออน เปนพื้นฉากหลัง เพื่อขับใหรูปทรงลอยเดนขึ้น

สีทึบ (Dull Color)

คือสีออนที่คอนขางเขมหรือสีที่เจือจางลง ใหความรูสึกที่ สลัวลาง มัว บางครั้งดูเหมือนฝน และดูคลายเครียด

สีมืดทีบ (Dark Colors)

ใหความรูสึกหนัก แข็งแกรง เขม มีพลัง สังเกตดูไดจากสีเครื่องแตงกายของทหาร สีสูทของผูชาย ชุดฟอรมของชาง เปนตน

หลักการใชสี Color Harmony (The Box)

http://www.sixsides.com/intro/default.htm

ลักษณะเดน ที่เห็นๆไดชัด ของเว็บไซทนี้คือ ชุดสี 7 ชุด ที่มีความกลมกลืนกันอยางสวยงาม ซึ่งเทคนิคที่นํามาใชในการเลือกสีเหลานี้ก็คือ การใชชุดสีแบบสีเดียว (monochromatic color scheme) ที่มีการไลระดับความเขมสี 3 ระดับ เปนสีหลักในแตละหนา นอกจากนั้นก็เปนสีประกอบ ที่นํามาใชใหเกินความ

18

Page 19: Color Theory

เดนชัดขึ้น เพื่อไมใหดูจืดชืดจนเกินไป

รูปตอไปนี้ จะแสดงถึงชุดสีทั้งหมดที่นํามาใชในเว็บไซท ซึ่งสวนใหญจะอยูใน ชุดสีสําหรับเว็บ (web-safe color) และไดมีการแสดงคา rgb (red green blue) ในระบบเลขฐานสิบหก ที่คุณสามารถนําไปใชกับเว็บของคุณได แตสําหรับผูที่ตองการรูที่มาของชุดสีเหลานั้น ก็สามาถศึกษาไดจากรูปแผนจานสี (clut:color look up table) ของ visibone ที่แสดงถึงตําแหนงของสีเหลานั้น เนื่องจากจานสีแบบ visibone มีการจัดเรียงชุดสีตาม สี(hue) ความสดใส(vividness) และความสวาง(brightness) ดังนั้น เมื่อคุณพิจารณาตําแหนงของสีในชุดตางๆ พรอมกับเปรียบเทียบ รูปแบบของสี ในแตละชุด ก็จะทําใหคุณเขาใจ ที่มาของสีเหลานี้ และสามารถเลือกสี ที่เหมาะสม กลมกลืน ใหกับเว็บไซทของคุณได ในโอกาสตอไป เมื่อลองพิจารณาถึง สีหลัก 3 ระดับในแตละหนานั้น จะพบวามีรูปแบบที่คลายคลึงกัน โดยสวนใหญแลว ก็จะอยูในรูปของ dark, light, pale ของสีใดสีหนึ่ง ไลระดับ จากเขมมาออน ซึ่งเห็นไดชัดเจนในรูปที่ 3 ที่ใช dark weak blue, light weak blue และ pale weak blue ตรงตามสูตรพอดี สวนชุดสีอื่น ก็มีความแตกตางไปบาง เชนในรูปที่ 1 ที่มีการผสมสีขามกลุม และใชสี obscure เมื่อตองการความเขม ที่มากกวา dark

เว็บเพจ ชุดสีที่ใช

006666 obscure dull cyan 99cc99 light weak green ccff99 pale dull spring ff6600 orange orange-red ffff99 pale dull yellow

996633 dark dull orange ffcc66 light orange- yellow ffff99 pale dull yellow ccff99 pale dull spring

336699 dark dull azure

19

Page 20: Color Theory

333366 dark weak blue 9999cc light weak blue ccccff pale weak blue cc9966 light dull orange

996633 dark dull orange

006699 dark azure-cyan 6699cc light dull azure 99ccff pale dull azure cc9966 light dull orange

996633 dark dull orange

336666 dark weak cyan 669999 medium weak cyan 99cccc light weak cyan cccccc pale gray

666666 dark gray

ff6600 orange-orange-red ff9966 light orange-red ffcc99 pale dull orange cc9966 light dull orange

000000 black

cc3333 medium faded red cc6666 light dull red ff9999 pale dull red cc9966 light dull orange

000000 black

หลักการใชสี Color Contrast (Scheme)

http://www.afewseconds.com/

กลับมาพูดเรื่องชุดสีกันอีกครั้ง คราวนี้ผมไดเลือกเว็บที่ชื่อวา afewseconds.com ที่มีการใชชุดสีในแตละหนาเว็บไดอยางประทับใจ ประกอบกับกราฟกที่ใชสีกลมกลืนกับสีพื้นของหนา อยางสวยงามจนนาทึ่ง เราจะมาลองแกะรอยดูวา ผูออกแบบมีแนวทางการเลือกใชสีกัน

20

Page 21: Color Theory

อยางไร

afewseconds เปนเว็บที่ถายทอดประสบการณดานกราฟกดีไซน และโลกของสื่อสมัยใหม จากชีวิตจริงของ joshua และ peter โดยผานสื่อวิดีโอ (streaming video) ใครสนใจเนื้อหาก็ลองไปติดตามดูกันได แตวันนี้ผมสนใจเฉพาะสวนของสีที่เคานํามาใช โดยจะพยามคนหาหลักการเลือกใชสีของเขา ทั้งๆที่ผูออกแบบเอง อาจไมมีหลักการตายตัวในการเลือกสี แตเมื่อไดผลออกมาดีขนาดนี้ ผมก็อยากจะศึกษาดูวา สีเหลานั้นมีความสัมพันธอะไรกันหรือเปลา เผ่ือจะเปนประโยชนกับผูออกแบบอยางเราๆ ที่ตองการใชชุดสีไดอยางเหมาะสม

ส่ิงแรกที่ไดพบก็คือ สีหลักๆที่ใชนั้นเปนสีที่อยูในชุดสีสําหรับเว็บ (web-safe color) ทําใหการสํารวจของเราทําไดงายขึ้น โดยจะอางอิงถึงชื่อสีในแผนจานสีของ visibone (visibone2.aco) ที่เคยแนะนําไปแลว ในสวนของเครื่องมือสรางเว็บ (web tools) ผลการศึกษาที่ได มีรายละเอียดดังตอไปนี้

ตารางสีสรุปการใชสีหลักของเว็บทั้ง 5 หนา จับคูกันตามรูปรางของสัญญลักษณ โดยที่เครื่องหมายสีดํา จะถูกใชกับสีออน สวนสีขาวจะถูกใชกับสีเขม เพื่อใหมองเห็นไดอยางชัดเจน

หลักกวางๆที่เห็นได ก็คือการจับคูสีออนและสีเขม เขาดวยกัน โดยที่สีทั้งสองอาจจะเปนสี (hue) ในกลุมเดียวกัน หรือสีที่ใกลเคียงกันในวงลอสี (consecutive hue) ก็ได

dark bar 336633 dark weak green background ffcc33 light yellow orange คูสีนี้นับเปนคูที่หาความสัมพันธกันไดยากที่สุด คงจะพูดไดแควา เปนสีที่อยูใกลเคียงกันในวงลอสี โดยไดเลือกสีสมเหลืองระดับออนๆ มาคูกับสีเขียวเขมนั่นเอง

dark bar 666600 obscure dull yellow background cccc00 dark hard yellow คูสีทั้งสองนี้อยูในกลุมสีเหลืองดวยกัน (แมจะมองดูเหมือนเปนสีเขียวมากกวาก็ตาม) จึงเปนไปตามแนวทางปกติในการเลือกสีในกลุมเดียวกัน ตามระดับความเขมออนที่ตองการ

21

Page 22: Color Theory

dark bar 660000 obscure dull red background cc9933 medium orange

yellow สําหรับคูนี้ สีน้ําตาลออนอยูในกลุมสีสมเหลือง สีน้ําตาลเขมนั้นอยูในกลุมสีแดง ที่มีตําแหนงไมหางไกลกันนัก

dark bar 669900 dark spring yellow background ccff33 light yellow spring สีทั้งสองนี้อยูในกลุมเหลือง-เขียวออน (yellow-spring) สังเกตจากชื่อดูแลว รูสึกวาสีทั้งสองนี้ มีความสัมพันธแบบสลับกันอยูทั้ง light กับ dark และ yellow กับ spring

dark bar 003366 obscure dull azure background 99ccff pale dull azure และก็มาถึงคูที่ผมชอบใจที่สุด เพราะเปนไปตามแนวทาง ที่แนะนําไวของ visibone อยางชัดเจน โดยทั้งคูจัดอยูในกลุม azure ดวยกัน โดยที่สีฟาออนนั้นก็เปนสีที่ออนที่สุดในกลุม ขณะที่สีเขมก็เปนสีที่เขมที่สุดเชนกัน สุดทายพบวา ชุดสีสําหรับเว็บที่มีอยู 216 สีนั้น ถาเรานํามาจับคูกันอยางเหมาะสม ก็สามารถสรางใหเกิดเปนหนาเว็บที่สวยงามได สวนเรื่องชุดสีที่ใชนั้น พอจะสรุปไดวา มีการใชคูสีเขมกับสีออนที่อยูในกลุม (hue) เดียวกัน ที่เรียกวา monochromatic

scheme หรือไมก็ขยับไปใชสีในกลุมใกลเคียงกันในวงลอสี ซึ่งเรียกวา analogous scheme เพื่อใหไดระดับความเขมออนตามที่ตองการ

22